SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน
ปลาร้า เป็นส่วนประกอบของอาหารของชาวอีสาน และชาวอาเภอหล่มเก่า ทามาจากการนาปลามา
หมัก กับเกลือ เพื่อใช้ในการประกอบอาหาร ซึ่งปลาร้าจะเป็นส่วนที่ช่วยให้รสชาติอาหารอร่อย แต่เนื่องจาก
ปลาร้าที่หมักไว้จะมีลักษณะเป็นนา และมีกลิ่นเหม็น ไม่สะดวกต่อการนามาประกอบอาหารของคนที่อาศัยใน
เมืองกรุง และปลาร้าที่คนส่วนใหญ่รับประทานเป็นปลาร้าดิบ ถ้ากินเข้าไปมากๆ จะทาให้เกิดโรคมะเร็งตับ
โรคมะเร็งท่อนาดี พยาธิใบไม้ในตับ คณะผู้จัดทา จึงคิดวิธีการทาปลาร้าให้สุกและมีลักษณะเป็นผง มีกลิ่น
เหม็นน้อยลง จึงนาสมุนไพรสมุนไพรพืนบ้านในท้องถิ่น ที่เป็นส่วนประกอบของอาหาร มาใช้ในการดับกลิ่น
ปลาร้า ทังนีเพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปได้บริโภคผลิตภัณฑ์ประกอบอาหารที่
ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการ หาสิ่งทดแทนปลาร้าดิบ ลดค่าใช้จ่ายในการดารงชีวิตประจาวัน
อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาและส่งเสริมการนาสมุนไพรพืนบ้านที่มีในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์
สูงสุด
ดังนันพวกเราจึงคิดที่จะทาโครงงานนีขึนมา เพื่อให้เป็นประโยชน์แก่มวลมนุษย์มากขึน เพิ่มรสชาติ
การทาอาหาร มีคุณค่าทางโภชนาการ ปลอดภัย ต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันโรค สามารถทาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อ
สร้างรายได้ให้กับครอบครัวและชุมชน อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ในการดารงชีวิตประจาวัน นาความรู้สู่ครอบครัว ชุมชนและ
ท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่
1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ศึกษาวิธีการทาผงปลาร้าสมุนไพร
2. เพื่อน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มาใช้ในชีวิตประจาวัน ท้องถิ่น และชุมชนที่อาศัยอยู่
3. เพื่อผลิตผงปลาร้าสมุนไพร ไว้ใช้เองภายในบ้าน
4. เพื่อนาสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ได้มากขึน
1.3 สมมติฐำนของกำรทดลอง
ตอนที่ 1 ปลาร้าที่ใช้รับประทานอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไปน่าจะนามาผลิตเป็นผงปลาร้าได้
ตอนที่ 2 ถ้าใบมะกรูด หอมแดง และตะไคร้ เป็นสมุนไพรที่ใช้ในการดับกลิ่น ดังนัน เมื่อนา
สมุนไพรดังกล่าว มาเป็นส่วนผสมในปลาร้า น่าจะทาให้กลิ่นเหม็นของปลาร้าหายไปได้
ตอนที่ 3 ถ้าใส่ใบมะกรูด หอมแดง และตะไคร้ ในปลาร้าในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน จะทาให้ผง
ปลาร้ามีกลิ่นของปลาร้าแตกต่างกัน
1.4 ขอบเขตของกำรทดลอง
ใช้ปลาร้าที่มีขายตามท้องตลาด ใช้สมุนไพร 3 ชนิด ได้แก่ 1. ใบมะกรูด 2. หอมแดง 3. ตะไคร้
ดาเนินการทดลองที่ บ้านนาซา อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์
2
1.5 กำรกำหนดตัวแปร
ตอนที่ 1 ศึกษำวิธีกำรทำผงปลำร้ำ
ตัวแปรต้น คือ ชนิดของปลาร้า และอุณหภูมิ
ตัวแปรตาม คือ การเกิดผงปลาร้า
ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ปริมาณปลาร้า ระยะเวลาในการเคี่ยวนาปลาร้า ภาชนะที่ใช้ในการต้ม
เคี่ยว ขนาดของเตาไฟ
ตอนที่ 2 ศึกษำสมุนไพรที่ใช้ในกำรดับกลิ่น
ตัวแปรต้น คือ ใบมะกรูด ตะไคร้ หอมแดง
ตัวแปรตาม คือ ลักษณะของผงปลาร้าสมุนไพร
ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ปริมาณของสมุนไพรต่างๆ ปริมาณปลาร้า ระยะเวลาในการเคี่ยว
นาปลาร้าและนาสมุนไพร
ตอนที่ 3 ศึกษำอัตรำส่วนที่เหมำะสม
ตัวแปรต้น คือ อัตราส่วนของสมุนไพรทัง 3 ชนิด ได้แก่ ใบมะกรูด ตะไคร้ หอมแดง : นาปลาร้า
ตัวแปรตาม คือ ลักษณะของกลิ่นผงปลาร้าสมุนไพร
ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ปริมาณของสมุนไพรต่างๆ ปริมาณปลาร้า ระยะเวลาในการเคี่ยว
นาปลาร้าและนาสมุนไพร
1.6 นิยำมศัพท์เฉพำะ
1. ผงปลาร้า หมายถึง ผงปลาร้าที่ได้จากการนานาปลาร้ามาเคี่ยวจนกระทั่งเป็นผง
2. สมุนไพร หมายถึง ผักสมุนไพรพืนบ้านที่นามาเป็นส่วนผสมในการเคี่ยวปลาร้าให้เป็นผง ได้แก่
ใบมะกรูด ตะไคร้ หัวหอมแดง
3. ปลาร้าปลารวม หมายถึง ปลาร้าที่ทามาจากปลาหลากหลายชนิดหมักรวมกันจนกระทั่ง
กลายเป็นปลาร้าที่ใช้ในการประกอบอาหาร
1.7 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1. รู้วิธีการทาผงปลาร้าสมุนไพร
2. มีปลาร้าผงสมุนไพร ใช้ในชีวิตประจาวัน ท้องถิ่น และชุมชน
3. ปลาร้าสมุนไพรสามารถเก็บไว้ใช้ได้อย่างปลอดภัย
4. นาสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ได้มากขึน
3
บทที่ 2
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง
ปลำร้ำ
“ปลำร้ำ" ถือเป็นอาหารเอืออาทรชันดึกดาบรรพ์ และไม่ใช่คนไทยเป็นเจ้าของชาติเดียวแต่ต้องเรียกว่า
“อำหำรแห่งอุษำคเนย์” ดุจเดียวกับปลาดิบแห่งญี่ปุ่นหรือกิมจิของเกาหลี โดยมีการพบไหปลาร้าโบราณใน
แหล่งมอญ-เขมรมาก” คากล่าวของ นพ.กฤษดา ศิรามพุช ผอ.สถาบันเวชศาสตร์อายุรวัฒน์นานาชาติ
สำรอำหำรที่ให้ประโยชน์ของปลำร้ำ มีดังนี้
ปลำร้ำ เป็นแหล่งวิตามินเคที่ยอดเยี่ยม เช่นเดียวกับถั่วเน่า เต้าหู้ยีของบ้านเราหรือ “นัตโตะ” ถั่วเน่า
ญี่ปุ่น โดย วิตามินเคนันช่วยทังหยุดเลือดและช่วยนาพาแคลเซียมเข้ากระดูกได้ดี และยังมีสารอาหารอื่นๆ ที่
ประโยชน์ต่อร่างกายอีกมายมาย
ค่ำเฉลี่ยของสำรอำหำรในปลำร้ำ 100 กรัม
สำรอำหำรในเนื้อปลำร้ำ ประกอบด้วย
คาร์โบไฮเดรท (1.75กรัม) ไขมัน (6.0กรัม) โปรตีน (14.5กรัม) พลังงาน (117.5กิโลแคลอรี่)
สำรอำหำรในน้ำปลำร้ำ ประกอบด้วย
คาร์โบไฮเดรท (0.0กรัม) ไขมัน (0.6กรัม) โปรตีน (3.2 กรัม) พลังงาน (18.2 กิโลแคลอรี่)
วิตำมินและแร่ธำตุในปลำร้ำ ประกอบด้วย
วิตามิน เอ วิตามิน บี 1 วิตามิน บี 2 ไนอาซีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก
วิตำมินในเนื้อปลำร้ำ ประกอบด้วย
วิตามิน เอ (195.0หน่วยสากล) วิตามิน บี 1 (0.02มิลลิกรัม) วิตามิน บี 2 (0.16มิลลิกรัม)
ไนอาซีน (0.60มิลลิกรัม) แคลเซียม (939.55มิลลิกรัม) ฟอสฟอรัส (648.2มิลลิกรัม)
เหล็ก (4.25มิลลิกรัม)
วิตำมินในน้ำปลำร้ำ ประกอบด้วย
วิตามิน เอ (0.0หน่วยสากล) วิตามิน บี 1 (0.0มิลลิกรัม) วิตามิน บี 2 (0.0มิลลิกรัม)
ไนอาซีน (0.0มิลลิกรัม) แคลเซียม (76.5มิลลิกรัม) ฟอสฟอรัส (42.5มิลลิกรัม)
เหล็ก (0.0มิลลิกรัม)
4
ใบมะกรูด
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC.
ชื่อสามัญ : Leech lime, Mauritus papeda
วงศ์ : Rutaceae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีนาตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน
ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมัน
สีเขียวเข้ม มีต่อมมันอยู่ตามผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบที่
ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลียงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป้นรูปทรงกลมหรืรูปไข่
โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมนามัน ผลอ่อนสีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรสเปรียว เมล็ดกลมรี สีขาว มี
หลายเมล็ด
ประโยชน์ของใบมะกรูด
“ใบมะกรูด” เป็นสมุนไพรที่มักนามาใช้ปรุงอาหารมีสรรพคุณหลายอย่าง เช่น ขับลม ทาให้เลือดลมไหลเวียนดี
