SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
อุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษี (NTBs)ในกรอบการเจรจาเปด
ตลาดสินค้าอุตสาหกรรม (NAMA) ภายใต้องค์การการค้าโลก
โดย
เชิญ ไกรนรา
กลุ่มงานยุทธศาสตร์เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
2549
--------------------------------------
1. ความเป็นมา การเจรจาการค้าภายใต้กรอบองค์การการค้าโลก ได้ทวีความเข้มข้นและลงลึกในรายละเอียดมากขึ้น
โดยเฉพาะเรื่องปัญหาอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers : NTBs) ซึ่งที่ประชุมระดับรัฐมนตรี WTO เมื่อ
ปลายปี 2548 ได้มีมติให้กลุ่มเจรจาเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมเร่งพิจารณาลด/เลิก NTBs โดยเฉพาะปัญหากับสินค้า
ส่งออกของประเทศกาลังพัฒนา การสัมมนา มีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานสถานะความคืบหน้า และรับฟังปัญหาอุปสรรค
ด้าน NTBs ของสินค้าส่งออกของไทย จากผู้ประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ สาหรับนาไปเป็นข้อมูล
ประกอบการกาหนดท่าที กลยุทธ์ในการเจรจา NTBs ในกรอบ NAMA ภายใต้ WTO โดยเป็นการอภิปรายกลุ่มย่อย 6
กลุ่ม คือ (1) สินค้าเครื่องมือแพทย์ (2) สินค้ายานยนต์และชิ้นส่วน (3) สินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (4) การใช้
มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด (5) มาตรการที่เกี่ยวกับประมงและผลิตภัณฑ์ประมง และ (6) มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม
2. การอภิปรายและหารือของกลุ่มย่อย สรุปไดดังนี้
2.1 กลุมที่ 1: NTBs ที่เกี่ยวของกับสินคาเครื่องมือแพทย
 การสงออก
1) การสงสินคาไปออสเตรเลีย ในกรณีที่รองสินคา (pellet) เปนไม ตองทาการรมควันไมเพื่อกาจัดแมลงดวย
2) ประเทศในกลุม Gulf (ตะวันออกกลาง) ไดกาหนดวา ยาที่จะขายในกลุม Gulf ตองไดรับอนุญาตใหขายใน
ยุโรปอย่างนอย 3 ประเทศดวย
3) สหรัฐฯ มีการกาหนดมาตรฐานถุงมือยางที่สูงมากกวามาตรฐานในยุโรป ทาใหเปนอุปสรรคในการสงออก
4) มาตรฐานตางๆ ในเรื่องยาและเครื่องมือแพทยในแตละประเทศไมตรงกัน แมกระทั้งการนิยามคาวา ยา และ
อาหารเสริมในแตละประเทศก็ไมตรงกันทาใหเปนอุปสรรคในการสงออก-การนาเขา
 ข้อคิดเห็นจากที่ประชุม
1) ไดอภิปรายขอเสนอของสหรัฐอเมริกา เรื่องสินคา remanufacture เครื่องมือแพทย ซึ่งปจจุบันโดยทั่วไป
ไทยไมอนุญาตใหมีการนาเขาเครื่องมือแพทยที่เปน remanufacture เครื่องมือแพทยที่นาเขาตองเปนของใหมที่
ยังไมเคยใชงานมากอน
2) ที่ประชุมมีมุมมองใน 2 ประเด็น คือ (1) หากอนุญาตใหมีการนาเขาสินคาเครื่องมือแพทย Remanufacture
(Reman) จะทาอยางไรในการควบคุมใหสินคา Reman เปนสินคาที่ไดคุณภาพเหมือนของใหมตามที่ผูผลิตหรือ
ผู Reman กล่าวอ้าง (2) สินคาเครื่องมือแพทย Reman เปนอีกทางเลือกหนึ่งสาหรับหนวยงานที่งบประมาณมี
- 2 -
จากัด ซึ่งหากผูขายเป็นบริษัทผูผลิตและทาการ Reman ดวย มีการรับประกันสินคาและบริการหลังการขาย ก็
จะเปนทางเลือกอีกทางหนึ่ง ผลไดจะทาใหคารักษาพยาบาลถูกลง ประชาชนในชนบทมีโอกาสในการเขาถึงการ
รักษาพยาบาลที่ดีขึ้น มีอุปกรณการแพทยที่พอเพียง ที่ประชุมเห็นควรใหจัดการหารืออีกครั้งโดยเชิญผูใชงาน
เครื่องมือ เชน ผูแทนจากแพทยสภา ทันตแพทยสภา สภาพยาบาล และผูแทนโรงพยาบาลตางๆ สมาคม
คุมครองผูบริโภค หนวยงานที่เกี่ยวของกับการรักษาพยาบาล เพื่อรับฟงขอคิดเห็นดังกลาว นอกจากนี้ขอให
กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ ขอกฎหมายจากสหรัฐฯเกี่ยวกับขอบังคับเรื่องการขายสินคาเครื่องมือแพทย
Reman ในสหรัฐฯเพื่อทาการศึกษาและแจงใหที่ประชุมทราบวาสหรัฐฯ มีขอบังคับอยางไรในการอนุญาตใหขาย
สินคา Reman ในสหรัฐฯ ซึ่งกรมเจรจาการคาระหวางประเทศรับที่จะไปศึกษาและแจงใหที่ประชุมทราบ โดยจะ
จัดใหมีการหารืออีกครั้งในเดือนตุลาคม ศกนี้ ณ กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ
2.2 กลุมที่ 2: NTBs ที่เกี่ยวของกับสินคายานยนตและชิ้นสวน
ที่ประชุมได้อภิปรายและทาความความเขาใจกับขอเสนอของ EU ในการลดอุปสรรคที่มิใชภาษีในกลุมยานยนต โดยเสนอ
ให Administrative Committee ที่จัดตั้งภายใตขอตกลงของ UN ป 1958 และ ExecutiveCommittee ที่จัดตั้งขึ้นภายใต
ขอตกลงป 1998 และใหสมาชิกพิจารณาใชกฎระเบียบของ UN/ECE ภายใตขอตกลงป 1958 และ Global Technical
Regulation ภายใตขอตกลงป 1998 เปนมาตรฐานระหวางประเทศ เนื่องจากขอเสนอดังกลาวของ EU เปนขอเสนอที่
เกี่ยวของกับดานเทคนิคและเปนเรื่องที่ละเอียดออน ที่ประชุมจึงจาเปนตองใชเวลาสวนใหญในการทาความเขาใจกับขอ
