SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
1
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การจัดการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ปัจจุบันนี้การบริการสารสนเทศบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับความนิยม
อย่างแพร่หลาย และได้เข้ามามีบทบาทสาคัญทางการศึกษา จนกลายเป็นคลังแห่งความรู้ไร้พรมแดน
ที่ผู้สอนสามารถใช้เป็นทางเลือกใหม่ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนจากห้องเรียนไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้
อันกว้างใหญ่ที่ไม่มีข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ ซึ่งเกิดจากการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยี
สารสนเทศกับการออกแบบระบบการเรียนการสอน โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตมาจัดสภาพเพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนรู้ให้เกิดแก่ผู้เรียน
(อ้างอิงจาก : http://www.gotoknow.org/posts/279187)
ที่มาของปัญหาและความต้องการ
ครูผู้สอนมีบทบาทสาคัญในยุคปัจจุบัน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักสืบเสาะ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ตามศักยภาพ เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย รวมทั้ง มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดังนั้น ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนั้น จะต้องมีการเตรียมสื่อนวัตกรรม แหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย เพียงพอ และมีวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับความสนใจ
ของผู้เรียน ให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาและเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาตามศักยภาพของตน ซึ่งในปัจจุบัน
เทคโนโลยีที่น่าสนใจ ก็คือ การเรียนรู้บนระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งถือว่า เป็นแหล่งการศึกษาแบบ
ไร้พรมแดนที่สามารถค้นคว้าหาความรู้ด้านต่าง ๆ จากทั่วโลก โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่
จากความสาคัญของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่กลายเป็นระบบสื่อสารที่สาคัญ ก่อให้เกิด
ความสะดวกในการจัดเก็บและค้นคว้าหาข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ครูผู้สอนจึงได้จัดทาโครงการพัฒนานวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้เป็น
แหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้ ทั้งในและนอกเวลาเรียน ทั้งที่บ้าน ที่โรงเรียนและทุก ๆ ที่
ที่มีคอมพิวเตอร์อยู่ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลาง
2. เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่ตอบสนองกับความต้องการของผู้เรียน และให้ผู้เรียน
ได้มีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
3. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
4. เพื่อส่งเสริมทักษะการสืบเสาะ แสวงหาความรู้และการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้เรียน
2
5. เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการศึกษาด้วยตนเองจากบทเรียนคอมพิวเตอร์
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น เรียนซ่อมเสริม เรียนทบทวนรายวิชา
6. เพื่อใช้แก้ปัญหาด้านการเรียนให้แก่ผู้เรียนที่มีปัญหาเรียนรู้ไม่ทันเพื่อนในห้องเรียน
กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับประโยชน์
1. โรงเรียนมีกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สามารถดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้จากบทเรียน
คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ผู้เรียนที่ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้จากบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
3. ใช้แก้ปัญหาผู้เรียนที่มีปัญหาด้านการเรียน เช่น เรียนไม่ทันเพื่อน ฯลฯ ได้อย่างน้อย
ร้อยละ ๕๐ ของผู้ที่มีปัญหาทั้งหมด
4. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้และแหล่งความรู้ทางวิชาการ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้เป็น
แหล่งอ้างอิงหรือสืบค้นข้อมูลได้
5. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
6. ผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีองค์ความรู้และ
ความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนมากขึ้น
7. ผู้เรียนที่เรียนซ่อมเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๕๐ ของรายวิชาที่เรียน
8. ผู้เรียนที่เรียนซ่อมเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนเพิ่มขึ้น
9. ผู้เรียนมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละคน
และสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา
วิธีดาเนินงาน
ขั้นตอนการดาเนินงานพัฒนานวัตกรรม
1. ประชุมเพื่อชี้แจงทาความเข้าใจและกาหนดแนวทางในการพัฒนานวัตกรรม
ในการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. จัดทาโครงการและและเสนอโครงการต่อผู้บริหารสถานศึกษา
3. ตั้งทีมงานดาเนินการพัฒนาสื่อนวัตกรรมและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียน
คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นต้นแบบ 1 รายวิชา
4. ทดลองและวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเครื่องมือภายในแหล่งเรียนรู้และบทเรียน
คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3
5. ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
6. สารวจครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สนใจเข้าร่วมการพัฒนานวัตกรรมและ
ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
7. ดาเนินการขยายผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตแก่ครูทั้ง 8 กลุ่มสาระที่สนใจ
8. ประเมินผลความพึงพอใจของครูต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียน
คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
9. รายงานผลการพัฒนานวัตกรรมและการดาเนินงานตามโครงการต่อผู้บริหาร
สถานศึกษา
ฮอลล์ (Hall, 1998) ได้กล่าวถึงบทเรียนผ่านเว็บที่ดีจะต้องมีลักษณะดังนี้
1. ต้องใช้งานสะดวกและไม่ยุ่งยากต่อการสืบค้นของผู้เรียน
2. ต้องมีความสอดคล้องและต่อเนื่องกันในแต่ละหน้าที่ของบทเรียน รวมถึงการเชื่อมโยง
ระหว่างเว็บด้วย
3. ต้องใช้เวลาแสดงผลแต่ละหน้าน้อยที่สุด หลีกเลี่ยงการใช้ภาพขนาดใหญ่
4. ต้องมีส่วนที่ทาหน้าที่ในการจัดระบบในการเข้าสู่บทเรียน และมีส่วนแสดง
โครงสร้างเว็บเพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงเส้นทาง
