SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดี วรรณกรรม
ความหมาย ความสำาคัญและคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบัน
และวรรณกรรมท้องถิ่น

   ๑. ความหมายของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบันและวรรณกรรม
ท้องถิ่น
       ความหมายของวรรณคดี
       วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรือหนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดีมีศิลป์และ
มีคุณค่าทางอารมณ์และความรู้สึกต่อผู้อ่าน สามารถใช้เป็นแบบแผนและอ้างอิงได้
       ความหมายของวรรณกรรมไทยปัจจุบัน
       วรรณกรรมไทยปัจจุบัน หมายถึง งานเขียนทุกชนิดที่เกิดขึ้นตั้งแต่รัชสมัยของพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ ๕) เป็นต้นมา ซึ่งไทยได้รับอิทธิพลในด้านรูปแบบการเขียน แนวการเขียน และ
เนื้อหาจากตะวันตก
      ความหมายของวรรณกรรมไทยท้องถิ่น
       วรรณกรรมท้องถิ่น หมายถึง ข้อมูลทุกอย่างในท้องถิ่นที่แสดงออกด้วยภาษา คำาพูดและ
ที่บันทึกไว้เป็นตัวหนังสือ ซึงข้อมูลดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ทุก
                             ่
ด้านในท้องถิ่น
โดยการบอกเล่า จดจำา สั่งสอน หรือปฏิบัติตามกันมาเป็นเวลาช้านาน จนรับรู้ได้ภายในท้องถิ่น
ของตน

   ๒. ความสำาคัญของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบันและวรรณกรรม
ท้องถิ่น
        วรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบันและวรรณกรรมท้องถิ่นมีความสำาคัญต่อท้องถิ่น
และประเทศชาติ ดังต่อไปนี้
        ๒.๑ ทางด้านการใช้ภาษา ผู้เขียนหรือผู้เล่าได้แสดงความสามารถทางด้านการใช้
ภาษาในการถ่ายทอดความไพเราะ ความหมายที่ดี ความลึกซึ้งและสืบทอดความรู้สึกนึกคิด ให้
ผู้อื่นได้รับรู้แนวคิดของตน ซึงมีผล ทำาให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังเกิดปัญญาหาเหตุผลได้
                                 ่
        ๒.๒ สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของคน ผู้อ่านหรือผู้ฟังวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบัน และ
วรรณกรรมท้องถิ่น จะได้รบความรู้เกี่ยวกับความคิด ประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของ ท้องถิ่น
                             ั
สังคมและประเทศชาตินั้น ๆ และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนและโบราณคดี เช่น วรรณกรรม
ประเภทนิทาน ตำานาน ประวัตศาสตร์และศิลาจารึก เป็นต้น
                                   ิ
        ๒.๓ สืบทอดและอนุรักษ์วัฒนธรรม การสร้างวรรณกรรมวัฒนธรรมหลายประเภท ทำาให้
การสืบทอดวัฒนธรรมด้านวัตถุต่าง ๆ เช่น งานช่าง งานฝีมือ การประดิษฐ์อักษร
การมีภาษาเป็นของตนเอง ซึ่งสิ่งดังกล่าวเป็นสิ่งสำาคัญที่บอกให้ทราบถึงความเป็นชาติ
เดียวกันเพราะความเป็นชาติจะต้องมีภาษาใช้เป็นภาษาเดียวกันภายในชาติ
        ๒.๔ เป็นสื่อถ่ายทอดความรู้ กฎ ระเบียบ คำาสอน ศีลธรรม โดยใช้วรรณกรรม
ท้องถิ่นให้ผู้รับฟัง ผู้อ่านได้รับรู้และเข้าใจโดยไม่รตัว เช่น วรรณกรรมศาสนา คำาสอน ตำานาน
                                                     ู้
หรือวรรณกรรมเบ็ดเตล็ด เป็นต้น
        ๒.๕ เป็นเครื่องมือสร้างกำาลังใจและสร้างศรัทธา ทำาให้เกิดความเชื่อมั่น มีกำาลังใจ
ได้ เช่น วรรณกรรมที่ใช้ประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น มนต์ คาถา บทสวด บททำาขวัญ เป็นต้น
        ๒.๖ เป็นเครื่องมือสร้างความสามัคคี วรรณกรรมท้องถิ่นสามารถสร้างความสามัคคี ของ
คนในหมู่คณะเดียวกันและประเทศชาติได้ เช่น วรรณกรรมคำาสอนต่าง ๆ ยกตัวอย่าง คำาสอน
เกี่ยวกับการเป็นคนมีมนุษยสัมพันธ์ การผูกมิตรของกวีเอกสุนทรภู่ เรื่องนิราศภูเขาทอง กล่าวไว้
ว่า
“ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์
                 มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต
                 แม้พูดชั่วตัวตายทำาลายมิตร
                 จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา”