ช่วยบารุงหัวใจ ระบบการไหลเวียนของโลหิต แก้ไอ ลดอาการอักเสบของกล้ามเนือ แก้ชาใน อาการเกร็ง แก้ฝี
ภายใน ขับเสมหะ นามันหอมระเหยของมะกรูดทาให้ผมดกดา
สรรพคุณอีกอย่าง คือ ถ้าเกิดรู้สึกเครียด ๆ ก็นาใบมะกรูดมาฉีก แล้วดมจะทาให้ผ่อนคลายได้
เหมือนกัน เพราะใน “ใบมะกรูด” จะมีสารบางตัวทาให้รู้สึกผ่อนคลายได้ดี
ใบมะกรูดยังกันแมลงรบกวนข้าวสาร
ข้าวสารที่เราซือเก็บไว้หุง กว่าจะใช้หมดบางครังก็มักโดนแมลงตัวเล็กตัวน้อยลงไปก่อกวน ใช้ใบมะกรูดการาบ
โดยให้วางใบมะกรูดไว้บนข้าวสาร หรืออาจจะใส่ผสมปนเปไว้ในข้าวสารเลยก็ได้ ซึ่งหากข้าวสารมีจานวนมาก
ก็ใส่ใบมะกรูดมากหน่อย รับรองจะไม่มีแมลงมารบกวนอีกต่อไป หากข้าวสารยังใช้ไม่หมดแต่ใบมะกรูดที่วางไว้
แห้งหรือหมดกลิ่นไปแล้วก็ให้เปลี่ยนใบมะกรูดเสียใหม่ไม่งันเดี๋ยวเจ้าแมลงได้ใจกลับมารบกวนอีก
5
หอมแดง
ภาษาอังกฤษ Shallot มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Allium cepa linn .cv group Aggregatum จัดอยู่ใน
วงศ์ AMARYLLIDACEAE เช่นเดียวกับหอมใหญ่ กระเทียม กุยช่าย พลับพลึงขาว พลับพลึงแดง พลับพลึง
ตีนเป็ด และว่านสี่ทิศ
หอมแดง จัดเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งประเทศไทยมี
การปลูกมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและทางภาคเหนือ และหอมแดงที่ขึนชื่อว่าเป็นหอมแดงคุณภาพดีก็
ได้แก่หอมแดงจากจังหวัดศรีษะเกษ
สรรพคุณของหอมแดง
1. ประโยชน์ของหอมแดง ช่วยทาให้ร่างกายอบอุ่น
2. หอมแดง ช่วยทาให้เจริญอาหาร (ผล,ใบ)
3. ร่างกายซูบผอม ด้วยการใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมนามาต้มนาดื่ม
4. มีส่วนช่วยเสริมสร้างความจา ทาให้ความจาดีขึน
5. สรรพคุณของหอมแดง ช่วยบารุงโลหิต
6. ช่วยบารุงหัวใจ
7. ช่วยเจริญธาตุไฟ
8. ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ
9. ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิตให้ดีขึน
10. ช่วยแก้อาการวิงเวียนศีรษะ หน้ามืด ตาลาย เป็นลม
11. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ
12. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง
13. ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล
14. ช่วยกาจัดไขมันเลว (LDL) ซึ่งเป็นต้นเหตุของการเกิดโรคหัวใจวายและอัมพฤกษ์ อัมพาต และยังรักษา
15. ระดับ ไขมันชนิดดี (HDL) ได้อีกด้วย
16. ช่วยลดไขมันในเส้นเลือดซึ่งเป็นสาเหตุมาจากโรคหัวใจและโรคความดันโลหิต
17. ประโยชน์หอมแดง ช่วยลดระดับนาตาลในเลือด
18. ช่วยยับยังการเกิดโรคเส้นเลือดอุดตุน
6
19. หอมแดงแก้หวัด คัดจมูกได้ (ผล,ใบ)
20. ช่วยแก้ไข้สันนิบาต
21. แก้ไข้อันบังเกิดแก่จักษุและทรวง
22. แก้โรคตาขับเสมหะ
23. ช่วยขับเสมหะ
24. แก้โรคในช่องปาก
25. นาหัวหอมใช้หยอดหูแก้อาการปวดหูได้
26. ช่วยแก้กาเดา (ผล,ใบ)
27. ช่วยทาให้อาเจียน
28. หอมแดงสรรพคุณ ช่วยแก้อาการอาเจียนเป็นเลือด ด้วยการใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมนามาต้มนาดื่ม (เมล็ด)
29. ช่วยแก้อาการบวมนา
30. ช่วยแก้อาการท้องเสีย
31. ช่วยแก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ
32. หอมแดงประโยชน์ ใช้เป็นยาถ่าย
33. ช่วยในการย่อยอาหาร
34. ช่วยขับลมในลาไส้
35. สรรพคุณหอมแดง ช่วยขับปัสสาวะ
36. ช่วยแก้ลมพรรดึก
37. ช่วยขับพยาธิ
38. ช่วยป้องกันการติดเชือ
39. ช่วยแก้อาการอักเสบต่าง ๆ
40. ช่วยรักษาแผล ด้วยการนาหอมแดงมาหั่นเป็นแว่น ๆ แล้วผสมกับนามันมะพร้าวและเกลือ นามาต้มให้
41. เดือดแล้วนามาพอกบริเวณแผล
42. ช่วยแก้อาการฟกชา (ผล,ใบ)
43. หัวหอมแดงสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการคัน ด้วยการใช้หัวหอมนามาบดผสมเหล้าเล็กน้อยนาไปพอก
บริเวณที่คัน
44. ช่วยแก้พิษแมงมุมกัด แมลงสัตว์กัดต่อย ด้วยการใช้หอมแดงทุบให้บุบผสมกับยาหม่องแล้วนามาทาบริเวณ
ที่โดนกัดและกินด้วย โดยทาทุก ๆ 5 นาทีประมาณ 3-4 ครังอาการจะดีขึน
45. กินแก้เนือสัตว์เป็นพิษ ด้วยการใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมนามาต้มนาดื่ม (เมล็ด)
46. ช่วยยับยังเชือแบคทีเรียต่าง ๆ
47. ช่วยแก้อาการเมาค้างจากเหล้า
48. แก้อาการสะอึก
49. หอมแดงรักษาสิว ฝ้า กระ จุดด่างดา ด้วยการนาหอมแดงมาฝานเป็นแว่นบาง ๆ แล้วจามาทาบริเวณที่เป็น
หอมแดงแก้ผมร่วง ช่วยบารุงเส้นผม ในบ้านเรานิยมนาหอมแดงมาใช้เป็นส่วนประกอบของเครื่องแกงเผ็ด
นาพริกต่าง ๆ ซุปหางวัว ผสมใส่ไข่เจียว เป็นส่วนประกอบของหลน หรือฝานเป็นแว่น ๆรับประทานร่วมกับ
แหนมสด เมี่ยง ปลาเค็ม และยังใช้เป็นส่วนประกอบของขนมหวาน อย่างเช่น ไข่ลูกเขย ขนมหม้อแกงถั่ว ข้าว
เหนียวหน้าปลาแห้ง เป็นต้น
50. มีส่วนช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ
7
ตะไคร้
ตะไคร้ ชื่อสำมัญ Lemongrass
ตะไคร้ ชื่อวิทยำศำสตร์ Cymbopogon citratus (DC.) Stapf จัดอยู่ในวงศ์หญ้า
(POACEAE หรือ GRAMINEAE)
ตะไคร้จัด จัดเป็นพืชล้มลุกตระกูลหญ้า ใบมีลักษณะเรียวยาว ปลายใบมีขนหนาม เป็นสมุนไพรไทย
ชนิดหนึ่งที่นิยมนามาประกอบอาหาร โดยตะไคร้แบ่งออกเป็น 6 ชนิด ซึ่งได้แก่ ตะไคร้หอม ตะไคร้กอ ตะไคร้
ต้น ตะไคร้นา ตะไคร้หางนาค และตะไคร้หางสิงห์ ซึ่งเป็นสมุนไพรไทยที่นิยมปลูกทั่วไปในบ้านเรา โดยมีถื่น
กาเนิดใน ประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย พม่า ศรีลังกา และไทย
ตะไคร้เป็นทังยารักษาโรคและยังมีทังวิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกายอีกด้วย เช่น วิตามิน
เอ ธาตุแคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก ฯลฯ
สรรพคุณของตะไคร้
1. มีส่วนช่วยในการขับเหงื่อ
2. เป็นยาบารุงธาตุไฟให้เจริญ (ต้นตะไคร้)
3. มีสรรพคุณเป็นยาบารุงธาตุ ช่วยในการเจริญอาหาร
4. ช่วยแก้อาการเบื่ออาหาร (ต้น)
5. สารสกัดจากตะไคร้มีส่วนช่วยในการป้องกันโรคเมะเร็งลาไส้ใหญ่
6. แก้และบรรเทาอาการหวัด อาการไอ
7. ช่วยรักษาอาการไข้ (ใบสด)
8. ใช้เป็นยาแก้ไข้เหนือ (ราก)
9. นามันหอมระเหยของใบตะไคร้ สามารถบรรเทาอาการปวดได้
10. ช่วยแก้อาการปวดศีรษะ
11. ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูง (ใบสด)
12. ใช้เป็นยาแก้อาเจียน หากนาไปใช้ร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ (หัวตะไคร้)
13. ช่่วยแก้อาการกษัยเส้นและแก้ลมใบ (หัวตะไคร้)
14. รักษาโรคหอบหืด ด้วยการใช้ต้นตะไคร้
15. ช่วยแก้อาการเสียดแน่นแสบบริเวณหน้าอก (ราก)
16. ใช้เป็นยาแก้อาการปวดท้องและอาการท้องเสีย (ราก)
8
17. ช่วยแก้และบรรเทาอาการปวดท้อง
18. ช่วยรักษาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ (หัวตะไคร้)
19. ช่วยในการขับนาดีมาช่วยในการย่อยอาหาร
20. นามันหอมระเหยจากตะไคร้ มีส่วนช่วยลดการบีบตัวของลาไส้ได้
21. มีฤทธิ์ช่วยในการขับปัสสาวะ
22. ช่วยแก้อาการปัสสาวะพิการ และรักษาโรคนิ่ว (หัวตะไคร้)
23. ช่วยแก้อาการขัดเบา (หัวตะไคร้)
24. ใช้เป็นยาแก้ขับลม (ต้น)
25. ช่วยรักษาอหิวาตกโรค
26. ช่วยแก้ลมอัมพาต (หัวตะไคร้)
9
บทที่ 3
วัสดุและวิธีกำรดำเนินกำร
วัสดุอุปกรณ์
1. ใบมะกรูด
2. หอมแดง
3. ปลาร้า
4. ตะไคร้
5. เครื่องชั่ง
6. นา
7. มีด
8. ชาม กะละมัง
9. ผ้าขาวบาง
10. กระทะ หม้อ
11. เตา
12. เครื่องปั่น
13. ตะแกรง
14. พับพี
15. ช้อน
16. ไฟแช็ก
17. ถ่าน