เสนอของ EU และขอตกลงของ UN ดังกลาว
 ข้อคิดเห็นจากที่ประชุม
1) ที่ประชุมไดอภิปรายขอตกลงที่เกี่ยวของทั้งสองดังกล่าวโดยพบวาอยูภายใตการดูแลของกลุม Working
Party 29 (WP29) ของ UN โดย
 ขอตกลงป 1958 เปนการสรางขอกาหนดดานมาตรฐานดานยานยนตและชิ้นสวน และมีขอตกลงที่
เกี่ยวของกับการยอมรับรวมกัน (Mutual Recognition Agreement: MRA) ซึ่งมีความผูกพันที่สมาชิก
ที่ยอมรับจะตองนาไปปฏิบัติ ภายใตขอตกลงนี้มีมาตรฐานในเรื่องตางๆ ประมาณ 160 เรื่องใหสมาชิก
เลือกที่จะผูกพันโดยไมจาเปนตองผูกพันในทุกรายการ และเมื่อตกลงผูกพันแลวจะสามารถทบทวน
ไดในเวลา 2 ป โดยในขณะนี้ประเทศไทยไดยินยอมลงนามเขาเปนสมาชิกในขอตกลงป1958 แลว
 ขอตกลงป 1998 เปนขอตกลงที่ริเริ่มโดยสหรัฐฯโดยใหมีการ Harmonize มาตรฐานดานยานยนตเพื่อ
เป็นการลดตนทุนในการออกแบบและการทดสอบ ซึ่งจะเปนเพียงมาตรฐาน Global แตไมมีการบังคับ
หรือขอผูกพัน
2) ที่ประชุมเห็นดวยในหลักการเกี่ยวกับการแกไขปญหาดาน NTB โยรใหยานยนตและชิ้นสวนมีมาตรฐาน
เดียวกัน เพื่อชวยลดตนทุนในการออกแบบและการทดสอบ เพื่อใหไมจําเปนตองผลิตสินคาหลายมาตรฐาน
เพื่อสงออกไปยังตลาดตางๆ กัน และเปนการปองกันไมใหบางประเทศมีการใชการทดสอบเฉพาะ (Unique
Testing) ซึ่งจะเป็นอุปสรรคทางการคา ทั้งนี้ประเทศไทยเองก็มีการพัฒนาดาน มาตรฐานอยางตอเนื่องและส
วนใหญจะอิงตามมาตรฐานสากลอยูแลว
3) สาหรับขอเสนอของ EU เกี่ยวของกับขอตกลงป 1958 และ 1998 นั้น ตองพิจารณาถึงระดับของการผูกพัน
ของไทยในขอตกลงป 1958 เนื่องจากในขอตกลงป 1958 ที่ไทยเปนสมาชิกนั้น ไมไดเปนการบังคับใหไทย
ต้องยอมรับทุกมาตรฐานภายใตขอตกลงดังกลาว แตใหเลือกไดตามความสมัครใจและเห็นวามาตรฐาน ต
างๆภายใตขอตกลงป1958นั้นบางเรื่องก็ไมมีความเหมาะสมกับประเทศไทยจาเปนตองมีการนามาปรับใช
ใหเหมาะสม
4) ในดานผลกระทบ เห็นวาผูผลิตรถยนตไมนาจะไดรับผลกระทบเนื่องจากจะไดรับการสนับสนุนดานมาตรฐาน
- 3 -
จากบริษัทแมอยูแลว ผูที่ไดรับผลกระทบจึงอาจเปนเพียงผูผลิตชิ้นสวนของไทยที่มีขนาดเล็ก อยางไรก็ตาม
บริษัทเหล่านี้ก็จะไดผลประโยชนจากการลดตนทุนเนื่องจากผลิตสินคาเพียงมาตรฐานเดียวส่งไปขายไดทุก
ประเทศ
2.3 กลุ่มที่ 3: NTBs ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
1) ที่ประชุมเห็นว่าการยอมรับมาตรฐานสากล (Recognition of Standards) ปัจจุบันไทยมีคณะกรรมการมาตรฐาน
แห่งชาติ (ภายใต้ความรับผิดชอบของสานักงานมาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม) ซึ่งจัดทามาตรฐานสินค้าโดยยึดหลักการ
ขององค์กรมาตรฐานสากล เช่น ISO และ IEC อยู่แล้ว จึงสามารถยอมรับข้อเสนอของสหภาพยุโรป และเกาหลีเรื่องการ
ยอมรับมาตรฐานสากล เพื่อลดภาระในการปฏิบัติตามมาตรฐานที่แตกต่างและซับซ้อนของแต่ละประเทศ
2) ไทยยังไม่มีกฎหมายเรื่อง Product Liability ในการให้ผู้ผลิตรับรองมาตรฐานด้วยตนเอง (Supplier’s Declaration of
Conformity: SDoC) จึงยังไม่สามารถยอมรับให้ผู้ผลิตรับรองมาตรฐานด้วยตนเองได้ อย่างไรก็ตามหากจาเป็นต้องรับ
ข้อเสนอดังกล่าว ก็ขอให้มีการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวก่อน และให้มีระยะเวลาในการปรับตัวประมาณ 20 ปี
3) ที่ประชุมเห็นว่าข้อเสนอเรื่องสินค้า Remanufactured จะเป็นประโยชน์กับอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ของไทยอย่างไรก็ดี การยอมรับข้อเสนอดังกล่าวจะต้องมีเงื่อนไขเรื่องใบรับประกันและการ re-certification
เพื่อเป็นการป้องกันการส่งออกขยะมายังไทย
4) นอกจากนี้ที่ประชุมยังได้แสดงความคิดเห็นเรื่องมาตรการ NTBs ที่อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
นอกเหนือจากที่ระบุในข้อเสนอต่างๆ ของสมาชิก WTO โดยแบ่งประเภทชนิด NTBs เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
(1) NTBs ที่ไทยอาจจําเป็นต้องใช้เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายใน ได้แก่ มาตรฐานสินค้า มาตรฐานสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานแรงงาน มาตรฐานโรงงาน มาตรฐานการลงทุน มาตรฐานสุขภาพและความปลอดภัย เป็นต้น
(2) NTBs ที่ไทยประสบและต้องการให้ยกเลิกโดยเร็ว ได้แก่ ข้อกาหนดเรื่องมาตรฐานที่แตกต่างระหว่างรัฐและมล
รัฐ (จีน อินเดีย และสหรัฐฯ) การกาหนดสัญชาติของผู้ทาหน้าที่ตรวจสอบสินค้า (ออสเตรเลีย) การกาหนดสินค้า
ต้องผ่านด่านศุลกากรที่กาหนดเท่านั้น (สหภาพยุโรป) เป็นต้น
2.4 กลุ่มที่ 4: การใช้มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด (Anti Dumping:AD)
1) ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ยกตัวอย่างชนิดสินค้าของไทยทั้งที่กาลังอยู่ในกระบวนการไต่สวนการถูกใช้มาตรการ AD และที่