       ๒.๗ ให้ความจรรโลงใจหลายประการ ดังนี้
          ๑) ให้ความสนุกสนาน ได้แก่ เพลงต่าง ๆ เช่น เพลงอีแซว เพลงโคราช เป็นต้น
          ๒) ให้ความรู้ ประเทืองปัญญา เช่น สำานวน ภาษิต คำาพังเพยและปริศนาคำาทาย
เป็นต้น

   ๓. คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบันและวรรณกรรมท้องถิ่น
        คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบันและวรรณกรรมท้องถิ่น หมายถึง
ความดีงาม ของงานพูด งานเขียนของนักพูด นักเขียน ซึงของวรรณคดี วรรณกรรมไทย
                                                         ่
ปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่นมีคุณค่าดังนี้
        ๓.๑ คุณค่าด้านจริยศาสตร์
        จริยศาสตร์ ความประพฤติ การครองชีวิตว่าอะไรดี ชั่ว หรืออะไรถูก ผิด วรรณกรรม ท้อง
ถิ่นจะทำาหน้าที่รักษาแบบแผนและความประพฤติ การครองชีวิตของชาวบ้านให้ดำาเนิน ไปอย่าง
ถูกต้องตามข้อตกลง กฎ ระเบียบ ประเพณีอันดีงามของสังคม เช่น ผญา และภาษิต เป็นต้น
        ๓.๒ คุณค่าด้านสุนทรียศาสตร์
        สุนทรียศาสตร์ หมายถึง การนิยมความงาม ความไพเราะของถ้อยคำา ภาษาที่ใช้ใน
วรรณกรรมท้องถิ่น การใช้คำาสัมผัส คล้องจอง ความไพเราะของท่วงทำานอง บทกวี เมื่อฟังหรือ
อ่าน แล้วเกิดจินตนาการ ความรู้สึกและอารมณ์ วรรณกรรมท้องถิ่นทุกประเภทจะมีคุณค่าทาง
ด้านนี้
        ๓.๓ คุณค่าทางด้านศาสนา
        วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นสื่อถ่ายทอดคำาสอนและปรัชญาทางศาสนาเผยแพร่ไปสู่
ประชาชน ทำาให้ประชาชนมีหลักยึดเหนี่ยวใจ ได้ข้อคิดและมีแนวทางในการดำารงชีวิต
ประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นคนดีของสังคม วรรณกรรมที่ให้คุณค่าทางด้านนี้ เช่น นิทานชาดก
มหาชาติชาดก เป็นต้น
        ๓.๔ คุณค่าด้านการศึกษา
        วรรณกรรมท้องถิ่นทุกประเภทเป็นสื่อที่ให้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ
อย่างมากมาย นอกเหนือจากการให้ความบันเทิงแล้ว เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์ ศาสนา คำา
สอน ชีวิตความเป็นอยู่ และขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในท้องถิ่น เป็นต้น
        ๓.๕ คุณค่าทางด้านภาษา
        วรรณกรรมทุกประเภททั้งงานเขียนและการพูด ต้องใช้ถ้อยคำา ภาษาเป็นสื่อในการ เสนอ
เรื่อง ดังนั้นจึงมีคุณค่าทางด้านภาษาของคนท้องถิ่นเป็นอย่างมาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึง
วัฒนธรรมและวิวัฒนาการด้านภาษาของชาติที่มีภาษาเป็นของตนเอง มีทั้งในด้านความ สละ
สลวย สวยงามและความไพเราะ ควรค่าแก่การอนุรักษ์และสืบทอดต่อไป
        ๓.๖ คุณค่าด้านเศรษฐศาสตร์
        วรรณกรรมท้องถิ่นประเภทคำาสอน ภาษิต นิทาน ศาสนา จะให้ความรู้เกี่ยวกับ การเก็บ
ออม การใช้จ่ายอย่างประหยัดและการหารายได้ เป็นต้น นอกจากนี้วรรณกรรมท้องถิ่น ประเภท
ตำารายา ตำาราพยากรณ์ ตำาราบทสวด ตำาราบททำาขวัญในพิธีกรรมต่าง ๆ ยังให้ความรู้ แก่ผู้ที่
ศึกษาจริงจัง สามารถนำาไปประกอบอาชีพเพื่อหารายได้ได้อีกด้วย
        ๓.๗ คุณค่าด้านสังคม
        วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นสื่อที่ปลูกฝังค่านิยมเรื่องความสามัคคี การดำาเนินชีวิตอยู่ในสังคม
แบบพึ่งพาอาศัย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน การมีมนุษยสัมพันธ์ต่อกัน เพื่อความร่มเย็น
เป็นสุขของสังคมและท้องถิ่น เช่น วรรณกรรมประเภทคำาสอนต่าง ๆ
๓.๘ คุณค่าด้านประวัตศาสตร์และโบราณคดี
                          ิ
      วรรณกรรมท้องถิ่นประเภทตำานาน หรือนิทานต่าง ๆ ทำาให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังได้มีความรู้ เรื่อง
ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุได้เป็นอย่างดี เช่น เรืองสามมุก ของ จ.ชลบุรี เป็นต้น
                                                          ่
      ๓.๙ คุณค่าด้านจิตใจ
      วรรณกรรมทุกประเภทมักนำาเสนอเรื่องราวที่ทำาให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังมีความรู้ ความ
เพลิดเพลินและความบันเทิง ทำาให้เกิดความจรรโลงใจ คลีคลายความทุกข์ได้
                                                       ่
      ๓.๑๐ คุณค่าด้านประโยชน์ใช้สอย
      วรรณกรรมท้องถิ่นนอกจากจะมีประโยชน์ด้านต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังให้
ประโยชน์ ด้านใช้สอยด้วย เช่น ตำารารักษาโรคและตำาราพิธีกรรมต่าง ๆ เป็นต้น