18. ถ้วยตวง
19. สมุดจดบันทึก
20. ปากกา
21. กระปุกพลาสติก
22. ถาด
23. เขียง
10
วิธีกำรทดลอง
ตอนที่ 1 ศึกษำวิธีกำรทำปลำร้ำผง
1. นาปลาร้าไปต้มให้ตัวปลาร้าละลาย และนามากรองด้วยตะแกรง เอาก้างทิง
2. นานาปลาร้าที่กรองไว้มาเคี่ยวจนแห้ง
3. นาปลาร้าที่เคี่ยวจนเป็นก้อนมาใส่ถาดทิงไว้ให้เย็น
4. นาไปโขลกให้ละเอียด และจะได้ผงปลาร้า
ตอนที่ 2 ศึกษำวิธีกำรดับกลิ่นปลำร้ำด้วยสมุนไพร
1. นาปลาร้าไปต้มให้ตัวปลาร้าละลาย และนามากรองด้วยตะแกรง เอาก้างทิง
2. นาหอมแดงมาปอกเปลือกล้างนาให้สะอาด แล้วหั่นให้เป็นชินเล็กๆ
3. นาหอมแดงที่หั่นมาปั่น ผสมกับนา และนามากรองด้วยผ้าขาวบาง
4. นาหอมแดงที่หั่นมาปั่น ผสมกับนา และนามากรองด้วยผ้าขาวบาง
5. นานาปลาร้าสมุนไพรที่เคี่ยวจนเป็นก้อนมาใส่ถาดทิงไว้ให้เย็น
6. นาไปโขลกให้ละเอียด และจะได้ผงปลาร้าสมุนไพร
ตอนที่ 3 กำรหำอัตรำส่วนที่เหมำะสมในกำรทำผงปลำร้ำสมุนไพร
กำรทำผงปลำร้ำสมุนไพรอัตรำส่วน 1:1
1. นาปลาร้าจานวน ครึ่งกิโลกรัม ไปต้มให้ตัวปลาร้าละลาย และนามากรองด้วยตะแกรง เอาก้างทิง
2. นาหอมแดงมาปอกเปลือก ตะไคร้ และใบมะกรูดล้างนาให้สะอาด ชั่งนาหนักจานวน 100 กรัม
แล้วหั่นให้เป็นชินเล็กๆ
3. นาสมุนไพรทัง 3 ชนิด ปั่นผสมกับนาจานวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร และนามากรองด้วย
ผ้าขาวบาง
4. นานาปลาร้าจานวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ไปเคี่ยวกับนาสมุนไพร
5. นานาปลาร้าสมุนไพรที่เคี่ยวจนเป็นก้อนมาใส่ถาดทิงไว้ให้เย็น
6. นาไปโขลกให้ละเอียด
7. สังเกตลักษณะของผงปลาร้าสมุนไพรที่ได้
กำรทำผงปลำร้ำสมุนไพรอัตรำส่วน 1:2
1. นาปลาร้าจานวน ครึ่งกิโลกรัม ไปต้มให้ตัวปลาร้าละลาย และนามากรองด้วยตะแกรง เอาก้างทิง
2. นาหอมแดงมาปอกเปลือก ตะไคร้ และใบมะกรูดล้างนาให้สะอาด ชั่งนาหนักจานวน 200 กรัม
แล้วหั่นให้เป็นชินเล็กๆ
3. นาสมุนไพรทัง 3 ชนิด มาปั่น ผสมกับนาจานวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร และนามากรองด้วย
ผ้าขาวบาง
4. นานาปลาร้าจานวน 100 มล. ไปเคี่ยวกับนาสมุนไพร
5. นานาปลาร้าสมุนไพรที่เคี่ยวจนเป็นก้อนมาใส่ถาดทิงไว้ให้เย็น
6. นาไปโขลกให้ละเอียด
7. สังเกตลักษณะของผงปลาร้าสมุนไพรที่ได้
11
กำรทำผงปลำร้ำสมุนไพรอัตรำส่วน 2:1
1.นาปลาร้าจานวน ครึ่งกิโลกรัม ไปต้มให้ตัวปลาร้าละลาย และนามากรองด้วยตะแกรง เอาก้างทิง
2. นาหอมแดงมาปอกเปลือก ตะไคร้ และใบมะกรูดล้างนาให้สะอาด ชั่งนาหนักจานวน 100 กรัม
แล้วหั่นให้เป็นชินเล็กๆ
3. นาสมุนไพรทัง 3 ชนิด มาปั่น ผสมกับนาจานวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร และนามากรองด้วย
ผ้าขาวบาง
4. นานาปลาร้าจานวน 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร ไปเคี่ยวกับนาสมุนไพร
5. นานาปลาร้าสมุนไพรที่เคี่ยวจนเป็นก้อนมาใส่ถาดทิงไว้ให้เย็น
6. นาไปโขลกให้ละเอียด
7. สังเกตลักษณะของผงปลาร้าสมุนไพร
7. บันทึกผลการทดลอง
12
บทที่ 4
ผลกำรทดลอง
ผลกำรทดลอง
ตำรำงที่ 4. 1 แสดงผลกำรทดลองกำรศึกษำวิธีทำผงปลำร้ำ
ชนิดของปลาร้า เคี่ยวที่อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) ลักษณะผงปลาร้า
ปลาร้าปลารวม
60 ไม่เป็นผง
80 ผงมีลักษณะเป็นก้อนเหนียว
100 ผงร่วนซุย
ปลาร้าปลาซิว 60 ไม่เป็นผง
80 ไม่เป็นผง
100 ไม่เป็นผง
จากตาราง พบว่า ปลาร้า ที่สามารถนามาทาผงปลาร้าได้ จะต้องเป็นปลาร้าปลา รวมเท่านัน ถ้าเป็น
ปลาร้าปลาซิวจะไม่เกิดผงปลาร้า
ตำรำงที่ 4.2 แสดงผลกำรทดลองกำรศึกษำอัตรำส่วนของสมุนไพรที่ใช้ในกำรดับกลิ่นปรลำร้ำ
สิ่งที่ใช้ อัตราส่วน ผงปลาร้าที่ได้
ปลาร้า + หอม
1:1 ผงปลาร้ามีน้อย ไม่มีกลิ่นของปลาร้า
1:2 ปริมาณผงปลาร้ามีน้อย มีกลิ่นหอม
2:1 ปริมาณผงปลาร้ามีมาก มีกลิ่นปลาร้าอยู่เล็กน้อย
ปลาร้า + ตะไคร้
1:1 ผงปลาร้ามีน้อย ไม่มีกลิ่นของปลาร้า
1:2 ปริมาณผงปลาร้ามีน้อย มีกลิ่นหอม
2:1 ปริมาณผงปลาร้ามีมาก มีกลิ่นปลาร้าอยู่เล็กน้อย
ปลาร้า + ใบมะกรูด
1:1 ผงปลาร้ามีน้อย ไม่มีกลิ่นของปลาร้า
1:2 ปริมาณผงปลาร้ามีน้อย มีกลิ่นหอม
2:1 ปริมาณผงปลาร้ามีมาก มีกลิ่นปลาร้าอยู่เล็กน้อย
จากตาราง พบว่า สมุนไพรทัง 3 ชนิด สามารถดับกลิ่นปลาร้าได้ และอัตราส่วนของสมุนไพรที่
สามารถดับกลิ่นปลาร้าได้ดีที่สุด คือ อัตราส่วน 1 : 2 จะได้ปริมาณผงปลาร้าที่มีกลิ่นหอม ไม่มีกลิ่นปลาร้า
เดิมอยู่ รองลงมา คือ อัตราส่วน 1 : 1 จะได้ผงปลาร้าที่ ไม่มีกลิ่นของปลาร้า และ อัตราส่วน 2 : 1
จะได้ผงปลาร้าที่ มีกลิ่นของปลาร้าอยู่เล็กน้อย แต่จะได้ปริมาณผงปลาร้ามาก
13
บทที่ 5
สรุปและอภิปรำยผลกำรทดลอง
สรุปผลกำรทดลอง
1. ปลาร้าที่ใช้รับประทานตามบ้านเรือนทั่วไป สามารถนามาทาเป็นผงได้จริง เป็นไปตามสมมติฐาน
ที่ตังไว้
2. สมุนไพรพืนบ้านจานวน 3 ชนิด ได้แก่ ใบมะกรูด ตะไคร้ และหอมแดง ที่นามาทาผงปลาร้า
สมุนไพรพืนบ้านนัน สามารถดับกลิ่นปลาร้าได้จริง และนอกจากนีสมุนไพรทาไห้ปลาร้ามีรสชาติดี มีสรรพคุณ
ทางยามีคุณค่าทางโภชนาการ และมีประโยชน์ต่อร่างกาย สะดวกในการใช้ เพราะเมื่อจะประกอบอาหาร ก็
สามารถนามาประกอบอาหารโดยเติมผงปลาร้าสมุนไพรพืนบ้านนีเป็นลาดับที่ 2 หลังจากต้มนาจนเดือดเพื่อ
เพิ่มรสชาติอาหารให้กลมกล่อมอร่อยโดยใช้แทนปลาร้าดิบที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเหมาะสาหรับผู้บริโภคที่รัก
สุขภาพ ประหยัดค่าใช้จ่ายในครอบครัวและป้องกันตนเอง จากการได้รับอันตรายจากปลาร้าดิบ
3. อัตราส่วนของสมุนไพร ต่อ ปลาร้า ที่เหมาะสม คือ อัตราส่วน 2 : 1 สามารถดับกลิ่นปลาร้า
ได้ดีที่สุด ผงปลาร้าที่ได้ไม่มีกลิ่นปลาร้า
อภิปรำยผลกำรทดลอง
จากผลการทดลองทาสมุนไพรพืนบ้าน 3 ชนิด พบว่าสมุนไพรทัง 3 ชนิด สามารถดับกลิ่นปลาร้าได้
และอัตราส่วนของสมุนไพรที่สามารถดับกลิ่นปลาร้าได้ดีที่สุด คือ อัตราส่วน 1 : 2 จะได้ปริมาณผงปลาร้าที่มี
กลิ่นหอม ไม่มีกลิ่นปลาร้าเดิมอยู่ รองลงมา คือ อัตราส่วน 1 : 1 จะได้ผงปลาร้าที่ ไม่มีกลิ่นของปลาร้า และ
อัตราส่วน 2 : 1 จะได้ผงปลาร้าที่ มีกลิ่นของปลาร้าอยู่เล็กน้อย แต่จะได้ปริมาณผงปลาร้ามาก ผงปลาร้ามี
กลิ่นหอม รสชาติดี มีสรรพคุณทางยา มีคุณค่าทางโภชนาการ และมีประโยชน์ต่อร่างกาย สะดวกในการใช้
เพราะเมื่อจะประกอบอาหาร ก็สามารถนามาประกอบอาหาร โดยเติมผงปลาร้าสมุนไพรพืนบ้านนีเป็นลาดับ
ที่ 2 หลังจากต้มนาจนเดือดเพื่อเพิ่มรสชาติอาหารให้กลมกล่อมอร่อยโดยใช้แทนปลาร้าดิบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
เหมาะสาหรับผู้บริโภคที่รักสุขภาพ ประหยัดค่าใช้จ่ายในครอบครัวและป้องกันตนเอง จากการได้รับอันตราย
จากปลาร้าดิบ แสดงว่าสมุนไพรพืนบ้านทัง 3 ชนิด นีสามารถนามาดับกลิ่นปลาร้าได้จริง เป็นไปตาม
สมมติฐานที่ตังไว้
ข้อเสนอแนะ
สืบค้นข้อมูลสมุนไพรพืนบ้านชนิดอื่นๆ เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทาเป็นผงปลาร้าสมุนไพรที่
แตกต่างจากโครงงานนี เช่น ข่า เป็นต้นเพื่อพัฒนาเป็นผงปลาร้าสมุนไพร สูตรแกงอ่อม ฯลฯ ในโอกาส
ต่อไป
14
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. นักเรียน ครู ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไปได้บริโภคผงปลาร้าสมุนไพรพืนบ้านที่ปลอดภัย
และมีคุณค่าทางโภชนาการ
2. ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัวและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวมาใช้ในครอบครัว ท้องถิ่น และชุมชน
3. อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
4. พัฒนาและเผยแพร่ผักพืนบ้านให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้มากขึน
15
บรรณำนุกรม
ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคกำรสอนโครงงำนวิทยำศำสตร์. ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์.
เอกสารอัดสาเนาม, 2548.
จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย.โรงเรียน.ตัวอย่ำงบทคัดย่อโครงงำนวิทยำศำสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์.ชลบุรี.
เอกสารอัดสาเนา, 2552.
พรพรรณ. สมุนไพรในครัว. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2541.
ศิรินยา. พืชผักรักษาโรค. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2545.
สุวิทย์ วรรณศรี.เทคนิคกำรทำโครงงำนนักเรียน.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา,2554.
สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข. ผักพื้นบ้ำนควำมหมำยและ
ภูมิปัญญำของสำมัญชนไทย. พิมพ์ครังที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์
ทหารผ่านศึก,2540.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือกำรเขียนรำยงำนโครงงำนวิทยำศำสตร์
คณิตศำสตร์และคอมพิวเตอร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา
ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามแนวพระราชดาริ
เศรษฐกิจพอเพียง,2555.
16
ภาคผนวก
17
ภำพแสดงขั้นตอนกำรทำปลำร้ำผง
ภำพที่ 1 นำปลำร้ำดิบไปต้ม ภำพที่ 2 กำรกรองปลำร้ำ
ภำพที่ 3 น้ำปลำร้ำที่กรอง ภำพที่ 4 หั่นสมุนไพรเตรียมไว้
ภำพที่ 4 ปั่นสมุนไพร
18
ภำพที่ 5 ได้น้ำสมุนไพร
ภำพที่ 6 นำน้ำสมุนไพรผสมในน้ำปลำร้ำ เคี่ยวจนแห้ง
ภำพที่ 7 ผงปลำร้ำสมุนไพรบรรจุใส่กระปุก
19
รำยงำนโครงงำนวิทยำศำสตร์ ประเภททดลอง
เรื่อง ผงปลำร้ำสมุนไพร
โดย
1. นำงสำวพัทธมน คำเกตุ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/1
2. นำงสำวปรำงค์วลัย พิมพ์เสนำ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/1
3. นำงสำวนภำสิริ แก้วหงส์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/1
ครูที่ปรึกษำ
นำงชโลธร กีรติศักดิ์กุล
นำงรัชนู บัวพันธ์
โรงเรียนเมืองรำดวิทยำคม
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 40
รำยงำนฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงำนวิทยำศำสตร์
ประเภททดลอง ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4-6
เนื่องในงำนมหกรรมวิชำกำรเฉลิมพระเกียรติฯ ครั้งที่ 1
ระหว่ำงวันที่ 25-27 สิงหำคม พ.ศ.2558
20
เรื่อง ผงปลำร้ำสมุนไพร
โดย
1. นางสาวพัทธมน คาเกตุ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
2. นางสาวปรางค์วลัย พิมพ์เสนา ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
3. นางสาวนภาสิริ แก้วหงส์ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
ครูที่ปรึกษำ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล
นางรัชนู บัวพันธ์
21
ก
ผงปลำร้ำสมุนไพร
คณะผู้จัดทำ
1. นางสาวพัทธมน คาเกตุ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
2. นางสาวปรางค์วลัย พิมพ์เสนา ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
3. นางสาวนภาสิริ แก้วหงส์ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
ครูที่ปรึกษำ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล
นางรัชนู บัวพันธ์
โรงเรียนเมืองรำดวิทยำคม อำเภอหล่มเก่ำ จังหวัดเพชรบูรณ์
บทคัดย่อ
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ผงปลาร้าสมุนไพร มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการทา
ผงปลาร้าสมุนไพร เพื่อน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มาใช้ในชีวิตประจาวัน ท้องถิ่น และชุมชนที่อาศัยอยู่ เพื่อผลิตผงปลาร้าสมุนไพร ไว้ใช้เองภายในบ้าน และ
เพื่อนาสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ได้มากขึน
การทดลองแบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาวิธีการทาปลาร้าผง โดยนาปลาร้าที่อยู่มาต้มและ
เคียวจนกระทั่งเป็นผง ตอนที่ 2 ศึกษาวิธีการดับกลิ่นปลาร้าด้วยสมุนไพร โดยนาสมุนไพรพืนบ้าน จานวน
3 ชนิด ได้แก่ ใบมะกรูด ตะไคร้ หอมแดง มาเป็นส่วนผสมในการทาปลาร้าผง เคี่ยวจนแห้งเป็นก้อนและ
นามาบดให้ละเอียด ตอนที่ 3 หาอัตราส่วนที่เหมาะสมของสมุนไพรที่ใช้ดับกลิ่น โดยนาสมุนไพรมาผสมใน
ปลาร้าในอัตราส่วน 1 : 1 , 1 : 2 และ 1 : 3 นาผงปลาร้าสมุนไพรที่ได้บรรจุในถุงพลาสติก หรือ กระปุก
พลาสติกเก็บไว้ใช้ต่อไป
ผลการทดลอง พบว่า ปลาร้าที่ใช้อยู่ในบ้าน สามารถทาเป็นผงได้ และสมุนไพรพืนบ้านที่นามาใช้
ดับกลิ่นปลาร้า สามารถทาให้ปลาร้าผงที่ได้ไม่มีกลิ่นเหม็น เหมือนปลาร้าที่ใช้อยู่ตามบ้านทั่วไป และ
อัตราส่วนที่ทาให้ปลาร้ามีกลิ่นที่ไม่เหม็นมาก คือ อัตราส่วนของสมุนไพร : ปลาร้า ที่เหมาะสม คือ อัตราส่วน
2 : 1 , 1 : 1 และ 1 : 2 ตามลาดับ แสดงให้เห็นว่า สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นสามารถนามาเป็นส่วนผสมทา
ผงปลาร้าสมุนไพรที่ไม่มีกลิ่นเหม็นได้จริง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตังไว้
22
ข
กิตติกรรมประกำศ
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ผงปลาร้าสมุนไพรพืนบ้าน คณะผู้จัดทา
ขอขอบคุณ คุณตา คุณยาย และผู้รู้ในหมู่บ้าน ชุมชน และท้องถิ่นทุกคน ที่ให้ข้อมูลจนคณะผู้จัดทาสามารถ
นาสมุนไพรพืนบ้านมาทาเป็นผงปลาร้าสมุนไพรได้จริง
ขอขอบคุณ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล และ นางรัชนู บัวพันธ์ ครูที่ปรึกษาโครงงานที่ให้คาปรึกษา
ข้อเสนอแนะในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ การแก้ปัญหาต่างๆ ระหว่างการทาโครงงานตลอดจนแนะนา
เอกสารตาราต่างๆ รวมทังการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ทาให้คณะผู้จัดทามีข้อมูลในการทาโครงงาน
จานวนมาก จนโครงงานสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี
ขอขอบคุณ นายเสรี เปรมปรีดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม นางบุศราภรณ์ คาแก้ว
รองผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม ที่ให้ขวัญกาลังใจและสนับสนุนด้านงบประมาณ
คณะผู้จัดทารายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ผงปลาร้าสมุนไพร จึงขอขอบพระคุณ
ทุกท่านดังกล่าวข้างต้นไว้ ณ ที่นีเป็นอย่างสูง
พัทธมน คาเกตุ
ปรางค์วลัย พิมพ์เสนา
นภาสิริ แก้วหงษ์
23
ค
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง ง
สารบัญภาพประกอบ จ
บทที่ 1 บทนา 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ 9
บทที่ 4 ผลการดาเนินการ 11
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการดาเนินการ 12
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก 16
24
ง
สำรบัญตำรำง
ตำรำงที่ หน้ำ
1 แสดงผลการทดลองการศึกษาวิธีการทาผงปลาร้า 12
2 แสดงผลการทดลองการศึกษาอัตราส่วนของสมุนไพรในการดับกลิ่นปลาร้า 12
25
จ
สำรบัญภำพ
ภำพประกอบที่ หน้ำ
1 แสดงการขันตอนการทาผงปลาร้า 17

