SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  61
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

                          ประมวลรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย

    1. ภาษาศาสตร์ ว่าด้วยลักษณะเฉพาะของภาษาไทย ข้อสอบประกอบด้วย ระบบเสี ยงในภาษาไทย
        พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
        พยัญชนะ มักถามเรื่ อง พยัญชนะต้นเดี่ยว พยัญชนะควบกล้ า พยัญชนะท้าย มาตราตัวสะกดแม่ต่างๆ
        พยางค์เปิ ด พยางค์ปิด
        สระ มักถามเรื่ องสระเสี ยงสั้น สระเสี ยงยาว สระประสม โดยมีตวลวงคือรู ปสระที่ไม่ตรงกับเสี ยงสระ
                                                                   ั
        วรรณยุกต์ มักให้ผนวรรณยุกต์ตามข้อความที่กาหนด ข้อควรระวังคือการตอบให้ตรงคาถาม
                           ั
        โครงสร้ างของพยางค์ ความเหมือน ความแตกต่างของพยางค์ คาเป็ น - คาตาย
    ธรรมชาติของภาษา การเปลี่ยนแปลงของภาษา ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย
    คาไทยแท้ – คายืม (คาบาลี คาสันสกฤต คาเขมร คาต่างประเทศตระกูลยุโรป)
    การสร้างคาการเพิ่มคา คาประสม คาซ้อน คาซ้ า คาสมาสทั้งคาสมาสที่ไม่มีสนธิ และคาสมาสแบบมีสนธิ
    2 หลักภาษา ข้อสอบมักออกเรื่ องความถูกต้องตามหลักภาษาไทย ประโยค กลุ่มคา ประโยคสมบูรณ์ การ
เน้นประโยค(รู ปประโยค) เจตนาของประโยค โครงสร้างของประโยค ชนิดของประโยค (ความเดียว
ความรวม ความซ้อน) ข้อบกพร่ องของประโยค
                 ก. การใช้คาฟุ่ มเฟื อย / กะทัดรัด
                 ข. การใช้ภาษากากวม / ชัดเจน
                 ค. การวางส่ วนขยายผิดที่
                 ง. การใช้สานวนต่างประเทศ
                 จ. ความสัมพันธ์ของประโยค
                 ฉ. ประโยคไม่ครบกระแสความ
                 ช. การใช้คาผิดหน้าที่หรื อความหมายในประโยค
    3. การใช้ คา – สานวน และการใช้ โวหาร
    การใช้คาให้ตรงกับความหมาย
    การใช้คาราชาศัพท์
    ระดับของภาษา
    หน้าที่และชนิดของคา
    การใช้คาเชื่อม
    การใช้สานวน
    การใช้โวหาร




                                               หน้ า 1
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

4. วรรณคดีและความงามของภาษา
การสรรคา การเล่นเสี ยง ลักษณะเด่นและศิลปะในการแต่งคาประพันธ์
ฉันทลักษณ์ และลักษณเด่นของฉันทลักษณ์ (คาเอก คาโท คาครุ คาลหุ )
การใช้ภาพพจน์ในวรรณคดีหรื อวรรณกรรม จินตภาพ
แนวคิด ค่านิยม ความเชื่ อที่ปรากฏในวรรณคดีหรื อวรรณกรรม
ประเพณี สังคม วัฒนธรรมที่ปรากฏในวรรณคดีหรื อวรรณกรรม
5. การใช้ ภาษาเพือการแสดงความคิดและการแสดงออก
                 ่
ภาษาและเหตุผล โครงสร้างของเหตุผล การอนุมาน การแสดงทรรศนะ การโต้แย้ง การโน้มน้าวใจ
6. การใช้ ภาษาไทย
การพูด ทั้งระหว่างบุคคลและการพูดในที่ประชุมชน การสัมภาษณ์
การฟัง
การอ่าน เน้นการอ่านจับใจความและการตีความ
การเขียนเรี ยงความ ย่อความ จดหมาย ประกาศ
การประชุม
คุณธรรมและมารยาทในการสื่ อสาร
กลวิธีการเขียนอธิบาย การบรรยาย การพรรณนา เทศนาโวหาร สาธกโวหาร อุปมาโวหาร
7. เบ็ดเตล็ด
    เครื่ องหมายวรรคตอน การเขียนตัวสะกด การันต์ การอ่านคา การใช้ลกษณนาม การใช้พจนานุกรม
                                                                 ั
ฯลฯ




                                       หน้ า 2
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

                                                     บทที่ 1
                                              ระบบเสี ยงในภาษาไทย

         ระบบเสี ยงในภาษาไทยมีอยู่ 3 ชนิด ได้แก่
1. รู ปสระ - เสี ยงสระ
         รู ปสระ
      ะ          เรี ยกว่า วิสรรชนีย ์                            เรี ยกว่า   ไม้หน้า
                                                             เ
    า          เรี ยกว่า   ลากข้าง                            ไ   เรี ยกว่า   ไม้มลาย
    ิิ         เรี ยกว่า   พินทุอิ ์                          ใ   เรี ยกว่า   ไม้มวน ้
     |         เรี ยกว่า   ฝนทอง                              โ   เรี ยกว่า   ไม้โอ
    ||         เรี ยกว่า   ฟันหนู                            อ    เรี ยกว่า   ตัว ออ
     ๐
               เรี ยกว่า   นิคหิต, หยาดน้ าค้าง              ย    เรี ยกว่า   ตัว ยอ
    ิุ         เรี ยกว่า   ตีนเหยียด                         ว    เรี ยกว่า   ตัว วอ
    ิู         เรี ยกว่า   ตีนคู ้                           ฤ    เรี ยกว่า   ตัว รึ
    ิั         เรี ยกว่า   ไม้ผด
                               ั                             ฤๅ   เรี ยกว่า   ตัว รื อ
    ิ็         เรี ยกว่า   ไม้ไต่คู ้                        ฦ    เรี ยกว่า   ตัว ลึ
                                                             ฦๅ   เรี ยกว่า   ตัว ลือ
ประเภทของสระ
      1. เสี ยงสระ (สระเดี่ยว มี 18 เสี ยง)
              สระเสี ยงสั้น (รัสสระ)                              สระเสี ยงยาว (ทีฆสระ)
                        /อะ/                                                /อา/
                         /อิ/                                                /อี/
                         /อึ/                                               /อือ/
                         /อุ/                                                /อู/
                       /เอะ/                                                 /เอ/
                       /แอะ/                                                /แอ/
                      /เออะ/                                               /เออ/
                      /เอาะ/                                                /ออ/
                       /โอะ/                                                /โอ/



                                                   หน้ า 3
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

         2. สระประสม (สระเลื่อน) คือ การนาเสี ยงสระเดี่ยว 2 เสี ยงมาประสมกัน ได้แก่
                 /อิ/ + /อะ/ = /เอียะ/                                 /อี/ + /อา/ = /เอีย/
                 /อึ/ + /อะ/ = /เอือะ/                                /อือ/ + /อา/ = /เอือ/
                  /อุ/ + /อะ/ = /อัวะ/                                  /อู/ + /อา/ = /อัว/
หมายเหตุ          ทางภาษาศาสตร์ ถือว่า สระประสมเสี ยงสั้นเป็ นหน่วยเสี ยงเดียวกับเสี ยงยาว
                  จึงถือว่าสระประสม มี 3 เสี ยง คือ /เอีย/ /เอือ/ /อัว/
ข้ อควรจา
         อา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ           เป็ นรู ปสระเกิน
2. รู ปพยัญชนะ - เสี ยงพยัญชนะ
         รู ปพยัญชนะ มี 44 รู ป คือ
       อักษรกลาง                    อักษรสู ง                     อักษรคู่              อักษรเดี่ยว
            ก                           ขฃ                         คฅ ฆ                         ง
            จ                            ฉ                         ชฌ                           ญ
           ฎฏ                            ฐ                         ฑฒ                           ณ
           ดต                            ถ                          ทธ                          น
           บป                            ผฝ                        พฟ ภ                         ม
            อ                          ศษส ห                        ซฮ                        ยรลวฬ
เสี ยงพยัญชนะปรากฏได้ 2 ตาแหน่ ง ในพยางค์ คือ
         1. เสี ยงพยัญชนะต้ น
                   1.1 เสี ยงพยัญชนะต้นเดี่ยว มี 21 เสี ยง คือ
  1.       /ก/                                              12.   /บ/
  2.       /ค/                                              13.   /ป/
  3.       /ง/                                              14.   /พ/
  4.       /จ/                                              15.   /ฟ/
  5.       /ช/                                              16.   /ม/
  6.       /ซ/                                              17.   /ร/
  7.       /ย/                                              18.   /ล/
  8.       /ด/                                              19.   /ว/
  9.       /ต/                                              20.   /ฮ/
  10.      /ท/                                              21.   /อ/
  11.      /น/




                                                      หน้ า 4
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

       1.2 เสี ยงพยัญชนะต้นประสม (เสี ยงควบกล้ า) คือ พยางค์ที่มีเสี ยงพยัญชนะต้นสองตัวออกเสี ยงควบ
กันในระบบเสี ยงภาษาไทย มี 5 ชุด คือ



                           ร              ล             ว                   ข้ อควรระวัง
               ก          กร             กล            กว                   คำควบไม่ แท้ จัดเป็ นเสียง
               ค          คร             คล            คว                   พยัญชนะต้ นเสียงเดี่ยว
               ป          ปร             ปล                                เช่น จริง(จิง) สร้ าง(ส้ าง)
               พ          พร             พล                                     โทรม(โซม) เป็ นต้ น
               ต          ตร                           
       2. เสี ยงพยัญชนะท้าย คือ เสี ยงพยัญชนะที่ทาหน้าที่เป็ นตัวสะกดมี 9 เสี ยง คือ
       1. /ก/                      เช่น เลข โรค เมฆ ครก นาก ฯลฯ
       2. /บ/ หรื อ /ป/            เช่น พบ ลาภ กบ จับ กราฟ ฯลฯ
       3. /ด/ หรื อ /ต/            เช่น มด กาจ คช กฎ พุทธ ฯลฯ
       4. /ง/                      เช่น โมง หาง สู ง แกง กิ่ง ฯลฯ
       5. /ม/                      เช่น กรรม หาม ชิม ทา สัมมนา ฯลฯ
       6. /น/                      เช่น การณ์ กลอน สัญญาณ เขิน ฯลฯ
       7. /ย/                      เช่น ชาย หน่อย รวย ได้ ใน ฯลฯ
       8. /ว/                      เช่น ขาว เลว แน่ว ชาย หิว ฯลฯ
       9. /?/                      หมายถึงพยางค์ที่เป็ นเสี ยงสั้น ลงเสี ยงหนักท้ายพยางค์ เช่น ชะ กะปิ สมาธิ
3. วรรณยุกต์ คือ ระดับเสี ยงสู งต่าของพยางค์ (tone) มี 4 รู ป 5 เสี ยง คือ

รู ป                                   ิ่               ิ้               ิ                ิ
       เสี ยง        สามัญ             เอก              โท               ตรี             จัตวา

พยางค์ ปิด - พยางค์ เปิ ด
พยางค์ ปิด        คือ พยางค์ที่มีเสี ยงพยัญชนะท้าย เช่น กิน ข้าว ไหม ชิชะ จะจะ ชัยชนะ (มีเสี ยง /?/)
พยางค์ เปิ ด      คือ พยางค์ที่ไม่มีเสี ยงพยัญชนะท้าย เช่น มา หรื อ หนู
โครงสร้ างของพยางค์ หมายถึง ส่ วนประกอบของแต่ละพยางค์ โดยพิจารณาจาก
         เสี ยงของพยัญชนะท้าย พยางค์ปิด หรื อพยางค์เปิ ด
         เสี ยงของพยัญชนะต้ น เดี่ยวหรื อควบกล้ า
         เสี ยงของสระ                        สระสั้น สระยาว
         เสี ยงของวรรณยุกต์                  เสี ยงสามัญ เอก โท ตรี จัตวา

                                                  หน้ า 5
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

คาเป็ นคาตาย
          1. คาเป็ น หมายถึง คาที่ประสมด้วยสระเสี ยงยาว หรื อคาที่มีเสี ยงสะกด แต่ยกเว้น แม่ กก กบ กด เช่น
น้า ตี งู จง อาง ให้ เห็น
          2. คาตาย หมายถึง คาที่ ประสมด้วยสระเสี ยงสั้นและไม่มีเสี ยงสะกด รวมทั้งคาที่อยู๋ในแม่ กก กบ กด
เช่น กระทะ มะระ ก็ บ่ ธ ณ เป็ ด กฎ ศพ

อ้างอิง
กาญจนา นาคสกุล. 2541. ระบบเสี ยงภาษาไทย. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชาการ,กรม กระทรวงศึกษาธิการ. 2541. วรรณลักษณ์วจารณ์ เล่มที่ 1. กรุ งเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
                                                 ิ

                                           ตัวอย่างข้ อสอบบทที่ 1
                                       เรื่องระบบเสี ยงในภาษาไทย
1. ข้อใดมีเสี ยงสระสั้น ทุกพยางค์
      1. น้ าแข็ง น้ าใจ น้ าเชื่อม น้ ามัน              2. นมข้ น นมผง นมกล่อง นมสด
      3. นงนุช นงเยาว์ นงคราญ นงลักษณ์                   4. นพเก้า นพคุณ นพเคราะห์ นพรัตน์
2. ข้อใดมีจานวนพยางค์ที่ประกอบด้วยสระลดรู ปมากที่สุด
      1. กวนขนม ทุ่มทุน ทางขนาน                      2. ปลดปลง ปกปอง ครบครัน
                                                                      ้
      3. ตกใจ สิ้ นเคราะห์ กราบกราน                  4. เกรี้ ยวกราด กลบเกลื่อน เกรงกริ่ ง
3. ข้อใดไม่มีเสี ยงสระประสม
      1. มโนมอบพระผู้                        เสวยสวรรค์
      2. พูดมากเปล่าเปลืองปน                 ปดเหล้น
      3. สิ่ งใดในโลกล้วน                    เปลี่ยนแปลง
      4. คาแสลงเสี ยดแทงระคน คาหยาบ หยอกฤา
4. ข้อใดมีคาที่ประกอบด้วยเสี ยงสระประสมทุกคา (2/2546)
        1. เฟื้ องฟา ร่ารวย เสี ยหน้ า
                    ้                                 2. มัวหมอง เชื่อใจ เลิศล้ า
        3. เปรี้ ยวปาก เกรอะกรัง พร่ าเพรื่ อ         4. เรื่ องราว เพลี่ยงพล้ า แท่นพิมพ์
5. ข้อใดไม่มีสระประสม (O-NET 50)
      1. ใครดูถูกผู้ชานาญในการช่ าง                      2. ความคิดขวางเฉไฉไม่เข้าเรื่ อง
      3. เหมือนคนป่ าคนไพรไม่รุ่งเรื อง                  4. จะพูดด้วยนั้นก็เปลืองซึ่ งวาจา
6.พยางค์ทายข้อใดมีเสี ยงสระตรงกับพยางค์ที่ขีดเส้นใต้ “จราจร จลาจล” (A-NET 50)
             ้
     1. ถนน ถนอม                                         2. ขนอน โขนง
     3. ฉลอง ฉงน                                         4. สนม สนน