สรุป
   การศึกษาความหมาย ความสำาคัญและคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบัน
และวรรณกรรมท้องถิ่น จะเป็นพื้นฐานสำาคัญในการเลือกอ่านวรรณกรรมได้อย่างเข้าใจ
ตรงตามจุดประสงค์ของการอ่าน

Contenu connexe

Tendances

หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
ลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอnewyawong
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 

Tendances (20)

หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอ
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 

Similaire à วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย

วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยtip036fur
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยtip036fur
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมAor's Sometime
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Prom Pan Pluemsati
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ absinthe39
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNomoretear Cuimhne
 

Similaire à วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย (20)

วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทย
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทย
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่นประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
18 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 218 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 2
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย

  • 1. วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณคดี วรรณกรรม ความหมาย ความสำาคัญและคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่น ๑. ความหมายของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบันและวรรณกรรม ท้องถิ่น ความหมายของวรรณคดี วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรือหนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดีมีศิลป์และ มีคุณค่าทางอารมณ์และความรู้สึกต่อผู้อ่าน สามารถใช้เป็นแบบแผนและอ้างอิงได้ ความหมายของวรรณกรรมไทยปัจจุบัน วรรณกรรมไทยปัจจุบัน หมายถึง งานเขียนทุกชนิดที่เกิดขึ้นตั้งแต่รัชสมัยของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) เป็นต้นมา ซึ่งไทยได้รับอิทธิพลในด้านรูปแบบการเขียน แนวการเขียน และ เนื้อหาจากตะวันตก ความหมายของวรรณกรรมไทยท้องถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่น หมายถึง ข้อมูลทุกอย่างในท้องถิ่นที่แสดงออกด้วยภาษา คำาพูดและ ที่บันทึกไว้เป็นตัวหนังสือ ซึงข้อมูลดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ทุก ่ ด้านในท้องถิ่น โดยการบอกเล่า จดจำา สั่งสอน หรือปฏิบัติตามกันมาเป็นเวลาช้านาน จนรับรู้ได้ภายในท้องถิ่น ของตน ๒. ความสำาคัญของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบันและวรรณกรรม ท้องถิ่น วรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบันและวรรณกรรมท้องถิ่นมีความสำาคัญต่อท้องถิ่น และประเทศชาติ ดังต่อไปนี้ ๒.