SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
Contents                                                   มีนาคม 2554




                                       Showcase
                                                        ใชคลอง            4
                                                 เขาถึงทุกพืนที่
                                                             ้              4
                                           ครอบคลุมทุกครัวเรือน             5
                                       online บนฐานขอมูลกลาง               6




                                      Interview
                                Family online บน FFC                       8
                                      กวาจะมาเปน FFC                     9
                               ประโยชนทสงตอถึงมือผูใช
                                          ่ี                            10
                      ปจจุบนและอนาคตบนความคาดหวัง
                            ั                                             11
      รวมมือ รวมทาง ความเปนไปได บนเสนทางการพัฒนา                     11
                                 มุมมองดีๆ จากงานวิจย  ั                  11



                                       TechTrend
                  โปรแกรมเชือมตอฐานขอมูลระหวาง JHCIS
                            ่
              กับโปรแกรม Family Folder Collector (FFC) 12
                          ในสวน โปรแกรม FFC Android 13




                                                          ภาพปก FFC
                                วัชรากร หนูทอง (นักวิจัย) และทีม
            หองปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมไรสายและความมั่นคง
                   หนวยวิจัยเทคโนโลยีไรสาย ขอมูลความมั่นคง
  และนวัตกรรมอิเล็กทรอนิกสเพื่ออนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม
         ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ
ที่มาของขอมูล ภาพประกอบ และสื่อมัลติมีเดีย ไดรับการเอื้อเฟอจากหองปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมไรสายและความมั่นคง
Editor’s Talk


การพั ฒ นา ระบบสารสนเทศ                                 ขันตอนการทำ�งานของเจ้าหน้าทีสาธารณสุข
                                                          ้                           ่
โปรแกรมบั น ทึ ก ข้ อ มู ล สุ ข ภาพครอบครั ว            และเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่สามารถทำ�งาน
แบบพกพา (Family Folder Collector)                       เชิงรุก ในการปฏิบัติงานนอกพื้นที่ได้อย่างมี
หรือที่เรียกชื่อย่อว่าโปรแกรม FFC ทีม                   ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันได้มีการ
นั ก วิ จั ย ของเนคเทคได้ รั บ คำ � แนะนำ � ให้         ทดสอบการใช้งานภาคสนามและมีการนำ�
ดำ�เนินการวิจัยพัฒนาโดย นพ. สมศักดิ์                    ไปใช้งานจริงแล้ว โดยมีเจ้าหน้าที่ทางด้าน
ชุณหรัศมิ์ ประธานคลัสเตอร์การแพทย์และ                   สาธารณสุขร่วมทดสอบการใช้งานกระจาย
สาธารณสุข สวทช. ซึงสอดคล้องกับนโยบาย
                      ่                                 ไปทั่วประเทศจำ�นวน 45 จังหวัด
ของศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือเนคเทค ที่มุ่งเน้น              จากจุดเริ่มต้นของโครงการวิจัยและได้รับ
ในด้ า นการส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาและวิ จั ย             การสนับสนุนเป็นอย่างดีจากศูนย์เทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านการแพทย์และ                     และการสื่อสาร สำ�นักงานปลัดกระทรวง
สุขภาพ ซึ่งเป็น 1 ใน 3 เรือธง (NETEC                    สาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ในการ
Flagships) ได้แก่ Smart Health, Smart                   พั ฒ นาโปรแกรมบั น ทึ ก ข้ อ มู ล สุ ข ภาพ
Farm และ Digitized Thailand และดำ�เนิน                  ครอบครัว ร่วมกับระบบโรงพยาบาลส่ง
การวิจัยพัฒนาโดยคณะนักวิจัยจากหน่วย                     เสร ิ ม ส ุ ข ภาพต ำ � บล และศ ู น ย ์ ส ุ ข ภาพ
วิจัยเทคโนโลยีไร้สาย ข้อมูล ความมั่นคง                  ชุมชน ชื่อว่า JHCIS เพื่อใช้ทดแทนการ
และนวั ต กรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ พื่ อ อนุ รั ก ษ์   จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล แฟ้ ม อนามั ย ครอบครั ว
พลังงานและสิ่งแวดล้อม (WISRU)                           แบบเก่า                เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพใน
                                                        การทำ�งานให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ใน
เป้าหมายสำ�คัญของโครงการก็คือ โปรแกรม                   การดู แ ลสุ ข ภาพและอนามั ย ของคนไทย
ดังกล่าวจะต้องช่วยแก้ไขปัญหาและอำ�นวย                   ปั จ จุ บั น นี้ โ ปรแกรมบั น ทึ ก ข้ อ มู ล สุ ข ภาพ
ความสะดวกในการเก็บแฟ้มอนามัยครอบครัว                    ครอบครัวแบบพกพา ผ่านเครื่องแท็บเล็ต
แบบกระดาษ ที่ใช้กันปัจจุบันทั่วประเทศ                   (Tablet) และแอนดรอยด์โฟน (Android
โดยการนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย                    phone) ได้ส�เร็จลุล่วงแล้วและพร้อมเปิด
                                                                             ำ
มาช่วยเพิ่มความสะดวกในจัดเก็บและการ                     ให้บุคลากรทางด้านสาธารณสุขใช้อย่างเป็น
วิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และ                 ทางการแล้ว เนคเทคจึงมีความยินดีที่จะขอ
มีประสิทธิภาพ โดยเนคเทคคาดหวังว่า                       ส่งมอบผลงานวิจัยที่พัฒนาโดยคนไทย ให้
ประโยชน์ ที่ จ ะได้ รั บ จากโครงการนี้ คื อ             นำ�ไปใช้ให้เกิดประโยชน์กบทางด้านสาธารณสุข
                                                                                        ั
โปรแกรมจะช่วยจัดการข้อมูลที่จัดเก็บให้                  ของประเทศไทย รายละเอียดและข้อมูล
สามารถนำ�ไปใช้งานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว                  การใช้งาน ทุกท่านสามารถติดตามได้ในสาร
ช่วยลดปัญหาการกรอกข้อมูลซํ้าซ้อน ลด                     เนคเทคฉบับนี้




                                                        มีนาคม 2554                                     3
Showcase

FFC โปรแกรมเก็บข้อมูลสุขภาพคนไทย ทั่วไทย ทั่วถึง




                    แสดงการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ Tablet กับ PC                  รูปหน้าจอแสดงข้อมูลส่วนบุคคล



ใช้คล่อง
     ทำ�งานบนระบบปฏิบัติการ Android 2.2 บนเครื่องแท็บเล็ตขนาดหน้าจอ 7 นิ้ว เช่น WellCoM A800, Samsumg Galaxy
     Tab เป็นต้น

     เชื่อมต่อกับโปรแกรมระบบงานสถานีอนามัย JHCIS ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำ�นักงานปลัดกระทรวง
      สาธารณสุขโดยไม่ได้เป็นการสร้างระบบใหม่ในการเก็บข้อมูล แต่เป็นระบบเสริมเพื่อให้โปรแกรม JHCIS สามารถนำ�ข้อมูล
      ออกไปใช้นอกสถานที่ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว

เข้าถึงทุกพื้นที่
     สามารถระบุตำ�แหน่งพิกัดหลังคาเรือนจากระบบ GPS อย่างอัตโนมัติ

     สามารถ ลบ เพิ่มเติม แก้ไข ค้นหา ตำ�แหน่งพิกัดของหลังคาบ้านบนแผนที่ Google map ได้

     สามารถดูข้อมูลสภาวะความเป็นโรคเรื้อรังของบุคคลในบ้านบนแผนที่ Google map แบบ On-lineได้ โดยจะและแสดงด้วย
     มาร์คเกอร์สีแดง (มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังอาศัยอยู่) และมาร์คเกอร์สีเขียว (ไม่มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังอาศัยอยู่)


 4                            มีนาคม 2554
ภาพหน้าจอแสดงตำ�แหน่งพิกัดบ้านบนแผนที่ Google Map




                        หน้าจอแสดงภาพการค้นหาตำ�แหน่งของพิกัดของหลังคาบ้านบนแผนที่ Google Map


ครอบคลุมทุกครัวเรือน
  มีผงเครือญาติ (Genogram) ในรูปแบบกราฟฟิก โดยมีจดศูนย์กลางทีเ่ จ้าบ้านได้ 4 รุนอายุคน (หนึงรุนอายุคนก่อนเจ้าบ้าน
     ั                                            ุ                            ่           ่ ่
  สองรุ่นอายุคนหลังเจ้าบ้าน) จากฐานข้อมูลของโปรแกรม JHCIS ได้อย่างอัตโนมัติ

  แสดงรายละเอียดข้อมูลคนในผังเครือญาติ เช่น ชื่อ เพศ วัย อายุ และสภาพการเป็นโรคเรื้อรังได้

  สามารถเลือกดูรายละเอียดของบุคคลที่อยู่ในผังเครือญาตินั้นได้

  สามารถข้ามไปดูผังเครือญาติของบุคคลที่มีความสัมพันธุ์แต่ไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน


                                                                             มีนาคม 2554                      5
Showcase




                                                แสดงข้อมูลคนในผังเครือญาติ




                                                หน้าจอแสดงข้อมูลส่วนบุคคล


online บนฐานข้อมูลกลาง
    สามารถบันทึกข้อมูลภาวะสุขภาพที่สำ�คัญในการออกเยี่ยมเพื่อปรับปรุงข้อมูลด้านสุขภาพได้

    แก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลให้ถูกต้องมากยิ่งขึ้นได้ เช่น รหัสบัตรประชาชน ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด หมู่เลือด


                                                                                                  Intervi
    และ ยา/อาหารที่แพ้ได้

    ถ่ายและบันทึกภาพของบุคคล และนำ�มาเก็บในฐานข้อมูลของโปรแกรม JHCIS ได้

    สามารถบันทึกข้อมูลที่ปรับปรุงเรียบร้อย กลับไปยังฐานข้อมูลโปรแกรม JHCIS ได้อย่างอัตโนมัติ ลดการ
    กรอกข้อมูลด้วยโปรแกรม FFC Autosync บน PC


6                           มีนาคม 2554
แสดงผังเครือญาติ                        หน้าจอแสดงการเลือกบ้านที่ต้องการแสดงผังเครือญาติ




                                        หน้าจอแสดงแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลฐานข้อมูล JHCIS




iew
  สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
      หน่วยวิจัยเทคโนโลยีไร้สาย ข้อมูล ความมั่นคงและนวัตกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เพื่ออนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
      (WIS-RU) 	
      ศูนย์เทคโนโ ลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) Website: http://ffc.wimaxitvalley.org 	
      E-mail: watcharakon.noothong@nectec.or.th
      Tel: 02-564-6900 ext. 2513, 2529


                                                                                 มีนาคม 2554                          7
Interview

                  Family online บน FFC
    การเข้าสู่ยุค 3 G หรือ Third Generation ถือ เป็นก้าวเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 ซึ่งอุปกรณ์สื่อสารใน
ยุคที่ 3 นี้ จะเป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน การนำ�เสนอข้อมูล และ เทคโนโลยีในปัจจุบันเข้าด้วยกัน เช่น PDA โทรศัพท์มือถือ
Walkman, กล้องถ่ายรูป และ อินเทอร์เน็ต และตอนนี้ มือถือของรุ่นต่างๆ รวมไปถึงอุปกรณ์ที่เรียกว่าแทบเลต ต่างต้องปรับ
ตัวสร้าง application ใหม่ๆ ให้สามารถรองรับเทคโนโลยีที่จะนำ�มาใช้ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้านี้
     และหากจะกล่าวถึงเครื่องมือสื่อสารที่ทันสมัยในยุคนี้ หลายๆ คน คงเคยคุ้นเคยกับการใช้งานอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่
สามารถนำ�พาไปไหนมาไหนได้สะดวก รวมถึงส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์อื่นๆ ได้รวดเร็ว อุปกรณ์เหล่านั้น ก็ควรต้องมี ซอฟต์แวร์
หรือโปรแกรมต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถหยิบใช้ ได้ง่ายๆ และพกพาได้สะดวก
     ในวันนีเราจะพาไปพบกับโปรแกรมทีชวยให้ชวตของประชากรในประเทศไทยสามารถเข้าสูฐานข้อมูล ทีชวยให้ผเก็บข้อมูล
             ้                        ่่        ีิ                                       ่         ่่     ู้
สามารถบันทึกข้อมูลสุขภาพคนไทยในมาตรฐานเดียวกัน พกพาไปได้ทุกที สามารถแสดงแผนที่ของสถานที่ และส่งต่อข้อมูล
ต่างๆ ของประชากรทั่วประเทศ เข้าสู่ส่วนกลาง ได้อย่างรวดเร็ว เราเรียกโปรแกรมนี้ว่า “โปรแกรมบันทึกข้อมูลระดับหลังคา
เรือนแบบพกพา (Family Folder Collector)” หรือในชื่อย่อ ว่า FFC
     โปรแกรมนี้ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติหรือ เนคเทค โดยทีมงานของห้องปฏิบัติการวิจัย
เทคโนโลยีไร้สาย ข้อมูล ความมั่นคงและนวัตกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่ออนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เป็นห้องปฏิบัติการที่
สนับสนุนภารกิจของหน่วยงานด้านความมันคงของประเทศ มุงเน้นศึกษาวิจยและพัฒนาเทคโนโลยีไร้สาย เพือสร้างนวัตกรรม
                                         ่                ่          ั                                ่
ทางเทคโนโลยีไร้สาย เช่น เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สาย Wi-Fi WiMAX RFID อัลตราไวด์แบนด์ (UWB) การจัดการทาง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการจัดการข้อมูลด้านสาธารณสุข ได้พัฒนาโปรแกรม FFC เพื่อช่วยเก็บข้อมูลระดับหลังคาเรือน
ทดแทนแฟ้มกระดาษที่ใช้ในปัจจุบัน จนได้รูปแบบหน้าตาที่ทันสมัย บนอุปกรณ์ สื่อสารอย่างทุกวันนี้