5. บทเรียนต้องมีความยืดหยุ่นในการสืบค้น แม้จะมีการแนะนาขั้นตอนของการเรียน
แต่ควรเพิ่มความยืดหยุ่นให้ผู้เรียน
6. บทเรียนแต่ละหน้าจอจะต้องไม่ยาว แม้จะสามารถใช้การเลื่อนไปมาได้ แต่เนื้อหา
ที่สั้นในหน้าจอพอดีจะทาให้ผู้เรียนมองเห็นครบถ้วน
7. บทเรียนหน้าสุดท้ายไม่ควรสิ้นสุด ณ จุดที่ผู้เรียนเชื่อมโยงไปไหนต่อไม่ได้ อย่างน้อย
ควรสร้างเส้นทางไปยังจุดเริ่มต้นได้โดยการกดเม้าส์เพียงครั้งเดียว
ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) ได้ให้คาแนะนาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียน
คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ว่าควรพิจารณาองค์ประกอบที่สาคัญ ดังต่อไปนี้
1. ความพร้อมของเครื่องมือและทักษะการใช้งานเบื้องต้น หากเครื่องมือไม่พร้อม
และยังขาดทักษะทางเทคนิคที่จาเป็นในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรม จะเป็นสาเหตุ
สาคัญที่ก่อให้เกิดความสับสนและสร้างทัศนคติที่ไม่ดีแก่ผู้ใช้บทเรียน
2. การสนับสนุนจากฝ่ายบริหารและผู้ใช้ ซึ่งหมายถึง การสนับสนุนทั้งทางด้านเครื่องมือ
และนโยบายส่งเสริมการใช้เครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา
4
3. การเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียนจากการเรียนรู้แบบรับจากครู มาเป็นผู้เรียนที่เรียนรู้
วิธีการเรียน มีความกระตือรือร้นและมีทักษะในการเลือกรับข้อมูลอย่างเป็นระบบ
4. บทบาทของผู้สอนในการเรียนการสอนผ่านเว็บจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่บทบาท
ที่เอื้ออานวยต่อการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
5. การให้ความสาคัญการเรียนการสอนผ่านเว็บมาใช้ในชั้นเรียน เช่น การส่งรายงานและ
นาเสนอผลงานผ่านเว็บ เป็นต้น
6. ผู้สอนต้องออกแบบการเรียนการสอนและใช้ประโยชน์จากระบบเครือข่ายอย่างสูงสุด
ซึ่งต้องพัฒนาให้เข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้ เนื้อหาและการเชื่อมโยง
ต้องปรับปรุงให้ทันสมัยตลอดเวลา และมีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ให้ผู้เรียน
ได้พบปะพูดคุยระหว่างผู้เรียนหรือระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนผ่านเว็บให้มากที่สุด
(อ้างอิงจาก : http://www.gotoknow.org/posts/279187)
เครื่องมือที่ใช้
1. บทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ระบบเครือข่ายที่ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และรวบรวมบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
3. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการบริหารจัดการบทเรียน
4. แบบทดสอบและแบบประเมินผลการเรียนของรายวิชาที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
5. เอกสารรายงานผลการพัฒนานวัตกรรมและการดาเนินงานโครงการต่อผู้บริหาร
สถานศึกษา
ระยะเวลาในการดาเนินงาน
ปีการศึกษา 2556
องค์ความรู้ที่ได้จากการพัฒนานวัตกรรม
1. เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ตามความสามารถและ
ศักยภาพของแต่ละคน
2. มีความสามารถในการบริหารจัดการการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. มีระบบการจัดการเกี่ยวกับสมาชิก ทั้งในรูปแบบของการแจ้งข่าวให้แก่สมาชิกทราบ
4. มีระบบการวัดผลประเมินผลแบบทันทีทันใด ผู้เรียนสามารถทราบผลของการปฏิบัติ
กิจกรรมต่าง ๆ ของบทเรียนได้ทันที
5. มีระบบการจัดการฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งมีระบบการสารองข้อมูลรายวิชา
5
ผลที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม
1. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรายวิชาที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ซึ่งพิจารณาได้จากจานวนผู้เรียนที่มีผลการเรียน
ไม่ผ่านเกณฑ์ของรายวิชาลดลง
3. เมื่อให้ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ในการวัดผลประเมินผลของรายวิชาได้เรียนซ่อมเสริม
ด้วยตนเองจากบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผลปรากฏว่าผลการเรียน
ของผู้เรียนสูงขึ้น
4. ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อรายวิชาที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
5. ผู้เรียนมีทักษะในการสืบเสาะ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ มากขึ้น
6. ผู้เรียนเรียนมีความตั้งใจและมีความรับผิดชอบต่อตนเองในการแสวงหาความรู้มากขึ้น
ผลที่ได้รับและการนาไปใช้ประโยชน์
1. สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้หลากหลายและสร้างความพึงพอใจ สอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้เรียน
2. มีแหล่งเรียนรู้ที่มีกิจกรรมที่น่าสนใจให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ หรือศึกษาเพิ่มเติมได้
ตลอดเวลาไม่จากัดสถานที่ เวลา
3. มีนวัตกรรมสาหรับการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
4. มีระบบบริหารจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตที่มีประสิทธิภาพ ถูกลิขสิทธิ์
5. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ ทั้งการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนซ่อมเสริมตามศักยภาพ
ของตนเอง
6. มีองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหาตามหลักสูตรสามารถนาไปใช้อ้างอิงได้
7. สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ในสาหรับการเรียนซ่อมเสริมและแก้ปัญหาการเรียนรู้
ของผู้เรียนที่เรียนไม่ทันเพื่อน หรือเรียนรู้ได้ช้า สามารถเรียนเนื้อหาซ้าได้อย่างไม่จากัด
8. ใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากร และการสอนแทนในกรณี
ครูผู้สอนลา หรือไปราชการ
6
ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544) ได้กล่าวถึงบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ว่ามีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนหลายประการ ดังนี้
1. บทเรียนผ่านเว็บจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเข้าชั้นเรียนได้ในเวลาและสถานที่
ที่ผู้เรียนต้องการ
2. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางการศึกษา ผู้เรียนสามารถ
เข้าเรียนร่วมกัน อภิปรายร่วมกันได้อย่างไร้พรมแดน
3. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้ที่ต้องการศึกษาสามารถเข้าไป
ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา
4. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยขยายห้องเรียนจากห้องสี่เหลี่ยมไปสู้โลกกว้างแห่งการเรียนรู้
และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก
5. บทเรียนผ่านเว็บจะมีส่วนช่วยสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น ทั้งนี้
เนื่องจากเว็บมีคุณลักษณะที่เอื้อให้เกิดการแสดงความคิดเห็นได้อยู่ตลอดเวลา
โดยไม่จาเป็นต้องเปิดเผยตัวตน
6. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยให้เกิดการสร้างปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ การเข้าไปพูดคุย พบปะ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน การได้เรียนบทเรียน หรือได้ทาแบบฝึกหัดหรือได้ทา
แบบทดสอบที่จัดไว้ให้แก่ผู้เรียน
7. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าถึงผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ ทั้งใน
และนอกสถาบันจากในประเทศและต่างประเทศ โดยผู้เรียนสามารถติดต่อ
สอบถามปัญหา ขอข้อมูลต่าง ๆ ที่ต้องการศึกษาหรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
จากผู้เชี่ยวชาญจริงโดยตรง ซึ่งไม่สามารถทาได้ในการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม
8. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงผลงานของตนไปสู่
สายตาผู้อื่นอย่างง่ายดาย ทั้งนี้ ไม่ได้จากัดเฉพาะเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน แต่ยังสามารถ
ให้ผู้คนทั่วไป หรืออาจมีผู้คนจากทั่วโลกได้เข้ามาศึกษาด้วยก็ ได้
9. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยเปิดโอกาสให้ผู้สอนสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตร
ให้ทันสมัยได้อย่างสะดวกสบาย เนื่องจากข้อมูลบนเว็บมีลักษณะเป็นพลวัตร ดังนั้น
ผู้สอนสามารถอัพเดตเนื้อหาหลักสูตรที่ทันสมัยแก่ผู้เรียนได้ตลอดเวลา เพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด (อ้างอิงจาก : http://www.gotoknow.org/posts/279187)
7
ละอองดาว ปัตถาไม ได้เสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังนี้
1. ในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้ว ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถ
ติดต่อ สื่อสารกันได้ตลอดเวลา การติดต่อระหว่างผู้เรียนและผู้สอนมีส่วนสาคัญ
ในการสร้างความกระตือรือร้นกับการเรียนการสอน โดยผู้สอนสามารถให้
ความช่วยเหลือผู้เรียนได้ตลอดเวลาในขณะกาลังศึกษา ทั้งยังช่วยเสริมสร้างความคิด
และความเข้าใจ ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บสามารถสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้ง
ซักถามข้อข้องใจกับผู้สอนได้โดยทันทีทันใด เช่น การมอบหมายงานส่งผ่าน
อินเทอร์เน็ตจากผู้สอน ผู้เรียนเมื่อได้รับมอบหมายก็จะสามารถทางานที่ได้รับ
มอบหมายและส่งผ่านอินเทอร์เน็ตกลับไปยังอาจารย์ผู้สอน หลังจากนั้นอาจารย์ผู้สอน
สามารถตรวจและให้คะแนน พร้อมทั้งส่งผลย้อนกลับไปยังผู้เรียนได้ในเวลาอันรวดเร็ว
หรือในทันทีทันใด
2. การจัดการเรียนการสอนควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้เรียน
ความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เรียนจะช่วยพัฒนาความคิดความเข้าใจได้ดีกว่าการทางาน
คนเดียว ทั้งยังสร้างความสัมพันธ์เป็นทีมโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน
เพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด เป็นการพัฒนาการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้และการยอมรับ
ความคิดเห็นของคนอื่นมาประกอบ เพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บ
แม้ว่าจะเรียนจากคอมพิวเตอร์ที่อยู่กันคนละที่ แต่ด้วยความสามารถของเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกไว้ด้วยกัน ทาให้ผู้เรียนสามารถ
ติดต่อสื่อสารกันได้ทันทีทันใด เช่น การใช้บริการสนทนาแบบออนไลน์ที่สนับสนุนให้
ผู้เรียนติดต่อสื่อสารกันได้ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป จนถึงผู้เรียนที่เป็นกลุ่มใหญ่
3. ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Active Learners) หลีกเลี่ยง
การกากับให้ผู้สอนเป็นผู้ป้อนข้อมูลหรือคาตอบ ผู้เรียนควรเป็นผู้ขวนขวายใฝ่หาข้อมูล
องค์ความรู้ต่าง ๆ เองโดยการแนะนาของผู้สอน เป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่าอินเทอร์เน็ต
เป็นแหล่งข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บนี้
จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถหาข้อมูลได้ด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ทั้งยังหาข้อมูลได้
จากแหล่งข้อมูลทั่วโลกเป็นการสร้างความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้
8
4. การให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีทันใด ช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความสามารถ
ของตน อีกทั้ง ยังช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับแนวทางวิธีการหรือพฤติกรรมให้ถูกต้องได้
ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บ สามารถได้รับผลย้อนกลับจาก ทั้งผู้สอนเองหรือแม้กระทั่ง
จากผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ทันทีทันใด แม้ว่าผู้เรียนแต่ละคนจะไม่ได้นั่งเรียนในชั้นเรียน
แบบเผชิญหน้ากันก็ตาม
5. ควรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ไม่มีขีดจากัด สาหรับบุคคลที่ใฝ่หาความรู้
การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการขยายโอกาสให้กับทุก ๆ คนที่สนใจศึกษา เนื่องจาก
ผู้เรียนไม่จาเป็นจะต้องเดินทางไปเรียน ณ ที่ใดที่หนึ่ง ผู้ที่สนใจสามารถเรียนได้
ด้วยตนเองในเวลาที่สะดวก จะเห็นได้ว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บนี้มีคุณลักษณะ
ที่ช่วยสนับสนุนหลักพื้นฐานการจัดการเรียนการสอนทั้ง 5 ประการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ (อ้างอิงจาก : https://sites.google.com/site/evejj255520/hlak-
kar-xxkbaeb-bth-reiyn-bn-kherux-khay-xinthexrnet)
วิกัญญา วงศ์พุฒิ ได้สรุปเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ดังนี้
บทเรียนผ่านเว็บเป็นผลจากการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อลดอุปสรรค
ด้านเวลาและสถานที่ และเพิ่มประสิทธิภาพสาหรับการเรียนการสอน โดยอาศัยทรัพยากรบนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อในการสื่อสาร สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนผู้สอนและบทเรียน เช่น E-mail,
chat, Web-board เป็นต้น ลักษณะของบทเรียนอาจเป็นได้ทั้งรูปแบบประสานเวลาและไม่ประสาน
เวลา อาจใช้บทเรียนผ่านเว็บเพียงบางส่วนของรายวิชาหรือใช้ทั้งหมดก็ได้ การออกแบบบทเรียน
ผ่านเว็บควรประยุกต์ใช้ทฤษฎีการออกแบบและพัฒนาระบบการสอนเพื่อให้เกิดความสะดวกในการ
ประเมินผลการเรียนการสอนด้วยบทเรียนผ่านเว็บและการนาไปประยุกต์เพื่อให้เกิดประโยชน์
ต่อการเรียนการสอนสูงสุดต่อไป (อ้างอิงจาก : http://www.gotoknow.org/posts/279187)