                                                หน้ า 6
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

7. ข้อใดมีเสี ยงพยัญชนะต้นเดี่ยวซ้ ากันมากที่สุด (2/2546)
       1. นุ่งยกนอกดอกวิเศษเกล็ดพิมเสน                      2. โจงกระเบนประคดคาดไม่หวาดไหว
       3. บ้ างใส่ เสื้อส้ าระบับเข้ มขาบใน                 4. ข้างนอกใส่ ครุ ยกรองทองสาริ ด
8. ข้อใดมีจานวนเสี ยงพยัญชนะต้นเดี่ยวน้อยที่สุดโดยไม่นบเสี ยงซ้ า(A-NET 50)
                                                                   ั
      1. สุ ดสายตาข้าเห็นเป็ นทุกเวิง ้                              2. ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท้
      3. ของไทยแน่ น้ ันหรือคือภาษา                                  4. ชลล้นเจิ่งแผ่นดินหมองร้องครวญคร่ า
9. ข้อใดมีท้ งอักษรควบและอักษรนา (A-Net 49)
               ั
        1. สงครามครานีหนัก  ้                              ใจเจ็บ ใจมา
        2. เรี ยมเร่ งแหนงหนาวเหน็บ                        อกโอ้
        3. ลูกตายฤๅใครเก็บ                                 ผีฝาก พระเอย
        4. ผีจกเท้งที่โพล้
                 ั                                         ที่เพล้ใครเผา
10. คาขวัญต่อไปนี้มีเสี ยงพยัญชนะสะกดกี่เสี ยง (ไม่นบเสี ยงซ้ า)
                                                               ั
      “รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ช่วยกันต้านยาเสพติด”
      1. 5 เสี ยง                           2. 6 เสี ยง               3. 7 เสี ยง            4. 8 เสี ยง
11. ข้อใดมีเสี ยงพยัญชนะสะกดมากที่สุด (ไม่นบเสี ยงซ้ า)ั
      1. จงรู ้จกรักษาคุณค่าหญิง
                   ั                                             2. อย่าทอดทิ้งทางงามทุกความหมาย
      3. แม้นราคีมีหมองต้องเสี ยดาย                              4. จะอับอายออกนามคนหยามเรา
12. ข้อใดมีเสี ยงพยัญชนะท้ายพยางค์ทุกคา (A-Net 49)
        1. เขาทางานจนภารโรงปิ ดห้ อง
        2. คุณยายเป็ นลมเมื่ออ่านจดหมายจบ
        3. ต้นกล้วยริ มรั้วลวดหนามออกเครื อแล้ว
        4. ภาคใต้ได้รับความเสี ยหายจากคลื่นยักษ์
13.ข้อใดมีเสี ยงพยัญชนะท้ายน้อยที่สุดโดยไม่นบเสี ยงซ้ า(A-NET 50)
                                                         ั
                     ่
      1.จงจาไว้วาอนาคตที่สดใสต้องเริ่ มต้นเดี๋ยวนี้
      2. จงมองหาโอกาสที่ซ่อนอยูในอุปสรรคที่เผชิญ
                                        ่
      3.จงจาไว้ ว่าคาพูดทีอ่อนหวานช่ วยสมานใจได้ ดี
                              ่
      4. จงวางดินสอกับกระดาษโน้ตไว้ขางโทรศัพท์ทุกเครื่ อง
                                                ้
14. ข้อใดมีคาที่สะกดด้วยแม่กดมากที่สุด (O-Net 49)
        1. อุบัติเหตุอาจเกิดขึนเป็ นนิตย์ ในโอกาสวันสุ ดสั ปดาห์
                                 ้
        2. งานเฉลิมฉลองพระเกียรติในวโรกาสการประสู ติพระโอรส
        3. ขอตั้งสัจจะอธิ ษฐานยึดมันในชาติ ศาสน์ กษัตริ ยชวนิรันดร์
                                          ่                             ์ ั่
        4. ยศถาบรรดาศักดิ์ไม่สามารถสกัดกั้นให้แคล้วคลาดปราศจากอุปัทวันตรายได้

                                                     หน้ า 7
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

15. ข้อใดมีเสี ยงวรรณยุกต์ครบห้าเสี ยง (O-Net 49)
         1. โง่ไม่เป็ นใหญ่ยากฝากให้คิด
         2. ทางชี วตจะรุ่ งโรจน์ โสตถิผล
                        ิ
         3. ต้องรู ้โง่ฉลาดปราดเปรื่ องตน
         4. โง่สิบหนดีกว่าเบ่งเก่งเดี๋ยวเดียว
16. ข้อใดมีเสี ยงวรรณยุกต์ครบ 5 เสี ยง (O-NET 50)
      1. เจ้ าคุมแค้ นแสนโกรธพิโรธพี่                                    ่่
                                                           2. แต่เดือนยียางเข้าเดือนสาม
      3. จนพระหน่อสุ ริยวงศ์ทรงพระนาม                      4. จากอารามแรมร้างทางกันดาร
17. เสี ยงวรรณยุกต์ขอใดต่างกับข้ออื่น(A-NET 50)
                          ้
   1. ทรงธรรมล้ ามะนุษ-                                    2. ฤทธิรุทมหาศาล
   3. บาเพ็ญพะลีการ                                        4. ทุกอย่ างงามตามวิสัย
18. คาคู่ใดต่างกันเฉพาะเสี ยงสระเท่านั้น (A-Net 49)
         1. ทรัพย์ - ทราบ                              2. เนิบ - นับ
         3. หมั้น - ม่ าน                              4. โชค - ชัก
19. เสี ยงของพยางค์ในข้อใดมีโครงสร้างต่างกับข้ออื่น (ข้อสอบ O NET 2551)
          1. ขวาน                  2. หลาม        3. เผย               4. ฝูง
20. คาในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันทั้งสองคา
          1. ตั้งร้าน           2. ข้างขึ้น         3. คล่องแคล่ว              4. ทรุ ดโทรม
21. ข้อใดมีคาตายมากที่สุด (A-Net 49)
         1. ประดุจทรงวราภรณ์สุนทรสวัสดิ์
         2. เรื องจรัสยิงมกุฎสุ ดสง่า
                            ่
         3. ประดับพระวรเดชวิเศษฤทธิ์
         4. ที่สถิตอานุภาพสโมสร
22. ข้อใดมีคาตายน้อยที่สุด (1/2546)
          1.         ทั้งไพร่ นายรายเรียงกันเรียดไป             ตัดใบไม้ มุงเหมือนหลังคาบัง
          2.         พระเปรมปรี ด์ ิดีใจอยูในพักตร์
                                            ่                   มิให้ประจักษ์คนทั้งหลาย
          3.         คาโบราณท่านผูกถูกทุกสิ่ ง                  เขาว่าลิงจองหองมันพองขน
          4.         เสพอาหารหวานคาวเมื่อคราวยาก                ล้วนของฝากเฟื่ องฟูค่อยชูชื่น
23. ทุกพยางค์ในข้อใดเป็ นคาเป็ น (O-NET 50)
      1. พระเสด็จโดยแดนชล                                  2. ทรงเรื อต้นงามเฉิดฉาย
      3. เรือชัยไวว่องวิง     ่                            4. รวดเร็ วจริ งยิงอย่างลม
                                                                             ่




                                                     หน้ า 8
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

                                             บทที่ 2
                                            การใช้ คา

คาและความหมาย
      คาในภาษาไทยมีความหมายกว้างและแคบไม่เท่ากัน เช่น ดอกไม้ มีความหมายกว้าง แต่ ดอกกุหลาบ มี
ความหมายแคบ นอกจากนี้ความหมายของคาแบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะ ดังนี้
1. คาทีมีความหมายตรง คือ แปลความหมายตามพจนานุกรม มี 2 ลักษณะ คือ
           ่
      1.1 คาที่มีความหมายเดียว เช่น
             ตกลง         หมายถึง ยินยอมพร้อมใจกัน
             ผลัด         หมายถึง เปลี่ยน
             แกน          หมายถึง วัตถุแข็งที่อยูส่วนกลาง
                                                    ่
             โก่ง         หมายถึง ทาให้โค้ง
      1.2 คาที่มีหลายความหมาย เช่น
             ขัน       ผลัด
                          หมายถึง ภาชนะตักน้ า
                              ”      ทาให้ตึง
                              ”      แข็งแรง
             ขึ้น         หมายถึง เน่าพอง (ศพขึ้ น)
                              ”      อ่อนน้อม สังกัด (เมืองขึ้น)
                              ”      ผุดโผล่ (ตะวันขึ้น)
                              ”      งอก (ต้นไม้ข้ ึน)
                              ”      เพิ่ม (ขึ้ นราคา)
2. คาทีมีความหมายในประหวัด คือ คาที่มีความหมายไม่ตรงตามศัพท์ แต่มีนยให้เข้าใจเป็ นอย่างอื่น
       ่                                                           ั
3. คาทีมีความหมายเปรียบเทียบ (อุปมา) หรื อ การใช้ สานวนโวหารเช่น
         ่
เสื อ           หมายถึง ความดุร้าย          ปลาซิว         หมายถึง   ความใจเสาะ
ลิง             หมายถึง ความซน              ฤาษี           หมายถึง   ความสงบเสงี่ยม
ควาย            หมายถึง ความโง่             แก้วตา         หมายถึง   เป็ นที่รัก

                                               ข้ อควรจา
                            การใช้ คาต้ องให้ ตรงกับความหมาย และบริบท
           การใช้ภาษาในชีวตประจาวันนั้น การใช้คาที่ถูกต้องเหมาะสม ตามหลักไวยากรณ์และความหมายเป็ น
                            ิ
สิ่ งที่สาคัญที่จะสื่ อความหมายได้ตรงประเด็นตามจุดมุ่งหมายของผูส่งสาร หลักสาคัญในการใช้คาโดยสรุ ปมี
                                                                ้
ดังนี้


                                             หน้ า 9
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

           1. ใช้คาให้ถูกตามตาแหน่ง และหน้าที่ เช่น คานาม คาสรรพนาม ใช้ทาหน้าที่เป็ นประธาน
                                                                                      ่
               กรรมของประโยค คากริ ยา แสดงอาการกระทา ผูเ้ รี ยนต้องรู ้จกว่าคาใดควรอยูในตาแหน่งใด
                                                                        ั
               ของประโยค
           2. การเรี ยงลาดับคาหรื อพยางค์ให้ถูกต้อง ถ้าเรี ยงกลับกันความหมายอาจเปลี่ยนไป เช่น ใจ
               ช้ า-ช้ าใจ หนวกหู-หูหนวก กินอยู-อยูกิน เป็ นต้น
                                               ่ ่
           3. ต้องรู ้สึกเลือกใช้คาให้เหมาะกับกาลเทศะ ถึงแม้บางคาจะมีความหมายคล้ายคลึงกัน แต่ไม่
                                 ั
               สามารถแทนที่กนได้ เช่น ภายในโรงฆ่าสัตว์ ตลบอบอวล ไปด้วยกลิ่นซากสัตว์ ควรแก้ไข
               เป็ นคละคลุง ้
           4. ใช้คาให้ตรงกับความหมาย ภาษาไทยมีคามากมายที่มีความหมาย คล้ายกัน บางคามี
               ความหมายแฝงอยู่ จึงจาเป็ นต้องเลือกคาให้เหมาะสมและตรงความหมายมากที่สุด เช่น แล่
               ฝาน ปอก ผ่า เฉื อน เฉาะ สับ เป็ นต้นสรุ ปง่าย ๆ คือ หลักของการใช้คา ต้องใช้คาให้ตรง
               ความหมาย
                                      ตรง : ตรงตามพจนานุกรม
           คา = ความหมาย              นัย : ตีความตามปริ บท
                                      แฝง : ซ่อนอารมณ์ และความรู้สึก (นัยประหวัด)
            แคบ            กว้าง

                                    ตัวอย่ างข้ อสอบบทที่ 2
                                             การใช้ คา
1. คาในข้อใดสามารถใช้ได้ท้ งความหมายโดยตรงและโดยนัยทุกคา
                                    ั
        1. เข้าฌาน เข้าถึง เข้าเนื้อ             2. แก้ลา แก้เผ็ด แก้เกี้ยว
        3. ขึ้นหม้อ ขึ้นสาย ขึ้นชื่อ             4. คอแข็ง คอตก คอสู ง
2. คาในข้อใดทุกคาในข้อใดมีท้ งความหมายโดยตรงและเชิงอุปมา
                                      ั
    1. ตกเบ็ด ลอยแพ ไหว้ผี เอียงซ้าย             2. จับตา ลอกคราบ นิ้วก้อย จับตาย
    3. ติดตา ลายคราม ขึนหิง จับเข่ า
                             ้ ้                 4. ปากน้ า ตัดต่อ ร้อนตัว ตกข่าว
3. คาว่า "ทิ้ง" ในข้อใดมีความหมายในตรงทุกคา
        1. ทิ้งจดหมาย ทิ้งท้าย ทิ้งไพ่           2. ทิงทาน ทิงกระจาด เททิง
                                                       ้       ้               ้
        3. ผ้าเนื้อทิ้ง ทิ้งทวน ทิงธุ ระ
                                  ้              4. ทิ้งเพื่อน ทิงขว้าง ทิ้งตา
                                                                 ้
4. ข้อใดใช้คาแสดงความหมายแคบกว้างต่างกันได้อย่างเหมาะสม
        1. เขาสนใจทั้งกีฬาและมวย
        2. เขาชอบปลูกต้นไม้และไม้ผล
        3. ฤดูนีมีผลไม้ มากทั้งเงาะและทุเรียน
                   ้
        4. ประชาชนและชาวนามาชุมนุมกันมากมาย
                                            หน้ า 10
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