                                   ภาพแสดงหน้าจอหลักของโปรแกรม FFC บนเครื่อง Tablet



 8                         มีนาคม 2554
กวาจะมาเปน FFC
  ่      ็
     ทีมวิจยได้เล่าให้ฟงว่า “โปรแกรมนีเ้ กิดขึนจากนโยบายของ เนคเทค ทีมงเน้นส่งเสริมพัฒนาและวิจยเทคโนโลยีสารสนเทศ
           ั            ั                     ้                            ่ ุ่                     ั
ทางด้านการแพทย์และสุขภาพ โดยทีมวิจยเอง ก็ได้รบโจทย์ทจะต้องพัฒนาระบบสารสนเทศ ใช้เก็บแฟ้มข้อมูลระดับหลังคาเรือน
                                          ั          ั      ่ี
(Family Folder) บนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา ทีใช้ทดแทนการเก็บแฟ้มข้อมูลระดับหลังคาเรือนในแฟ้มกระดาษ โจทย์การ
                                                       ่
พัฒนาผลงานในครังนีเ้ ราได้รบคำ�แนะนำ�จาก นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ประธานคลัสเตอร์การแพทย์และสาธารณสุข ของสำ�นักงาน
                    ้        ั
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในขณะนัน ถึงปัญหาของระบบเดิมของการเก็บข้อมูลระดับหลังคาเรือนใน
                                                               ้
ปัจจุบนนี้ ข้อมูลไม่ทนสมัย ไม่สามารถ สืบค้น วิเคราะห์ขอมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ”
      ั               ั                                  ้
    หลังจากได้รับโจทย์ ทีมนักวิจัย ได้ ลงพื้นในที่ชุมชนต่างๆ ในหลายจังหวัด เช่น ราชบุรี พิษณุโลก อุบลราชธานี และสำ�รวจ
ความต้องการของเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขหลายหน่วยงาน ได้แก่ แพทย์ชุมชน พยาบาล เจ้าหน้าที่อนามัย พบว่ายังคงใช้
การเก็บข้อมูลในกระดาษ และต้องนำ�ข้อมูลไปกรอกอีกครั้งในระบบคอมพิวเตอร์ที่หน่วยงานทำ�ให้เสียเวลาและเกิดการกรอก
ข้อมูลซ้�ซ้อน ผู้ใช้งานต้องการอุปกรณ์เข้ามาช่วยเก็บและบันทึกข้อมูลสุขภาพของคนในชุมชนที่ให้บริการ และต้องสามารถใช้
        ำ
งานนอกสถานที่สะดวก รวดเร็ว ในการออกให้บริการนอกพื้นที่




                           ภาพแสดงการลงพื้นที่ในชุมชนเพื่อสำ�รวจความต้องการของเจ้าหน้าที่ด้านสารณสุข


     การเก็บข้อมูลในครังนันทำ�ให้ทมนักวิจยนำ�ไปพัฒนาเป็น FFC ทีท�งานอยูบนระบบปฏิบตการกูเกิลแอนดรอยด์ (Google
                       ้ ้         ี     ั                     ่ ำ     ่          ัิ
Android) ซึงเป็นซอฟต์แวร์แพลตฟอร์มโอเพนซอร์ส (Open Source) สามารถนำ�ไปใช้งานได้ทงบนมือถือ คอมพิวเตอร์พกพา
            ่                                                                        ้ั
หรือ แท็บแล็ต (Tablet) ซึงผูใช้สามารถเลือกใช้งานโปรแกรมนีได้ทงมือถือและแท็บแล็ต ของหลากหลายบริษท อีกทังสะดวก
                           ่ ้                            ้ ้ั                                 ั      ้
รวดเร็วต่อการโปรแกรมนอกสถานทีได้ทกทีทกเวลา
                                  ่ ุ ่ ุ


                                                                                    มีนาคม 2554                   9
Interview
    “โปรแกรมทีเ่ ราพัฒนา เพือตอบสนองความต้องการของกลุมทีตองการมีเครืองมือสำ�หรับเก็บข้อมูลต่างๆ ทีสามารถพกพาไปใช้
                               ่                           ่ ่้           ่                        ่
งานนอกสถานทีได้อย่างสะดวก และจะช่วยให้สามารถส่งออกข้อมูลเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวก ช่วยลดเวลาการกรอก
                 ่                                                 ่
ข้อมูล ลดขันตอนการบันทึกข้อมูล ลดการใช้กระดาษ ลดพืนทีการจัดเก็บเอกสารกระดาษต่างๆ เป็นการเพิมประสิทธิภาพในการ
             ้                                           ้ ่                                     ่
ทำ�งานให้กบเจ้าหน้าทีดานสาธารณสุขให้บริการและดูแลสุขภาพของคนไทยให้ดยงขึน”
           ั           ่้                                                   ี ่ิ ้
    ทีมนักวิจัยเล่าให้ฟังว่าการพัฒนาโปรแกรมในครั้งนี้เลือกใช้ระบบปฏิบัติการกูเกิลแอนดรอยด์ เพราะระบบนี้สร้างขึ้นมาจาก
ระบบปฎิบัติการลีนุกซ์ (Powered by the Linux kernel) พัฒนาขึ้นมาโดยกูเกิล และได้เปิดให้นักพัฒนา สามารถเข้ามา
จัดการเขียนโค๊ตต่างๆ ได้ด้วยภาษาจาวา (Java) และเขียนโค๊ตควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทางจาวาไลบลารี่ที่ทางกูเกิลพัฒนา
ขึ้นโดยเฉพาะ และจากประโยชน์ที่ได้สามารถใช้งานบนอุปกรณ์พกพาได้หลากหลายบริษัท




                                               ภาพแสดงหน้าจอระบบ FFC

ประโยชนทสงตอถงมอผใช้
       ์ ่ี ่ ่ ึ ื ู้
     ผูใช้งานโปรแกรมนี้ จะเป็นเจ้าหน้าทีสารสนเทศด้านสาธารณสุข ในสถานีอนามัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล (รพ.สต.)
       ้                                ่
ศูนย์สุขภาพชุมชน ซึ่งทำ�งานด้านให้บริการด้านสาธารณสุขและเก็บข้อมูล ให้สามารถออกไปให้บริการนอกหน่วยงาน หรือ
สามารถให้บริการด้านสาธาณสุขได้ที่บ้านในชุมชนต่างๆ ได้อย่างมีสะดวกรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เป็นการยก
ระดับการให้บริการในด้านสาธารณสุขภายในประเทศอีกด้วย




                      แสดงเปรียบเทียบแฟ้มอนามัยครอบครัวกับโปรแกรม FFC ทีอยูบน GalaxyTab
                                                                        ่ ่