Contenu connexe

Tendances

โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรPornthip Nabnain
 
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003withawat na wanma
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้สุทน ดอนไพร
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้Paramin Suwannawut
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมSupaluck
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
ตัวอย่างบทที่1 5
ตัวอย่างบทที่1 5ตัวอย่างบทที่1 5
ตัวอย่างบทที่1 5padtarapon
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด O-SOT Kanesuna POTATO
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 

Tendances (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
 
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
เรื่องวัฒนธรรมกับภาษา ม. 5
เรื่องวัฒนธรรมกับภาษา  ม. 5เรื่องวัฒนธรรมกับภาษา  ม. 5
เรื่องวัฒนธรรมกับภาษา ม. 5
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
ตัวอย่างบทที่1 5
ตัวอย่างบทที่1 5ตัวอย่างบทที่1 5
ตัวอย่างบทที่1 5
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 

Similaire à โครงงานปลาร้าสมุนไพร

T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมthkitiya
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรaromdjoy
 
อาหารภาคอีสาน
อาหารภาคอีสานอาหารภาคอีสาน
อาหารภาคอีสานพัน พัน
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01toonkp_shadow
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงVaree Supa
 
งานนำเสนอ1 ผึ้ง
งานนำเสนอ1  ผึ้งงานนำเสนอ1  ผึ้ง
งานนำเสนอ1 ผึ้งtor_03372
 
วินหรรมบาน
วินหรรมบานวินหรรมบาน
วินหรรมบานAN'z NP Soparpipat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1suttinee23
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ดอกไม้กินได้
ดอกไม้กินได้ดอกไม้กินได้
ดอกไม้กินได้Samart Ponlakan
 

Similaire à โครงงานปลาร้าสมุนไพร (20)

Wisdom2
Wisdom2Wisdom2
Wisdom2
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
 
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
 
อาหารภาคอีสาน
อาหารภาคอีสานอาหารภาคอีสาน
อาหารภาคอีสาน
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
อาหารอีสาน
อาหารอีสานอาหารอีสาน
อาหารอีสาน
 
งานนำเสนอ1 ผึ้ง
งานนำเสนอ1  ผึ้งงานนำเสนอ1  ผึ้ง
งานนำเสนอ1 ผึ้ง
 
วินหรรมบาน
วินหรรมบานวินหรรมบาน
วินหรรมบาน
 
Comproject
ComprojectComproject
Comproject
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
ดอกไม้กินได้
ดอกไม้กินได้ดอกไม้กินได้
ดอกไม้กินได้
 

Plus de Chok Ke

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3Chok Ke
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4Chok Ke
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบChok Ke
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก ObecChok Ke
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9Chok Ke
 

Plus de Chok Ke (20)

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
597 02
597 02597 02
597 02
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก Obec
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 9
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 9
 