                                     ่ ้
5. ข้อใดไม่มีความหมายกว้างแคบอยูดวยกัน
       1. กิจวัตรประจาวันของสาวิตรี ได้แก่ การอ่านหนังพิมพ์ในเวลาเช้าและดูโทรทัศน์ในเวลากลางคืน
       2. การพกอาวุธ เช่น มีด ปื น ระเบิดขวด ในที่สาธารณะเป็ นสิ่ งที่ไม่ควรกระทา
       3. การสอบคัดเลือกเข้ ามหาวิทยาลัยเป็ นโอกาสทีนักเรียนจากโรงเรียนต่ างๆ ได้ แข่ งขันกัน
                                                         ่
       4. การเดิ นทางไปต่างจังหวัดในปั จจุ บ นนี้ เราสามารถเดิ นทางได้หลายวิธี เช่ น โดยทางเครื่ องบิ น
                                               ั
รถไฟ รถยนต์
6. ข้อใดใช้คาถูกต้องตรงความหมาย
                                             ่
   1. ผมว่ากรณี น้ ียงมีอะไรเคลือบแคลงอยูอีกมาก
                     ั
   2. พนักงานคนใหม่พิมพ์หนังสื อตกหายไปหลายวรรค
   3. ระวังกระเปาให้ ดีๆ นะ อย่าให้ ใครฉกชิงเอาไปได้
   4. อย่ามาพูดข่มขวัญคนอื่นเลย เธอน่ะชอบบอกว่าตัวดีกว่าเพื่อนๆ อยูเ่ รื่ อย
7. ข้อใดใช้ภาษาได้ถูกต้ อง
                          ่
   1. แม่คาขายส้มตาไก่ยางเป็ นอาชีพที่มีรายได้ดีและไม่ตกงาน
              ้
   2. อาหารประเภทยามีรสชาติเผ็ดร้อนกลมกล่อมถูกปากคนไทย
   3. แม้ ฐานะของเราจะไม่ ค่อยดี พ่ อแม่ กส่งเสี ยให้ ลูกทุกคนได้ เรียนจนจบมหาวิทยาลัย
                                           ็
            ่
   4. แม้วาชื่อเสี ยงของพ่อจะไม่เป็ นที่ประจักษ์แก่สายตาผูอื่น แต่ฉนก็ภูมิใจในตัวท่าน
                                                             ้        ั

8. ข้อใดใช้คาไม่ตรงความหมาย
    1. อาจารย์ปฐมท่านเป็ นพหูสูต คุณอ่านเรื่ องอะไรไม่เข้าใจก็ถามท่านได้ทุกเรื่ อง
    2. คนสมถะอย่างอาจารย์ชัยนาท ใครอย่าไปขอร้ องให้ ทาอะไรเลย ท่านไม่ ช่วยหรอก
    3. บ้านเล็กๆ หลังนั้นอาจารย์พงงาอาศัยอยูกบครอบครัวอย่างสันโดษ ไม่ค่อยติดต่อกับใคร
                                     ั            ่ ั
    4. บ้านอาจารย์ประจวบเล็กและแทบจะไม่มีของใช้ในบ้านเลย ท่านค่อนข้างอัตคัด
9. ข้อใดใช้คาได้ถูกต้องตามความหมาย
    1. เธอปั กผ้าผิดจึงต้องเราะออกแล้วปั กใหม่
    2. คุณปู่ ขลิบผมไฟหลานคนแรกเมื่ออายุครบเดือน
    3. เธอมีน้ าตากลบตาเมื่อฟังข่าวเด็กถูกทิ้งถังขยะ
    4. แม่ บอกลูกว่ าอย่ าปล่ อยผมยาวรุ่ ยร่ ายเวลาไปโรงเรียน
10. ข้อใดใช้คาถูกต้องตรงความหมาย
    1. วิชยทาผิดระเบียบของบริ ษทเป็ นครั้งแรกผูจดการจึงยอมผ่อนผันให้ลงโทษเพียงภาคทัณฑ์เท่านั้น
           ั                       ั                  ้ั
    2. บ้านของเขาถูกเวนคืน จึงโยกย้ายครอบครัวไปอยูกบน้องชายที่ต่างจังหวัด
                                                          ่ ั
    3. พอได้ฤกษ์ทาพิธีเปิ ดร้านใหม่ ฝนก็ตกประปรายลงมาพอดี
    4. คุณแม่ คัดเลือกมะม่ วงผลงามๆ ไว้ ทาบุญตอนเช้ า


                                              หน้ า 11
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

11. คาในข้อใดเหมาะสมที่จะใช้เติมในช่องว่างต่อไปนี้
          “เธอ…พวกเพื่อนๆ ที่ พากัน…เสนอผลงานให้เจ้านายโดยไม่รอเธอ เธอเสี ยใจมากแทบอยากจะ…
เพื่อนๆ จนฉันต้องเป็ นฝ่ าย…เหตุการณ์จึงค่อยสงบลง”
     1. ตัดรอน ตัดตอน ตัดทาง ตัดประเด็น
     2. ตัดพ้อ ตัดหน้ า ตัดขาด ตัดบท
     3. ตัดรอน ตัดหน้า ตัดญาติขาดมิตร ตัดประเด็น
     4. ตัดพ้อ ตัดบท ตัดรอน ตัดตอน
12. ข้อใดไม่มีคาพ้องความหมาย
     1. ไอยรา ราชสี ห์ กุญชร                    2. ลาธาร ชลาสิ นธุ์ มัจฉา
     3. เทเวศร์ อัจฉรา สุ รารักษ์               4. สิ งขร เวหาสน์ วนาดร


                                               บทที่ 3

                                คาไทยแท้ และคายืมภาษาต่ างประเทศ
คาไทยแท้

       หลักการสั งเกตคาไทยแท้
1. คาไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว
เช่น กิน นอน วิง ผัด จิก เคี้ยว ไล่ ตี ฉัน ข้า เขา เจ้า ท่าน มัน แก พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก ดิน น้ า ไฟ
                 ่
ตา หู ปาก ดี ขาว สู ง หอม กลม หนา แบน ใน นอก บน อ่าง ริ ม และ กับ แต่ ต่อ ถ้า แม้ จึง ฯลฯ
2. คาไทยแท้ส่วนใหญ่มกมีคากร่ อนเสี ยง
                           ั
คากร่ อนเสี ยงเหล่านี้เป็ นคาไทยแท้ เช่น
                   ฉะนั้น                กร่ อนมาจาก              ฉันนั้น
                   ตะขบ                  กร่ อนมาจาก              ต้นขบ
                   ตะเคียน               กร่ อนมาจาก              ต้นเคียน
                   ตะขาบ                 กร่ อนมาจาก              ต้นขาบ
                   มะพร้าว               กร่ อนมาจาก              หมากพร้าว
                   มะตูม                 กร่ อนมาจาก              หมากตูม
                   มะปราง                กร่ อนมาจาก              หมากปราง
                   ตะวัน                 กร่ อนมาจาก              ตาวัน
                   ตะปู                  กร่ อนมาจาก              ตาปู
                   สะดือ                 กร่ อนมาจาก              สายดือ
                   สะใภ้                 กร่ อนมาจาก              สาวใภ้

                                              หน้ า 12
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

3. คาไทยแท้มีตวสะกดตรงตามมาตรา
                   ั
                     แม่กก ใช้ “ก” สะกด         เช่น ผัก รัก มาก ลาก จาก ฯลฯ
                     แม่กบ ใช้ “บ” สะกด         เช่น ดับ ตับ สู บ ทุบ ยุบ พบ ฯลฯ
                     แม่กด ใช้ “ด” สะกด         เช่น มัด รัด ฟัด จุด สุ ด ชุด ฯลฯ
                     แม่กง ใช้ “ง” สะกด         เช่น วัง มุง ลุง ชัง นาง ฯลฯ
                                                                   ่
                     แม่กน ใช้ “น” สะกด         เช่น เรื อน ลาน ฟัน ปาน ฯลฯ
                     แม่กม ใช้ “ม” สะกด         เช่น ผม ลม สม ปูม เข็ม งม ฯลฯ
                     แม่เกย ใช้ “ย” สะกด        เช่น หาย ควาย ลาย นาย สวย ฯลฯ
                     แม่เกอว ใช้ “ว” สะกด       เช่น ผิว ดาว แมว ข้าว เหว ฯลฯ
ข้ อควรระวัง
บางคาสะกดตรงตามมาตราก็ไม่ใช่ไทยแท้ เช่น
                     โลก                  มาจาก                       บาลี สันสกฤต
                     กาย                  มาจาก                       บาลี สันสกฤต
                     ยาน                  มาจาก                       บาลี สันสกฤต
                     พน                   มาจาก                       บาลี สันสกฤต
                     ชน                   มาจาก                       บาลี สันสกฤต
                     มน                   มาจาก                       บาลี
คาเขมร มีดงนี้ จมูก เดิน จะบันหมาก ทะเลสาบ ละออง บายศรี เลอโฉม ดินสอ ปล้นสะดม เขลา ฯลฯ
           ั
4. คาไทยแท้ไม่มีการันต์
คาที่มีตวการันต์มาจากภาษาอื่น ยกเว้น 4 คานี้ (แม้มีตวการันต์ก็เป็ นไทยแท้) ผีว์ บ่าห์ เยียร์ อาว์
        ั                                             ั
5. คาไทยแท้มกปรากฏรู ปวรรณยุกต์
               ั
แต่มีอีกมากมายที่ไม่ปรากฏรู ปวรรณยุกต์ เช่น
                     พอ                   พ่อ                          พ้อ
                     แม                   แม่                          แม้
                     เสื อ                เสื่ อ                       เสื้ อ
                     ปา                   ป่ า                         ป้ า
6. คาไทยแท้มกไม่ปรากฏพยัญชนะต่อไปนี้ ฆ ณ ญ ฏ ฑ ฒ ฎ ธ ศ ษ ฬ
                 ั
ยกเว้นบางคาเป็ นไทยแท้ เช่น หญิงใหญ่ ณ ระฆัง ฆ่า เฆี่ยน ศอก เศิก ศึก ธ เธอ




                                                หน้ า 13
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

7. คาไทยแท้ใช้ “ใ ” 20 ตัว คือ
                ผูใหญ่หาผ้าใหม่
                  ้                    ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ
           ใฝ่ ใจเอาใส่ ห่อ            มิหลงใหลใครขอดู
           จะใคร่ ลงเรื อใบ            ดูน้ าใสและปลาปู
                     ่
           สิ่ งใดอยูในตู ้                    ่ ั่
                                       มิใช่อยูใต้ตงเตียง
           บ้าใบ้ถือใยบัว              หูตามัวมาใกล้เคียง
           เล่าท่องอย่าละเลี่ยง        ยีสิบม้วนจาจงดี
                                         ่

คาบาลี – สั นสกฤต
ภาษาบาลี       มีพยัญชนะ 33 ตัว สระ 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
ภาษาสันสกฤต มีพยัญชนะ 35 ตัว (เพิม ศ,ษ) สระ 18 ตัว (เพิม ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ)
                                      ่                   ่
               1            2             3         4                 5
ฐานคอ          ก            ข             ค         ฆ                 ง
ฐานเพดาน       จ            ฉ             ช         ฌ                 ญ
ฐานปุ่ มเหงือก ฏ            ฐ             ฑ         ฒ                 ณ
ฐานฟัน         ต            ถ             ท         ธ                 น
ฐานริ มฝี ปาก ป             ผ             พ         ภ                 ม
เศษวรรค        ยรลวสหฬo
สู ตรการจา     ยายเราเล่าว่าเสื อหิ วฬาตากลม

หลักการสั งเกตคาบาลี - สั นสกฤต
1. สั งเกตสระ            คาใดประสมด้วย ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา เป็ นคาสันสกฤต (เพราะบาลีไม่มีสระเหล่านี้)
เช่น ไวทย ฤษี เอารส ไมตรี เสาร์ เยาวชน นฤมล พฤศจิกายน ไอศูรย์ ฤดู ไปรษณี ย ์ ฯลฯ
2. สั งเกตพยัญชนะ        คาใดประสมด้วย ศ ษ เป็ นคาสันสกฤต
เช่น ภิกษุ ศาสนา พิษณุ กษัย พฤษภาคม ราษฎร รัศมี เกษตร มหัศจรรย์ ศักดิ์ ฯลฯ
3. สั งเกตคาควบกลา คาใดมีคาควบกล้ าเป็ นคาสันสกฤต (เพราะบาลีไม่นิยมควบกล้ า)
                     ้
เช่น ประถม จักร ปราชญ์ อัคร อินทร์ บุตร เนตร สตรี ราตรี จันทรา นิทรา กษัตริ ย ์ ฯลฯ
4. สั งเกต “รร” คาใดที่มี “รร” เป็ นคาสันสกฤต (เพราะบาลีไม่มี “รร”)
เช่น ธรรม จรรยา พรรษา สรรพ กรรม สวรรค์ วิเคราะห์ ฯลฯ
5. สั งเกต “เคราะห์ ” คาใดที่มี “เคราะห์” เป็ นคาสันสกฤต เช่น อนุเคราะห์ สังเคราะห์ สงเคราะห์ ฯลฯ
6. สั งเกต ตัวสะกด ตัวตาม
    คาใดมีตวสะกด แล้วมีอกษรตามมา 1 ตัว (เบิ้ล) มาจาก บาลี
             ั             ั
    ตัวสะกดตัวตามต้องเป็ นพยัญชนะวรรคเดียวกันจะเป็ นไปตามกฎนี้

                                              หน้ า 14
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

    6.1 พยัญชนะแถวที่ 1 เป็ นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวที่ 1 หรื อ 2 ในวรรคเดียวกันตาม
          เช่น สัจจะ สัตตะ อัตตะ สักกะ รุ กข ปัจฉิม ทุกข์ บุปผา ฯลฯ
    6.2 พยัญชนะแถวที่ 3 เป็ นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวที่ 3 หรื อ 4 ในวรรคเดียวกันตาม
          เช่น วิชชา อัคคี พยัคฆ์ พุทธ วัทฒน อัชฌาศัย ฯลน
    6.3 พยัญชนะแถวที่ 5 เป็ นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวไหนก็ได้ในวรรคเดียวกันตาม
          เช่น สังกร องค์ สงฆ์ กัณฑ์ จันทนา บัญญัติ ฯลฯ
    6.4 เศษวรรคสะกดตามตัวเอง
          เช่น เวสสันดร วัลลภ อัยยิกา ฯลฯ
                                                   หมายเหตุ
ภาษาสันสกฤตมีตวสะกดตัวตามก็จริ ง แต่ไม่เป็ นไปตาม 6.1 – 6.3
                   ั
เช่น อัคนี มุกดา รักษา วิทยา สัตว์ อาชญา ฯลฯ
                                                 คาเขมร