 10                         มีนาคม 2554
ปจจบนและอนาคตบนความคาดหวง
 ั ุ ั                  ั
       เพราะเป็นโปรแกรมทีชวยส่งเสริมและสำ�รวจสุขภาพคนไทย และยังเป็นโปรแกรมใหม่ส�หรับ ผูใช้งาน ในช่วงเริมต้นจึงเปิด
                          ่่                                                        ำ      ้             ่
ให้ผทสนใจทดสอบการใช้งานตังแต่วนที่ 8 เมษายน 2554 ทีผาน ซึงมีส�นักงานสาธารณสุข จังหวัดอุบลราชธานี ได้เริมนำ�ร่อง
     ู้ ่ี                     ้ ั                            ่่ ่ ำ                                       ่
การทดสอบการใช้งาน โดยมี สถานีอนามัยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลนำ�ร่องภายในจังหวัดจำ�นวน 100 แห่ง เข้าร่วม
อบรมการติดตังและใช้งานโปรแกรมไปแล้ว 1 ครัง และยังมีผสนใจจากสถานีอนามัยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลจำ�นวน
                ้                              ้           ู้
มากกว่า 25 หน่วยงาน ดาวน์โหลดโปรแกรมไปทดลองใช้งานแล้ว
    ในอนาคต ทีมวิจัย คาดหวังว่า “อยากที่จะเห็นการพัฒนาและต่อยอดโปรแกรม FFC ให้ขยายครอบคลุมการใช้งานและการ
เก็บข้อมูลได้มากขึ้นเรื่อยๆ เช่นในเริ่มแรกเป็นการเก็บข้อมูลหลังคาเรือนต่อมา อาจพัฒนาต่อยอดในส่วนของข้อมูลการเยี่ยมผู้
ป่วยเรื้อรัง คนพิการ หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เด็ก และผู้สูงอายุ คัดกรองสุขาภิบาลบ้านและสิ่งแวดล้อม ทีมของเราหวัง
ว่าจะสามารถต่อยอดเพื่อทดแทนการทำ�งานแทนกระดาษและใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาเพียงตัวเดียวก็สามารถทำ�งาน
ทางด้านสาธารณสุขครอบคลุมได้ทุกอย่าง”




รวมมอ รวมทาง ความเปนไปได้ บนเสนทางการพฒนา
 ่ ื ่             ็          ้       ั
   หากเป็นโปรแกรมสามารถช่วยคนไทย และเข้าถึงชุมชนได้อย่างแท้จริง ทางทีมงานพยายามหาแนวทางทีจะพัฒนา และขยาย
                                                                                              ่
ขอบข่ายการใช้งานให้ครอบคลุมในทุกๆ ด้าน ทีเ่ กียวข้องกับด้านสาธารณสุข ในขณะนีหน่วยงานภายนอกทีทมงานมองว่าสามารถ
                                              ่                             ้               ่ ี
ร่วมมือได้ ก็คอ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำ�นักงานสาธารณสุขจังหัวด
               ื                                   ่
อุบลราชธานี และ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 3 เป็นต้น เพราะหน่วยงานเหล่านีสามารถส่งเสริมและ
                                                                                                ้
ผลักดันเพือให้เกิดการพัฒนาต่อยอดงานวิจยเพือรองรับภารกิจต่างๆ ของสถานีอนามัยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล”
          ่                           ั ่




มมมองดๆ จากงานวจย
 ุ    ี        ิั
    “การพัฒนางานชินใดๆ ต้องอาศัยวิชาความรูในทิศทางทีศกษา และต้องเข้าใจลักษณะความจำ�เป็นของผูใช้งาน และข้อมูลเป็น
                   ้                        ้         ่ึ                                          ้
สำ�คัญ ผนวกกับความรูความสามารถเฉพาะทีมอยู่ ซึงเป็นสิงจำ�เป็น สำ�หรับงานวิจยชุดนี้ ต้องใช้ความรูดานการเขียนโปรแกรม
                     ้                   ่ี       ่    ่                   ั                   ้้
ภาษาจาวา และการใช้งานไลบลารีททางกูเกิลพัฒนาขึนโดยเฉพาะ ซึงสามารถศึกษาได้จากเว็ปไซต์ http://developer.android.
                               ่ ่ี             ้              ่
com/index.html แต่โดยส่วนตัวคิดว่าผลงานวิจยนี้ สามารถนำ�ไปต่อยอดเพือรองรับภารกิจต่างๆ ที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
                                              ั                       ่
ตำ�บล สถานีอนามัย ให้บริการดูแลรักษาและส่งเสริมป้องกัน เพือให้คนไทยมีสขภาพแข็งแรงมากยิงขึน”
                                                          ่             ุ              ่ ้


                                                                            มีนาคม 2554                         11
TechTrend
โปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูลระหว่าง JHCIS กับโปรแกรม Family Folder Collector (FFC)
    FFC เป็นโปรแกรมทีท�งานอยูบนระบบปฏิบตการกูเกิลแอนดรอยด์ (Google Android) โดยระบบปฏิบตการกูเกิลแอนดรอยด์
                     ่ ำ      ่            ัิ                                                 ัิ
นันได้เปิดให้นกพัฒนา สามารถเข้ามาจัดการเขียนโค๊ตต่างๆ ได้ดวยภาษาจาวา (Java) และเขียนโค็ตควบคุมอุปกรณ์ตางๆ ผ่านทาง
  ้            ั                                          ้                                           ่
จาวาไลบลารีททางกูเกิลพัฒนาขึนโดยเฉพาะ
              ่ ่ี          ้




                                                                                                                    Te




                                              แสดงภาพรวมของระบบ FFC




 12                        มีนาคม 2554
การพัฒนา FFC จึงต้องอาศัยหลักการทำ�งานบนพืนฐานของการเขียนซอฟต์แวร์ให้สามารถรองรับความต้องการแสดงบนบนระบบ
                                              ้
    ดังกล่าว ซึงผูใช้ตองมีอปกรณ์ตางๆดังนี้
               ่ ้ ้ ุ           ่



    ทางฮารดแวร์
          ์
       o หน่วยประมวลผล (CPU) : Pentium 4 ขึ้นไป
       o หน่วยความจำ� (RAM) : 512MB ขึ้นไป (แนะนำ�ให้ใช้ 1 GB ขึ้นไป)
       o พื้นที่ดิสก์ (Hard Disk Space) : 100 MB



echTrend
   ซอตฟแวร์
      ์
       o ระบบปฏิบัติการ (OS) : Microsoft Windows XP/Vista/ Windows 7
       o ระบบโปรแกรมระบบฐานข้อมูลสถานีอนามัยและหน่วยบริการปฐมภูมิ (JHCIS) เวอร์ชั่นปรับปรุงเมื่อวันที่ 8 มีนาคม
         2554 เท่านั้น ถ้าเป็นเวอร์ชั่นอื่น กรุณาปรับปรุงเวอร์ชั่นโปรแกรม JHICS ของท่านก่อน




    ทางฮารดแวร์
          ์
       o ใช้ระบบปฏิบัติการ Android 2.2 ที่สามารถใช้งานแผนที่ Google MapsTM ได้
       o อุปกรณ์ Tablet PC จอสัมผัส ขนาด 7 นิ้ว 800x480 pixels
       o ความเร็วของหน่วยประมวลผล (CPU)  600 MHz (แนะนำ�ให้ใช้ 1 GHz ขึ้นไป)
       o หน่วยความจำ� (RAM) : 512MB
       o พื้นที่ดิสก์ (Hard Disk Space) : 50MB
       o มีระบบดาวเทียม GPS ค้นหาตำ�แหน่ง
       o มีระบบ WiFi 802.11b/g ส่งผ่านข้อมูลได้
       o มีกล้องดิจิตอล (Digital Camera) สำ�หรับถ่ายภาพได้