โครงงานปลาร้าสมุนไพร

  • 1. บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน ปลาร้า เป็นส่วนประกอบของอาหารของชาวอีสาน และชาวอาเภอหล่มเก่า ทามาจากการนาปลามา หมัก กับเกลือ เพื่อใช้ในการประกอบอาหาร ซึ่งปลาร้าจะเป็นส่วนที่ช่วยให้รสชาติอาหารอร่อย แต่เนื่องจาก ปลาร้าที่หมักไว้จะมีลักษณะเป็นนา และมีกลิ่นเหม็น ไม่สะดวกต่อการนามาประกอบอาหารของคนที่อาศัยใน เมืองกรุง และปลาร้าที่คนส่วนใหญ่รับประทานเป็นปลาร้าดิบ ถ้ากินเข้าไปมากๆ จะทาให้เกิดโรคมะเร็งตับ โรคมะเร็งท่อนาดี พยาธิใบไม้ในตับ คณะผู้จัดทา จึงคิดวิธีการทาปลาร้าให้สุกและมีลักษณะเป็นผง มีกลิ่น เหม็นน้อยลง จึงนาสมุนไพรสมุนไพรพืนบ้านในท้องถิ่น ที่เป็นส่วนประกอบของอาหาร มาใช้ในการดับกลิ่น ปลาร้า ทังนีเพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปได้บริโภคผลิตภัณฑ์ประกอบอาหารที่ ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการ หาสิ่งทดแทนปลาร้าดิบ ลดค่าใช้จ่ายในการดารงชีวิตประจาวัน อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาและส่งเสริมการนาสมุนไพรพืนบ้านที่มีในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ดังนันพวกเราจึงคิดที่จะทาโครงงานนีขึนมา เพื่อให้เป็นประโยชน์แก่มวลมนุษย์มากขึน เพิ่มรสชาติ การทาอาหาร มีคุณค่าทางโภชนาการ ปลอดภัย ต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันโรค สามารถทาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อ สร้างรายได้ให้กับครอบครัวและชุมชน อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น และน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ในการดารงชีวิตประจาวัน นาความรู้สู่ครอบครัว ชุมชนและ ท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่ 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ศึกษาวิธีการทาผงปลาร้าสมุนไพร 2. เพื่อน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาใช้ในชีวิตประจาวัน ท้องถิ่น และชุมชนที่อาศัยอยู่ 3. เพื่อผลิตผงปลาร้าสมุนไพร ไว้ใช้เองภายในบ้าน 4. เพื่อนาสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ได้มากขึน 1.3 สมมติฐำนของกำรทดลอง ตอนที่ 1 ปลาร้าที่ใช้รับประทานอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไปน่าจะนามาผลิตเป็นผงปลาร้าได้ ตอนที่ 2 ถ้าใบมะกรูด หอมแดง และตะไคร้ เป็นสมุนไพรที่ใช้ในการดับกลิ่น ดังนัน เมื่อนา สมุนไพรดังกล่าว มาเป็นส่วนผสมในปลาร้า น่าจะทาให้กลิ่นเหม็นของปลาร้าหายไปได้ ตอนที่ 3 ถ้าใส่ใบมะกรูด หอมแดง และตะไคร้ ในปลาร้าในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน จะทาให้ผง ปลาร้ามีกลิ่นของปลาร้าแตกต่างกัน 1.4 ขอบเขตของกำรทดลอง ใช้ปลาร้าที่มีขายตามท้องตลาด ใช้สมุนไพร 3 ชนิด ได้แก่ 1. ใบมะกรูด 2. หอมแดง 3. ตะไคร้ ดาเนินการทดลองที่ บ้านนาซา อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์
  • 2. 2 1.5 กำรกำหนดตัวแปร ตอนที่ 1 ศึกษำวิธีกำรทำผงปลำร้ำ ตัวแปรต้น คือ ชนิดของปลาร้า และอุณหภูมิ ตัวแปรตาม คือ การเกิดผงปลาร้า ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ปริมาณปลาร้า ระยะเวลาในการเคี่ยวนาปลาร้า ภาชนะที่ใช้ในการต้ม เคี่ยว ขนาดของเตาไฟ ตอนที่ 2 ศึกษำสมุนไพรที่ใช้ในกำรดับกลิ่น ตัวแปรต้น คือ ใบมะกรูด ตะไคร้ หอมแดง ตัวแปรตาม คือ ลักษณะของผงปลาร้าสมุนไพร ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ปริมาณของสมุนไพรต่างๆ ปริมาณปลาร้า ระยะเวลาในการเคี่ยว นาปลาร้าและนาสมุนไพร ตอนที่ 3 ศึกษำอัตรำส่วนที่เหมำะสม ตัวแปรต้น คือ อัตราส่วนของสมุนไพรทัง 3 ชนิด ได้แก่ ใบมะกรูด ตะไคร้ หอมแดง : นาปลาร้า ตัวแปรตาม คือ ลักษณะของกลิ่นผงปลาร้าสมุนไพร ตัวแปรที่ต้องควบคุม คือ ปริมาณของสมุนไพรต่างๆ ปริมาณปลาร้า ระยะเวลาในการเคี่ยว นาปลาร้าและนาสมุนไพร 1.6 นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. ผงปลาร้า หมายถึง ผงปลาร้าที่ได้จากการนานาปลาร้ามาเคี่ยวจนกระทั่งเป็นผง 2. สมุนไพร หมายถึง ผักสมุนไพรพืนบ้านที่นามาเป็นส่วนผสมในการเคี่ยวปลาร้าให้เป็นผง ได้แก่ ใบมะกรูด ตะไคร้ หัวหอมแดง 3. ปลาร้าปลารวม หมายถึง ปลาร้าที่ทามาจากปลาหลากหลายชนิดหมักรวมกันจนกระทั่ง กลายเป็นปลาร้าที่ใช้ในการประกอบอาหาร 1.7 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. รู้วิธีการทาผงปลาร้าสมุนไพร 2. มีปลาร้าผงสมุนไพร ใช้ในชีวิตประจาวัน ท้องถิ่น และชุมชน 3. ปลาร้าสมุนไพรสามารถเก็บไว้ใช้ได้อย่างปลอดภัย 4. นาสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ได้มากขึน
  • 3. 3 บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง ปลำร้ำ “ปลำร้ำ" ถือเป็นอาหารเอืออาทรชันดึกดาบรรพ์ และไม่ใช่คนไทยเป็นเจ้าของชาติเดียวแต่ต้องเรียกว่า “อำหำรแห่งอุษำคเนย์” ดุจเดียวกับปลาดิบแห่งญี่ปุ่นหรือกิมจิของเกาหลี โดยมีการพบไหปลาร้าโบราณใน แหล่งมอญ-เขมรมาก” คากล่าวของ นพ.กฤษดา ศิรามพุช ผอ.สถาบันเวชศาสตร์อายุรวัฒน์นานาชาติ สำรอำหำรที่ให้ประโยชน์ของปลำร้ำ มีดังนี้ ปลำร้ำ เป็นแหล่งวิตามินเคที่ยอดเยี่ยม เช่นเดียวกับถั่วเน่า เต้าหู้ยีของบ้านเราหรือ “นัตโตะ” ถั่วเน่า ญี่ปุ่น โดย วิตามินเคนันช่วยทังหยุดเลือดและช่วยนาพาแคลเซียมเข้ากระดูกได้ดี และยังมีสารอาหารอื่นๆ ที่ ประโยชน์ต่อร่างกายอีกมายมาย ค่ำเฉลี่ยของสำรอำหำรในปลำร้ำ 100 กรัม สำรอำหำรในเนื้อปลำร้ำ ประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรท (1.75กรัม) ไขมัน (6.0กรัม) โปรตีน (14.5กรัม) พลังงาน (117.5กิโลแคลอรี่) สำรอำหำรในน้ำปลำร้ำ ประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรท (0.0กรัม) ไขมัน (0.6กรัม) โปรตีน (3.2 กรัม) พลังงาน (18.2 กิโลแคลอรี่) วิตำมินและแร่ธำตุในปลำร้ำ ประกอบด้วย วิตามิน เอ วิตามิน บี 1 วิตามิน บี 2 ไนอาซีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก วิตำมินในเนื้อปลำร้ำ ประกอบด้วย วิตามิน เอ (195.0หน่วยสากล) วิตามิน บี 1 (0.02มิลลิกรัม) วิตามิน บี 2 (0.16มิลลิกรัม) ไนอาซีน (0.60มิลลิกรัม) แคลเซียม (939.55มิลลิกรัม) ฟอสฟอรัส (648.2มิลลิกรัม) เหล็ก (4.25มิลลิกรัม) วิตำมินในน้ำปลำร้ำ ประกอบด้วย วิตามิน เอ (0.0หน่วยสากล) วิตามิน บี 1 (0.0มิลลิกรัม) วิตามิน บี 2 (0.0มิลลิกรัม) ไนอาซีน (0.0มิลลิกรัม) แคลเซียม (76.5มิลลิกรัม) ฟอสฟอรัส (42.5มิลลิกรัม) เหล็ก (0.0มิลลิกรัม)
  • 4. 4 ใบมะกรูด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC. ชื่อสามัญ : Leech lime, Mauritus papeda วงศ์ : Rutaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีนาตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมัน สีเขียวเข้ม มีต่อมมันอยู่ตามผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบที่ ปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลียงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป้นรูปทรงกลมหรืรูปไข่ โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมนามัน ผลอ่อนสีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรสเปรียว เมล็ดกลมรี สีขาว มี หลายเมล็ด ประโยชน์ของใบมะกรูด “ใบมะกรูด” เป็นสมุนไพรที่มักนามาใช้ปรุงอาหารมีสรรพคุณหลายอย่าง เช่น ขับลม ทาให้เลือดลมไหลเวียนดี ช่วยบารุงหัวใจ ระบบการไหลเวียนของโลหิต แก้ไอ ลดอาการอักเสบของกล้ามเนือ แก้ชาใน อาการเกร็ง แก้ฝี ภายใน ขับเสมหะ นามันหอมระเหยของมะกรูดทาให้ผมดกดา สรรพคุณอีกอย่าง คือ ถ้าเกิดรู้สึกเครียด ๆ ก็นาใบมะกรูดมาฉีก แล้วดมจะทาให้ผ่อนคลายได้ เหมือนกัน เพราะใน “ใบมะกรูด” จะมีสารบางตัวทาให้รู้สึกผ่อนคลายได้ดี ใบมะกรูดยังกันแมลงรบกวนข้าวสาร ข้าวสารที่เราซือเก็บไว้หุง กว่าจะใช้หมดบางครังก็มักโดนแมลงตัวเล็กตัวน้อยลงไปก่อกวน ใช้ใบมะกรูดการาบ โดยให้วางใบมะกรูดไว้บนข้าวสาร หรืออาจจะใส่ผสมปนเปไว้ในข้าวสารเลยก็ได้ ซึ่งหากข้าวสารมีจานวนมาก ก็ใส่ใบมะกรูดมากหน่อย รับรองจะไม่มีแมลงมารบกวนอีกต่อไป หากข้าวสารยังใช้ไม่หมดแต่ใบมะกรูดที่วางไว้ แห้งหรือหมดกลิ่นไปแล้วก็ให้เปลี่ยนใบมะกรูดเสียใหม่ไม่งันเดี๋ยวเจ้าแมลงได้ใจกลับมารบกวนอีก
  • 5. 5 หอมแดง ภาษาอังกฤษ Shallot มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Allium cepa linn .cv group Aggregatum จัดอยู่ใน วงศ์ AMARYLLIDACEAE เช่นเดียวกับหอมใหญ่ กระเทียม กุยช่าย พลับพลึงขาว พลับพลึงแดง พลับพลึง ตีนเป็ด และว่านสี่ทิศ หอมแดง จัดเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งประเทศไทยมี การปลูกมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและทางภาคเหนือ และหอมแดงที่ขึนชื่อว่าเป็นหอมแดงคุณภาพดีก็ ได้แก่หอมแดงจากจังหวัดศรีษะเกษ สรรพคุณของหอมแดง 1. ประโยชน์ของหอมแดง ช่วยทาให้ร่างกายอบอุ่น 2. หอมแดง ช่วยทาให้เจริญอาหาร (ผล,ใบ) 3. ร่างกายซูบผอม ด้วยการใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมนามาต้มนาดื่ม 4. มีส่วนช่วยเสริมสร้างความจา ทาให้ความจาดีขึน 5. สรรพคุณของหอมแดง ช่วยบารุงโลหิต 6. ช่วยบารุงหัวใจ 7. ช่วยเจริญธาตุไฟ 8. ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ 9. ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิตให้ดีขึน 10. ช่วยแก้อาการวิงเวียนศีรษะ หน้ามืด ตาลาย เป็นลม 11. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ 12. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง 13. ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล 14. ช่วยกาจัดไขมันเลว (LDL) ซึ่งเป็นต้นเหตุของการเกิดโรคหัวใจวายและอัมพฤกษ์ อัมพาต และยังรักษา 15. ระดับ ไขมันชนิดดี (HDL) ได้อีกด้วย 16. ช่วยลดไขมันในเส้นเลือดซึ่งเป็นสาเหตุมาจากโรคหัวใจและโรคความดันโลหิต 17. ประโยชน์หอมแดง ช่วยลดระดับนาตาลในเลือด 18. ช่วยยับยังการเกิดโรคเส้นเลือดอุดตุน