เสร็จสิ้นกระบวนการไต่สวนแล้วและอยู่ในระหว่างถูกใช้มาตรการ AD เช่น สินค้าที่ถูกเก็บ AD โดยสหรัฐฯ ได้แก่ สับปะรด
เหล็ก เม็ดพลาสติก ถุงพลาสติก และกุ้ง สินค้าที่ถูกเก็บ AD โดยประเทศอื่นๆ ได้แก่ เม็ดพลาสติก ถูกเก็บโดยสหภาพ
ยุโรป ฟิล์มแพ็คเกจจิ้งถูกเก็บโดยอินเดีย และกระดาษถูกเก็บโดยมาเลเซีย เป็นต้น
2) ข้อดีและข้อเสียของการเก็บ AD
(1) ข้อดี
 ในกรณีที่ประเทศอื่นที่เป็นคู่แข่งทางการค้าของไทยในตลาดเดียวกันถูกเก็บ AD แต่ไทยไม่ถูกเก็บ AD ก็
จะทาให้สินค้าของไทยมีความได้เปรียบในการแข่งขันมากขึ้น หรือมีส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้น
(2) ข้อเสีย
 ก่อให้ผลกระทบกับผู้ประกอบการในหลายด้าน เช่น (1) ทาให้เสียตลาด (2) มีภาระในการจ้างทนายซึ่งมี
ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง (3) ภาระในการจัดระบบคอมพิวเตอร์ และระบบบัญชีใหม่ ทั้งนี้ผู้ประกอบรายเล็กได้รับ
ผลกระทบมากที่สุด และสินค้าอุตสาหกรรมจะได้รับผลกระทบมากกว่าเมื่อถูกเก็บ AD เนื่องจากมีต้นทุนคงที่
และ (4) ในกรณีผู้ประกอบการที่นาวัตถุดิบนาเข้ามาผลิตต่อ และไม่สามารถใช้วัตถุดิบภายในประเทศ เนื่องจากมี
คุณภาพไม่เพียงพอ แต่เมื่อวัตถุดิบนาเข้าถูกเก็บ AD ก็ทาให้ต้นทุนค่าใช้จ่ายสูงขึ้นไปด้วย
- 4 -
(3) ข้อเสนอแนะ
 เห็นควรให้มีการให้ความรู้เรื่องขั้นตอน และวิธีปฎิบัติในการยื่นขอให้มีการไต่สวนการทุ่มตลาดกับ
ผู้ประกอบการในประเทศ
 ขอให้ภาคราชการมีระบบ Early Warning เช่น ในกรณีสินค้าที่ได้ GSP หากมีการส่งออกเกินกว่าโควตาที่
กาหนด ต้องเสียภาษีที่สูงขึ้นมากก็ควรจะมี Early Warning ว่าสินค้ากาลังจะเกินโควต้าหรือในกรณีที่สินค้ามี
ปริมาณการส่งออกค่อนข้างสูง ก็ควรจะมีการเตือนว่ามีโอกาสที่จะโดนเก็บ AD ได้
 ควรใช้มาตรการปล่อยข่าวเรื่องการไต่สวน AD เพื่อเป็นการส่งสัญญาณให้ผู้นาเข้าทราบ ซึ่งอาจส่งผลให้มี
การปรับเปลี่ยนราคาสินค้าหรือปริมาณที่นาเข้า ซึ่งจะช่วยเยียวยาความเสียหาย ให้อุตสาหกรรม
ภายในประเทศได้
 ควรมีการแก้ไขความตกลง AD ภายใต้ WTO เนื่องจากกฎหมาย AD ของไทยมีแม่แบบมาจากความตกลง
AD ภายใต้ WTO ซึ่งในขณะนี้มีการเจรจาเพื่อแก้ไขความตกลง AD (AD Review) ภายใต้ WTO ซึ่ง
กระทรวงพาณิชย์กาลังอยู่ระหว่างการผลักดันข้อเสนอต่างๆ ที่เป็นปัญหาที่ไทยได้รับผลกระทบจากการถูก
ใช้มาตรการ AD อย่างไม่เป็นธรรม
2.5 กลุ่มที่ 5: มาตรการที่เกี่ยวกับประมงและผลิตภัณฑ์ประมง
1) ปัญหา NTBs ที่ไทยประสบในปัจจุบัน ได้แก่
(1) สหรัฐฯ ห้ามการนาเข้ากุ้งทะเลจากไทย โดยอ้างว่าไทยไม่ได้ทาตามมาตรการบังคับติดเครื่องมือแยกเต่า
(TEDs) ซึ่งจากข้อมูลที่ผู้ประกอบการทราบอินโดนีเซียก็ไม่ได้ปฏิบัติตามเช่นกันแต่ไม่ถูกห้ามการนาเข้า ที่
ประชุมจึงเห็นควรให้หาข้อมูลเพิ่มเติมก่อนว่าสหรัฐฯ ใช้มาตรการดังกล่าวอย่างเลือกปฏิบัติจริงหรือไม่
(2) ร้าน Wal-Mart ได้ออกระเบียบกาหนดให้สินค้ากุ้งที่จาหน่ายใน Wal-Mart ต้องเป็นกุ้งที่ผ่านการรับรอง
มาตรฐานจากหน่วยงาน Aquaculture Certification Council, Inc (ACC) ทั้งนี้ ระเบียบดังกล่าวไม่ได้กาหนดโดย
FDA แต่กาหนดโดยเอกชนเอง ทาให้เกิดความกังวลว่าอนาคตบริษัทอื่นๆอาจจะกาหนดระเบียบของตนเองขึ้นมา
เช่นกัน
(3) ช่วงต้นเดือน พ.ย. 2549 สหภาพยุโรปจะเริ่มร้องขอให้สินค้านาเข้า เช่น ปลาทูน่ากระป๋อง ต้องมีใบรับรอง
การตรวจสารไดรอกซีน ซึ่งปัจจุบันไทยยังไม่มีห้องปฏิบัติการที่สามารถตรวจสารไดรอกซีนได้และค่าใช้จ่ายใน
การตรวจสูงมาก
2)แนวทางการแก้ไขปัญหา
(1) สาหรับมาตรการที่บังคับใช้เฉพาะในบางประเทศ ภาคเอกชนจะหาข้อมูลเพิ่มเติมและหาจุดยืนที่ชัดเจนของ
ตน พร้อมทั้งประสานกับภาครัฐ เพื่อขอให้ช่วยเจรจา เช่น ในเรื่องที่ไทยยังไม่พร้อมจะขอให้ช่วยเจรจาชะลอการ
บังคับใช้ไปก่อน และภาคเอกชนในนามของสมาคมอาจจะทาหนังสือถึงเอกชนต่างประเทศด้วยในเรื่อง NTBs ที่
กาหนดโดยภาคเอกชน
(2) สาหรับในเวที WTO เห็นว่า ควรเสนอให้มีการจัดทามาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับร่วมกัน เช่น การยอมรับ
CODEX เพื่อลดปัญหาความยุ่งยาก ซ้าซ้อน อันเนื่องมาจากการใช้มาตรฐานที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศ
(3) ควรผลักดันให้มีการจัดทากรอบเวลาในการบังคับใช้ NTBs คือ ถ้าประเทศหนึ่งจะกาหนด NTBs ขึ้นมา ต้อง
กาหนดระยะเวลาที่เหมาะสมให้ต่างประเทศได้เตรียมตัว และประเทศกาลังพัฒนาควรได้รับระยะเวลาในการ
เตรียมตัวนานกว่าประเทศพัฒนาแล้ว
- 5 -