Contenu connexe

Tendances

สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2Wilaiporn7
 
9789740335061
97897403350619789740335061
9789740335061CUPress
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
Innovation and information technology for learning
Innovation and information technology for learningInnovation and information technology for learning
Innovation and information technology for learningeaktcfl
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 

Tendances (15)

สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
 
9789740335061
97897403350619789740335061
9789740335061
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
1
11
1
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
ภารกิจ1
ภารกิจ1ภารกิจ1
ภารกิจ1
 
Innovation and information technology for learning
Innovation and information technology for learningInnovation and information technology for learning
Innovation and information technology for learning
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Cyber Education(Pongsak)
Cyber Education(Pongsak)Cyber Education(Pongsak)
Cyber Education(Pongsak)
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

En vedette

รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
บทคัดย่อ การพัฒนาทักษะการพูดและความคิดสร้างสรรค์โดยใช้การเล่าเรื่อง
บทคัดย่อ การพัฒนาทักษะการพูดและความคิดสร้างสรรค์โดยใช้การเล่าเรื่องบทคัดย่อ การพัฒนาทักษะการพูดและความคิดสร้างสรรค์โดยใช้การเล่าเรื่อง
บทคัดย่อ การพัฒนาทักษะการพูดและความคิดสร้างสรรค์โดยใช้การเล่าเรื่องTukta Anita
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learningงานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-LearningNECTEC, NSTDA
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจSomchart Phaeumnart
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 

En vedette (12)

รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
บทคัดย่อ การพัฒนาทักษะการพูดและความคิดสร้างสรรค์โดยใช้การเล่าเรื่อง
บทคัดย่อ การพัฒนาทักษะการพูดและความคิดสร้างสรรค์โดยใช้การเล่าเรื่องบทคัดย่อ การพัฒนาทักษะการพูดและความคิดสร้างสรรค์โดยใช้การเล่าเรื่อง
บทคัดย่อ การพัฒนาทักษะการพูดและความคิดสร้างสรรค์โดยใช้การเล่าเรื่อง
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learningงานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ  แผ่อำนาจ
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตำแหน่งครูผู้ช่วย นายสมชาติ แผ่อำนาจ
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 

Similaire à รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน

6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 
การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย Cholticha New
 
การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่ายการเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่ายkitiya thompat
 
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1Cholticha New
 
จุดเน้น 6
จุดเน้น  6จุดเน้น  6
จุดเน้น 6kruchaily
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Ktmaneewan
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1Pymlapas Punpaisan
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1Pymlapas Punpaisan
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)guest082d95
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์Narathip Khrongyut
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้thanakorn
 

Similaire à รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน (20)

6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Focus 6-55
Focus 6-55Focus 6-55
Focus 6-55
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 
การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย
 
การเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่ายการเรียนบนเครือข่าย
การเรียนบนเครือข่าย
 
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
การเรียนบนเครือข่าย กิจกรรมที่ 1
 
จุดเน้น 6
จุดเน้น  6จุดเน้น  6
จุดเน้น 6
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ตัว
ตัวตัว
ตัว
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 

รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน

  • 1. 1 รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การจัดการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันนี้การบริการสารสนเทศบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับความนิยม อย่างแพร่หลาย และได้เข้ามามีบทบาทสาคัญทางการศึกษา จนกลายเป็นคลังแห่งความรู้ไร้พรมแดน ที่ผู้สอนสามารถใช้เป็นทางเลือกใหม่ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนจากห้องเรียนไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้ อันกว้างใหญ่ที่ไม่มีข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ ซึ่งเกิดจากการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยี สารสนเทศกับการออกแบบระบบการเรียนการสอน โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตมาจัดสภาพเพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนรู้ให้เกิดแก่ผู้เรียน (อ้างอิงจาก : http://www.gotoknow.org/posts/279187) ที่มาของปัญหาและความต้องการ ครูผู้สอนมีบทบาทสาคัญในยุคปัจจุบัน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักสืบเสาะ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตามศักยภาพ เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย รวมทั้ง มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดังนั้น ในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนั้น จะต้องมีการเตรียมสื่อนวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย เพียงพอ และมีวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับความสนใจ ของผู้เรียน ให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาและเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาตามศักยภาพของตน ซึ่งในปัจจุบัน เทคโนโลยีที่น่าสนใจ ก็คือ การเรียนรู้บนระบบอินเตอร์เน็ต ซึ่งถือว่า เป็นแหล่งการศึกษาแบบ ไร้พรมแดนที่สามารถค้นคว้าหาความรู้ด้านต่าง ๆ จากทั่วโลก โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ จากความสาคัญของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่กลายเป็นระบบสื่อสารที่สาคัญ ก่อให้เกิด ความสะดวกในการจัดเก็บและค้นคว้าหาข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ครูผู้สอนจึงได้จัดทาโครงการพัฒนานวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้เป็น แหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้ ทั้งในและนอกเวลาเรียน ทั้งที่บ้าน ที่โรงเรียนและทุก ๆ ที่ ที่มีคอมพิวเตอร์อยู่ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลาง 2. เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่ตอบสนองกับความต้องการของผู้เรียน และให้ผู้เรียน ได้มีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย 3. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 4. เพื่อส่งเสริมทักษะการสืบเสาะ แสวงหาความรู้และการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้เรียน
  • 2. 2 5. เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการศึกษาด้วยตนเองจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น เรียนซ่อมเสริม เรียนทบทวนรายวิชา 6. เพื่อใช้แก้ปัญหาด้านการเรียนให้แก่ผู้เรียนที่มีปัญหาเรียนรู้ไม่ทันเพื่อนในห้องเรียน กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับประโยชน์ 1. โรงเรียนมีกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สามารถดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้จากบทเรียน คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ผู้เรียนที่ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้จากบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 3. ใช้แก้ปัญหาผู้เรียนที่มีปัญหาด้านการเรียน เช่น เรียนไม่ทันเพื่อน ฯลฯ ได้อย่างน้อย ร้อยละ ๕๐ ของผู้ที่มีปัญหาทั้งหมด 4. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้และแหล่งความรู้ทางวิชาการ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้เป็น แหล่งอ้างอิงหรือสืบค้นข้อมูลได้ 5. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล 6. ผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีองค์ความรู้และ ความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนมากขึ้น 7. ผู้เรียนที่เรียนซ่อมเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๕๐ ของรายวิชาที่เรียน 8. ผู้เรียนที่เรียนซ่อมเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเพิ่มขึ้น 9. ผู้เรียนมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละคน และสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา วิธีดาเนินงาน ขั้นตอนการดาเนินงานพัฒนานวัตกรรม 1. ประชุมเพื่อชี้แจงทาความเข้าใจและกาหนดแนวทางในการพัฒนานวัตกรรม ในการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. จัดทาโครงการและและเสนอโครงการต่อผู้บริหารสถานศึกษา 3. ตั้งทีมงานดาเนินการพัฒนาสื่อนวัตกรรมและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นต้นแบบ 1 รายวิชา 4. ทดลองและวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเครื่องมือภายในแหล่งเรียนรู้และบทเรียน คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 3. 3 5. ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 6. สารวจครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สนใจเข้าร่วมการพัฒนานวัตกรรมและ ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 7. ดาเนินการขยายผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตแก่ครูทั้ง 8 กลุ่มสาระที่สนใจ 8. ประเมินผลความพึงพอใจของครูต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 9. รายงานผลการพัฒนานวัตกรรมและการดาเนินงานตามโครงการต่อผู้บริหาร สถานศึกษา ฮอลล์ (Hall, 1998) ได้กล่าวถึงบทเรียนผ่านเว็บที่ดีจะต้องมีลักษณะดังนี้ 1. ต้องใช้งานสะดวกและไม่ยุ่งยากต่อการสืบค้นของผู้เรียน 2. ต้องมีความสอดคล้องและต่อเนื่องกันในแต่ละหน้าที่ของบทเรียน รวมถึงการเชื่อมโยง ระหว่างเว็บด้วย 3. ต้องใช้เวลาแสดงผลแต่ละหน้าน้อยที่สุด หลีกเลี่ยงการใช้ภาพขนาดใหญ่ 4. ต้องมีส่วนที่ทาหน้าที่ในการจัดระบบในการเข้าสู่บทเรียน และมีส่วนแสดง โครงสร้างเว็บเพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงเส้นทาง 5. บทเรียนต้องมีความยืดหยุ่นในการสืบค้น แม้จะมีการแนะนาขั้นตอนของการเรียน