  • 6. 6 19. หอมแดงแก้หวัด คัดจมูกได้ (ผล,ใบ) 20. ช่วยแก้ไข้สันนิบาต 21. แก้ไข้อันบังเกิดแก่จักษุและทรวง 22. แก้โรคตาขับเสมหะ 23. ช่วยขับเสมหะ 24. แก้โรคในช่องปาก 25. นาหัวหอมใช้หยอดหูแก้อาการปวดหูได้ 26. ช่วยแก้กาเดา (ผล,ใบ) 27. ช่วยทาให้อาเจียน 28. หอมแดงสรรพคุณ ช่วยแก้อาการอาเจียนเป็นเลือด ด้วยการใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมนามาต้มนาดื่ม (เมล็ด) 29. ช่วยแก้อาการบวมนา 30. ช่วยแก้อาการท้องเสีย 31. ช่วยแก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ 32. หอมแดงประโยชน์ ใช้เป็นยาถ่าย 33. ช่วยในการย่อยอาหาร 34. ช่วยขับลมในลาไส้ 35. สรรพคุณหอมแดง ช่วยขับปัสสาวะ 36. ช่วยแก้ลมพรรดึก 37. ช่วยขับพยาธิ 38. ช่วยป้องกันการติดเชือ 39. ช่วยแก้อาการอักเสบต่าง ๆ 40. ช่วยรักษาแผล ด้วยการนาหอมแดงมาหั่นเป็นแว่น ๆ แล้วผสมกับนามันมะพร้าวและเกลือ นามาต้มให้ 41. เดือดแล้วนามาพอกบริเวณแผล 42. ช่วยแก้อาการฟกชา (ผล,ใบ) 43. หัวหอมแดงสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการคัน ด้วยการใช้หัวหอมนามาบดผสมเหล้าเล็กน้อยนาไปพอก บริเวณที่คัน 44. ช่วยแก้พิษแมงมุมกัด แมลงสัตว์กัดต่อย ด้วยการใช้หอมแดงทุบให้บุบผสมกับยาหม่องแล้วนามาทาบริเวณ ที่โดนกัดและกินด้วย โดยทาทุก ๆ 5 นาทีประมาณ 3-4 ครังอาการจะดีขึน 45. กินแก้เนือสัตว์เป็นพิษ ด้วยการใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมนามาต้มนาดื่ม (เมล็ด) 46. ช่วยยับยังเชือแบคทีเรียต่าง ๆ 47. ช่วยแก้อาการเมาค้างจากเหล้า 48. แก้อาการสะอึก 49. หอมแดงรักษาสิว ฝ้า กระ จุดด่างดา ด้วยการนาหอมแดงมาฝานเป็นแว่นบาง ๆ แล้วจามาทาบริเวณที่เป็น หอมแดงแก้ผมร่วง ช่วยบารุงเส้นผม ในบ้านเรานิยมนาหอมแดงมาใช้เป็นส่วนประกอบของเครื่องแกงเผ็ด นาพริกต่าง ๆ ซุปหางวัว ผสมใส่ไข่เจียว เป็นส่วนประกอบของหลน หรือฝานเป็นแว่น ๆรับประทานร่วมกับ แหนมสด เมี่ยง ปลาเค็ม และยังใช้เป็นส่วนประกอบของขนมหวาน อย่างเช่น ไข่ลูกเขย ขนมหม้อแกงถั่ว ข้าว เหนียวหน้าปลาแห้ง เป็นต้น 50. มีส่วนช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ
  • 7. 7 ตะไคร้ ตะไคร้ ชื่อสำมัญ Lemongrass ตะไคร้ ชื่อวิทยำศำสตร์ Cymbopogon citratus (DC.) Stapf จัดอยู่ในวงศ์หญ้า (POACEAE หรือ GRAMINEAE) ตะไคร้จัด จัดเป็นพืชล้มลุกตระกูลหญ้า ใบมีลักษณะเรียวยาว ปลายใบมีขนหนาม เป็นสมุนไพรไทย ชนิดหนึ่งที่นิยมนามาประกอบอาหาร โดยตะไคร้แบ่งออกเป็น 6 ชนิด ซึ่งได้แก่ ตะไคร้หอม ตะไคร้กอ ตะไคร้ ต้น ตะไคร้นา ตะไคร้หางนาค และตะไคร้หางสิงห์ ซึ่งเป็นสมุนไพรไทยที่นิยมปลูกทั่วไปในบ้านเรา โดยมีถื่น กาเนิดใน ประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย พม่า ศรีลังกา และไทย ตะไคร้เป็นทังยารักษาโรคและยังมีทังวิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกายอีกด้วย เช่น วิตามิน เอ ธาตุแคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก ฯลฯ สรรพคุณของตะไคร้ 1. มีส่วนช่วยในการขับเหงื่อ 2. เป็นยาบารุงธาตุไฟให้เจริญ (ต้นตะไคร้) 3. มีสรรพคุณเป็นยาบารุงธาตุ ช่วยในการเจริญอาหาร 4. ช่วยแก้อาการเบื่ออาหาร (ต้น) 5. สารสกัดจากตะไคร้มีส่วนช่วยในการป้องกันโรคเมะเร็งลาไส้ใหญ่ 6. แก้และบรรเทาอาการหวัด อาการไอ 7. ช่วยรักษาอาการไข้ (ใบสด) 8. ใช้เป็นยาแก้ไข้เหนือ (ราก) 9. นามันหอมระเหยของใบตะไคร้ สามารถบรรเทาอาการปวดได้ 10. ช่วยแก้อาการปวดศีรษะ 11. ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูง (ใบสด) 12. ใช้เป็นยาแก้อาเจียน หากนาไปใช้ร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่น ๆ (หัวตะไคร้) 13. ช่่วยแก้อาการกษัยเส้นและแก้ลมใบ (หัวตะไคร้) 14. รักษาโรคหอบหืด ด้วยการใช้ต้นตะไคร้ 15. ช่วยแก้อาการเสียดแน่นแสบบริเวณหน้าอก (ราก) 16. ใช้เป็นยาแก้อาการปวดท้องและอาการท้องเสีย (ราก)
  • 8. 8 17. ช่วยแก้และบรรเทาอาการปวดท้อง 18. ช่วยรักษาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ (หัวตะไคร้) 19. ช่วยในการขับนาดีมาช่วยในการย่อยอาหาร 20. นามันหอมระเหยจากตะไคร้ มีส่วนช่วยลดการบีบตัวของลาไส้ได้ 21. มีฤทธิ์ช่วยในการขับปัสสาวะ 22. ช่วยแก้อาการปัสสาวะพิการ และรักษาโรคนิ่ว (หัวตะไคร้) 23. ช่วยแก้อาการขัดเบา (หัวตะไคร้) 24. ใช้เป็นยาแก้ขับลม (ต้น) 25. ช่วยรักษาอหิวาตกโรค 26. ช่วยแก้ลมอัมพาต (หัวตะไคร้)
  • 9. 9 บทที่ 3 วัสดุและวิธีกำรดำเนินกำร วัสดุอุปกรณ์ 1. ใบมะกรูด 2. หอมแดง 3. ปลาร้า 4. ตะไคร้ 5. เครื่องชั่ง 6. นา 7. มีด 8. ชาม กะละมัง 9. ผ้าขาวบาง 10. กระทะ หม้อ 11. เตา 12. เครื่องปั่น 13. ตะแกรง 14. พับพี 15. ช้อน 16. ไฟแช็ก 17. ถ่าน 18. ถ้วยตวง 19. สมุดจดบันทึก 20. ปากกา 21. กระปุกพลาสติก 22. ถาด 23. เขียง
  • 10. 10 วิธีกำรทดลอง ตอนที่ 1 ศึกษำวิธีกำรทำปลำร้ำผง 1. นาปลาร้าไปต้มให้ตัวปลาร้าละลาย และนามากรองด้วยตะแกรง เอาก้างทิง 2. นานาปลาร้าที่กรองไว้มาเคี่ยวจนแห้ง 3. นาปลาร้าที่เคี่ยวจนเป็นก้อนมาใส่ถาดทิงไว้ให้เย็น 4. นาไปโขลกให้ละเอียด และจะได้ผงปลาร้า ตอนที่ 2 ศึกษำวิธีกำรดับกลิ่นปลำร้ำด้วยสมุนไพร 1. นาปลาร้าไปต้มให้ตัวปลาร้าละลาย และนามากรองด้วยตะแกรง เอาก้างทิง 2. นาหอมแดงมาปอกเปลือกล้างนาให้สะอาด แล้วหั่นให้เป็นชินเล็กๆ 3. นาหอมแดงที่หั่นมาปั่น ผสมกับนา และนามากรองด้วยผ้าขาวบาง 4. นาหอมแดงที่หั่นมาปั่น ผสมกับนา และนามากรองด้วยผ้าขาวบาง 5. นานาปลาร้าสมุนไพรที่เคี่ยวจนเป็นก้อนมาใส่ถาดทิงไว้ให้เย็น 6. นาไปโขลกให้ละเอียด และจะได้ผงปลาร้าสมุนไพร ตอนที่ 3 กำรหำอัตรำส่วนที่เหมำะสมในกำรทำผงปลำร้ำสมุนไพร กำรทำผงปลำร้ำสมุนไพรอัตรำส่วน 1:1 1. นาปลาร้าจานวน ครึ่งกิโลกรัม ไปต้มให้ตัวปลาร้าละลาย และนามากรองด้วยตะแกรง เอาก้างทิง 2. นาหอมแดงมาปอกเปลือก ตะไคร้ และใบมะกรูดล้างนาให้สะอาด ชั่งนาหนักจานวน 100 กรัม แล้วหั่นให้เป็นชินเล็กๆ 3. นาสมุนไพรทัง 3 ชนิด ปั่นผสมกับนาจานวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร และนามากรองด้วย ผ้าขาวบาง 4. นานาปลาร้าจานวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ไปเคี่ยวกับนาสมุนไพร 5. นานาปลาร้าสมุนไพรที่เคี่ยวจนเป็นก้อนมาใส่ถาดทิงไว้ให้เย็น 6. นาไปโขลกให้ละเอียด 7. สังเกตลักษณะของผงปลาร้าสมุนไพรที่ได้ กำรทำผงปลำร้ำสมุนไพรอัตรำส่วน 1:2 1. นาปลาร้าจานวน ครึ่งกิโลกรัม ไปต้มให้ตัวปลาร้าละลาย และนามากรองด้วยตะแกรง เอาก้างทิง 2. นาหอมแดงมาปอกเปลือก ตะไคร้ และใบมะกรูดล้างนาให้สะอาด ชั่งนาหนักจานวน 200 กรัม แล้วหั่นให้เป็นชินเล็กๆ 3. นาสมุนไพรทัง 3 ชนิด มาปั่น ผสมกับนาจานวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร และนามากรองด้วย ผ้าขาวบาง 4. นานาปลาร้าจานวน 100 มล. ไปเคี่ยวกับนาสมุนไพร 5. นานาปลาร้าสมุนไพรที่เคี่ยวจนเป็นก้อนมาใส่ถาดทิงไว้ให้เย็น 6. นาไปโขลกให้ละเอียด 7. สังเกตลักษณะของผงปลาร้าสมุนไพรที่ได้
  • 11. 11 กำรทำผงปลำร้ำสมุนไพรอัตรำส่วน 2:1 1.นาปลาร้าจานวน ครึ่งกิโลกรัม ไปต้มให้ตัวปลาร้าละลาย และนามากรองด้วยตะแกรง เอาก้างทิง 2. นาหอมแดงมาปอกเปลือก ตะไคร้ และใบมะกรูดล้างนาให้สะอาด ชั่งนาหนักจานวน 100 กรัม แล้วหั่นให้เป็นชินเล็กๆ 3. นาสมุนไพรทัง 3 ชนิด มาปั่น ผสมกับนาจานวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร และนามากรองด้วย ผ้าขาวบาง 4. นานาปลาร้าจานวน 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร ไปเคี่ยวกับนาสมุนไพร 5. นานาปลาร้าสมุนไพรที่เคี่ยวจนเป็นก้อนมาใส่ถาดทิงไว้ให้เย็น 6. นาไปโขลกให้ละเอียด 7. สังเกตลักษณะของผงปลาร้าสมุนไพร 7. บันทึกผลการทดลอง
  • 12. 12 บทที่ 4 ผลกำรทดลอง ผลกำรทดลอง ตำรำงที่ 4. 1 แสดงผลกำรทดลองกำรศึกษำวิธีทำผงปลำร้ำ ชนิดของปลาร้า เคี่ยวที่อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) ลักษณะผงปลาร้า ปลาร้าปลารวม 60 ไม่เป็นผง 80 ผงมีลักษณะเป็นก้อนเหนียว 100 ผงร่วนซุย ปลาร้าปลาซิว 60 ไม่เป็นผง 80 ไม่เป็นผง 100 ไม่เป็นผง จากตาราง พบว่า ปลาร้า ที่สามารถนามาทาผงปลาร้าได้ จะต้องเป็นปลาร้าปลา รวมเท่านัน ถ้าเป็น ปลาร้าปลาซิวจะไม่เกิดผงปลาร้า ตำรำงที่ 4.2 แสดงผลกำรทดลองกำรศึกษำอัตรำส่วนของสมุนไพรที่ใช้ในกำรดับกลิ่นปรลำร้ำ สิ่งที่ใช้ อัตราส่วน ผงปลาร้าที่ได้ ปลาร้า + หอม 1:1 ผงปลาร้ามีน้อย ไม่มีกลิ่นของปลาร้า 1:2 ปริมาณผงปลาร้ามีน้อย มีกลิ่นหอม 2:1 ปริมาณผงปลาร้ามีมาก มีกลิ่นปลาร้าอยู่เล็กน้อย ปลาร้า + ตะไคร้ 1:1 ผงปลาร้ามีน้อย ไม่มีกลิ่นของปลาร้า 1:2 ปริมาณผงปลาร้ามีน้อย มีกลิ่นหอม 2:1 ปริมาณผงปลาร้ามีมาก มีกลิ่นปลาร้าอยู่เล็กน้อย ปลาร้า + ใบมะกรูด 1:1 ผงปลาร้ามีน้อย ไม่มีกลิ่นของปลาร้า 1:2 ปริมาณผงปลาร้ามีน้อย มีกลิ่นหอม 2:1 ปริมาณผงปลาร้ามีมาก มีกลิ่นปลาร้าอยู่เล็กน้อย จากตาราง พบว่า สมุนไพรทัง 3 ชนิด สามารถดับกลิ่นปลาร้าได้ และอัตราส่วนของสมุนไพรที่ สามารถดับกลิ่นปลาร้าได้ดีที่สุด คือ อัตราส่วน 1 : 2 จะได้ปริมาณผงปลาร้าที่มีกลิ่นหอม ไม่มีกลิ่นปลาร้า เดิมอยู่ รองลงมา คือ อัตราส่วน 1 : 1 จะได้ผงปลาร้าที่ ไม่มีกลิ่นของปลาร้า และ อัตราส่วน 2 : 1 จะได้ผงปลาร้าที่ มีกลิ่นของปลาร้าอยู่เล็กน้อย แต่จะได้ปริมาณผงปลาร้ามาก