(4) สําหรับมาตรการในประเทศ ที่ประชุมเห็นว่า NTBs ของไทยอ่อนมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ จึงน่าจะ
กําหนดมาตรฐาน และ/หรือ มาตรการต่างๆ ขึ้น เพื่อให้มีความเข้มข้นใกล้เคียงกัน
(5) หน่วยงานภาครัฐควรมีส่วนช่วยในการลดต้นทุนโดยไม่ลดมาตรฐาน เช่น การทบทวนเรื่องการตรวจสารไน
โตรฟูแลนซ์ของกรมประมงซึ่งกาหนดให้มีระยะเวลาเพียง 3 เดือน หากเกินกว่านั้นให้ตรวจใหม่ โดผู้ประกอบการ
เห็นว่าไม่จาเป็นต้องกาหนดระยะเวลา เนื่องจากสารดังกล่าวจะไม่เพิ่มปริมาณแต่จะเจือจางเมื่อเวลาผ่านไป
2.6 กลุ่มที่ 6: มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม
ผู้ประกอบการและประชาชนส่วนใหญ่ ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจถึงความเกี่ยวข้องของเรื่องมาตรการสิ่งแวดล้อมต่อตนเอง
มากนัก ในส่วนของภาคเอกชนหรือผู้ผลิตของไทยส่วนใหญ่เป็นผู้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของประเทศพัฒนาแล้ว เนื่องจาก
เทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมเป็นของประเทศเหล่านั้นซึ่งเป็นผู้กาหนดมาตรการและมาตรฐานสิ่งแวดล้อมขึ้นมา
 ข้อเสนอแนะการดาเนินการของไทย ได้แก่
1) เน้นการประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ในเรื่องความสําคัญของเรื่องสิ่งแวดล้อมและการใช้มาตรการด้าน
สิ่งแวดล้อมในแง่ของ NTBs โดยเฉพาะในส่วนของผู้ประกอบการ ให้มีการเข้าถึงข้อมูลNTBs ด้านสิ่งแวดล้อมที่
ประเทศอื่นกําหนด เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถปรับตัว โดยอาจมีศูนย์กลางข้อมูลด้านนี้รวมถึงมาตรการด้าน
สิ่งแวดล้อมที่ไทยกําลังดําเนินการอยู่ เช่น การกําหนด ISO 14000(ด้านสิ่งแวดล้อม)
2) สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ในระดับบุคลากรให้มีจานวนมากขึ้น เนื่องจากปัจจุบันยังมีบุคลากรที่มีความ
เชี่ยวชาญด้านนี้ไม่เพียงพอ ทั้งนี้เพื่อสามารถสร้างอานาจต่อรองให้กับประเทศไทยในเรื่องสิ่งแวดล้อมในอนาคต
ได้
3) หน่วยงานภาครัฐต้องมีการประสานงานระหว่างกันมากขึ้น ปัญหาขณะนี้คือ มีหลายหน่วยงานดูแลงานแต่ละ
ส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม แต่ไม่มีเจ้าภาพหลัก ทําให้ภาคเอกชนเกิดความสับสนในการขอความช่วยเหลือใน
เรื่องสิ่งแวดล้อม โดยอยากเห็นการจัดตั้ง cluster ในด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเกิดขึ้นอย่างเป็น
ระบบ
4) การพิจารณาแนวทางการเก็บภาษีพิเศษ หรือภาษีสิ่งแวดล้อมในรูปภาษีสรรพสามิต โดยเก็บทั้งผู้ผลิตภายใน
และผู้นําเข้า โดยใช้หลักการ “Polluters Pay Principle :PPP” อย่างไรก็ตามการพิจารณาจัดเก็บภาษีดังกล่าวต้อง
มีแผนการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ภาษีดังกล่าวถูกนําไปใช้ตรงตามวัตถุประสงค์การจัดเก็บ
และผลประโยชน์กลับสู่สิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง นอกจากนี้ ควรมีแผนการช่วยเหลือการพัฒนาการปรับตัวต่อ
ภาระนี้ในอุตสาหกรรม SMEs ด้วยเนื่องจากจะมีปัญหาการปรับตัวมากกว่าบริษัทใหญ่ที่เป็นการลงทุนจาก
ต่างประเทศ
5) เนื่องจากการกาหนดมาตรฐาน/มาตรการสิ่งแวดล้อมมีหลายระดับ ตั้งแต่ในระดับสากล ระดับประเทศ หรือ
ระดับ stakeholder (ภาคเอกชนใดเอกชนหนึ่งอาจกาหนดใช้มาตรฐานสิ่งแวดล้อมมาเป็นเงื่อนไขทางการค้า)
ไทยควรมีท่าทีการเจรจาที่ให้ประเทศหรือภาคเอกชนที่เป็นผู้ตั้งเข้ามาช่วยรับภาระในการปรับตัว โดยอาจช่วย
รับภาระต้นทุนหรือให้ความช่วยเหลือในการปรับตัวด้วย
------------------------------

Contenu connexe

Plus de Dr.Choen Krainara

Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
Dr.Choen Krainara
 

Plus de Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 
Certificate of Completion in MEAL in Emergencies
Certificate of Completion in MEAL in EmergenciesCertificate of Completion in MEAL in Emergencies
Certificate of Completion in MEAL in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in Emergencies
Certificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in EmergenciesCertificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in Emergencies
Certificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in Emergencies
 
Introduction to Conflict Sensitivity
Introduction to Conflict SensitivityIntroduction to Conflict Sensitivity
Introduction to Conflict Sensitivity
 
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
 
Certificate of Completion in Introduction to International Humanitarian Law (...