      ในขณะนี้ FFCสามารถ ใช้งานได้ เช่น Samsung Galaxy Tab, WellCoM A800 ส่วนเครืองรุนอืน กรุณาตรวจสอบคุณสมบัติ
                                                                                 ่ ่ ่




                                                                           มีนาคม 2554                       13
 e magazine_mar2011

Contenu connexe

Similaire à e magazine_mar2011

บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
Sanyawadee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
Chaiwit Khempanya
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
jeabjeabloei
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
G'ad Smile
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
G'ad Smile
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Ariya Soparux
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
Justice MengKing
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ยิ้ม' เเฉ่ง
 

Similaire à e magazine_mar2011 (20)

บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
Internet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้นInternet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้น
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
Ku 54
Ku 54Ku 54
Ku 54
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
1
11
1
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
 

e magazine_mar2011

  • 1.
  • 2. Contents มีนาคม 2554 Showcase ใชคลอง 4 เขาถึงทุกพืนที่ ้ 4 ครอบคลุมทุกครัวเรือน 5 online บนฐานขอมูลกลาง 6 Interview Family online บน FFC 8 กวาจะมาเปน FFC 9 ประโยชนทสงตอถึงมือผูใช ่ี   10 ปจจุบนและอนาคตบนความคาดหวัง ั 11 รวมมือ รวมทาง ความเปนไปได บนเสนทางการพัฒนา 11 มุมมองดีๆ จากงานวิจย ั 11 TechTrend โปรแกรมเชือมตอฐานขอมูลระหวาง JHCIS ่ กับโปรแกรม Family Folder Collector (FFC) 12 ในสวน โปรแกรม FFC Android 13 ภาพปก FFC วัชรากร หนูทอง (นักวิจัย) และทีม หองปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมไรสายและความมั่นคง หนวยวิจัยเทคโนโลยีไรสาย ขอมูลความมั่นคง และนวัตกรรมอิเล็กทรอนิกสเพื่ออนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ ที่มาของขอมูล ภาพประกอบ และสื่อมัลติมีเดีย ไดรับการเอื้อเฟอจากหองปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมไรสายและความมั่นคง
  • 3. Editor’s Talk การพั ฒ นา ระบบสารสนเทศ ขันตอนการทำ�งานของเจ้าหน้าทีสาธารณสุข ้ ่ โปรแกรมบั น ทึ ก ข้ อ มู ล สุ ข ภาพครอบครั ว และเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่สามารถทำ�งาน แบบพกพา (Family Folder Collector) เชิงรุก ในการปฏิบัติงานนอกพื้นที่ได้อย่างมี หรือที่เรียกชื่อย่อว่าโปรแกรม FFC ทีม ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันได้มีการ นั ก วิ จั ย ของเนคเทคได้ รั บ คำ � แนะนำ � ให้ ทดสอบการใช้งานภาคสนามและมีการนำ� ดำ�เนินการวิจัยพัฒนาโดย นพ. สมศักดิ์ ไปใช้งานจริงแล้ว โดยมีเจ้าหน้าที่ทางด้าน ชุณหรัศมิ์ ประธานคลัสเตอร์การแพทย์และ สาธารณสุขร่วมทดสอบการใช้งานกระจาย สาธารณสุข สวทช. ซึงสอดคล้องกับนโยบาย ่ ไปทั่วประเทศจำ�นวน 45 จังหวัด ของศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือเนคเทค ที่มุ่งเน้น จากจุดเริ่มต้นของโครงการวิจัยและได้รับ ในด้ า นการส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาและวิ จั ย การสนับสนุนเป็นอย่างดีจากศูนย์เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านการแพทย์และ และการสื่อสาร สำ�นักงานปลัดกระทรวง สุขภาพ ซึ่งเป็น 1 ใน 3 เรือธง (NETEC สาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ในการ Flagships) ได้แก่ Smart Health, Smart พั ฒ นาโปรแกรมบั น ทึ ก ข้ อ มู ล สุ ข ภาพ Farm และ Digitized Thailand และดำ�เนิน ครอบครัว ร่วมกับระบบโรงพยาบาลส่ง การวิจัยพัฒนาโดยคณะนักวิจัยจากหน่วย เสร ิ ม ส ุ ข ภาพต ำ � บล และศ ู น ย ์ ส ุ ข ภาพ วิจัยเทคโนโลยีไร้สาย ข้อมูล ความมั่นคง ชุมชน ชื่อว่า JHCIS เพื่อใช้ทดแทนการ และนวั ต กรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ พื่ อ อนุ รั ก ษ์ จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล แฟ้ ม อนามั ย ครอบครั ว พลังงานและสิ่งแวดล้อม (WISRU) แบบเก่า เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพใน การทำ�งานให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ใน เป้าหมายสำ�คัญของโครงการก็คือ โปรแกรม การดู แ ลสุ ข ภาพและอนามั ย ของคนไทย ดังกล่าวจะต้องช่วยแก้ไขปัญหาและอำ�นวย ปั จ จุ บั น นี้ โ ปรแกรมบั น ทึ ก ข้ อ มู ล สุ ข ภาพ ความสะดวกในการเก็บแฟ้มอนามัยครอบครัว ครอบครัวแบบพกพา ผ่านเครื่องแท็บเล็ต แบบกระดาษ ที่ใช้กันปัจจุบันทั่วประเทศ (Tablet) และแอนดรอยด์โฟน (Android โดยการนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย phone) ได้ส�เร็จลุล่วงแล้วและพร้อมเปิด ำ มาช่วยเพิ่มความสะดวกในจัดเก็บและการ ให้บุคลากรทางด้านสาธารณสุขใช้อย่างเป็น วิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และ ทางการแล้ว เนคเทคจึงมีความยินดีที่จะขอ มีประสิทธิภาพ โดยเนคเทคคาดหวังว่า ส่งมอบผลงานวิจัยที่พัฒนาโดยคนไทย ให้ ประโยชน์ ที่ จ ะได้ รั บ จากโครงการนี้ คื อ นำ�ไปใช้ให้เกิดประโยชน์กบทางด้านสาธารณสุข ั โปรแกรมจะช่วยจัดการข้อมูลที่จัดเก็บให้ ของประเทศไทย รายละเอียดและข้อมูล สามารถนำ�ไปใช้งานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว การใช้งาน ทุกท่านสามารถติดตามได้ในสาร ช่วยลดปัญหาการกรอกข้อมูลซํ้าซ้อน ลด เนคเทคฉบับนี้ มีนาคม 2554 3
