SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
Télécharger pour lire hors ligne
ข้อเสนอแนวคิดเพื่อการพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้้า
                             ด้านการพัฒนาในประเทศไทย

                                        โดย นายเชิญ ไกรนรา
1.หลักการและเหตุผล
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้พยายามจัดทาดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่
สาคัญ เช่น ดัชนีชี้วัดความอยู่เย็นเป็นสุขในสังคมไทย ดัชนีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และดัชนีการพัฒนาที่
ยั่งยืน ซึ่งนับว่าเป็นแนวคิดที่ดีแต่ดัชนีดังกล่าวยังเป็นตัวชี้วัดภาพรวมการพัฒนาระดับประเทศ ในขณะที่ใน
ปัจจุบันประเทศไทยกาลังเผชิญกับปัญหาวิกฤตทางสังคมอันเนื่องมาจากความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนาในมิติ
ต่างๆ แต่การจัดทาดัชนีชี้วัดความเหลื่อมล้าดังกล่าวยังมีน้อย กระจัดกระจาย และยังไม่ตอบสนองต่อความท้า
ทายของการพัฒนาประเทศในปัจจุบัน

2.บทวิเคราะห์ / แนวความคิด / ข้อเสนอ
ดังนั้นจึงควรพัฒนาตัวชี้วัดความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนาประเทศในเชิงพื้นที่ระดับภาค ระดับจังหวัด และ
ระหว่างพื้นที่เมืองและพื้นที่ชนบทเป็นการเฉพาะ ซึ่งเป็นความจาเป็นเร่งด่วนในการประเมินผลความอยู่เย็น
เป็นสุขของสังคมไทย โดยตัวชี้วัดที่สาคัญควรประกอบด้วย
   2.1 ความเหลื่อมล้้าด้านกายภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับสภาพภูมิศาสตร์และสภาพทางธรรมชาติ
          - สภาพอากาศ
          - ระยะทางจากตลาด/การเข้าถึงตลาด/ระยะทางจากจุดศูนย์กลาง
          - ความหนาแน่นของประชากร
          - แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของประชากรเมือง
          - อัตราการย้ายถิ่นฐานของประชากรระหว่างภาค ระหว่างจังหวัด และภายในจังหวัด
          - อัตราการย้ายถิ่นฐานเพื่อการทางานของประชากรจากประเทศเพื่อนบ้านสู่ประเทศไทย (ถ้ามี)

   2.2 ความเหลื่อมล้้าด้านเศรษฐกิจ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความแตกต่างของคุณภาพและปริมาณของผลผลิตของ
    แต่ละพื้นที่
        -รายได้ต่อหัวของประชากร
        -โครงสร้างอุตสาหกรรม
        -รายได้จากภาษี
        -โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก
        -การมีงานทา
        -อัตราความยากจน
        -พื้นที่ชลประทาน
        -ผลิตภาพทางการเกษตรต่อไร่
        -ความเข้มข้นของการเพาะปลูกการเกษตร
        -การกระจายตัวของการใช้ปุ๋ยเคมีต่อไร่ของพื้นที่ทาการเพาะปลูก

   2.3 ความเหลื่อมล้้าด้านสังคม ซึ่งเกี่ยวข้องกับรายได้หรือมาตรฐานการครองชีพของประชากร
       -การว่างงาน
                                                  1
-โครงสร้างของการว่างงาน
        -แนวโน้มการมีงานทา
        -ประชากรวัยแรงงาน
        -ระดับการศึกษาและโครงสร้างอาชีพ
        -รายได้
        -สภาพการดารงชีวิต
        -แนวโน้มของประชากร
        -การเข้าถึงบริการสาธารณสุข
        -การเข้าถึงน้าสะอาด
        -การถือครองที่ดิน
        -อัตราของการใช้จ่ายงบประมาณต่อหัวของประชากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเมื่อเปรียบเทียบ
กับค่าเฉลี่ยระดับประเทศ
        -บทบาทของสตรีต่อการพัฒนาพื้นที่

   โดยประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดดังกล่าวในการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
ตามหลักการจัดการแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (Results-Based Management: RBM) และส่งเสริมการมีส่วน
ร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามกาหนดระยะเวลาการติดตามและประเมินผล และใช้ประโยชน์ของความรู้ที่
ได้รับจากการติดตามและประเมินผลเพื่อการวางแผนและการจัดทาแผนงาน เพื่อให้ สศช.เป็นองค์กรแห่งการ
เรียนรู้และส่งเสริมการติดตามผลที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ให้เป็นวัฒนธรรมองค์กรและเผยแพร่สูสาธารณะอย่าง
กว้างขวาง โดยใช้สื่อที่หลากหลาย ตลอดทั้งสร้างเครือข่ายการติดตามผลและประเมินผลอย่างกว้างขวางทั้ง
ระดับชาติ ระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่นรวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม

3.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  3.1 ทาให้มีตัวชี้วัดความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนาเชิงพื้นที่ระดับภาค ระดับจังหวัดและระหว่างพื้นที่เมืองและ
พื้นที่ชนบทเพิ่มมากขึ้น
 3.2 มีการประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดดังกล่าวเพื่อเร่งขับเคลื่อนเพื่อเสริมสร้างความสมดุล ความอยู่ดีมีสุขของสังคมไทย
และสนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน

4.ตัวชี้วัดความส้าเร็จ
   4.1 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์จากการประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนา
ดังกล่าวและโดยองค์รวมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
   4.2 ปัญหาความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนาในสังคมไทยได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้อง นาไปสู่การกระจาย
ผลประโยชน์อย่างกว้างขวาง ทั่วถึง สมดุลและส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน

                                            ลงชื่อ        เชิญ          ผู้เสนอแนวคิด
                                                    (นายเชิญ ไกรนรา)
                                                 วันที่ 20 /กุมภาพันธ์/2556


                                                     2

Contenu connexe

Similaire à การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
jirapom
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
Apichat kon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ENooilada
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
banlangkhao
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
jirapom
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
freelance
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1
Pala333
 

Similaire à การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย (20)

Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชน
ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชนชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชน
ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชน
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 
M11 3
M11 3M11 3
M11 3
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
กลไกสังคม
กลไกสังคมกลไกสังคม
กลไกสังคม
 
5
55
5
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1
 

Plus de Dr.Choen Krainara

Plus de Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project Management
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management Leadership
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 

การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย

  • 1. ข้อเสนอแนวคิดเพื่อการพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้้า ด้านการพัฒนาในประเทศไทย โดย นายเชิญ ไกรนรา 1.หลักการและเหตุผล สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้พยายามจัดทาดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ สาคัญ เช่น ดัชนีชี้วัดความอยู่เย็นเป็นสุขในสังคมไทย ดัชนีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และดัชนีการพัฒนาที่ ยั่งยืน ซึ่งนับว่าเป็นแนวคิดที่ดีแต่ดัชนีดังกล่าวยังเป็นตัวชี้วัดภาพรวมการพัฒนาระดับประเทศ ในขณะที่ใน ปัจจุบันประเทศไทยกาลังเผชิญกับปัญหาวิกฤตทางสังคมอันเนื่องมาจากความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนาในมิติ ต่างๆ แต่การจัดทาดัชนีชี้วัดความเหลื่อมล้าดังกล่าวยังมีน้อย กระจัดกระจาย และยังไม่ตอบสนองต่อความท้า ทายของการพัฒนาประเทศในปัจจุบัน 2.บทวิเคราะห์ / แนวความคิด / ข้อเสนอ ดังนั้นจึงควรพัฒนาตัวชี้วัดความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนาประเทศในเชิงพื้นที่ระดับภาค ระดับจังหวัด และ ระหว่างพื้นที่เมืองและพื้นที่ชนบทเป็นการเฉพาะ ซึ่งเป็นความจาเป็นเร่งด่วนในการประเมินผลความอยู่เย็น เป็นสุขของสังคมไทย โดยตัวชี้วัดที่สาคัญควรประกอบด้วย 2.1 ความเหลื่อมล้้าด้านกายภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับสภาพภูมิศาสตร์และสภาพทางธรรมชาติ - สภาพอากาศ - ระยะทางจากตลาด/การเข้าถึงตลาด/ระยะทางจากจุดศูนย์กลาง - ความหนาแน่นของประชากร - แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของประชากรเมือง - อัตราการย้ายถิ่นฐานของประชากรระหว่างภาค ระหว่างจังหวัด และภายในจังหวัด - อัตราการย้ายถิ่นฐานเพื่อการทางานของประชากรจากประเทศเพื่อนบ้านสู่ประเทศไทย (ถ้ามี) 2.2 ความเหลื่อมล้้าด้านเศรษฐกิจ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความแตกต่างของคุณภาพและปริมาณของผลผลิตของ แต่ละพื้นที่ -รายได้ต่อหัวของประชากร -โครงสร้างอุตสาหกรรม -รายได้จากภาษี -โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก -การมีงานทา -อัตราความยากจน -พื้นที่ชลประทาน -ผลิตภาพทางการเกษตรต่อไร่ -ความเข้มข้นของการเพาะปลูกการเกษตร -การกระจายตัวของการใช้ปุ๋ยเคมีต่อไร่ของพื้นที่ทาการเพาะปลูก 2.3 ความเหลื่อมล้้าด้านสังคม ซึ่งเกี่ยวข้องกับรายได้หรือมาตรฐานการครองชีพของประชากร -การว่างงาน 1
  • 2. -โครงสร้างของการว่างงาน -แนวโน้มการมีงานทา -ประชากรวัยแรงงาน -ระดับการศึกษาและโครงสร้างอาชีพ -รายได้ -สภาพการดารงชีวิต -แนวโน้มของประชากร -การเข้าถึงบริการสาธารณสุข -การเข้าถึงน้าสะอาด -การถือครองที่ดิน -อัตราของการใช้จ่ายงบประมาณต่อหัวของประชากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเมื่อเปรียบเทียบ กับค่าเฉลี่ยระดับประเทศ -บทบาทของสตรีต่อการพัฒนาพื้นที่ โดยประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดดังกล่าวในการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ตามหลักการจัดการแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (Results-Based Management: RBM) และส่งเสริมการมีส่วน ร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามกาหนดระยะเวลาการติดตามและประเมินผล และใช้ประโยชน์ของความรู้ที่ ได้รับจากการติดตามและประเมินผลเพื่อการวางแผนและการจัดทาแผนงาน เพื่อให้ สศช.เป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้และส่งเสริมการติดตามผลที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ให้เป็นวัฒนธรรมองค์กรและเผยแพร่สูสาธารณะอย่าง กว้างขวาง โดยใช้สื่อที่หลากหลาย ตลอดทั้งสร้างเครือข่ายการติดตามผลและประเมินผลอย่างกว้างขวางทั้ง ระดับชาติ ระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่นรวมทั้งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม 3.ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3.1 ทาให้มีตัวชี้วัดความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนาเชิงพื้นที่ระดับภาค ระดับจังหวัดและระหว่างพื้นที่เมืองและ พื้นที่ชนบทเพิ่มมากขึ้น 3.2 มีการประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดดังกล่าวเพื่อเร่งขับเคลื่อนเพื่อเสริมสร้างความสมดุล ความอยู่ดีมีสุขของสังคมไทย และสนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน 4.ตัวชี้วัดความส้าเร็จ 4.1 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์จากการประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนา ดังกล่าวและโดยองค์รวมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 4.2 ปัญหาความเหลื่อมล้าด้านการพัฒนาในสังคมไทยได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้อง นาไปสู่การกระจาย ผลประโยชน์อย่างกว้างขวาง ทั่วถึง สมดุลและส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน ลงชื่อ เชิญ ผู้เสนอแนวคิด (นายเชิญ ไกรนรา) วันที่ 20 /กุมภาพันธ์/2556 2