Certificate of Completion in Introduction to International Humanitarian Law (...Certificate of Completion in Introduction to International Humanitarian Law (...
Certificate of Completion in Introduction to International Humanitarian Law (...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change-Economics of Ad...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change-Economics of Ad...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change-Economics of Ad...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change-Economics of Ad...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change Transitioning t...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change Transitioning t...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change Transitioning t...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change Transitioning t...
 

อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTBs) ในกรอบการเจรจาเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรม (NAMA) ภายใต้องค์การ

  • 1. อุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษี (NTBs)ในกรอบการเจรจาเปด ตลาดสินค้าอุตสาหกรรม (NAMA) ภายใต้องค์การการค้าโลก โดย เชิญ ไกรนรา กลุ่มงานยุทธศาสตร์เศรษฐกิจระหว่างประเทศ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2549 -------------------------------------- 1. ความเป็นมา การเจรจาการค้าภายใต้กรอบองค์การการค้าโลก ได้ทวีความเข้มข้นและลงลึกในรายละเอียดมากขึ้น โดยเฉพาะเรื่องปัญหาอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers : NTBs) ซึ่งที่ประชุมระดับรัฐมนตรี WTO เมื่อ ปลายปี 2548 ได้มีมติให้กลุ่มเจรจาเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมเร่งพิจารณาลด/เลิก NTBs โดยเฉพาะปัญหากับสินค้า ส่งออกของประเทศกาลังพัฒนา การสัมมนา มีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานสถานะความคืบหน้า และรับฟังปัญหาอุปสรรค ด้าน NTBs ของสินค้าส่งออกของไทย จากผู้ประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ สาหรับนาไปเป็นข้อมูล ประกอบการกาหนดท่าที กลยุทธ์ในการเจรจา NTBs ในกรอบ NAMA ภายใต้ WTO โดยเป็นการอภิปรายกลุ่มย่อย 6 กลุ่ม คือ (1) สินค้าเครื่องมือแพทย์ (2) สินค้ายานยนต์และชิ้นส่วน (3) สินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (4) การใช้ มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด (5) มาตรการที่เกี่ยวกับประมงและผลิตภัณฑ์ประมง และ (6) มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม 2. การอภิปรายและหารือของกลุ่มย่อย สรุปไดดังนี้ 2.1 กลุมที่ 1: NTBs ที่เกี่ยวของกับสินคาเครื่องมือแพทย  การสงออก 1) การสงสินคาไปออสเตรเลีย ในกรณีที่รองสินคา (pellet) เปนไม ตองทาการรมควันไมเพื่อกาจัดแมลงดวย 2) ประเทศในกลุม Gulf (ตะวันออกกลาง) ไดกาหนดวา ยาที่จะขายในกลุม Gulf ตองไดรับอนุญาตใหขายใน ยุโรปอย่างนอย 3 ประเทศดวย 3) สหรัฐฯ มีการกาหนดมาตรฐานถุงมือยางที่สูงมากกวามาตรฐานในยุโรป ทาใหเปนอุปสรรคในการสงออก 4) มาตรฐานตางๆ ในเรื่องยาและเครื่องมือแพทยในแตละประเทศไมตรงกัน แมกระทั้งการนิยามคาวา ยา และ อาหารเสริมในแตละประเทศก็ไมตรงกันทาใหเปนอุปสรรคในการสงออก-การนาเขา  ข้อคิดเห็นจากที่ประชุม 1) ไดอภิปรายขอเสนอของสหรัฐอเมริกา เรื่องสินคา remanufacture เครื่องมือแพทย ซึ่งปจจุบันโดยทั่วไป ไทยไมอนุญาตใหมีการนาเขาเครื่องมือแพทยที่เปน remanufacture เครื่องมือแพทยที่นาเขาตองเปนของใหมที่ ยังไมเคยใชงานมากอน 2) ที่ประชุมมีมุมมองใน 2 ประเด็น คือ (1) หากอนุญาตใหมีการนาเขาสินคาเครื่องมือแพทย Remanufacture (Reman) จะทาอยางไรในการควบคุมใหสินคา Reman เปนสินคาที่ไดคุณภาพเหมือนของใหมตามที่ผูผลิตหรือ ผู Reman กล่าวอ้าง (2) สินคาเครื่องมือแพทย Reman เปนอีกทางเลือกหนึ่งสาหรับหนวยงานที่งบประมาณมี