หลักการสั งเกตคาเขมร
1. คาเขมรมักสะกดด้วย จ ญ ล ร ส ย และมักจะไม่มีตวตามั
สู ตรการจา จาน หญิง ลิง เรื อ เสื อ
    จ สะกด เช่น อานาจ เสร็ จ สมเด็จ ตารวจ ฯลฯ
    ญ สะกด เช่น เพ็ญ เผอิญ สาราญ ผจญ ครวญ ชานาญ ฯลฯ
    ล สะกด เช่น กังวล ถกล ถวิล ดล ดาล จรัล กานัล ฯลฯ
    ร สะกด เช่น ขจร อร กาธร ควร ฯลฯ
    ส สะกด เช่น ดารัส จรัส ตรัส ฯลฯ
2. คาที่มาจากเขมรมักเป็ นคาควบกล้ า
เช่น กรวด กระบือ เกลือ ขลาด กระแส ไพร ตระกอง โปรด กราน กรม กระทรวง กระเพาะ โขลน ฯลฯ
3. คาที่มาจากเขมรมักใช้อกษรนา
                         ั
เช่น โฉนด เขม่า ขนอง ขลาด เขลา จมูก ถวาย ฉนา เฉลียง ถวาย ขนุน ขยา ฉลู ฯลฯ
4. คาที่มาจากเขมร มักขึ้นต้นด้วย บัง บัน บา (เพราะมาจาก บ เติมคาหน้า)
เช่น บัง บังควร บังอาจ บังคม บังคับ บังเกิด
       บัน บันทึก บันเทิง บันดาล บันได
       บา บาเพ็ญ บานาญ บาเหน็จ บาบัด
5. คาที่มากจากเขมรมักขึ้นต้นด้วย กา คา จา ชา ดา ตา ทา สา อา
เช่น กาหนด คารบ จาแนก ชานาญ ชารุ ด ดาเนิน ดารัส ตารวจ ตารา ทานบ สาราญ อานวย ฯลฯ
ข้อสังเกต ภาษาบาลี, สันสกฤต และเขมร มักไม่มีวรรณยุกต์กากับ


                                            หน้ า 15
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

        คายืมจากภาษาจีน และภาษาชวา
การเขียนคาที่มาจากภาษาจีน และภาษาชวาใช้หลักง่าย ๆ
คือ เขียนรู ปตามเสี ยงที่ออก หรื อได้ยนโดยใช้ตวสะกดตรงตามมาตรา และมักใช้รูปวรรณยุกต์กากับเสี ยง
                                         ิ         ั
          คายืมจากภาษาตระกูลยุโรป
1. ใช้ ศัพท์บัญญัติ คือ การกาหนดคาไทย บาลี สันสกฤต หรื อเขมร ที่มีความหมาย หรื อสื่ อความหมาย
                         เหมือนศัพท์คาเดิม อาจใช้ในการแปลคาศัพท์ หรื อสร้างคาศัพท์ก็ได้
                          เช่น vision - วิสัยทัศน์
                                 bus - รถโดยสารประจาทาง
                                 stamp - ดวงตราไปรษณี ยากร
2. การทับศัพท์ คือ การถอดรู ปอักษรจากต้นฉบับเป็ นอักษรไทย
                 ยึดหลักตามราชบัณฑิตสภา ดังนี้
                      2.1 ถอดรู ปอักษรตัวต่อตัวตามแนวเทียบ มักไม่ใช้รูปวรรณยุกต์
                            เช่น clinic – คลินิก
                                      computer – คอมพิวเตอร์
                                      dollar – ดอลลาร์
                             guitar – กีตาร์
                      2.2 คาบางคาที่เคยใช้รูปวรรณยุกต์อนุโลมให้ใช้ได้
                              เช่น แท็กซี่ ท็อฟฟี่ เค้ก เป็ นต้น
3. ศัพท์เทคนิค หรือชื่อเฉพาะ สามารถใช้ทบศัพท์ได้ แต่ยดหลักการใช้แนวเทียบตัวอักษร
                                                ั               ึ

อ้างอิง
ประสิ ทธิ์ กาพย์กลอน และไพบูลย์ ดวงจันทร์ , 2527, ความรู ้เกี่ยวกับภาษาไทย, กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช
ราชบัณฑิตยสถาน, 2539, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, กรุ งเทพฯ: อักษรเจริ ญทัศน์
อุปกิตศิลปสาร, 2531, หลักภาษาไทย, กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช

                                               ตัวอย่างข้ อสอบ
                               เรื่องคาไทยแท้และคายืมภาษาต่ างประเทศ
1. ข้อใดเป็ นคาไทยแท้ทุกคา (O-Net 49)
      1. รู ้กินเพิ่มพลังงาน            รู ้อ่านเพิ่มกาลังปั ญญา
      2. น้ ามันขาดแคลน                 คุยกับแฟนก็ตองดับไฟ
                                                          ้
      3. รักบ้ านต้ องล้อมรั้ว          รักครอบครัวต้ องล้อมรัก
      4. ภาษาบอกความเป็ นชาติ           เอกราชบอกความเป็ นไทย

                                              หน้ า 16
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

2. ข้อใดไม่ มีคาที่มาจากภาษาเขมร (A-Net 49)
       1. โปรดเอื้อเฟื้ อแก่เด็กและคนชรา                2. เราจะไปรับหลานสาวทีสถานีบางซื่อ
                                                                                    ่
       3. นวนิยายเรื่ องนี้ดาเนินเรื่ องได้กระชับดี 4. เขาเป็ นคนเจ้าสาราญมาตั้งแต่ยงหนุ่ม ั
3. ข้อใดไม่มีคาที่มาจากภาษาบาลีหรื อภาษาสันสกฤต (ข้อสอบ O NET 2551)
   1. เราต้องใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง                  2. อย่าเลี้ยงลูกให้เป็ นเทวดา
   3. ชื่ อของเขาอยู่ในทาเนียบรุ่ น            4. ภรรยาของเขาทางานอยูที่นี่    ่
4. ข้อใดมีคาที่มาจากภาษาต่างประเทศมากที่สุด (กข/2540)
       1. จงเจริ ญชเยศด้วย เดชะ                               2. ปราชญ์แสดงดาริ ดวย ไตรยางศ์
                                                                                  ้
       3. อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ                           4. บัณฑิตวินิจเลิศ แถลงสาร
5. คาประพันธ์ต่อไปนี้คายืมมาจากภาษาต่างประเทศรวมกี่คา (สามัญ 2/2539)
       “บารุ งบิดามา                  ตุระด้ วยหทัยปรี ย์
       หากลูกและเมียมี ก็ถนอมประหนึ่งตน”
       1. 5 คา               2. 6 คา                          3. 7 คา                   4. 8 คา
6. คาซ้อนทุกคาในข้อใดเกิดจากคาไทยทั้งหมด (สามัญ 1/2541)
   1. ภูเขา ข้าทาส         2. ข้าวของ มูลค่า            3. แก่นสาร กาลเวลา 4. แก่เฒ่ า หยาบช้ า
7. ข้อใดใช้คาภาษาต่างประเทศโดยไม่จาเป็ น (2/2543)
                                   ่
       1. เมื่อไฟดับควรตรวจดูวาเป็ นเพราะฟิ วส์ขาดหรื อปลักหลุด     ๊
       2. เด็ก ๆ ชอบรับประทานไอศกรี มช็อกโกแลตมากกว่าไอศกรี มกะทิสด
       3. ก่อนเข้ าแบงก์ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ ต้ องถอดหมวกกันน็อกและแว่นตาดาออก
       4. นักกอล์ฟหลายคน อยากเปลี่ยนวงสวิงให้คล้ายกับไทเกอร์ วดส์ เพื่อให้ตีลูกได้แม่นและไกล
                                                                             ู
8. ข้อใดจาเป็ นต้องใช้คาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ (1/2544)
       1. โรงพิมพ์ส่งงานพิมพ์มาให้ตรวจปรู๊ ฟที่สองแล้ว
       2. ห้างสรรพสิ นค้าที่เปิ ดใหม่มกจะมีของแถมแจกฟรี แก่ลูกค้า
                                          ั
       3. นักศึกษาที่เรี ยนได้เกรดเอ ห้าวิชาในเทอมใดจะได้รับการยกเว้นค่าหน่วยกิตในเทอมต่อไป
       4. นักกีฬาวีลแชร์ ของไทยได้ เหรียญทอง จากการแข่ งขันกีฬาคนพิการทีประเทศออสเตรเลีย
                                                                                      ่
9. ข้อใดใช้คาภาษาต่างประเทศ โดยไม่จาเป็ น (2/2544)
       1. เวลาไปเที่ยวป่ า ฉันชอบสวมกางเกงยีนส์และหมวดแก๊ป
       2. ขณะนี้น้ ามันเบนซิ นราคาแพงมาก อีกทั้งแก๊สก็กาลังขึ้นราคา
       3. พอถึงสนามหลวง คนขับรถเมล์เหยียบเบรกกะทันหันจนเราหัวคะมา
       4. ที่ทางานของฉันกาลังซ่อมลิฟต์ ที่หองทางานก็ตองซ่อมสวิตช์ไฟด้วย
                                                 ้               ้




                                               หน้ า 17
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

10. ข้อใดจาเป็ นต้องใช้คาต่างประเทศ (O-Net 49)
       1. ราคานามันดีเซลและเบนซินขึน ๆ ลง ๆ ตามกลไกการตลาด
                      ้                       ้
       2. รัฐบาลประกาศกาจัดคอร์ รัปชันให้หมดไปจากประเทศไทย
                                            ่
       3. ยักษ์ใหญ่มือถือทุ่มโปรโมชันใหม่ ๆ เฉื อนกันดุเดือน
                                          ่
       4. เวลาขับรถต้องคาดเซฟตีเบลต์ทุกครั้ง
11. ข้อใดเขียนคาทับศัพท์ภาษาอังกฤษได้ถูกต้องทุกคา (O-NET 50)
        1. เปอร์เซ็น พลาสติค                    คลินิก 2. ซอส           เต็นท์           เบนซิน
        3. กร๊ าฟ          ช้อค                 สปริ ง 4. สวิตซ์        เชิ้ต            ดีเปรสชัน่
12. ข้อใดไม่มีคาภาษาไทยแทนคาภาษาต่างประเทศ (O-NET 50)
        1. วัยรุ่ นส่ วนใหญ่ชอบร้องเพลงฮิตติดอันดับ    2. รัฐบาลมีโปรเจ็กต์พฒนาชนบทมากมาย
                                                                               ั
        3. พ่อค้ารับออร์ เดอร์ สงสิ นค้าจากอเมริ กา
                                ่ั                     4. ปัจจุบันอินเทอร์ เน็ตมีความจาเป็ นอย่างยิง่

                                                บทที่ 4
                                              การสร้ างคา

1. คาประสม หมายถึง การเอาคามารวมกันให้เกิดความหมายใหม่ (คาประสม = คาต้น + คาเติม)
    - คาประสมจะมีความหมายโดยตรงหรื อโดยนัยก็ได้
    - คาประสมเกิดจากคาต่างชนิดรวมกันเมื่อปะสมกันแล้วอาจเป็ นคาชนิดเดิมหรื อชนิดใหม่ก็ได้
    เช่น แม่(นาม) + พริ ก(นาม) = น้ าพริ ก (นาม) ห่อ (กริ ยา) + หมก (กริ ยา) = ห่อหมก (นาม)
    - ถ้าขึ้นต้นด้วย การ ของ เครื่ อง ควา ช่าง ชาว ผู ้ ที่ นัก หมอ มักเป็ นคาประสม
2. คาซ้ อน มี 2 ประเภท
    2.1 คาซ้อนเพื่อความหมาย มี 3 ลักษณะ
            (1) คาซ้อนที่เกิดจากการนาคาที่ความหมายเหมือนกันมาซ้อนกัน เช่น ใหญ่โต สวยงาม บ้านเรื อน
ทรัพย์สิน ข้ อสอบชอบออกคาซ้ อนภาษาไทยภาษาถิ่น เช่ น พัดวี ทองคา เสื่ อสาด เป็ นต้น
            (2) คาซ้อนที่เกิดจากการนาคาที่ความหมายคล้ ายกันมาซ้อนกัน เช่น เงินทอง เพชรพลอย หน้าตา แขน
ขา
            (3) คาซ้อนที่เกิดจากการนาคาที่ความหมายตรงข้ ามกันมาซ้อนกัน เช่น เป็ นตาย ร้ายดี ถี่ห่าง
    2.2 คาซ้อนเพื่อเสี ยง ต้องมีพยัญชนะต้นเป็ นเสี ยงเดียวกันโดยที่แต่ละคาจะมีความหมายหรื อไม่มีก็ได้
    เช่น เกะกะ งอแง จอแจ เจี๊ยวจ๊าว เตาะแตะ ฟูมฟาย อึดอัด ฯลฯ
    คาซ้อนจะมีความหมาย กว้างขึ้นแคบลง คงเดิม หรื อเปลี่ยนไปก็ได้