  • 4. Showcase FFC โปรแกรมเก็บข้อมูลสุขภาพคนไทย ทั่วไทย ทั่วถึง แสดงการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ Tablet กับ PC รูปหน้าจอแสดงข้อมูลส่วนบุคคล ใช้คล่อง ทำ�งานบนระบบปฏิบัติการ Android 2.2 บนเครื่องแท็บเล็ตขนาดหน้าจอ 7 นิ้ว เช่น WellCoM A800, Samsumg Galaxy Tab เป็นต้น เชื่อมต่อกับโปรแกรมระบบงานสถานีอนามัย JHCIS ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำ�นักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุขโดยไม่ได้เป็นการสร้างระบบใหม่ในการเก็บข้อมูล แต่เป็นระบบเสริมเพื่อให้โปรแกรม JHCIS สามารถนำ�ข้อมูล ออกไปใช้นอกสถานที่ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว เข้าถึงทุกพื้นที่ สามารถระบุตำ�แหน่งพิกัดหลังคาเรือนจากระบบ GPS อย่างอัตโนมัติ สามารถ ลบ เพิ่มเติม แก้ไข ค้นหา ตำ�แหน่งพิกัดของหลังคาบ้านบนแผนที่ Google map ได้ สามารถดูข้อมูลสภาวะความเป็นโรคเรื้อรังของบุคคลในบ้านบนแผนที่ Google map แบบ On-lineได้ โดยจะและแสดงด้วย มาร์คเกอร์สีแดง (มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังอาศัยอยู่) และมาร์คเกอร์สีเขียว (ไม่มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังอาศัยอยู่) 4 มีนาคม 2554
  • 5. ภาพหน้าจอแสดงตำ�แหน่งพิกัดบ้านบนแผนที่ Google Map หน้าจอแสดงภาพการค้นหาตำ�แหน่งของพิกัดของหลังคาบ้านบนแผนที่ Google Map ครอบคลุมทุกครัวเรือน มีผงเครือญาติ (Genogram) ในรูปแบบกราฟฟิก โดยมีจดศูนย์กลางทีเ่ จ้าบ้านได้ 4 รุนอายุคน (หนึงรุนอายุคนก่อนเจ้าบ้าน ั ุ ่ ่ ่ สองรุ่นอายุคนหลังเจ้าบ้าน) จากฐานข้อมูลของโปรแกรม JHCIS ได้อย่างอัตโนมัติ แสดงรายละเอียดข้อมูลคนในผังเครือญาติ เช่น ชื่อ เพศ วัย อายุ และสภาพการเป็นโรคเรื้อรังได้ สามารถเลือกดูรายละเอียดของบุคคลที่อยู่ในผังเครือญาตินั้นได้ สามารถข้ามไปดูผังเครือญาติของบุคคลที่มีความสัมพันธุ์แต่ไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน มีนาคม 2554 5
  • 6. Showcase แสดงข้อมูลคนในผังเครือญาติ หน้าจอแสดงข้อมูลส่วนบุคคล online บนฐานข้อมูลกลาง สามารถบันทึกข้อมูลภาวะสุขภาพที่สำ�คัญในการออกเยี่ยมเพื่อปรับปรุงข้อมูลด้านสุขภาพได้ แก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลให้ถูกต้องมากยิ่งขึ้นได้ เช่น รหัสบัตรประชาชน ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด หมู่เลือด Intervi และ ยา/อาหารที่แพ้ได้ ถ่ายและบันทึกภาพของบุคคล และนำ�มาเก็บในฐานข้อมูลของโปรแกรม JHCIS ได้ สามารถบันทึกข้อมูลที่ปรับปรุงเรียบร้อย กลับไปยังฐานข้อมูลโปรแกรม JHCIS ได้อย่างอัตโนมัติ ลดการ กรอกข้อมูลด้วยโปรแกรม FFC Autosync บน PC 6 มีนาคม 2554
  • 7. แสดงผังเครือญาติ หน้าจอแสดงการเลือกบ้านที่ต้องการแสดงผังเครือญาติ หน้าจอแสดงแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลฐานข้อมูล JHCIS iew สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีไร้สาย ข้อมูล ความมั่นคงและนวัตกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เพื่ออนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม (WIS-RU) ศูนย์เทคโนโ ลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) Website: http://ffc.wimaxitvalley.org E-mail: watcharakon.noothong@nectec.or.th Tel: 02-564-6900 ext. 2513, 2529 มีนาคม 2554 7
  • 8. Interview Family online บน FFC การเข้าสู่ยุค 3 G หรือ Third Generation ถือ เป็นก้าวเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 ซึ่งอุปกรณ์สื่อสารใน ยุคที่ 3 นี้ จะเป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน การนำ�เสนอข้อมูล และ เทคโนโลยีในปัจจุบันเข้าด้วยกัน เช่น PDA โทรศัพท์มือถือ Walkman, กล้องถ่ายรูป และ อินเทอร์เน็ต และตอนนี้ มือถือของรุ่นต่างๆ รวมไปถึงอุปกรณ์ที่เรียกว่าแทบเลต ต่างต้องปรับ ตัวสร้าง application ใหม่ๆ ให้สามารถรองรับเทคโนโลยีที่จะนำ�มาใช้ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้านี้ และหากจะกล่าวถึงเครื่องมือสื่อสารที่ทันสมัยในยุคนี้ หลายๆ คน คงเคยคุ้นเคยกับการใช้งานอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ สามารถนำ�พาไปไหนมาไหนได้สะดวก รวมถึงส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์อื่นๆ ได้รวดเร็ว อุปกรณ์เหล่านั้น ก็ควรต้องมี ซอฟต์แวร์ หรือโปรแกรมต่างๆ ที่ผู้ใช้สามารถหยิบใช้ ได้ง่ายๆ และพกพาได้สะดวก ในวันนีเราจะพาไปพบกับโปรแกรมทีชวยให้ชวตของประชากรในประเทศไทยสามารถเข้าสูฐานข้อมูล ทีชวยให้ผเก็บข้อมูล ้ ่่ ีิ ่ ่่ ู้ สามารถบันทึกข้อมูลสุขภาพคนไทยในมาตรฐานเดียวกัน พกพาไปได้ทุกที สามารถแสดงแผนที่ของสถานที่ และส่งต่อข้อมูล ต่างๆ ของประชากรทั่วประเทศ เข้าสู่ส่วนกลาง ได้อย่างรวดเร็ว เราเรียกโปรแกรมนี้ว่า “โปรแกรมบันทึกข้อมูลระดับหลังคา เรือนแบบพกพา (Family Folder Collector)” หรือในชื่อย่อ ว่า FFC โปรแกรมนี้ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติหรือ เนคเทค โดยทีมงานของห้องปฏิบัติการวิจัย เทคโนโลยีไร้สาย ข้อมูล ความมั่นคงและนวัตกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่ออนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เป็นห้องปฏิบัติการที่ สนับสนุนภารกิจของหน่วยงานด้านความมันคงของประเทศ มุงเน้นศึกษาวิจยและพัฒนาเทคโนโลยีไร้สาย เพือสร้างนวัตกรรม ่ ่ ั ่ ทางเทคโนโลยีไร้สาย เช่น เทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สาย Wi-Fi WiMAX RFID อัลตราไวด์แบนด์ (UWB) การจัดการทาง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการจัดการข้อมูลด้านสาธารณสุข ได้พัฒนาโปรแกรม FFC เพื่อช่วยเก็บข้อมูลระดับหลังคาเรือน ทดแทนแฟ้มกระดาษที่ใช้ในปัจจุบัน จนได้รูปแบบหน้าตาที่ทันสมัย บนอุปกรณ์ สื่อสารอย่างทุกวันนี้ ภาพแสดงหน้าจอหลักของโปรแกรม FFC บนเครื่อง Tablet 8 มีนาคม 2554
  • 9. กวาจะมาเปน FFC ่ ็ ทีมวิจยได้เล่าให้ฟงว่า “โปรแกรมนีเ้ กิดขึนจากนโยบายของ เนคเทค ทีมงเน้นส่งเสริมพัฒนาและวิจยเทคโนโลยีสารสนเทศ ั ั ้ ่ ุ่ ั ทางด้านการแพทย์และสุขภาพ โดยทีมวิจยเอง ก็ได้รบโจทย์ทจะต้องพัฒนาระบบสารสนเทศ ใช้เก็บแฟ้มข้อมูลระดับหลังคาเรือน ั ั ่ี (Family Folder) บนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา ทีใช้ทดแทนการเก็บแฟ้มข้อมูลระดับหลังคาเรือนในแฟ้มกระดาษ โจทย์การ ่ พัฒนาผลงานในครังนีเ้ ราได้รบคำ�แนะนำ�จาก นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ประธานคลัสเตอร์การแพทย์และสาธารณสุข ของสำ�นักงาน ้ ั พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในขณะนัน ถึงปัญหาของระบบเดิมของการเก็บข้อมูลระดับหลังคาเรือนใน ้ ปัจจุบนนี้ ข้อมูลไม่ทนสมัย ไม่สามารถ สืบค้น วิเคราะห์ขอมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ั ั ้ หลังจากได้รับโจทย์ ทีมนักวิจัย ได้ ลงพื้นในที่ชุมชนต่างๆ ในหลายจังหวัด เช่น ราชบุรี พิษณุโลก อุบลราชธานี และสำ�รวจ ความต้องการของเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขหลายหน่วยงาน ได้แก่ แพทย์ชุมชน พยาบาล เจ้าหน้าที่อนามัย พบว่ายังคงใช้ การเก็บข้อมูลในกระดาษ และต้องนำ�ข้อมูลไปกรอกอีกครั้งในระบบคอมพิวเตอร์ที่หน่วยงานทำ�ให้เสียเวลาและเกิดการกรอก ข้อมูลซ้�ซ้อน ผู้ใช้งานต้องการอุปกรณ์เข้ามาช่วยเก็บและบันทึกข้อมูลสุขภาพของคนในชุมชนที่ให้บริการ และต้องสามารถใช้ ำ งานนอกสถานที่สะดวก รวดเร็ว ในการออกให้บริการนอกพื้นที่ ภาพแสดงการลงพื้นที่ในชุมชนเพื่อสำ�รวจความต้องการของเจ้าหน้าที่ด้านสารณสุข การเก็บข้อมูลในครังนันทำ�ให้ทมนักวิจยนำ�ไปพัฒนาเป็น FFC ทีท�งานอยูบนระบบปฏิบตการกูเกิลแอนดรอยด์ (Google ้ ้ ี ั ่ ำ ่ ัิ Android) ซึงเป็นซอฟต์แวร์แพลตฟอร์มโอเพนซอร์ส (Open Source) สามารถนำ�ไปใช้งานได้ทงบนมือถือ คอมพิวเตอร์พกพา ่ ้ั หรือ แท็บแล็ต (Tablet) ซึงผูใช้สามารถเลือกใช้งานโปรแกรมนีได้ทงมือถือและแท็บแล็ต ของหลากหลายบริษท อีกทังสะดวก ่ ้ ้ ้ั ั ้ รวดเร็วต่อการโปรแกรมนอกสถานทีได้ทกทีทกเวลา ่ ุ ่ ุ มีนาคม 2554 9
  • 10. Interview “โปรแกรมทีเ่ ราพัฒนา เพือตอบสนองความต้องการของกลุมทีตองการมีเครืองมือสำ�หรับเก็บข้อมูลต่างๆ ทีสามารถพกพาไปใช้ ่ ่ ่้ ่ ่ งานนอกสถานทีได้อย่างสะดวก และจะช่วยให้สามารถส่งออกข้อมูลเข้าสูระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวก ช่วยลดเวลาการกรอก ่ ่ ข้อมูล ลดขันตอนการบันทึกข้อมูล ลดการใช้กระดาษ ลดพืนทีการจัดเก็บเอกสารกระดาษต่างๆ เป็นการเพิมประสิทธิภาพในการ ้ ้ ่ ่ ทำ�งานให้กบเจ้าหน้าทีดานสาธารณสุขให้บริการและดูแลสุขภาพของคนไทยให้ดยงขึน” ั ่้ ี ่ิ ้ ทีมนักวิจัยเล่าให้ฟังว่าการพัฒนาโปรแกรมในครั้งนี้เลือกใช้ระบบปฏิบัติการกูเกิลแอนดรอยด์ เพราะระบบนี้สร้างขึ้นมาจาก ระบบปฎิบัติการลีนุกซ์ (Powered by the Linux kernel) พัฒนาขึ้นมาโดยกูเกิล และได้เปิดให้นักพัฒนา สามารถเข้ามา จัดการเขียนโค๊ตต่างๆ ได้ด้วยภาษาจาวา (Java) และเขียนโค๊ตควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทางจาวาไลบลารี่ที่ทางกูเกิลพัฒนา ขึ้นโดยเฉพาะ และจากประโยชน์ที่ได้สามารถใช้งานบนอุปกรณ์พกพาได้หลากหลายบริษัท ภาพแสดงหน้าจอระบบ FFC ประโยชนทสงตอถงมอผใช้ ์ ่ี ่ ่ ึ ื ู้ ผูใช้งานโปรแกรมนี้ จะเป็นเจ้าหน้าทีสารสนเทศด้านสาธารณสุข ในสถานีอนามัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล (รพ.สต.) ้ ่ ศูนย์สุขภาพชุมชน ซึ่งทำ�งานด้านให้บริการด้านสาธารณสุขและเก็บข้อมูล ให้สามารถออกไปให้บริการนอกหน่วยงาน หรือ สามารถให้บริการด้านสาธาณสุขได้ที่บ้านในชุมชนต่างๆ ได้อย่างมีสะดวกรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เป็นการยก ระดับการให้บริการในด้านสาธารณสุขภายในประเทศอีกด้วย แสดงเปรียบเทียบแฟ้มอนามัยครอบครัวกับโปรแกรม FFC ทีอยูบน GalaxyTab ่ ่ 10 มีนาคม 2554