  • 2. - 2 - จากัด ซึ่งหากผูขายเป็นบริษัทผูผลิตและทาการ Reman ดวย มีการรับประกันสินคาและบริการหลังการขาย ก็ จะเปนทางเลือกอีกทางหนึ่ง ผลไดจะทาใหคารักษาพยาบาลถูกลง ประชาชนในชนบทมีโอกาสในการเขาถึงการ รักษาพยาบาลที่ดีขึ้น มีอุปกรณการแพทยที่พอเพียง ที่ประชุมเห็นควรใหจัดการหารืออีกครั้งโดยเชิญผูใชงาน เครื่องมือ เชน ผูแทนจากแพทยสภา ทันตแพทยสภา สภาพยาบาล และผูแทนโรงพยาบาลตางๆ สมาคม คุมครองผูบริโภค หนวยงานที่เกี่ยวของกับการรักษาพยาบาล เพื่อรับฟงขอคิดเห็นดังกลาว นอกจากนี้ขอให กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ ขอกฎหมายจากสหรัฐฯเกี่ยวกับขอบังคับเรื่องการขายสินคาเครื่องมือแพทย Reman ในสหรัฐฯเพื่อทาการศึกษาและแจงใหที่ประชุมทราบวาสหรัฐฯ มีขอบังคับอยางไรในการอนุญาตใหขาย สินคา Reman ในสหรัฐฯ ซึ่งกรมเจรจาการคาระหวางประเทศรับที่จะไปศึกษาและแจงใหที่ประชุมทราบ โดยจะ จัดใหมีการหารืออีกครั้งในเดือนตุลาคม ศกนี้ ณ กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ 2.2 กลุมที่ 2: NTBs ที่เกี่ยวของกับสินคายานยนตและชิ้นสวน ที่ประชุมได้อภิปรายและทาความความเขาใจกับขอเสนอของ EU ในการลดอุปสรรคที่มิใชภาษีในกลุมยานยนต โดยเสนอ ให Administrative Committee ที่จัดตั้งภายใตขอตกลงของ UN ป 1958 และ ExecutiveCommittee ที่จัดตั้งขึ้นภายใต ขอตกลงป 1998 และใหสมาชิกพิจารณาใชกฎระเบียบของ UN/ECE ภายใตขอตกลงป 1958 และ Global Technical Regulation ภายใตขอตกลงป 1998 เปนมาตรฐานระหวางประเทศ เนื่องจากขอเสนอดังกลาวของ EU เปนขอเสนอที่ เกี่ยวของกับดานเทคนิคและเปนเรื่องที่ละเอียดออน ที่ประชุมจึงจาเปนตองใชเวลาสวนใหญในการทาความเขาใจกับขอ เสนอของ EU และขอตกลงของ UN ดังกลาว  ข้อคิดเห็นจากที่ประชุม 1) ที่ประชุมไดอภิปรายขอตกลงที่เกี่ยวของทั้งสองดังกล่าวโดยพบวาอยูภายใตการดูแลของกลุม Working Party 29 (WP29) ของ UN โดย  ขอตกลงป 1958 เปนการสรางขอกาหนดดานมาตรฐานดานยานยนตและชิ้นสวน และมีขอตกลงที่ เกี่ยวของกับการยอมรับรวมกัน (Mutual Recognition Agreement: MRA) ซึ่งมีความผูกพันที่สมาชิก ที่ยอมรับจะตองนาไปปฏิบัติ ภายใตขอตกลงนี้มีมาตรฐานในเรื่องตางๆ ประมาณ 160 เรื่องใหสมาชิก เลือกที่จะผูกพันโดยไมจาเปนตองผูกพันในทุกรายการ และเมื่อตกลงผูกพันแลวจะสามารถทบทวน ไดในเวลา 2 ป โดยในขณะนี้ประเทศไทยไดยินยอมลงนามเขาเปนสมาชิกในขอตกลงป1958 แลว  ขอตกลงป 1998 เปนขอตกลงที่ริเริ่มโดยสหรัฐฯโดยใหมีการ Harmonize มาตรฐานดานยานยนตเพื่อ เป็นการลดตนทุนในการออกแบบและการทดสอบ ซึ่งจะเปนเพียงมาตรฐาน Global แตไมมีการบังคับ หรือขอผูกพัน 2) ที่ประชุมเห็นดวยในหลักการเกี่ยวกับการแกไขปญหาดาน NTB โยรใหยานยนตและชิ้นสวนมีมาตรฐาน เดียวกัน เพื่อชวยลดตนทุนในการออกแบบและการทดสอบ เพื่อใหไมจําเปนตองผลิตสินคาหลายมาตรฐาน เพื่อสงออกไปยังตลาดตางๆ กัน และเปนการปองกันไมใหบางประเทศมีการใชการทดสอบเฉพาะ (Unique Testing) ซึ่งจะเป็นอุปสรรคทางการคา ทั้งนี้ประเทศไทยเองก็มีการพัฒนาดาน มาตรฐานอยางตอเนื่องและส วนใหญจะอิงตามมาตรฐานสากลอยูแลว 3) สาหรับขอเสนอของ EU เกี่ยวของกับขอตกลงป 1958 และ 1998 นั้น ตองพิจารณาถึงระดับของการผูกพัน ของไทยในขอตกลงป 1958 เนื่องจากในขอตกลงป 1958 ที่ไทยเปนสมาชิกนั้น ไมไดเปนการบังคับใหไทย ต้องยอมรับทุกมาตรฐานภายใตขอตกลงดังกลาว แตใหเลือกไดตามความสมัครใจและเห็นวามาตรฐาน ต างๆภายใตขอตกลงป1958นั้นบางเรื่องก็ไมมีความเหมาะสมกับประเทศไทยจาเปนตองมีการนามาปรับใช ใหเหมาะสม 4) ในดานผลกระทบ เห็นวาผูผลิตรถยนตไมนาจะไดรับผลกระทบเนื่องจากจะไดรับการสนับสนุนดานมาตรฐาน
  • 3. - 3 - จากบริษัทแมอยูแลว ผูที่ไดรับผลกระทบจึงอาจเปนเพียงผูผลิตชิ้นสวนของไทยที่มีขนาดเล็ก อยางไรก็ตาม บริษัทเหล่านี้ก็จะไดผลประโยชนจากการลดตนทุนเนื่องจากผลิตสินคาเพียงมาตรฐานเดียวส่งไปขายไดทุก ประเทศ 2.3 กลุ่มที่ 3: NTBs ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 1) ที่ประชุมเห็นว่าการยอมรับมาตรฐานสากล (Recognition of Standards) ปัจจุบันไทยมีคณะกรรมการมาตรฐาน แห่งชาติ (ภายใต้ความรับผิดชอบของสานักงานมาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม) ซึ่งจัดทามาตรฐานสินค้าโดยยึดหลักการ ขององค์กรมาตรฐานสากล เช่น ISO และ IEC อยู่แล้ว จึงสามารถยอมรับข้อเสนอของสหภาพยุโรป และเกาหลีเรื่องการ ยอมรับมาตรฐานสากล เพื่อลดภาระในการปฏิบัติตามมาตรฐานที่แตกต่างและซับซ้อนของแต่ละประเทศ 2) ไทยยังไม่มีกฎหมายเรื่อง Product Liability ในการให้ผู้ผลิตรับรองมาตรฐานด้วยตนเอง (Supplier’s Declaration of Conformity: SDoC) จึงยังไม่สามารถยอมรับให้ผู้ผลิตรับรองมาตรฐานด้วยตนเองได้ อย่างไรก็ตามหากจาเป็นต้องรับ ข้อเสนอดังกล่าว ก็ขอให้มีการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวก่อน และให้มีระยะเวลาในการปรับตัวประมาณ 20 ปี 3) ที่ประชุมเห็นว่าข้อเสนอเรื่องสินค้า Remanufactured จะเป็นประโยชน์กับอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ของไทยอย่างไรก็ดี การยอมรับข้อเสนอดังกล่าวจะต้องมีเงื่อนไขเรื่องใบรับประกันและการ re-certification เพื่อเป็นการป้องกันการส่งออกขยะมายังไทย 4) นอกจากนี้ที่ประชุมยังได้แสดงความคิดเห็นเรื่องมาตรการ NTBs ที่อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ นอกเหนือจากที่ระบุในข้อเสนอต่างๆ ของสมาชิก WTO โดยแบ่งประเภทชนิด NTBs เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ (1) NTBs ที่ไทยอาจจําเป็นต้องใช้เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายใน ได้แก่ มาตรฐานสินค้า มาตรฐานสิ่งแวดล้อม มาตรฐานแรงงาน มาตรฐานโรงงาน มาตรฐานการลงทุน มาตรฐานสุขภาพและความปลอดภัย เป็นต้น (2) NTBs ที่ไทยประสบและต้องการให้ยกเลิกโดยเร็ว ได้แก่ ข้อกาหนดเรื่องมาตรฐานที่แตกต่างระหว่างรัฐและมล รัฐ (จีน อินเดีย และสหรัฐฯ) การกาหนดสัญชาติของผู้ทาหน้าที่ตรวจสอบสินค้า (ออสเตรเลีย) การกาหนดสินค้า ต้องผ่านด่านศุลกากรที่กาหนดเท่านั้น (สหภาพยุโรป) เป็นต้น 2.4 กลุ่มที่ 4: การใช้มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด (Anti Dumping:AD) 1) ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ยกตัวอย่างชนิดสินค้าของไทยทั้งที่กาลังอยู่ในกระบวนการไต่สวนการถูกใช้มาตรการ AD และที่ เสร็จสิ้นกระบวนการไต่สวนแล้วและอยู่ในระหว่างถูกใช้มาตรการ AD เช่น สินค้าที่ถูกเก็บ AD โดยสหรัฐฯ ได้แก่ สับปะรด เหล็ก เม็ดพลาสติก ถุงพลาสติก และกุ้ง สินค้าที่ถูกเก็บ AD โดยประเทศอื่นๆ ได้แก่ เม็ดพลาสติก ถูกเก็บโดยสหภาพ ยุโรป ฟิล์มแพ็คเกจจิ้งถูกเก็บโดยอินเดีย และกระดาษถูกเก็บโดยมาเลเซีย เป็นต้น 2) ข้อดีและข้อเสียของการเก็บ AD (1) ข้อดี  ในกรณีที่ประเทศอื่นที่เป็นคู่แข่งทางการค้าของไทยในตลาดเดียวกันถูกเก็บ AD แต่ไทยไม่ถูกเก็บ AD ก็ จะทาให้สินค้าของไทยมีความได้เปรียบในการแข่งขันมากขึ้น หรือมีส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้น (2) ข้อเสีย  ก่อให้ผลกระทบกับผู้ประกอบการในหลายด้าน เช่น (1) ทาให้เสียตลาด (2) มีภาระในการจ้างทนายซึ่งมี ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง (3) ภาระในการจัดระบบคอมพิวเตอร์ และระบบบัญชีใหม่ ทั้งนี้ผู้ประกอบรายเล็กได้รับ ผลกระทบมากที่สุด และสินค้าอุตสาหกรรมจะได้รับผลกระทบมากกว่าเมื่อถูกเก็บ AD เนื่องจากมีต้นทุนคงที่ และ (4) ในกรณีผู้ประกอบการที่นาวัตถุดิบนาเข้ามาผลิตต่อ และไม่สามารถใช้วัตถุดิบภายในประเทศ เนื่องจากมี คุณภาพไม่เพียงพอ แต่เมื่อวัตถุดิบนาเข้าถูกเก็บ AD ก็ทาให้ต้นทุนค่าใช้จ่ายสูงขึ้นไปด้วย
  • 4. - 4 - (3) ข้อเสนอแนะ  เห็นควรให้มีการให้ความรู้เรื่องขั้นตอน และวิธีปฎิบัติในการยื่นขอให้มีการไต่สวนการทุ่มตลาดกับ ผู้ประกอบการในประเทศ  ขอให้ภาคราชการมีระบบ Early Warning เช่น ในกรณีสินค้าที่ได้ GSP หากมีการส่งออกเกินกว่าโควตาที่ กาหนด ต้องเสียภาษีที่สูงขึ้นมากก็ควรจะมี Early Warning ว่าสินค้ากาลังจะเกินโควต้าหรือในกรณีที่สินค้ามี ปริมาณการส่งออกค่อนข้างสูง ก็ควรจะมีการเตือนว่ามีโอกาสที่จะโดนเก็บ AD ได้  ควรใช้มาตรการปล่อยข่าวเรื่องการไต่สวน AD เพื่อเป็นการส่งสัญญาณให้ผู้นาเข้าทราบ ซึ่งอาจส่งผลให้มี การปรับเปลี่ยนราคาสินค้าหรือปริมาณที่นาเข้า ซึ่งจะช่วยเยียวยาความเสียหาย ให้อุตสาหกรรม ภายในประเทศได้  ควรมีการแก้ไขความตกลง AD ภายใต้ WTO เนื่องจากกฎหมาย AD ของไทยมีแม่แบบมาจากความตกลง AD ภายใต้ WTO ซึ่งในขณะนี้มีการเจรจาเพื่อแก้ไขความตกลง AD (AD Review) ภายใต้ WTO ซึ่ง กระทรวงพาณิชย์กาลังอยู่ระหว่างการผลักดันข้อเสนอต่างๆ ที่เป็นปัญหาที่ไทยได้รับผลกระทบจากการถูก ใช้มาตรการ AD อย่างไม่เป็นธรรม 2.5 กลุ่มที่ 5: มาตรการที่เกี่ยวกับประมงและผลิตภัณฑ์ประมง 1) ปัญหา NTBs ที่ไทยประสบในปัจจุบัน ได้แก่ (1) สหรัฐฯ ห้ามการนาเข้ากุ้งทะเลจากไทย โดยอ้างว่าไทยไม่ได้ทาตามมาตรการบังคับติดเครื่องมือแยกเต่า (TEDs) ซึ่งจากข้อมูลที่ผู้ประกอบการทราบอินโดนีเซียก็ไม่ได้ปฏิบัติตามเช่นกันแต่ไม่ถูกห้ามการนาเข้า ที่ ประชุมจึงเห็นควรให้หาข้อมูลเพิ่มเติมก่อนว่าสหรัฐฯ ใช้มาตรการดังกล่าวอย่างเลือกปฏิบัติจริงหรือไม่ (2) ร้าน Wal-Mart ได้ออกระเบียบกาหนดให้สินค้ากุ้งที่จาหน่ายใน Wal-Mart ต้องเป็นกุ้งที่ผ่านการรับรอง มาตรฐานจากหน่วยงาน Aquaculture Certification Council, Inc (ACC) ทั้งนี้ ระเบียบดังกล่าวไม่ได้กาหนดโดย FDA แต่กาหนดโดยเอกชนเอง ทาให้เกิดความกังวลว่าอนาคตบริษัทอื่นๆอาจจะกาหนดระเบียบของตนเองขึ้นมา เช่นกัน (3) ช่วงต้นเดือน พ.