  • 13. 13 บทที่ 5 สรุปและอภิปรำยผลกำรทดลอง สรุปผลกำรทดลอง 1. ปลาร้าที่ใช้รับประทานตามบ้านเรือนทั่วไป สามารถนามาทาเป็นผงได้จริง เป็นไปตามสมมติฐาน ที่ตังไว้ 2. สมุนไพรพืนบ้านจานวน 3 ชนิด ได้แก่ ใบมะกรูด ตะไคร้ และหอมแดง ที่นามาทาผงปลาร้า สมุนไพรพืนบ้านนัน สามารถดับกลิ่นปลาร้าได้จริง และนอกจากนีสมุนไพรทาไห้ปลาร้ามีรสชาติดี มีสรรพคุณ ทางยามีคุณค่าทางโภชนาการ และมีประโยชน์ต่อร่างกาย สะดวกในการใช้ เพราะเมื่อจะประกอบอาหาร ก็ สามารถนามาประกอบอาหารโดยเติมผงปลาร้าสมุนไพรพืนบ้านนีเป็นลาดับที่ 2 หลังจากต้มนาจนเดือดเพื่อ เพิ่มรสชาติอาหารให้กลมกล่อมอร่อยโดยใช้แทนปลาร้าดิบที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเหมาะสาหรับผู้บริโภคที่รัก สุขภาพ ประหยัดค่าใช้จ่ายในครอบครัวและป้องกันตนเอง จากการได้รับอันตรายจากปลาร้าดิบ 3. อัตราส่วนของสมุนไพร ต่อ ปลาร้า ที่เหมาะสม คือ อัตราส่วน 2 : 1 สามารถดับกลิ่นปลาร้า ได้ดีที่สุด ผงปลาร้าที่ได้ไม่มีกลิ่นปลาร้า อภิปรำยผลกำรทดลอง จากผลการทดลองทาสมุนไพรพืนบ้าน 3 ชนิด พบว่าสมุนไพรทัง 3 ชนิด สามารถดับกลิ่นปลาร้าได้ และอัตราส่วนของสมุนไพรที่สามารถดับกลิ่นปลาร้าได้ดีที่สุด คือ อัตราส่วน 1 : 2 จะได้ปริมาณผงปลาร้าที่มี กลิ่นหอม ไม่มีกลิ่นปลาร้าเดิมอยู่ รองลงมา คือ อัตราส่วน 1 : 1 จะได้ผงปลาร้าที่ ไม่มีกลิ่นของปลาร้า และ อัตราส่วน 2 : 1 จะได้ผงปลาร้าที่ มีกลิ่นของปลาร้าอยู่เล็กน้อย แต่จะได้ปริมาณผงปลาร้ามาก ผงปลาร้ามี กลิ่นหอม รสชาติดี มีสรรพคุณทางยา มีคุณค่าทางโภชนาการ และมีประโยชน์ต่อร่างกาย สะดวกในการใช้ เพราะเมื่อจะประกอบอาหาร ก็สามารถนามาประกอบอาหาร โดยเติมผงปลาร้าสมุนไพรพืนบ้านนีเป็นลาดับ ที่ 2 หลังจากต้มนาจนเดือดเพื่อเพิ่มรสชาติอาหารให้กลมกล่อมอร่อยโดยใช้แทนปลาร้าดิบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เหมาะสาหรับผู้บริโภคที่รักสุขภาพ ประหยัดค่าใช้จ่ายในครอบครัวและป้องกันตนเอง จากการได้รับอันตราย จากปลาร้าดิบ แสดงว่าสมุนไพรพืนบ้านทัง 3 ชนิด นีสามารถนามาดับกลิ่นปลาร้าได้จริง เป็นไปตาม สมมติฐานที่ตังไว้ ข้อเสนอแนะ สืบค้นข้อมูลสมุนไพรพืนบ้านชนิดอื่นๆ เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทาเป็นผงปลาร้าสมุนไพรที่ แตกต่างจากโครงงานนี เช่น ข่า เป็นต้นเพื่อพัฒนาเป็นผงปลาร้าสมุนไพร สูตรแกงอ่อม ฯลฯ ในโอกาส ต่อไป
  • 14. 14 ประโยชน์ที่ได้รับ 1. นักเรียน ครู ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไปได้บริโภคผงปลาร้าสมุนไพรพืนบ้านที่ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ 2. ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัวและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมาใช้ในครอบครัว ท้องถิ่น และชุมชน 3. อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. พัฒนาและเผยแพร่ผักพืนบ้านให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้มากขึน
  • 15. 15 บรรณำนุกรม ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคกำรสอนโครงงำนวิทยำศำสตร์. ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. เอกสารอัดสาเนาม, 2548. จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย.โรงเรียน.ตัวอย่ำงบทคัดย่อโครงงำนวิทยำศำสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์.ชลบุรี. เอกสารอัดสาเนา, 2552. พรพรรณ. สมุนไพรในครัว. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2541. ศิรินยา. พืชผักรักษาโรค. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2545. สุวิทย์ วรรณศรี.เทคนิคกำรทำโครงงำนนักเรียน.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา,2554. สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข. ผักพื้นบ้ำนควำมหมำยและ ภูมิปัญญำของสำมัญชนไทย. พิมพ์ครังที่ 2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก,2540. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือกำรเขียนรำยงำนโครงงำนวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์และคอมพิวเตอร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียง,2555.
  • 17. 17 ภำพแสดงขั้นตอนกำรทำปลำร้ำผง ภำพที่ 1 นำปลำร้ำดิบไปต้ม ภำพที่ 2 กำรกรองปลำร้ำ ภำพที่ 3 น้ำปลำร้ำที่กรอง ภำพที่ 4 หั่นสมุนไพรเตรียมไว้ ภำพที่ 4 ปั่นสมุนไพร
  • 18. 18 ภำพที่ 5 ได้น้ำสมุนไพร ภำพที่ 6 นำน้ำสมุนไพรผสมในน้ำปลำร้ำ เคี่ยวจนแห้ง ภำพที่ 7 ผงปลำร้ำสมุนไพรบรรจุใส่กระปุก
  • 19. 19 รำยงำนโครงงำนวิทยำศำสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ผงปลำร้ำสมุนไพร โดย 1. นำงสำวพัทธมน คำเกตุ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/1 2. นำงสำวปรำงค์วลัย พิมพ์เสนำ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/1 3. นำงสำวนภำสิริ แก้วหงส์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/1 ครูที่ปรึกษำ นำงชโลธร กีรติศักดิ์กุล นำงรัชนู บัวพันธ์ โรงเรียนเมืองรำดวิทยำคม สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 40 รำยงำนฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงำนวิทยำศำสตร์ ประเภททดลอง ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4-6 เนื่องในงำนมหกรรมวิชำกำรเฉลิมพระเกียรติฯ ครั้งที่ 1 ระหว่ำงวันที่ 25-27 สิงหำคม พ.ศ.2558
  • 20. 20 เรื่อง ผงปลำร้ำสมุนไพร โดย 1. นางสาวพัทธมน คาเกตุ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 2. นางสาวปรางค์วลัย พิมพ์เสนา ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 3. นางสาวนภาสิริ แก้วหงส์ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ครูที่ปรึกษำ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล นางรัชนู บัวพันธ์
  • 21. 21 ก ผงปลำร้ำสมุนไพร คณะผู้จัดทำ 1. นางสาวพัทธมน คาเกตุ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 2. นางสาวปรางค์วลัย พิมพ์เสนา ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 3. นางสาวนภาสิริ แก้วหงส์ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ครูที่ปรึกษำ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล นางรัชนู บัวพันธ์ โรงเรียนเมืองรำดวิทยำคม อำเภอหล่มเก่ำ จังหวัดเพชรบูรณ์ บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ผงปลาร้าสมุนไพร มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการทา ผงปลาร้าสมุนไพร เพื่อน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาใช้ในชีวิตประจาวัน ท้องถิ่น และชุมชนที่อาศัยอยู่ เพื่อผลิตผงปลาร้าสมุนไพร ไว้ใช้เองภายในบ้าน และ เพื่อนาสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ได้มากขึน การทดลองแบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาวิธีการทาปลาร้าผง โดยนาปลาร้าที่อยู่มาต้มและ เคียวจนกระทั่งเป็นผง ตอนที่ 2 ศึกษาวิธีการดับกลิ่นปลาร้าด้วยสมุนไพร โดยนาสมุนไพรพืนบ้าน จานวน 3 ชนิด ได้แก่ ใบมะกรูด ตะไคร้ หอมแดง มาเป็นส่วนผสมในการทาปลาร้าผง เคี่ยวจนแห้งเป็นก้อนและ นามาบดให้ละเอียด ตอนที่ 3 หาอัตราส่วนที่เหมาะสมของสมุนไพรที่ใช้ดับกลิ่น โดยนาสมุนไพรมาผสมใน ปลาร้าในอัตราส่วน 1 : 1 , 1 : 2 และ 1 : 3 นาผงปลาร้าสมุนไพรที่ได้บรรจุในถุงพลาสติก หรือ กระปุก พลาสติกเก็บไว้ใช้ต่อไป ผลการทดลอง พบว่า ปลาร้าที่ใช้อยู่ในบ้าน สามารถทาเป็นผงได้ และสมุนไพรพืนบ้านที่นามาใช้ ดับกลิ่นปลาร้า สามารถทาให้ปลาร้าผงที่ได้ไม่มีกลิ่นเหม็น เหมือนปลาร้าที่ใช้อยู่ตามบ้านทั่วไป และ อัตราส่วนที่ทาให้ปลาร้ามีกลิ่นที่ไม่เหม็นมาก คือ อัตราส่วนของสมุนไพร : ปลาร้า ที่เหมาะสม คือ อัตราส่วน 2 : 1 , 1 : 1 และ 1 : 2 ตามลาดับ แสดงให้เห็นว่า สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นสามารถนามาเป็นส่วนผสมทา ผงปลาร้าสมุนไพรที่ไม่มีกลิ่นเหม็นได้จริง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตังไว้
  • 22. 22 ข กิตติกรรมประกำศ รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ผงปลาร้าสมุนไพรพืนบ้าน คณะผู้จัดทา ขอขอบคุณ คุณตา คุณยาย และผู้รู้ในหมู่บ้าน ชุมชน และท้องถิ่นทุกคน ที่ให้ข้อมูลจนคณะผู้จัดทาสามารถ นาสมุนไพรพืนบ้านมาทาเป็นผงปลาร้าสมุนไพรได้จริง ขอขอบคุณ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล และ นางรัชนู บัวพันธ์ ครูที่ปรึกษาโครงงานที่ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ การแก้ปัญหาต่างๆ ระหว่างการทาโครงงานตลอดจนแนะนา เอกสารตาราต่างๆ รวมทังการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ทาให้คณะผู้จัดทามีข้อมูลในการทาโครงงาน จานวนมาก จนโครงงานสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี ขอขอบคุณ นายเสรี เปรมปรีดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม นางบุศราภรณ์ คาแก้ว รองผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม ที่ให้ขวัญกาลังใจและสนับสนุนด้านงบประมาณ คณะผู้จัดทารายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ผงปลาร้าสมุนไพร จึงขอขอบพระคุณ ทุกท่านดังกล่าวข้างต้นไว้ ณ ที่นีเป็นอย่างสูง พัทธมน คาเกตุ ปรางค์วลัย พิมพ์เสนา นภาสิริ แก้วหงษ์
  • 23. 23 ค สำรบัญ เรื่อง หน้ำ บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง สารบัญภาพประกอบ จ บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ 9 บทที่ 4 ผลการดาเนินการ 11 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการดาเนินการ 12 บรรณานุกรม 15 ภาคผนวก 16
  • 24. 24 ง สำรบัญตำรำง ตำรำงที่ หน้ำ 1 แสดงผลการทดลองการศึกษาวิธีการทาผงปลาร้า 12 2 แสดงผลการทดลองการศึกษาอัตราส่วนของสมุนไพรในการดับกลิ่นปลาร้า 12