                                                หน้ า 18
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

3. คาซ้า หมายถึง การใช้คาเดิมซ้ ากันสองครั้ง คาที่ใช้ซ้ าสามาถแทนด้วยไม้ยมก (ๆ) ได้
    ความหมายของคาซ้ า ได้แก่ บอกลักษณะ บอกพหูพจน์ เพิ่มจานวน บอกความถี่(ความต่อเนื่ อง) ไม่เจาะจง
อ่อนลง เน้นย้า เปลี่ยนความหมาย
4. คาสมาส เป็ นการสร้างคาแบบบาลีลนสกฤต โดยแบ่งเป็ น 2 วิธี คือ สมาสแบบไม่มีสนธิ (ชนคา) และสมา
                                            ั
แบบมีสนธิ (เชื่อมคา)
    กฎของคาสมาสมี 3 ข้อ
    1. คาที่นามาสมาสกันต้องเป็ นคาบาลีสัสนกฤตเท่านั้น
    2. แปลความหมายจากหลังไปหน้า
    3. อ่านออกเสี ยงต่อเนื่องระหว่างคา
    4.1คาสมาสแบบไม่ มีสนธิ (ชนคา)
    เช่น คุณธรรม (คุณ+ธรรม) ราชการ (ราช +การ) สัตวแพทย์(สัตว์ + แพทย์) ชีววิทยา (ชีวะ+วิทยา)
    ถ้าเจอคาใดที่ ลงท้ายด้วย ธรรม ศาสตร์ สถาน ศึ กษา กิ จ กรรม วิทยา กร ภาพ ศิ ลป์ การ ภัย = มักเป็ น
คาสมาสแบบไม่มีสนธิ
    4.2 คาสมาสแบบมีสนธิ (เชื่อมคา) ***โจทย์เน้นเฉพาะ สระสนธิ เท่านั้น
    1. สระสนธิ เช่ น ชลาลัย (ชล+อาลัย) ปรมินทร์ (ปรม+อินทร์ ) ราชูปถัมภ์ (ราช+อุปถัมภ์) จุฬาลงกรณ์
(จุฬา +อลงกรณ์) สุ ริยโยทัย (สุ ริยะ+ อุทย)
                                          ั
    2. พยัญชนะสนธิ จาเป็ นคาไปเลยเพราะมีแค่ไม่กี่คา ได้แก่ พรหมชาติ อาตมภาพ รโหฐาน มโนภาพ
เตโชธาตุ นิรทุกข์ นิรภัย ทุรชน ทรชน ฯลฯ
    3. นิคหิ ตสนธิ สังเกตคาที่ข้ ึนต้นด้วย สง สัง สัม สัญ สัณ สมา สมุ สโม

                                      ตัวอย่ างข้ อสอบบทที่ 4
                                         เรื่องการสร้ างคา
1. คาประสมทุกคาในข้อใดมีโครงสร้างเหมือนคาว่า “เครื่ องซักผ้า” (O-NET 50)
     1. ผ้าขาวม้า หม้อหุงข้าว                                     ้ั
                                                2. แปรงสี ฟัน ตูกบข้าว
     3. รถไถนา น้ าพริ กเผา                     4. ยาหยอดตา ไม้ จิมฟัน
                                                                     ้
2. ข้อใดเป็ นคาประสมทุกคา (O-Net 49)
        1. บ้านเรื อน พ่อแม่        ลูกหลาน
        2. ขาดเหลือ บ้านนอก          อ้วนพี
        3. ห่อหมก         ชัวดี
                            ่        บ้านพัก
        4. กล้วยไม้       เสื้อคลุม  แผ่นเสี ยง




                                              หน้ า 19
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

3. ข้อความต่อไปนี้มีคาประสมจานวนเท่าใด (ไม่นบคาซ้ า)   ั
             “ปั จจุบนสิ นค้าต่าง ๆ ที่ขายได้ ไม่ได้ขายด้วยคุณภาพอย่างเดียวแล้ว แต่ขายด้วยภาพลักษณ์ ที่ดีดวย
                     ั                                                                                              ้
      นันหมายความว่าห้างนั้นบริ ษทนั้นมี ชื่อเสี ยงดี มี สินค้าดี มี ภูมิหลังดี และสิ นค้านั้นเป็ นที่ น่าเชื่ อถื อใน
        ่                                 ั
      วงการค้า”
      1. 4 คา                 2. 5 คา           3. 6 คา                    4. 7 คา
4. ข้อความต่อไปนี้มีคาซ้อนกี่คา (O-Net 49)
                     การระเบิดของภูเขาไฟทาให้หินร้อนจากใต้พิภพดันตัวขึ้นมาเหนื อผิวโลก ก่อให้เกิดคลื่น
          ยักษ์ถาโถมเข้าทาลายบ้านเรื อนและชี วิต ท้องทะเลปั่ นป่ วน ท้องฟ้ ามืดมิดทาให้ผคนหวาดกลัวคิด
                                                                                              ู้
          ว่าโลกจะแตก
          1. 4 คา                       2. 5 คา                     3. 6 คา             4. 7 คา
5. ข้อใดไม่มีคาซ้อน (ฉบับตุลาคม 2546)
      1. ธรรมดาเกิดมาเป็ นสตรี ชัวดีคงได้คู่มาสู่ สม
                                      ่
                                    ั
      2. ตาปะขาวเฒ่าแก่แซ่กนมา พร้อมนังปรึ กษาที่วดนั้น
                                              ่             ั
      3. ได้ถือน้ าพระพิพฒน์สจจา จะหลบลี้หนีหน้าไปทาไม
                             ั ั
      4. แสนรโหโอฬาร์ น่าสบาย หญิงและชายต่ างกลุ้มประชุ มกัน
6. ข้อใดไม่มีคาซ้อน (๒/๒๕๔๕)
      1. หน้าตาของสลวยดูสดใสขึ้นเมื่อทราบข่าวคนรักของเธอ
      2. สาลินไม่รู้จกมักคุนกับอัศนียแต่เขาก็มาชวนเธอทางาน
                          ั       ้         ์
      3. รจนาตกอยู่ในวังวนของความทุกข์ ทดูจะหาทางออกไม่ ได้
                                                    ี่
      4. กนกเรขาไม่เดือดร้อนที่คนเข้าใจผิดเรื่ องการทางานของเธอ
7.ข้อใดเป็ นคาซ้อนทุกคา(A-NET 50)
   1. ลอดลายมังกร สิ งห์สาราสัตว์ น้ าท่า                 2.โมโหโกรธา ดั้งเดิม ปางก่อน
   3.เสกสรร เก็บงา บาปบุญคุณโทษ                          4.วิชาความรู้ ข้าวปลาอาหาร แม่ไม้มวยไทย
8.ข้อใดมีคาที่สลับคาแล้วไม่เป็ นคาซ้อน(A-NET 50)
   1. ปนปลอม ยียวน                                       2. ร่ อนเร่ เลือนราง
   3. ทนทาน โลมเล้า                                      4. กลับกลอก ลอกเลียน
9. ข้อใดไม่มีคาซ้อน (O-NET 50)
     1. กินข้าวเสร็ จแล้วต้องช่วยกันเก็บถ้วยชามให้เรี ยบร้อย
     2. ประชาชนกาลังยื้อแย่งกันซื้ อเสื้ อเหลืองที่เมืองทองธานี
     3. เด็กวัยรุ่ นทุกวันนี้ชอบกินเหล้าเมายาประพฤติตนเหลวแหลก
     4. รัฐบาลยอมให้ ราคานามันลอยตัวได้ จึงทาให้ นามันมีราคาแพง
                                ้                         ้



                                                     หน้ า 20
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

10. ข้อใดมีท้ งคาซ้อนและคาประสม (A-Net 49)
                ั
        1. ของของใคร ของใครก็ห่วง ของใครใครก็ตองหวง ห่วงใยรักใคร่ ถนอม
                                                                 ้
        2. ชอบไหม ชอบไหม รู ปร่ างหน้าตาอย่างนี้ ถามหน่อยเถอะพี่ ชอบไหม ชอบไหม
         3. น้ องเปิ้ ลน่ ารัก น้ องเปิ้ ลน่ ารัก ผมเหงาอ้ างว้ างเปล่ าเปลียว ผมอยู่คนเดียวในความมืด
                                                                               ่
        4. ไก่ไหมครับไก่ ซื้ อไหมครับ จะกลับแล้วไก่ ไก่ขายถูกถูกแถมกระดูกกับไม้เสี ยบไก่
11. ข้อใดไม่ ใช้คาซ้ า (A-Net 49)
        1. มีความเหงาเยียบเย็นเป็ นที่อยู่
            วันวันรับรู ้การไหลผ่าน
        2. เยียมเยียมมองมองแล้วร้องว่า
               ่ ่
            อะไรนี่บ่นบ้าน่าหนวกหู
        3. สงสารใจใจเจ้ าเอยไม่ เคยว่าง
            ทุกก้ าวย่ างหยุดใจไม่ ได้ หนอ
        4. ปูนอยน้อยวิงร่ อยตามริ มหาด
                  ้         ่
            ทั้งสองมาดหมายตะครุ บปุบเปิ ดหาย
12. คาซ้ าในข้อใดไม่สามารถใช้เป็ นคาเดี่ยวได้ (O-NET 50)
    1. กับข้ าวพืน ๆ ใครก็ทาได้
                    ้                                              2. แท็กซี่ คนไหน ๆ ก็ไม่รับฉันสักคัน
                                                                                 ั
    3. หาซื้ อเมล็ดพันธุ์ดี ๆ มาเพาะปลูก                           4. จุดตะเกียงกระป๋ องเล็ก ๆ ท่องหนังสื อ
13. คาซ้ าในข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น (ฉบับตุลาคม 2546)
      1. น้อยมีเสื้ อผ้าสวยเป็ นตูๆ ้                                   2. เมื่อตอนเด็กๆ ฉันไม่ ชอบว่ายนา
                                                                                                        ้
      3. ฉันเห็นทหารเดินมาเป็ นแถวๆ                                     4. เขาไปเที่ยวกับเพื่อนๆ ในวันอาทิตย์
14. ข้อใดเป็ นคาสมาสทุกคา (ฉบับตุลาคม 2546)
      1. พลความ นาฏศิลป์ สรรพสัตว์                          2. ชลบุรี ธนบัตร พิธีกร
      3. ราชดาเนิน สหกรณ์ ชีวประวัติ                        4. ยุทธวิธี คริ สตจักร เอกภาพ
15. ข้อใดไม่ มีคาสมาส (O-Net 49)
        1. ในลักษณ์น้ นว่าปั จจามิตร
                              ั                             มาตั้งติดดาหากรุ งใหญ่
        2. ผงคลีมืดคลุ้มโพยมบน                              บดบังสุ ริยนในท้ องฟา    ้
        3. ตรัสขาดว่าราชบุตรี                               จรกาธิ บดีมากล่าวขาน
        4. เกียรติยศจะไว้ในธรณิ นทร์                        จนสุ ดสิ้ นดินแดนแผ่นฟ้ า
16. ข้อใดไม่มีคาสมาส (O-NET 50)
    1. บทความบางเรื่องมีแผนภูมิประกอบ
    2. คณะนาฏศิลป์ ไทยไปแสดงต่างประเทศ
    3. หนังสื อที่มีอายุครบ 50 ปี แล้วไม่มีค่าลิขสิ ทธิ์
    4. ทหารที่สละชีพเพื่อชาติได้รับการยกย่องให้เป็ นวีรบุรุษ
                                                       หน้ า 21
เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

17. ข้อใดเป็ นคาสมาสที่มีสนธิทุกคา (O-NET 50)
    1. โลกาภิวตน์ เอกภพ ศานติสุข
                  ั                                         2. สิ งหาสน์ วชิ ราวุธ นิลบล
                                                                                      ุ
    3. ฉัพพรรณรังสี อิทธิ ฤทธิ์ ปริ ศนา                     4. มโหฬาร เจตนารมณ์ เบญจเพส
18. ข้อใดเป็ นคาสมาสที่มีสนธิทุกคา (1/2547)
      1. ทิวากร อมริ นทร์ รัตติกาล                      2. สรรพางค์ ธันวาคม อรัญวาสี
      3. กุศโลบาย มิจฉาทิฐิ บุญญาธิการ 4. ธรรมาสน์ มหัศจรรย์ อรุ โณทัย
19. การสร้างคาในข้อใดมีลกษณะต่างจากข้ออื่น (A-Net 49)
                                ั
        1. อุทกภัย            คณิ ตศาสตร์         มนุษยชาติ
        2. กาลเทศะ ธุ รกิจ                        แพทยศาสตร์
        3. อุณหภูมิ           เทพบุตร             ประวัติศาสตร์
        4. ภัตตาคาร อรุ โณทัย                     วชิ ราวุธ
20. ข้อใดมีคาที่เกิดจากการสร้างคามากชนิดที่สุด (ฉบับตุลาคม 2546)
      1. ผู้สูงอายุควรรู้ จักดูแลสุ ขภาพให้ แข็งแรง
      2. ใบหน้ายิมแย้มของเธอทาให้ความโกรธของเราเบาบางลง
                    ้
      3. ถ้าอยากเป็ นคนน่ารักอย่างไทย จิตใจควรงามและเป็ นธรรม
      4. หัวใจของศาสนาพุทธคือละชัว ทาดี และทาจิตใจให้ผองแผ้ว
                                        ่                         ่




                                               หน้ า 22
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51Prechaya Kham
 
การบันเทิงในกองลูกเสือ
การบันเทิงในกองลูกเสือการบันเทิงในกองลูกเสือ
การบันเทิงในกองลูกเสือBANLU Daendongying
 
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2Anawat Supappornchai
 
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-1page
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-1pageAmazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-1page
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-4page
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-4pageAmazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-4page
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
O net ป6 52 สอบ53
O net ป6 52 สอบ53O net ป6 52 สอบ53
O net ป6 52 สอบ53Kruwanlapa
 
การงานอาชีพฯ ศิลปะ
การงานอาชีพฯ  ศิลปะการงานอาชีพฯ  ศิลปะ
การงานอาชีพฯ ศิลปะNirut Uthatip
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)woottipol2
 

Tendances (15)

บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
การชุมนุมรอบกองไฟ
การชุมนุมรอบกองไฟการชุมนุมรอบกองไฟ
การชุมนุมรอบกองไฟ
 
ไทยจ้ะ
ไทยจ้ะไทยจ้ะ
ไทยจ้ะ
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
Sk8 tha
Sk8 thaSk8 tha
Sk8 tha
 
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O netข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
 
การบันเทิงในกองลูกเสือ
การบันเทิงในกองลูกเสือการบันเทิงในกองลูกเสือ
การบันเทิงในกองลูกเสือ
 
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
 
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-1page
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-1pageAmazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-1page
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-1page
 
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-4page
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-4pageAmazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-4page
Amazing Thailandt+Queen Projects2+ป.1+109+dltvengp1+55t2eng p01 f18-4page
 
O net ป6 52 สอบ53
O net ป6 52 สอบ53O net ป6 52 สอบ53
O net ป6 52 สอบ53
 
การงานอาชีพฯ ศิลปะ
การงานอาชีพฯ  ศิลปะการงานอาชีพฯ  ศิลปะ
การงานอาชีพฯ ศิลปะ
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
 