ย. 2549 สหภาพยุโรปจะเริ่มร้องขอให้สินค้านาเข้า เช่น ปลาทูน่ากระป๋อง ต้องมีใบรับรอง การตรวจสารไดรอกซีน ซึ่งปัจจุบันไทยยังไม่มีห้องปฏิบัติการที่สามารถตรวจสารไดรอกซีนได้และค่าใช้จ่ายใน การตรวจสูงมาก 2)แนวทางการแก้ไขปัญหา (1) สาหรับมาตรการที่บังคับใช้เฉพาะในบางประเทศ ภาคเอกชนจะหาข้อมูลเพิ่มเติมและหาจุดยืนที่ชัดเจนของ ตน พร้อมทั้งประสานกับภาครัฐ เพื่อขอให้ช่วยเจรจา เช่น ในเรื่องที่ไทยยังไม่พร้อมจะขอให้ช่วยเจรจาชะลอการ บังคับใช้ไปก่อน และภาคเอกชนในนามของสมาคมอาจจะทาหนังสือถึงเอกชนต่างประเทศด้วยในเรื่อง NTBs ที่ กาหนดโดยภาคเอกชน (2) สาหรับในเวที WTO เห็นว่า ควรเสนอให้มีการจัดทามาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับร่วมกัน เช่น การยอมรับ CODEX เพื่อลดปัญหาความยุ่งยาก ซ้าซ้อน อันเนื่องมาจากการใช้มาตรฐานที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศ (3) ควรผลักดันให้มีการจัดทากรอบเวลาในการบังคับใช้ NTBs คือ ถ้าประเทศหนึ่งจะกาหนด NTBs ขึ้นมา ต้อง กาหนดระยะเวลาที่เหมาะสมให้ต่างประเทศได้เตรียมตัว และประเทศกาลังพัฒนาควรได้รับระยะเวลาในการ เตรียมตัวนานกว่าประเทศพัฒนาแล้ว
  • 5. - 5 - (4) สําหรับมาตรการในประเทศ ที่ประชุมเห็นว่า NTBs ของไทยอ่อนมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ จึงน่าจะ กําหนดมาตรฐาน และ/หรือ มาตรการต่างๆ ขึ้น เพื่อให้มีความเข้มข้นใกล้เคียงกัน (5) หน่วยงานภาครัฐควรมีส่วนช่วยในการลดต้นทุนโดยไม่ลดมาตรฐาน เช่น การทบทวนเรื่องการตรวจสารไน โตรฟูแลนซ์ของกรมประมงซึ่งกาหนดให้มีระยะเวลาเพียง 3 เดือน หากเกินกว่านั้นให้ตรวจใหม่ โดผู้ประกอบการ เห็นว่าไม่จาเป็นต้องกาหนดระยะเวลา เนื่องจากสารดังกล่าวจะไม่เพิ่มปริมาณแต่จะเจือจางเมื่อเวลาผ่านไป 2.6 กลุ่มที่ 6: มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ผู้ประกอบการและประชาชนส่วนใหญ่ ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจถึงความเกี่ยวข้องของเรื่องมาตรการสิ่งแวดล้อมต่อตนเอง มากนัก ในส่วนของภาคเอกชนหรือผู้ผลิตของไทยส่วนใหญ่เป็นผู้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของประเทศพัฒนาแล้ว เนื่องจาก เทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมเป็นของประเทศเหล่านั้นซึ่งเป็นผู้กาหนดมาตรการและมาตรฐานสิ่งแวดล้อมขึ้นมา  ข้อเสนอแนะการดาเนินการของไทย ได้แก่ 1) เน้นการประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ในเรื่องความสําคัญของเรื่องสิ่งแวดล้อมและการใช้มาตรการด้าน สิ่งแวดล้อมในแง่ของ NTBs โดยเฉพาะในส่วนของผู้ประกอบการ ให้มีการเข้าถึงข้อมูลNTBs ด้านสิ่งแวดล้อมที่ ประเทศอื่นกําหนด เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถปรับตัว โดยอาจมีศูนย์กลางข้อมูลด้านนี้รวมถึงมาตรการด้าน สิ่งแวดล้อมที่ไทยกําลังดําเนินการอยู่ เช่น การกําหนด ISO 14000(ด้านสิ่งแวดล้อม) 2) สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ในระดับบุคลากรให้มีจานวนมากขึ้น เนื่องจากปัจจุบันยังมีบุคลากรที่มีความ เชี่ยวชาญด้านนี้ไม่เพียงพอ ทั้งนี้เพื่อสามารถสร้างอานาจต่อรองให้กับประเทศไทยในเรื่องสิ่งแวดล้อมในอนาคต ได้ 3) หน่วยงานภาครัฐต้องมีการประสานงานระหว่างกันมากขึ้น ปัญหาขณะนี้คือ มีหลายหน่วยงานดูแลงานแต่ละ ส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม แต่ไม่มีเจ้าภาพหลัก ทําให้ภาคเอกชนเกิดความสับสนในการขอความช่วยเหลือใน เรื่องสิ่งแวดล้อม โดยอยากเห็นการจัดตั้ง cluster ในด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเกิดขึ้นอย่างเป็น ระบบ 4) การพิจารณาแนวทางการเก็บภาษีพิเศษ หรือภาษีสิ่งแวดล้อมในรูปภาษีสรรพสามิต โดยเก็บทั้งผู้ผลิตภายใน และผู้นําเข้า โดยใช้หลักการ “Polluters Pay Principle :PPP” อย่างไรก็ตามการพิจารณาจัดเก็บภาษีดังกล่าวต้อง มีแผนการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ภาษีดังกล่าวถูกนําไปใช้ตรงตามวัตถุประสงค์การจัดเก็บ และผลประโยชน์กลับสู่สิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง นอกจากนี้ ควรมีแผนการช่วยเหลือการพัฒนาการปรับตัวต่อ ภาระนี้ในอุตสาหกรรม SMEs ด้วยเนื่องจากจะมีปัญหาการปรับตัวมากกว่าบริษัทใหญ่ที่เป็นการลงทุนจาก ต่างประเทศ 5) เนื่องจากการกาหนดมาตรฐาน/มาตรการสิ่งแวดล้อมมีหลายระดับ ตั้งแต่ในระดับสากล ระดับประเทศ หรือ ระดับ stakeholder (ภาคเอกชนใดเอกชนหนึ่งอาจกาหนดใช้มาตรฐานสิ่งแวดล้อมมาเป็นเงื่อนไขทางการค้า) ไทยควรมีท่าทีการเจรจาที่ให้ประเทศหรือภาคเอกชนที่เป็นผู้ตั้งเข้ามาช่วยรับภาระในการปรับตัว โดยอาจช่วย รับภาระต้นทุนหรือให้ความช่วยเหลือในการปรับตัวด้วย ------------------------------