แต่ควรเพิ่มความยืดหยุ่นให้ผู้เรียน 6. บทเรียนแต่ละหน้าจอจะต้องไม่ยาว แม้จะสามารถใช้การเลื่อนไปมาได้ แต่เนื้อหา ที่สั้นในหน้าจอพอดีจะทาให้ผู้เรียนมองเห็นครบถ้วน 7. บทเรียนหน้าสุดท้ายไม่ควรสิ้นสุด ณ จุดที่ผู้เรียนเชื่อมโยงไปไหนต่อไม่ได้ อย่างน้อย ควรสร้างเส้นทางไปยังจุดเริ่มต้นได้โดยการกดเม้าส์เพียงครั้งเดียว ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) ได้ให้คาแนะนาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ว่าควรพิจารณาองค์ประกอบที่สาคัญ ดังต่อไปนี้ 1. ความพร้อมของเครื่องมือและทักษะการใช้งานเบื้องต้น หากเครื่องมือไม่พร้อม และยังขาดทักษะทางเทคนิคที่จาเป็นในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรม จะเป็นสาเหตุ สาคัญที่ก่อให้เกิดความสับสนและสร้างทัศนคติที่ไม่ดีแก่ผู้ใช้บทเรียน 2. การสนับสนุนจากฝ่ายบริหารและผู้ใช้ ซึ่งหมายถึง การสนับสนุนทั้งทางด้านเครื่องมือ และนโยบายส่งเสริมการใช้เครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา
  • 4. 4 3. การเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียนจากการเรียนรู้แบบรับจากครู มาเป็นผู้เรียนที่เรียนรู้ วิธีการเรียน มีความกระตือรือร้นและมีทักษะในการเลือกรับข้อมูลอย่างเป็นระบบ 4. บทบาทของผู้สอนในการเรียนการสอนผ่านเว็บจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่บทบาท ที่เอื้ออานวยต่อการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 5. การให้ความสาคัญการเรียนการสอนผ่านเว็บมาใช้ในชั้นเรียน เช่น การส่งรายงานและ นาเสนอผลงานผ่านเว็บ เป็นต้น 6. ผู้สอนต้องออกแบบการเรียนการสอนและใช้ประโยชน์จากระบบเครือข่ายอย่างสูงสุด ซึ่งต้องพัฒนาให้เข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้ เนื้อหาและการเชื่อมโยง ต้องปรับปรุงให้ทันสมัยตลอดเวลา และมีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ให้ผู้เรียน ได้พบปะพูดคุยระหว่างผู้เรียนหรือระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนผ่านเว็บให้มากที่สุด (อ้างอิงจาก : http://www.gotoknow.org/posts/279187) เครื่องมือที่ใช้ 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ระบบเครือข่ายที่ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และรวบรวมบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต 3. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการบริหารจัดการบทเรียน 4. แบบทดสอบและแบบประเมินผลการเรียนของรายวิชาที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 5. เอกสารรายงานผลการพัฒนานวัตกรรมและการดาเนินงานโครงการต่อผู้บริหาร สถานศึกษา ระยะเวลาในการดาเนินงาน ปีการศึกษา 2556 องค์ความรู้ที่ได้จากการพัฒนานวัตกรรม 1. เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ตามความสามารถและ ศักยภาพของแต่ละคน 2. มีความสามารถในการบริหารจัดการการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. มีระบบการจัดการเกี่ยวกับสมาชิก ทั้งในรูปแบบของการแจ้งข่าวให้แก่สมาชิกทราบ 4. มีระบบการวัดผลประเมินผลแบบทันทีทันใด ผู้เรียนสามารถทราบผลของการปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ ของบทเรียนได้ทันที 5. มีระบบการจัดการฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งมีระบบการสารองข้อมูลรายวิชา
  • 5. 5 ผลที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม 1. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรายวิชาที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ซึ่งพิจารณาได้จากจานวนผู้เรียนที่มีผลการเรียน ไม่ผ่านเกณฑ์ของรายวิชาลดลง 3. เมื่อให้ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ในการวัดผลประเมินผลของรายวิชาได้เรียนซ่อมเสริม ด้วยตนเองจากบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผลปรากฏว่าผลการเรียน ของผู้เรียนสูงขึ้น 4. ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อรายวิชาที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 5. ผู้เรียนมีทักษะในการสืบเสาะ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ มากขึ้น 6. ผู้เรียนเรียนมีความตั้งใจและมีความรับผิดชอบต่อตนเองในการแสวงหาความรู้มากขึ้น ผลที่ได้รับและการนาไปใช้ประโยชน์ 1. สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้หลากหลายและสร้างความพึงพอใจ สอดคล้องกับ ความต้องการของผู้เรียน 2. มีแหล่งเรียนรู้ที่มีกิจกรรมที่น่าสนใจให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ หรือศึกษาเพิ่มเติมได้ ตลอดเวลาไม่จากัดสถานที่ เวลา 3. มีนวัตกรรมสาหรับการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 4. มีระบบบริหารจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่มีประสิทธิภาพ ถูกลิขสิทธิ์ 5. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ ทั้งการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนซ่อมเสริมตามศักยภาพ ของตนเอง 6. มีองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหาตามหลักสูตรสามารถนาไปใช้อ้างอิงได้ 7. สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ในสาหรับการเรียนซ่อมเสริมและแก้ปัญหาการเรียนรู้ ของผู้เรียนที่เรียนไม่ทันเพื่อน หรือเรียนรู้ได้ช้า สามารถเรียนเนื้อหาซ้าได้อย่างไม่จากัด 8. ใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากร และการสอนแทนในกรณี ครูผู้สอนลา หรือไปราชการ
  • 6. 6 ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2544) ได้กล่าวถึงบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ว่ามีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนหลายประการ ดังนี้ 1. บทเรียนผ่านเว็บจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเข้าชั้นเรียนได้ในเวลาและสถานที่ ที่ผู้เรียนต้องการ 2. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางการศึกษา ผู้เรียนสามารถ เข้าเรียนร่วมกัน อภิปรายร่วมกันได้อย่างไร้พรมแดน 3. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้ที่ต้องการศึกษาสามารถเข้าไป ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา 4. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยขยายห้องเรียนจากห้องสี่เหลี่ยมไปสู้โลกกว้างแห่งการเรียนรู้ และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก 5. บทเรียนผ่านเว็บจะมีส่วนช่วยสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น ทั้งนี้ เนื่องจากเว็บมีคุณลักษณะที่เอื้อให้เกิดการแสดงความคิดเห็นได้อยู่ตลอดเวลา โดยไม่จาเป็นต้องเปิดเผยตัวตน 6. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยให้เกิดการสร้างปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ การเข้าไปพูดคุย พบปะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน การได้เรียนบทเรียน หรือได้ทาแบบฝึกหัดหรือได้ทา แบบทดสอบที่จัดไว้ให้แก่ผู้เรียน 7. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าถึงผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ ทั้งใน และนอกสถาบันจากในประเทศและต่างประเทศ โดยผู้เรียนสามารถติดต่อ สอบถามปัญหา ขอข้อมูลต่าง ๆ ที่ต้องการศึกษาหรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จากผู้เชี่ยวชาญจริงโดยตรง ซึ่งไม่สามารถทาได้ในการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม 8. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงผลงานของตนไปสู่ สายตาผู้อื่นอย่างง่ายดาย ทั้งนี้ ไม่ได้จากัดเฉพาะเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน แต่ยังสามารถ ให้ผู้คนทั่วไป หรืออาจมีผู้คนจากทั่วโลกได้เข้ามาศึกษาด้วยก็ ได้ 9. บทเรียนผ่านเว็บจะช่วยเปิดโอกาสให้ผู้สอนสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตร ให้ทันสมัยได้อย่างสะดวกสบาย เนื่องจากข้อมูลบนเว็บมีลักษณะเป็นพลวัตร ดังนั้น ผู้สอนสามารถอัพเดตเนื้อหาหลักสูตรที่ทันสมัยแก่ผู้เรียนได้ตลอดเวลา เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด (อ้างอิงจาก : http://www.gotoknow.org/posts/279187)
  • 7. 7 ละอองดาว ปัตถาไม ได้เสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังนี้ 1. ในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้ว ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถ ติดต่อ สื่อสารกันได้ตลอดเวลา การติดต่อระหว่างผู้เรียนและผู้สอนมีส่วนสาคัญ ในการสร้างความกระตือรือร้นกับการเรียนการสอน โดยผู้สอนสามารถให้ ความช่วยเหลือผู้เรียนได้ตลอดเวลาในขณะกาลังศึกษา ทั้งยังช่วยเสริมสร้างความคิด และความเข้าใจ ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บสามารถสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้ง ซักถามข้อข้องใจกับผู้สอนได้โดยทันทีทันใด เช่น การมอบหมายงานส่งผ่าน อินเทอร์เน็ตจากผู้สอน ผู้เรียนเมื่อได้รับมอบหมายก็จะสามารถทางานที่ได้รับ มอบหมายและส่งผ่านอินเทอร์เน็ตกลับไปยังอาจารย์ผู้สอน หลังจากนั้นอาจารย์ผู้สอน สามารถตรวจและให้คะแนน พร้อมทั้งส่งผลย้อนกลับไปยังผู้เรียนได้ในเวลาอันรวดเร็ว หรือในทันทีทันใด 2. การจัดการเรียนการสอนควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้เรียน ความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เรียนจะช่วยพัฒนาความคิดความเข้าใจได้ดีกว่าการทางาน คนเดียว ทั้งยังสร้างความสัมพันธ์เป็นทีมโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน เพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด เป็นการพัฒนาการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้และการยอมรับ ความคิดเห็นของคนอื่นมาประกอบ เพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บ แม้ว่าจะเรียนจากคอมพิวเตอร์ที่อยู่กันคนละที่ แต่ด้วยความสามารถของเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกไว้ด้วยกัน ทาให้ผู้เรียนสามารถ ติดต่อสื่อสารกันได้ทันทีทันใด เช่น การใช้บริการสนทนาแบบออนไลน์ที่สนับสนุนให้ ผู้เรียนติดต่อสื่อสารกันได้ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป จนถึงผู้เรียนที่เป็นกลุ่มใหญ่ 3. ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Active Learners) หลีกเลี่ยง การกากับให้ผู้สอนเป็นผู้ป้อนข้อมูลหรือคาตอบ ผู้เรียนควรเป็นผู้ขวนขวายใฝ่หาข้อมูล องค์ความรู้ต่าง ๆ เองโดยการแนะนาของผู้สอน เป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่าอินเทอร์เน็ต เป็นแหล่งข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถหาข้อมูลได้ด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ทั้งยังหาข้อมูลได้ จากแหล่งข้อมูลทั่วโลกเป็นการสร้างความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้
  • 8. 8 4. การให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีทันใด ช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความสามารถ ของตน อีกทั้ง ยังช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับแนวทางวิธีการหรือพฤติกรรมให้ถูกต้องได้ ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บ สามารถได้รับผลย้อนกลับจาก ทั้งผู้สอนเองหรือแม้กระทั่ง จากผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ทันทีทันใด แม้ว่าผู้เรียนแต่ละคนจะไม่ได้นั่งเรียนในชั้นเรียน แบบเผชิญหน้ากันก็ตาม 5. ควรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ไม่มีขีดจากัด สาหรับบุคคลที่ใฝ่หาความรู้ การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการขยายโอกาสให้กับทุก ๆ คนที่สนใจศึกษา เนื่องจาก ผู้เรียนไม่จาเป็นจะต้องเดินทางไปเรียน ณ ที่ใดที่หนึ่ง ผู้ที่สนใจสามารถเรียนได้ ด้วยตนเองในเวลาที่สะดวก จะเห็นได้ว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บนี้มีคุณลักษณะ ที่ช่วยสนับสนุนหลักพื้นฐานการจัดการเรียนการสอนทั้ง 5 ประการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (อ้างอิงจาก : https://sites.google.com/site/evejj255520/hlak- kar-xxkbaeb-bth-reiyn-bn-kherux-khay-xinthexrnet) วิกัญญา วงศ์พุฒิ ได้สรุปเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ดังนี้ บทเรียนผ่านเว็บเป็นผลจากการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อลดอุปสรรค ด้านเวลาและสถานที่ และเพิ่มประสิทธิภาพสาหรับการเรียนการสอน โดยอาศัยทรัพยากรบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อในการสื่อสาร สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนผู้สอนและบทเรียน เช่น E-mail, chat, Web-board เป็นต้น ลักษณะของบทเรียนอาจเป็นได้ทั้งรูปแบบประสานเวลาและไม่ประสาน เวลา อาจใช้บทเรียนผ่านเว็บเพียงบางส่วนของรายวิชาหรือใช้ทั้งหมดก็ได้ การออกแบบบทเรียน ผ่านเว็บควรประยุกต์ใช้ทฤษฎีการออกแบบและพัฒนาระบบการสอนเพื่อให้เกิดความสะดวกในการ ประเมินผลการเรียนการสอนด้วยบทเรียนผ่านเว็บและการนาไปประยุกต์เพื่อให้เกิดประโยชน์ ต่อการเรียนการสอนสูงสุดต่อไป (อ้างอิงจาก : http://www.gotoknow.org/posts/279187)