En vedette

MechEng_Worlds Linkedin
MechEng_Worlds LinkedinMechEng_Worlds Linkedin
MechEng_Worlds LinkedinJasmine Worlds
 
Departemen PSDM HIMASKOM 2013
Departemen PSDM HIMASKOM 2013Departemen PSDM HIMASKOM 2013
Departemen PSDM HIMASKOM 2013Elad Oktarizo
 
Abecedario
AbecedarioAbecedario
AbecedarioPili
 
Pablo Gargallo
Pablo GargalloPablo Gargallo
Pablo Gargallopersefoni
 
Joaquín Sorolla
Joaquín SorollaJoaquín Sorolla
Joaquín Sorollapersefoni
 
No estas sola
 No estas sola No estas sola
No estas solacrissia79
 
Antonio Ramos - La asimetría en el mercado de la seguridad [RootedCON 2011]
Antonio Ramos - La asimetría en el mercado de la seguridad [RootedCON 2011]Antonio Ramos - La asimetría en el mercado de la seguridad [RootedCON 2011]
Antonio Ramos - La asimetría en el mercado de la seguridad [RootedCON 2011]RootedCON
 
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์pattarawee
 

En vedette (20)

การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทยการพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
 
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodleคู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
 
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
 
ยาสระผมกับดอกอัญชัน
ยาสระผมกับดอกอัญชันยาสระผมกับดอกอัญชัน
ยาสระผมกับดอกอัญชัน
 
เพชรพระอุมา เล่มที่ 01 ตอน ไพรมหากาฬ
เพชรพระอุมา เล่มที่ 01 ตอน ไพรมหากาฬเพชรพระอุมา เล่มที่ 01 ตอน ไพรมหากาฬ
เพชรพระอุมา เล่มที่ 01 ตอน ไพรมหากาฬ
 
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษาใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
 
MechEng_Worlds Linkedin
MechEng_Worlds LinkedinMechEng_Worlds Linkedin
MechEng_Worlds Linkedin
 
Perfil emprendedor yorley díaz
Perfil emprendedor yorley díazPerfil emprendedor yorley díaz
Perfil emprendedor yorley díaz
 
Departemen PSDM HIMASKOM 2013
Departemen PSDM HIMASKOM 2013Departemen PSDM HIMASKOM 2013
Departemen PSDM HIMASKOM 2013
 
Skt migas 2
Skt migas 2Skt migas 2
Skt migas 2
 
Abecedario
AbecedarioAbecedario
Abecedario
 
Pablo Gargallo
Pablo GargalloPablo Gargallo
Pablo Gargallo
 
Joaquín Sorolla
Joaquín SorollaJoaquín Sorolla
Joaquín Sorolla
 
Apresentação2
Apresentação2Apresentação2
Apresentação2
 
2010
20102010
2010
 
No estas sola
 No estas sola No estas sola
No estas sola
 
Vestidos
Vestidos Vestidos
Vestidos
 
Antonio Ramos - La asimetría en el mercado de la seguridad [RootedCON 2011]
Antonio Ramos - La asimetría en el mercado de la seguridad [RootedCON 2011]Antonio Ramos - La asimetría en el mercado de la seguridad [RootedCON 2011]
Antonio Ramos - La asimetría en el mercado de la seguridad [RootedCON 2011]
 
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 คณิตศาสตร์
 

Similaire à กวดวิชาภาษาไทย O net

ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นkruthai40
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)Nok Yaowaluck
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าNok Yaowaluck
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยwisita42
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 

Similaire à กวดวิชาภาษาไทย O net (20)

สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยายสอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊า
 
Inthawong
InthawongInthawong
Inthawong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
วสันต
วสันตวสันต
วสันต
 
วิช
วิชวิช
วิช
 
อินทร๑๑
อินทร๑๑อินทร๑๑
อินทร๑๑
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