  • 11. ปจจบนและอนาคตบนความคาดหวง ั ุ ั ั เพราะเป็นโปรแกรมทีชวยส่งเสริมและสำ�รวจสุขภาพคนไทย และยังเป็นโปรแกรมใหม่ส�หรับ ผูใช้งาน ในช่วงเริมต้นจึงเปิด ่่ ำ ้ ่ ให้ผทสนใจทดสอบการใช้งานตังแต่วนที่ 8 เมษายน 2554 ทีผาน ซึงมีส�นักงานสาธารณสุข จังหวัดอุบลราชธานี ได้เริมนำ�ร่อง ู้ ่ี ้ ั ่่ ่ ำ ่ การทดสอบการใช้งาน โดยมี สถานีอนามัยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลนำ�ร่องภายในจังหวัดจำ�นวน 100 แห่ง เข้าร่วม อบรมการติดตังและใช้งานโปรแกรมไปแล้ว 1 ครัง และยังมีผสนใจจากสถานีอนามัยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลจำ�นวน ้ ้ ู้ มากกว่า 25 หน่วยงาน ดาวน์โหลดโปรแกรมไปทดลองใช้งานแล้ว ในอนาคต ทีมวิจัย คาดหวังว่า “อยากที่จะเห็นการพัฒนาและต่อยอดโปรแกรม FFC ให้ขยายครอบคลุมการใช้งานและการ เก็บข้อมูลได้มากขึ้นเรื่อยๆ เช่นในเริ่มแรกเป็นการเก็บข้อมูลหลังคาเรือนต่อมา อาจพัฒนาต่อยอดในส่วนของข้อมูลการเยี่ยมผู้ ป่วยเรื้อรัง คนพิการ หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เด็ก และผู้สูงอายุ คัดกรองสุขาภิบาลบ้านและสิ่งแวดล้อม ทีมของเราหวัง ว่าจะสามารถต่อยอดเพื่อทดแทนการทำ�งานแทนกระดาษและใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาเพียงตัวเดียวก็สามารถทำ�งาน ทางด้านสาธารณสุขครอบคลุมได้ทุกอย่าง” รวมมอ รวมทาง ความเปนไปได้ บนเสนทางการพฒนา ่ ื ่ ็ ้ ั หากเป็นโปรแกรมสามารถช่วยคนไทย และเข้าถึงชุมชนได้อย่างแท้จริง ทางทีมงานพยายามหาแนวทางทีจะพัฒนา และขยาย ่ ขอบข่ายการใช้งานให้ครอบคลุมในทุกๆ ด้าน ทีเ่ กียวข้องกับด้านสาธารณสุข ในขณะนีหน่วยงานภายนอกทีทมงานมองว่าสามารถ ่ ้ ่ ี ร่วมมือได้ ก็คอ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำ�นักงานสาธารณสุขจังหัวด ื ่ อุบลราชธานี และ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เขต 3 เป็นต้น เพราะหน่วยงานเหล่านีสามารถส่งเสริมและ ้ ผลักดันเพือให้เกิดการพัฒนาต่อยอดงานวิจยเพือรองรับภารกิจต่างๆ ของสถานีอนามัยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล” ่ ั ่ มมมองดๆ จากงานวจย ุ ี ิั “การพัฒนางานชินใดๆ ต้องอาศัยวิชาความรูในทิศทางทีศกษา และต้องเข้าใจลักษณะความจำ�เป็นของผูใช้งาน และข้อมูลเป็น ้ ้ ่ึ ้ สำ�คัญ ผนวกกับความรูความสามารถเฉพาะทีมอยู่ ซึงเป็นสิงจำ�เป็น สำ�หรับงานวิจยชุดนี้ ต้องใช้ความรูดานการเขียนโปรแกรม ้ ่ี ่ ่ ั ้้ ภาษาจาวา และการใช้งานไลบลารีททางกูเกิลพัฒนาขึนโดยเฉพาะ ซึงสามารถศึกษาได้จากเว็ปไซต์ http://developer.android. ่ ่ี ้ ่ com/index.html แต่โดยส่วนตัวคิดว่าผลงานวิจยนี้ สามารถนำ�ไปต่อยอดเพือรองรับภารกิจต่างๆ ที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ั ่ ตำ�บล สถานีอนามัย ให้บริการดูแลรักษาและส่งเสริมป้องกัน เพือให้คนไทยมีสขภาพแข็งแรงมากยิงขึน” ่ ุ ่ ้ มีนาคม 2554 11
  • 12. TechTrend โปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูลระหว่าง JHCIS กับโปรแกรม Family Folder Collector (FFC) FFC เป็นโปรแกรมทีท�งานอยูบนระบบปฏิบตการกูเกิลแอนดรอยด์ (Google Android) โดยระบบปฏิบตการกูเกิลแอนดรอยด์ ่ ำ ่ ัิ ัิ นันได้เปิดให้นกพัฒนา สามารถเข้ามาจัดการเขียนโค๊ตต่างๆ ได้ดวยภาษาจาวา (Java) และเขียนโค็ตควบคุมอุปกรณ์ตางๆ ผ่านทาง ้ ั ้ ่ จาวาไลบลารีททางกูเกิลพัฒนาขึนโดยเฉพาะ ่ ่ี ้ Te แสดงภาพรวมของระบบ FFC 12 มีนาคม 2554
  • 13. การพัฒนา FFC จึงต้องอาศัยหลักการทำ�งานบนพืนฐานของการเขียนซอฟต์แวร์ให้สามารถรองรับความต้องการแสดงบนบนระบบ ้ ดังกล่าว ซึงผูใช้ตองมีอปกรณ์ตางๆดังนี้ ่ ้ ้ ุ ่ ทางฮารดแวร์ ์ o หน่วยประมวลผล (CPU) : Pentium 4 ขึ้นไป o หน่วยความจำ� (RAM) : 512MB ขึ้นไป (แนะนำ�ให้ใช้ 1 GB ขึ้นไป) o พื้นที่ดิสก์ (Hard Disk Space) : 100 MB echTrend ซอตฟแวร์ ์ o ระบบปฏิบัติการ (OS) : Microsoft Windows XP/Vista/ Windows 7 o ระบบโปรแกรมระบบฐานข้อมูลสถานีอนามัยและหน่วยบริการปฐมภูมิ (JHCIS) เวอร์ชั่นปรับปรุงเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2554 เท่านั้น ถ้าเป็นเวอร์ชั่นอื่น กรุณาปรับปรุงเวอร์ชั่นโปรแกรม JHICS ของท่านก่อน ทางฮารดแวร์ ์ o ใช้ระบบปฏิบัติการ Android 2.2 ที่สามารถใช้งานแผนที่ Google MapsTM ได้ o อุปกรณ์ Tablet PC จอสัมผัส ขนาด 7 นิ้ว 800x480 pixels o ความเร็วของหน่วยประมวลผล (CPU)  600 MHz (แนะนำ�ให้ใช้ 1 GHz ขึ้นไป) o หน่วยความจำ� (RAM) : 512MB o พื้นที่ดิสก์ (Hard Disk Space) : 50MB o มีระบบดาวเทียม GPS ค้นหาตำ�แหน่ง o มีระบบ WiFi 802.11b/g ส่งผ่านข้อมูลได้ o มีกล้องดิจิตอล (Digital Camera) สำ�หรับถ่ายภาพได้ ในขณะนี้ FFCสามารถ ใช้งานได้ เช่น Samsung Galaxy Tab, WellCoM A800 ส่วนเครืองรุนอืน กรุณาตรวจสอบคุณสมบัติ ่ ่ ่ มีนาคม 2554 13