๑ ทางด้านการใช้ภาษา ผู้เขียนหรือผู้เล่าได้แสดงความสามารถทางด้านการใช้ ภาษาในการถ่ายทอดความไพเราะ ความหมายที่ดี ความลึกซึ้งและสืบทอดความรู้สึกนึกคิด ให้ ผู้อื่นได้รับรู้แนวคิดของตน ซึงมีผล ทำาให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังเกิดปัญญาหาเหตุผลได้ ่ ๒.๒ สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของคน ผู้อ่านหรือผู้ฟังวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบัน และ วรรณกรรมท้องถิ่น จะได้รบความรู้เกี่ยวกับความคิด ประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของ ท้องถิ่น ั สังคมและประเทศชาตินั้น ๆ และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนและโบราณคดี เช่น วรรณกรรม ประเภทนิทาน ตำานาน ประวัตศาสตร์และศิลาจารึก เป็นต้น ิ ๒.๓ สืบทอดและอนุรักษ์วัฒนธรรม การสร้างวรรณกรรมวัฒนธรรมหลายประเภท ทำาให้ การสืบทอดวัฒนธรรมด้านวัตถุต่าง ๆ เช่น งานช่าง งานฝีมือ การประดิษฐ์อักษร การมีภาษาเป็นของตนเอง ซึ่งสิ่งดังกล่าวเป็นสิ่งสำาคัญที่บอกให้ทราบถึงความเป็นชาติ เดียวกันเพราะความเป็นชาติจะต้องมีภาษาใช้เป็นภาษาเดียวกันภายในชาติ ๒.๔ เป็นสื่อถ่ายทอดความรู้ กฎ ระเบียบ คำาสอน ศีลธรรม โดยใช้วรรณกรรม ท้องถิ่นให้ผู้รับฟัง ผู้อ่านได้รับรู้และเข้าใจโดยไม่รตัว เช่น วรรณกรรมศาสนา คำาสอน ตำานาน ู้ หรือวรรณกรรมเบ็ดเตล็ด เป็นต้น ๒.๕ เป็นเครื่องมือสร้างกำาลังใจและสร้างศรัทธา ทำาให้เกิดความเชื่อมั่น มีกำาลังใจ ได้ เช่น วรรณกรรมที่ใช้ประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น มนต์ คาถา บทสวด บททำาขวัญ เป็นต้น ๒.๖ เป็นเครื่องมือสร้างความสามัคคี วรรณกรรมท้องถิ่นสามารถสร้างความสามัคคี ของ คนในหมู่คณะเดียวกันและประเทศชาติได้ เช่น วรรณกรรมคำาสอนต่าง ๆ ยกตัวอย่าง คำาสอน เกี่ยวกับการเป็นคนมีมนุษยสัมพันธ์ การผูกมิตรของกวีเอกสุนทรภู่ เรื่องนิราศภูเขาทอง กล่าวไว้ ว่า
  • 2. “ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต แม้พูดชั่วตัวตายทำาลายมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา” ๒.๗ ให้ความจรรโลงใจหลายประการ ดังนี้ ๑) ให้ความสนุกสนาน ได้แก่ เพลงต่าง ๆ เช่น เพลงอีแซว เพลงโคราช เป็นต้น ๒) ให้ความรู้ ประเทืองปัญญา เช่น สำานวน ภาษิต คำาพังเพยและปริศนาคำาทาย เป็นต้น ๓. คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบันและวรรณกรรมท้องถิ่น คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบันและวรรณกรรมท้องถิ่น หมายถึง ความดีงาม ของงานพูด งานเขียนของนักพูด นักเขียน ซึงของวรรณคดี วรรณกรรมไทย ่ ปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่นมีคุณค่าดังนี้ ๓.๑ คุณค่าด้านจริยศาสตร์ จริยศาสตร์ ความประพฤติ การครองชีวิตว่าอะไรดี ชั่ว หรืออะไรถูก ผิด วรรณกรรม ท้อง ถิ่นจะทำาหน้าที่รักษาแบบแผนและความประพฤติ การครองชีวิตของชาวบ้านให้ดำาเนิน ไปอย่าง ถูกต้องตามข้อตกลง กฎ ระเบียบ ประเพณีอันดีงามของสังคม เช่น ผญา และภาษิต เป็นต้น ๓.๒ คุณค่าด้านสุนทรียศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ หมายถึง การนิยมความงาม ความไพเราะของถ้อยคำา ภาษาที่ใช้ใน วรรณกรรมท้องถิ่น การใช้คำาสัมผัส คล้องจอง ความไพเราะของท่วงทำานอง บทกวี เมื่อฟังหรือ อ่าน แล้วเกิดจินตนาการ ความรู้สึกและอารมณ์ วรรณกรรมท้องถิ่นทุกประเภทจะมีคุณค่าทาง ด้านนี้ ๓.๓ คุณค่าทางด้านศาสนา วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นสื่อถ่ายทอดคำาสอนและปรัชญาทางศาสนาเผยแพร่ไปสู่ ประชาชน ทำาให้ประชาชนมีหลักยึดเหนี่ยวใจ ได้ข้อคิดและมีแนวทางในการดำารงชีวิต ประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นคนดีของสังคม วรรณกรรมที่ให้คุณค่าทางด้านนี้ เช่น นิทานชาดก มหาชาติชาดก เป็นต้น ๓.๔ คุณค่าด้านการศึกษา วรรณกรรมท้องถิ่นทุกประเภทเป็นสื่อที่ให้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ อย่างมากมาย นอกเหนือจากการให้ความบันเทิงแล้ว เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์ ศาสนา คำา สอน ชีวิตความเป็นอยู่ และขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในท้องถิ่น เป็นต้น ๓.๕ คุณค่าทางด้านภาษา วรรณกรรมทุกประเภททั้งงานเขียนและการพูด ต้องใช้ถ้อยคำา ภาษาเป็นสื่อในการ เสนอ เรื่อง ดังนั้นจึงมีคุณค่าทางด้านภาษาของคนท้องถิ่นเป็นอย่างมาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึง วัฒนธรรมและวิวัฒนาการด้านภาษาของชาติที่มีภาษาเป็นของตนเอง มีทั้งในด้านความ สละ สลวย สวยงามและความไพเราะ ควรค่าแก่การอนุรักษ์และสืบทอดต่อไป ๓.๖ คุณค่าด้านเศรษฐศาสตร์ วรรณกรรมท้องถิ่นประเภทคำาสอน ภาษิต นิทาน ศาสนา จะให้ความรู้เกี่ยวกับ การเก็บ ออม การใช้จ่ายอย่างประหยัดและการหารายได้ เป็นต้น นอกจากนี้วรรณกรรมท้องถิ่น ประเภท ตำารายา ตำาราพยากรณ์ ตำาราบทสวด ตำาราบททำาขวัญในพิธีกรรมต่าง ๆ ยังให้ความรู้ แก่ผู้ที่ ศึกษาจริงจัง สามารถนำาไปประกอบอาชีพเพื่อหารายได้ได้อีกด้วย ๓.๗ คุณค่าด้านสังคม วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นสื่อที่ปลูกฝังค่านิยมเรื่องความสามัคคี การดำาเนินชีวิตอยู่ในสังคม แบบพึ่งพาอาศัย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน การมีมนุษยสัมพันธ์ต่อกัน เพื่อความร่มเย็น เป็นสุขของสังคมและท้องถิ่น เช่น วรรณกรรมประเภทคำาสอนต่าง ๆ
  • 3. ๓.๘ คุณค่าด้านประวัตศาสตร์และโบราณคดี ิ วรรณกรรมท้องถิ่นประเภทตำานาน หรือนิทานต่าง ๆ ทำาให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังได้มีความรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุได้เป็นอย่างดี เช่น เรืองสามมุก ของ จ.ชลบุรี เป็นต้น ่ ๓.๙ คุณค่าด้านจิตใจ วรรณกรรมทุกประเภทมักนำาเสนอเรื่องราวที่ทำาให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังมีความรู้ ความ เพลิดเพลินและความบันเทิง ทำาให้เกิดความจรรโลงใจ คลีคลายความทุกข์ได้ ่ ๓.๑๐ คุณค่าด้านประโยชน์ใช้สอย วรรณกรรมท้องถิ่นนอกจากจะมีประโยชน์ด้านต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังให้ ประโยชน์ ด้านใช้สอยด้วย เช่น ตำารารักษาโรคและตำาราพิธีกรรมต่าง ๆ เป็นต้น สรุป การศึกษาความหมาย ความสำาคัญและคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมไทยปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่น จะเป็นพื้นฐานสำาคัญในการเลือกอ่านวรรณกรรมได้อย่างเข้าใจ ตรงตามจุดประสงค์ของการอ่าน