กวดวิชาภาษาไทย O net

  • 1. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ประมวลรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 1. ภาษาศาสตร์ ว่าด้วยลักษณะเฉพาะของภาษาไทย ข้อสอบประกอบด้วย ระบบเสี ยงในภาษาไทย พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ พยัญชนะ มักถามเรื่ อง พยัญชนะต้นเดี่ยว พยัญชนะควบกล้ า พยัญชนะท้าย มาตราตัวสะกดแม่ต่างๆ พยางค์เปิ ด พยางค์ปิด สระ มักถามเรื่ องสระเสี ยงสั้น สระเสี ยงยาว สระประสม โดยมีตวลวงคือรู ปสระที่ไม่ตรงกับเสี ยงสระ ั วรรณยุกต์ มักให้ผนวรรณยุกต์ตามข้อความที่กาหนด ข้อควรระวังคือการตอบให้ตรงคาถาม ั โครงสร้ างของพยางค์ ความเหมือน ความแตกต่างของพยางค์ คาเป็ น - คาตาย ธรรมชาติของภาษา การเปลี่ยนแปลงของภาษา ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย คาไทยแท้ – คายืม (คาบาลี คาสันสกฤต คาเขมร คาต่างประเทศตระกูลยุโรป) การสร้างคาการเพิ่มคา คาประสม คาซ้อน คาซ้ า คาสมาสทั้งคาสมาสที่ไม่มีสนธิ และคาสมาสแบบมีสนธิ 2 หลักภาษา ข้อสอบมักออกเรื่ องความถูกต้องตามหลักภาษาไทย ประโยค กลุ่มคา ประโยคสมบูรณ์ การ เน้นประโยค(รู ปประโยค) เจตนาของประโยค โครงสร้างของประโยค ชนิดของประโยค (ความเดียว ความรวม ความซ้อน) ข้อบกพร่ องของประโยค ก. การใช้คาฟุ่ มเฟื อย / กะทัดรัด ข. การใช้ภาษากากวม / ชัดเจน ค. การวางส่ วนขยายผิดที่ ง. การใช้สานวนต่างประเทศ จ. ความสัมพันธ์ของประโยค ฉ. ประโยคไม่ครบกระแสความ ช. การใช้คาผิดหน้าที่หรื อความหมายในประโยค 3. การใช้ คา – สานวน และการใช้ โวหาร การใช้คาให้ตรงกับความหมาย การใช้คาราชาศัพท์ ระดับของภาษา หน้าที่และชนิดของคา การใช้คาเชื่อม การใช้สานวน การใช้โวหาร หน้ า 1
  • 2. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 4. วรรณคดีและความงามของภาษา การสรรคา การเล่นเสี ยง ลักษณะเด่นและศิลปะในการแต่งคาประพันธ์ ฉันทลักษณ์ และลักษณเด่นของฉันทลักษณ์ (คาเอก คาโท คาครุ คาลหุ ) การใช้ภาพพจน์ในวรรณคดีหรื อวรรณกรรม จินตภาพ แนวคิด ค่านิยม ความเชื่ อที่ปรากฏในวรรณคดีหรื อวรรณกรรม ประเพณี สังคม วัฒนธรรมที่ปรากฏในวรรณคดีหรื อวรรณกรรม 5. การใช้ ภาษาเพือการแสดงความคิดและการแสดงออก ่ ภาษาและเหตุผล โครงสร้างของเหตุผล การอนุมาน การแสดงทรรศนะ การโต้แย้ง การโน้มน้าวใจ 6. การใช้ ภาษาไทย การพูด ทั้งระหว่างบุคคลและการพูดในที่ประชุมชน การสัมภาษณ์ การฟัง การอ่าน เน้นการอ่านจับใจความและการตีความ การเขียนเรี ยงความ ย่อความ จดหมาย ประกาศ การประชุม คุณธรรมและมารยาทในการสื่ อสาร กลวิธีการเขียนอธิบาย การบรรยาย การพรรณนา เทศนาโวหาร สาธกโวหาร อุปมาโวหาร 7. เบ็ดเตล็ด เครื่ องหมายวรรคตอน การเขียนตัวสะกด การันต์ การอ่านคา การใช้ลกษณนาม การใช้พจนานุกรม ั ฯลฯ หน้ า 2
  • 3. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ 1 ระบบเสี ยงในภาษาไทย ระบบเสี ยงในภาษาไทยมีอยู่ 3 ชนิด ได้แก่ 1. รู ปสระ - เสี ยงสระ รู ปสระ ะ เรี ยกว่า วิสรรชนีย ์ เรี ยกว่า ไม้หน้า เ า เรี ยกว่า ลากข้าง ไ เรี ยกว่า ไม้มลาย ิิ เรี ยกว่า พินทุอิ ์ ใ เรี ยกว่า ไม้มวน ้ | เรี ยกว่า ฝนทอง โ เรี ยกว่า ไม้โอ || เรี ยกว่า ฟันหนู อ เรี ยกว่า ตัว ออ ๐ เรี ยกว่า นิคหิต, หยาดน้ าค้าง ย เรี ยกว่า ตัว ยอ ิุ เรี ยกว่า ตีนเหยียด ว เรี ยกว่า ตัว วอ ิู เรี ยกว่า ตีนคู ้ ฤ เรี ยกว่า ตัว รึ ิั เรี ยกว่า ไม้ผด ั ฤๅ เรี ยกว่า ตัว รื อ ิ็ เรี ยกว่า ไม้ไต่คู ้ ฦ เรี ยกว่า ตัว ลึ ฦๅ เรี ยกว่า ตัว ลือ ประเภทของสระ 1. เสี ยงสระ (สระเดี่ยว มี 18 เสี ยง) สระเสี ยงสั้น (รัสสระ) สระเสี ยงยาว (ทีฆสระ) /อะ/ /อา/ /อิ/ /อี/ /อึ/ /อือ/ /อุ/ /อู/ /เอะ/ /เอ/ /แอะ/ /แอ/ /เออะ/ /เออ/ /เอาะ/ /ออ/ /โอะ/ /โอ/ หน้ า 3
  • 4. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2. สระประสม (สระเลื่อน) คือ การนาเสี ยงสระเดี่ยว 2 เสี ยงมาประสมกัน ได้แก่ /อิ/ + /อะ/ = /เอียะ/ /อี/ + /อา/ = /เอีย/ /อึ/ + /อะ/ = /เอือะ/ /อือ/ + /อา/ = /เอือ/ /อุ/ + /อะ/ = /อัวะ/ /อู/ + /อา/ = /อัว/ หมายเหตุ ทางภาษาศาสตร์ ถือว่า สระประสมเสี ยงสั้นเป็ นหน่วยเสี ยงเดียวกับเสี ยงยาว จึงถือว่าสระประสม มี 3 เสี ยง คือ /เอีย/ /เอือ/ /อัว/ ข้ อควรจา อา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เป็ นรู ปสระเกิน 2. รู ปพยัญชนะ - เสี ยงพยัญชนะ รู ปพยัญชนะ มี 44 รู ป คือ อักษรกลาง อักษรสู ง อักษรคู่ อักษรเดี่ยว ก ขฃ คฅ ฆ ง จ ฉ ชฌ ญ ฎฏ ฐ ฑฒ ณ ดต ถ ทธ น บป ผฝ พฟ ภ ม อ ศษส ห ซฮ ยรลวฬ เสี ยงพยัญชนะปรากฏได้ 2 ตาแหน่ ง ในพยางค์ คือ 1. เสี ยงพยัญชนะต้ น 1.1 เสี ยงพยัญชนะต้นเดี่ยว มี 21 เสี ยง คือ 1. /ก/ 12. /บ/ 2. /ค/ 13. /ป/ 3. /ง/ 14. /พ/ 4. /จ/ 15. /ฟ/ 5. /ช/ 16. /ม/ 6. /ซ/ 17. /ร/ 7. /ย/ 18. /ล/ 8. /ด/ 19. /ว/ 9. /ต/ 20. /ฮ/ 10. /ท/ 21. /อ/ 11. /น/ หน้ า 4
  • 5. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1.2 เสี ยงพยัญชนะต้นประสม (เสี ยงควบกล้ า) คือ พยางค์ที่มีเสี ยงพยัญชนะต้นสองตัวออกเสี ยงควบ กันในระบบเสี ยงภาษาไทย มี 5 ชุด คือ ร ล ว ข้ อควรระวัง ก กร กล กว คำควบไม่ แท้ จัดเป็ นเสียง ค คร คล คว พยัญชนะต้ นเสียงเดี่ยว ป ปร ปล  เช่น จริง(จิง) สร้ าง(ส้ าง) พ พร พล  โทรม(โซม) เป็ นต้ น ต ตร   2. เสี ยงพยัญชนะท้าย คือ เสี ยงพยัญชนะที่ทาหน้าที่เป็ นตัวสะกดมี 9 เสี ยง คือ 1. /ก/ เช่น เลข โรค เมฆ ครก นาก ฯลฯ 2. /บ/ หรื อ /ป/ เช่น พบ ลาภ กบ จับ กราฟ ฯลฯ 3. /ด/ หรื อ /ต/ เช่น มด กาจ คช กฎ พุทธ ฯลฯ 4. /ง/ เช่น โมง หาง สู ง แกง กิ่ง ฯลฯ 5. /ม/ เช่น กรรม หาม ชิม ทา สัมมนา ฯลฯ 6. /น/ เช่น การณ์ กลอน สัญญาณ เขิน ฯลฯ 7. /ย/ เช่น ชาย หน่อย รวย ได้ ใน ฯลฯ 8. /ว/ เช่น ขาว เลว แน่ว ชาย หิว ฯลฯ 9. /?/ หมายถึงพยางค์ที่เป็ นเสี ยงสั้น ลงเสี ยงหนักท้ายพยางค์ เช่น ชะ กะปิ สมาธิ 3. วรรณยุกต์ คือ ระดับเสี ยงสู งต่าของพยางค์ (tone) มี 4 รู ป 5 เสี ยง คือ รู ป ิ่ ิ้ ิ ิ เสี ยง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา พยางค์ ปิด - พยางค์ เปิ ด พยางค์ ปิด คือ พยางค์ที่มีเสี ยงพยัญชนะท้าย เช่น กิน ข้าว ไหม ชิชะ จะจะ ชัยชนะ (มีเสี ยง /?/) พยางค์ เปิ ด คือ พยางค์ที่ไม่มีเสี ยงพยัญชนะท้าย เช่น มา หรื อ หนู โครงสร้ างของพยางค์ หมายถึง ส่ วนประกอบของแต่ละพยางค์ โดยพิจารณาจาก เสี ยงของพยัญชนะท้าย พยางค์ปิด หรื อพยางค์เปิ ด เสี ยงของพยัญชนะต้ น เดี่ยวหรื อควบกล้ า เสี ยงของสระ สระสั้น สระยาว เสี ยงของวรรณยุกต์ เสี ยงสามัญ เอก โท ตรี จัตวา หน้ า 5
  • 6. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คาเป็ นคาตาย 1. คาเป็ น หมายถึง คาที่ประสมด้วยสระเสี ยงยาว หรื อคาที่มีเสี ยงสะกด แต่ยกเว้น แม่ กก กบ กด เช่น น้า ตี งู จง อาง ให้ เห็น 2. คาตาย หมายถึง คาที่ ประสมด้วยสระเสี ยงสั้นและไม่มีเสี ยงสะกด รวมทั้งคาที่อยู๋ในแม่ กก กบ กด เช่น กระทะ มะระ ก็ บ่ ธ ณ เป็ ด กฎ ศพ อ้างอิง กาญจนา นาคสกุล. 2541. ระบบเสี ยงภาษาไทย. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิชาการ,กรม กระทรวงศึกษาธิการ. 2541. วรรณลักษณ์วจารณ์ เล่มที่ 1. กรุ งเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. ิ ตัวอย่างข้ อสอบบทที่ 1 เรื่องระบบเสี ยงในภาษาไทย 1. ข้อใดมีเสี ยงสระสั้น ทุกพยางค์ 1. น้ าแข็ง น้ าใจ น้ าเชื่อม น้ ามัน 2. นมข้ น นมผง นมกล่อง นมสด 3. นงนุช นงเยาว์ นงคราญ นงลักษณ์ 4. นพเก้า นพคุณ นพเคราะห์ นพรัตน์ 2. ข้อใดมีจานวนพยางค์ที่ประกอบด้วยสระลดรู ปมากที่สุด 1. กวนขนม ทุ่มทุน ทางขนาน 2. ปลดปลง ปกปอง ครบครัน ้ 3. ตกใจ สิ้ นเคราะห์ กราบกราน 4. เกรี้ ยวกราด กลบเกลื่อน เกรงกริ่ ง 3. ข้อใดไม่มีเสี ยงสระประสม 1. มโนมอบพระผู้ เสวยสวรรค์ 2. พูดมากเปล่าเปลืองปน ปดเหล้น 3. สิ่ งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง 4. คาแสลงเสี ยดแทงระคน คาหยาบ หยอกฤา 4. ข้อใดมีคาที่ประกอบด้วยเสี ยงสระประสมทุกคา (2/2546) 1. เฟื้ องฟา ร่ารวย เสี ยหน้ า ้ 2. มัวหมอง เชื่อใจ เลิศล้ า 3. เปรี้ ยวปาก เกรอะกรัง พร่ าเพรื่ อ 4. เรื่ องราว เพลี่ยงพล้ า แท่นพิมพ์ 5. ข้อใดไม่มีสระประสม (O-NET 50) 1. ใครดูถูกผู้ชานาญในการช่ าง 2. ความคิดขวางเฉไฉไม่เข้าเรื่ อง 3. เหมือนคนป่ าคนไพรไม่รุ่งเรื อง 4. จะพูดด้วยนั้นก็เปลืองซึ่ งวาจา 6.พยางค์ทายข้อใดมีเสี ยงสระตรงกับพยางค์ที่ขีดเส้นใต้ “จราจร จลาจล” (A-NET 50) ้ 1. ถนน ถนอม 2. ขนอน โขนง 3. ฉลอง ฉงน 4. สนม สนน หน้ า 6
  • 7. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 7. ข้อใดมีเสี ยงพยัญชนะต้นเดี่ยวซ้ ากันมากที่สุด (2/2546) 1. นุ่งยกนอกดอกวิเศษเกล็ดพิมเสน 2. โจงกระเบนประคดคาดไม่หวาดไหว 3. บ้ างใส่ เสื้อส้ าระบับเข้ มขาบใน 4. ข้างนอกใส่ ครุ ยกรองทองสาริ ด 8. ข้อใดมีจานวนเสี ยงพยัญชนะต้นเดี่ยวน้อยที่สุดโดยไม่นบเสี ยงซ้ า(A-NET 50) ั 1. สุ ดสายตาข้าเห็นเป็ นทุกเวิง ้ 2. ในโลกนี้มีอะไรเป็ นไทยแท้ 3. ของไทยแน่ น้ ันหรือคือภาษา 4. ชลล้นเจิ่งแผ่นดินหมองร้องครวญคร่ า 9. ข้อใดมีท้ งอักษรควบและอักษรนา (A-Net 49) ั 1. สงครามครานีหนัก ้ ใจเจ็บ ใจมา 2. เรี ยมเร่ งแหนงหนาวเหน็บ อกโอ้ 3. ลูกตายฤๅใครเก็บ ผีฝาก พระเอย 4. ผีจกเท้งที่โพล้ ั ที่เพล้ใครเผา 10. คาขวัญต่อไปนี้มีเสี ยงพยัญชนะสะกดกี่เสี ยง (ไม่นบเสี ยงซ้ า) ั “รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ช่วยกันต้านยาเสพติด” 1. 5 เสี ยง 2. 6 เสี ยง 3. 7 เสี ยง 4. 8 เสี ยง 11. ข้อใดมีเสี ยงพยัญชนะสะกดมากที่สุด (ไม่นบเสี ยงซ้ า)ั 1. จงรู ้จกรักษาคุณค่าหญิง ั 2. อย่าทอดทิ้งทางงามทุกความหมาย 3. แม้นราคีมีหมองต้องเสี ยดาย 4. จะอับอายออกนามคนหยามเรา 12. ข้อใดมีเสี ยงพยัญชนะท้ายพยางค์ทุกคา (A-Net 49) 1. เขาทางานจนภารโรงปิ ดห้ อง 2. คุณยายเป็ นลมเมื่ออ่านจดหมายจบ 3. ต้นกล้วยริ มรั้วลวดหนามออกเครื อแล้ว 4. ภาคใต้ได้รับความเสี ยหายจากคลื่นยักษ์ 13.ข้อใดมีเสี ยงพยัญชนะท้ายน้อยที่สุดโดยไม่นบเสี ยงซ้ า(A-NET 50) ั ่ 1.จงจาไว้วาอนาคตที่สดใสต้องเริ่ มต้นเดี๋ยวนี้ 2. จงมองหาโอกาสที่ซ่อนอยูในอุปสรรคที่เผชิญ ่ 3.จงจาไว้ ว่าคาพูดทีอ่อนหวานช่ วยสมานใจได้ ดี ่ 4. จงวางดินสอกับกระดาษโน้ตไว้ขางโทรศัพท์ทุกเครื่ อง ้ 14. ข้อใดมีคาที่สะกดด้วยแม่กดมากที่สุด (O-Net 49) 1. อุบัติเหตุอาจเกิดขึนเป็ นนิตย์ ในโอกาสวันสุ ดสั ปดาห์ ้ 2. งานเฉลิมฉลองพระเกียรติในวโรกาสการประสู ติพระโอรส 3. ขอตั้งสัจจะอธิ ษฐานยึดมันในชาติ ศาสน์ กษัตริ ยชวนิรันดร์ ่ ์ ั่ 4. ยศถาบรรดาศักดิ์ไม่สามารถสกัดกั้นให้แคล้วคลาดปราศจากอุปัทวันตรายได้ หน้ า 7
  • 8. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 15. ข้อใดมีเสี ยงวรรณยุกต์ครบห้าเสี ยง (O-Net 49) 1. โง่ไม่เป็ นใหญ่ยากฝากให้คิด 2. ทางชี วตจะรุ่ งโรจน์ โสตถิผล ิ 3. ต้องรู ้โง่ฉลาดปราดเปรื่ องตน 4. โง่สิบหนดีกว่าเบ่งเก่งเดี๋ยวเดียว 16. ข้อใดมีเสี ยงวรรณยุกต์ครบ 5 เสี ยง (O-NET 50) 1. เจ้ าคุมแค้ นแสนโกรธพิโรธพี่ ่่ 2. แต่เดือนยียางเข้าเดือนสาม 3. จนพระหน่อสุ ริยวงศ์ทรงพระนาม 4. จากอารามแรมร้างทางกันดาร 17. เสี ยงวรรณยุกต์ขอใดต่างกับข้ออื่น(A-NET 50) ้ 1. ทรงธรรมล้ ามะนุษ- 2. ฤทธิรุทมหาศาล 3. บาเพ็ญพะลีการ 4. ทุกอย่ างงามตามวิสัย 18. คาคู่ใดต่างกันเฉพาะเสี ยงสระเท่านั้น (A-Net 49) 1. ทรัพย์ - ทราบ 2. เนิบ - นับ 3. หมั้น - ม่ าน 4. โชค - ชัก 19. เสี ยงของพยางค์ในข้อใดมีโครงสร้างต่างกับข้ออื่น (ข้อสอบ O NET 2551) 1. ขวาน 2. หลาม 3. เผย 4. ฝูง 20. คาในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันทั้งสองคา 1. ตั้งร้าน 2. ข้างขึ้น 3. คล่องแคล่ว 4. ทรุ ดโทรม 21. ข้อใดมีคาตายมากที่สุด (A-Net 49) 1. ประดุจทรงวราภรณ์สุนทรสวัสดิ์ 2. เรื องจรัสยิงมกุฎสุ ดสง่า ่ 3. ประดับพระวรเดชวิเศษฤทธิ์ 4. ที่สถิตอานุภาพสโมสร 22. ข้อใดมีคาตายน้อยที่สุด (1/2546) 1. ทั้งไพร่ นายรายเรียงกันเรียดไป ตัดใบไม้ มุงเหมือนหลังคาบัง 2. พระเปรมปรี ด์ ิดีใจอยูในพักตร์ ่ มิให้ประจักษ์คนทั้งหลาย 3. คาโบราณท่านผูกถูกทุกสิ่ ง เขาว่าลิงจองหองมันพองขน 4. เสพอาหารหวานคาวเมื่อคราวยาก ล้วนของฝากเฟื่ องฟูค่อยชูชื่น 23. ทุกพยางค์ในข้อใดเป็ นคาเป็ น (O-NET 50) 1. พระเสด็จโดยแดนชล 2. ทรงเรื อต้นงามเฉิดฉาย 3. เรือชัยไวว่องวิง ่ 4. รวดเร็ วจริ งยิงอย่างลม ่ หน้ า 8
  • 9. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทที่ 2 การใช้ คา คาและความหมาย คาในภาษาไทยมีความหมายกว้างและแคบไม่เท่ากัน เช่น ดอกไม้ มีความหมายกว้าง แต่ ดอกกุหลาบ มี ความหมายแคบ นอกจากนี้ความหมายของคาแบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. คาทีมีความหมายตรง คือ แปลความหมายตามพจนานุกรม มี 2 ลักษณะ คือ ่ 1.1 คาที่มีความหมายเดียว เช่น ตกลง หมายถึง ยินยอมพร้อมใจกัน ผลัด หมายถึง เปลี่ยน แกน หมายถึง วัตถุแข็งที่อยูส่วนกลาง ่ โก่ง หมายถึง ทาให้โค้ง 1.2 คาที่มีหลายความหมาย เช่น ขัน ผลัด หมายถึง ภาชนะตักน้ า ” ทาให้ตึง ” แข็งแรง ขึ้น หมายถึง เน่าพอง (ศพขึ้ น) ” อ่อนน้อม สังกัด (เมืองขึ้น) ” ผุดโผล่ (ตะวันขึ้น) ” งอก (ต้นไม้ข้ ึน) ” เพิ่ม (ขึ้ นราคา) 2. คาทีมีความหมายในประหวัด คือ คาที่มีความหมายไม่ตรงตามศัพท์ แต่มีนยให้เข้าใจเป็ นอย่างอื่น ่ ั 3. คาทีมีความหมายเปรียบเทียบ (อุปมา) หรื อ การใช้ สานวนโวหารเช่น ่ เสื อ หมายถึง ความดุร้าย ปลาซิว หมายถึง ความใจเสาะ ลิง หมายถึง ความซน ฤาษี หมายถึง ความสงบเสงี่ยม ควาย หมายถึง ความโง่ แก้วตา หมายถึง เป็ นที่รัก ข้ อควรจา การใช้ คาต้ องให้ ตรงกับความหมาย และบริบท การใช้ภาษาในชีวตประจาวันนั้น การใช้คาที่ถูกต้องเหมาะสม ตามหลักไวยากรณ์และความหมายเป็ น ิ สิ่ งที่สาคัญที่จะสื่ อความหมายได้ตรงประเด็นตามจุดมุ่งหมายของผูส่งสาร หลักสาคัญในการใช้คาโดยสรุ ปมี ้ ดังนี้ หน้ า 9
  • 10. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1. ใช้คาให้ถูกตามตาแหน่ง และหน้าที่ เช่น คานาม คาสรรพนาม ใช้ทาหน้าที่เป็ นประธาน ่ กรรมของประโยค คากริ ยา แสดงอาการกระทา ผูเ้ รี ยนต้องรู ้จกว่าคาใดควรอยูในตาแหน่งใด ั ของประโยค 2. การเรี ยงลาดับคาหรื อพยางค์ให้ถูกต้อง ถ้าเรี ยงกลับกันความหมายอาจเปลี่ยนไป เช่น ใจ ช้ า-ช้ าใจ หนวกหู-หูหนวก กินอยู-อยูกิน เป็ นต้น ่ ่ 3. ต้องรู ้สึกเลือกใช้คาให้เหมาะกับกาลเทศะ ถึงแม้บางคาจะมีความหมายคล้ายคลึงกัน แต่ไม่ ั สามารถแทนที่กนได้ เช่น ภายในโรงฆ่าสัตว์ ตลบอบอวล ไปด้วยกลิ่นซากสัตว์ ควรแก้ไข เป็ นคละคลุง ้ 4. ใช้คาให้ตรงกับความหมาย ภาษาไทยมีคามากมายที่มีความหมาย คล้ายกัน บางคามี ความหมายแฝงอยู่ จึงจาเป็ นต้องเลือกคาให้เหมาะสมและตรงความหมายมากที่สุด เช่น แล่ ฝาน ปอก ผ่า เฉื อน เฉาะ สับ เป็ นต้นสรุ ปง่าย ๆ คือ หลักของการใช้คา ต้องใช้คาให้ตรง ความหมาย ตรง : ตรงตามพจนานุกรม คา = ความหมาย นัย : ตีความตามปริ บท แฝง : ซ่อนอารมณ์ และความรู้สึก (นัยประหวัด) แคบ กว้าง ตัวอย่ างข้ อสอบบทที่ 2 การใช้ คา 1. คาในข้อใดสามารถใช้ได้ท้ งความหมายโดยตรงและโดยนัยทุกคา ั 1. เข้าฌาน เข้าถึง เข้าเนื้อ 2. แก้ลา แก้เผ็ด แก้เกี้ยว 3. ขึ้นหม้อ ขึ้นสาย ขึ้นชื่อ 4. คอแข็ง คอตก คอสู ง 2. คาในข้อใดทุกคาในข้อใดมีท้ งความหมายโดยตรงและเชิงอุปมา ั 1. ตกเบ็ด ลอยแพ ไหว้ผี เอียงซ้าย 2. จับตา ลอกคราบ นิ้วก้อย จับตาย 3. ติดตา ลายคราม ขึนหิง จับเข่ า ้ ้ 4. ปากน้ า ตัดต่อ ร้อนตัว ตกข่าว 3. คาว่า "ทิ้ง" ในข้อใดมีความหมายในตรงทุกคา 1. ทิ้งจดหมาย ทิ้งท้าย ทิ้งไพ่ 2. ทิงทาน ทิงกระจาด เททิง ้ ้ ้ 3. ผ้าเนื้อทิ้ง ทิ้งทวน ทิงธุ ระ ้ 4. ทิ้งเพื่อน ทิงขว้าง ทิ้งตา ้ 4. ข้อใดใช้คาแสดงความหมายแคบกว้างต่างกันได้อย่างเหมาะสม 1. เขาสนใจทั้งกีฬาและมวย 2. เขาชอบปลูกต้นไม้และไม้ผล 3. ฤดูนีมีผลไม้ มากทั้งเงาะและทุเรียน ้ 4. ประชาชนและชาวนามาชุมนุมกันมากมาย หน้ า 10
  • 11. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ่ ้ 5. ข้อใดไม่มีความหมายกว้างแคบอยูดวยกัน 1. กิจวัตรประจาวันของสาวิตรี ได้แก่ การอ่านหนังพิมพ์ในเวลาเช้าและดูโทรทัศน์ในเวลากลางคืน 2. การพกอาวุธ เช่น มีด ปื น ระเบิดขวด ในที่สาธารณะเป็ นสิ่ งที่ไม่ควรกระทา 3. การสอบคัดเลือกเข้ ามหาวิทยาลัยเป็ นโอกาสทีนักเรียนจากโรงเรียนต่ างๆ ได้ แข่ งขันกัน ่ 4. การเดิ นทางไปต่างจังหวัดในปั จจุ บ นนี้ เราสามารถเดิ นทางได้หลายวิธี เช่ น โดยทางเครื่ องบิ น ั รถไฟ รถยนต์ 6. ข้อใดใช้คาถูกต้องตรงความหมาย ่ 1. ผมว่ากรณี น้ ียงมีอะไรเคลือบแคลงอยูอีกมาก ั 2. พนักงานคนใหม่พิมพ์หนังสื อตกหายไปหลายวรรค 3. ระวังกระเปาให้ ดีๆ นะ อย่าให้ ใครฉกชิงเอาไปได้ 4. อย่ามาพูดข่มขวัญคนอื่นเลย เธอน่ะชอบบอกว่าตัวดีกว่าเพื่อนๆ อยูเ่ รื่ อย 7. ข้อใดใช้ภาษาได้ถูกต้ อง ่ 1. แม่คาขายส้มตาไก่ยางเป็ นอาชีพที่มีรายได้ดีและไม่ตกงาน ้ 2. อาหารประเภทยามีรสชาติเผ็ดร้อนกลมกล่อมถูกปากคนไทย 3. แม้ ฐานะของเราจะไม่ ค่อยดี พ่ อแม่ กส่งเสี ยให้ ลูกทุกคนได้ เรียนจนจบมหาวิทยาลัย ็ ่ 4. แม้วาชื่อเสี ยงของพ่อจะไม่เป็ นที่ประจักษ์แก่สายตาผูอื่น แต่ฉนก็ภูมิใจในตัวท่าน ้ ั 8. ข้อใดใช้คาไม่ตรงความหมาย 1. อาจารย์ปฐมท่านเป็ นพหูสูต คุณอ่านเรื่ องอะไรไม่เข้าใจก็ถามท่านได้ทุกเรื่ อง 2. คนสมถะอย่างอาจารย์ชัยนาท ใครอย่าไปขอร้ องให้ ทาอะไรเลย ท่านไม่ ช่วยหรอก 3. บ้านเล็กๆ หลังนั้นอาจารย์พงงาอาศัยอยูกบครอบครัวอย่างสันโดษ ไม่ค่อยติดต่อกับใคร ั ่ ั 4. บ้านอาจารย์ประจวบเล็กและแทบจะไม่มีของใช้ในบ้านเลย ท่านค่อนข้างอัตคัด 9. ข้อใดใช้คาได้ถูกต้องตามความหมาย 1. เธอปั กผ้าผิดจึงต้องเราะออกแล้วปั กใหม่ 2. คุณปู่ ขลิบผมไฟหลานคนแรกเมื่ออายุครบเดือน 3. เธอมีน้ าตากลบตาเมื่อฟังข่าวเด็กถูกทิ้งถังขยะ 4. แม่ บอกลูกว่ าอย่ าปล่ อยผมยาวรุ่ ยร่ ายเวลาไปโรงเรียน 10. ข้อใดใช้คาถูกต้องตรงความหมาย 1. วิชยทาผิดระเบียบของบริ ษทเป็ นครั้งแรกผูจดการจึงยอมผ่อนผันให้ลงโทษเพียงภาคทัณฑ์เท่านั้น ั ั ้ั 2. บ้านของเขาถูกเวนคืน จึงโยกย้ายครอบครัวไปอยูกบน้องชายที่ต่างจังหวัด ่ ั 3. พอได้ฤกษ์ทาพิธีเปิ ดร้านใหม่ ฝนก็ตกประปรายลงมาพอดี 4. คุณแม่ คัดเลือกมะม่ วงผลงามๆ ไว้ ทาบุญตอนเช้ า หน้ า 11
  • 12. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 11. คาในข้อใดเหมาะสมที่จะใช้เติมในช่องว่างต่อไปนี้ “เธอ…พวกเพื่อนๆ ที่ พากัน…เสนอผลงานให้เจ้านายโดยไม่รอเธอ เธอเสี ยใจมากแทบอยากจะ… เพื่อนๆ จนฉันต้องเป็ นฝ่ าย…เหตุการณ์จึงค่อยสงบลง” 1. ตัดรอน ตัดตอน ตัดทาง ตัดประเด็น 2. ตัดพ้อ ตัดหน้ า ตัดขาด ตัดบท 3. ตัดรอน ตัดหน้า ตัดญาติขาดมิตร ตัดประเด็น 4. ตัดพ้อ ตัดบท ตัดรอน ตัดตอน 12. ข้อใดไม่มีคาพ้องความหมาย 1. ไอยรา ราชสี ห์ กุญชร 2. ลาธาร ชลาสิ นธุ์ มัจฉา 3. เทเวศร์ อัจฉรา สุ รารักษ์ 4. สิ งขร เวหาสน์ วนาดร บทที่ 3 คาไทยแท้ และคายืมภาษาต่ างประเทศ คาไทยแท้ หลักการสั งเกตคาไทยแท้ 1. คาไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว เช่น กิน นอน วิง ผัด จิก เคี้ยว ไล่ ตี ฉัน ข้า เขา เจ้า ท่าน มัน แก พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก ดิน น้ า ไฟ ่ ตา หู ปาก ดี ขาว สู ง หอม กลม หนา แบน ใน นอก บน อ่าง ริ ม และ กับ แต่ ต่อ ถ้า แม้ จึง ฯลฯ 2. คาไทยแท้ส่วนใหญ่มกมีคากร่ อนเสี ยง ั คากร่ อนเสี ยงเหล่านี้เป็ นคาไทยแท้ เช่น ฉะนั้น กร่ อนมาจาก ฉันนั้น ตะขบ กร่ อนมาจาก ต้นขบ ตะเคียน กร่ อนมาจาก ต้นเคียน ตะขาบ กร่ อนมาจาก ต้นขาบ มะพร้าว กร่ อนมาจาก หมากพร้าว มะตูม กร่ อนมาจาก หมากตูม มะปราง กร่ อนมาจาก หมากปราง ตะวัน กร่ อนมาจาก ตาวัน ตะปู กร่ อนมาจาก ตาปู สะดือ กร่ อนมาจาก สายดือ สะใภ้ กร่ อนมาจาก สาวใภ้ หน้ า 12
  • 13. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 3. คาไทยแท้มีตวสะกดตรงตามมาตรา ั แม่กก ใช้ “ก” สะกด เช่น ผัก รัก มาก ลาก จาก ฯลฯ แม่กบ ใช้ “บ” สะกด เช่น ดับ ตับ สู บ ทุบ ยุบ พบ ฯลฯ แม่กด ใช้ “ด” สะกด เช่น มัด รัด ฟัด จุด สุ ด ชุด ฯลฯ แม่กง ใช้ “ง” สะกด เช่น วัง มุง ลุง ชัง นาง ฯลฯ ่ แม่กน ใช้ “น” สะกด เช่น เรื อน ลาน ฟัน ปาน ฯลฯ แม่กม ใช้ “ม” สะกด เช่น ผม ลม สม ปูม เข็ม งม ฯลฯ แม่เกย ใช้ “ย” สะกด เช่น หาย ควาย ลาย นาย สวย ฯลฯ แม่เกอว ใช้ “ว” สะกด เช่น ผิว ดาว แมว ข้าว เหว ฯลฯ ข้ อควรระวัง บางคาสะกดตรงตามมาตราก็ไม่ใช่ไทยแท้ เช่น โลก มาจาก บาลี สันสกฤต กาย มาจาก บาลี สันสกฤต ยาน มาจาก บาลี สันสกฤต พน มาจาก บาลี สันสกฤต ชน มาจาก บาลี สันสกฤต มน มาจาก บาลี คาเขมร มีดงนี้ จมูก เดิน จะบันหมาก ทะเลสาบ ละออง บายศรี เลอโฉม ดินสอ ปล้นสะดม เขลา ฯลฯ ั 4. คาไทยแท้ไม่มีการันต์ คาที่มีตวการันต์มาจากภาษาอื่น ยกเว้น 4 คานี้ (แม้มีตวการันต์ก็เป็ นไทยแท้) ผีว์ บ่าห์ เยียร์ อาว์ ั ั 5. คาไทยแท้มกปรากฏรู ปวรรณยุกต์ ั แต่มีอีกมากมายที่ไม่ปรากฏรู ปวรรณยุกต์ เช่น พอ พ่อ พ้อ แม แม่ แม้ เสื อ เสื่ อ เสื้ อ ปา ป่ า ป้ า 6. คาไทยแท้มกไม่ปรากฏพยัญชนะต่อไปนี้ ฆ ณ ญ ฏ ฑ ฒ ฎ ธ ศ ษ ฬ ั ยกเว้นบางคาเป็ นไทยแท้ เช่น หญิงใหญ่ ณ ระฆัง ฆ่า เฆี่ยน ศอก เศิก ศึก ธ เธอ หน้ า 13
  • 14. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 7. คาไทยแท้ใช้ “ใ ” 20 ตัว คือ ผูใหญ่หาผ้าใหม่ ้ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ ใฝ่ ใจเอาใส่ ห่อ มิหลงใหลใครขอดู จะใคร่ ลงเรื อใบ ดูน้ าใสและปลาปู ่ สิ่ งใดอยูในตู ้ ่ ั่ มิใช่อยูใต้ตงเตียง บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ยีสิบม้วนจาจงดี ่ คาบาลี – สั นสกฤต ภาษาบาลี มีพยัญชนะ 33 ตัว สระ 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ภาษาสันสกฤต มีพยัญชนะ 35 ตัว (เพิม ศ,ษ) สระ 18 ตัว (เพิม ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ) ่ ่ 1 2 3 4 5 ฐานคอ ก ข ค ฆ ง ฐานเพดาน จ ฉ ช ฌ ญ ฐานปุ่ มเหงือก ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ฐานฟัน ต ถ ท ธ น ฐานริ มฝี ปาก ป ผ พ ภ ม เศษวรรค ยรลวสหฬo สู ตรการจา ยายเราเล่าว่าเสื อหิ วฬาตากลม หลักการสั งเกตคาบาลี - สั นสกฤต 1. สั งเกตสระ คาใดประสมด้วย ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา เป็ นคาสันสกฤต (เพราะบาลีไม่มีสระเหล่านี้) เช่น ไวทย ฤษี เอารส ไมตรี เสาร์ เยาวชน นฤมล พฤศจิกายน ไอศูรย์ ฤดู ไปรษณี ย ์ ฯลฯ 2. สั งเกตพยัญชนะ คาใดประสมด้วย ศ ษ เป็ นคาสันสกฤต เช่น ภิกษุ ศาสนา พิษณุ กษัย พฤษภาคม ราษฎร รัศมี เกษตร มหัศจรรย์ ศักดิ์ ฯลฯ 3. สั งเกตคาควบกลา คาใดมีคาควบกล้ าเป็ นคาสันสกฤต (เพราะบาลีไม่นิยมควบกล้ า) ้ เช่น ประถม จักร ปราชญ์ อัคร อินทร์ บุตร เนตร สตรี ราตรี จันทรา นิทรา กษัตริ ย ์ ฯลฯ 4. สั งเกต “รร” คาใดที่มี “รร” เป็ นคาสันสกฤต (เพราะบาลีไม่มี “รร”) เช่น ธรรม จรรยา พรรษา สรรพ กรรม สวรรค์ วิเคราะห์ ฯลฯ 5. สั งเกต “เคราะห์ ” คาใดที่มี “เคราะห์” เป็ นคาสันสกฤต เช่น อนุเคราะห์ สังเคราะห์ สงเคราะห์ ฯลฯ 6. สั งเกต ตัวสะกด ตัวตาม คาใดมีตวสะกด แล้วมีอกษรตามมา 1 ตัว (เบิ้ล) มาจาก บาลี ั ั ตัวสะกดตัวตามต้องเป็ นพยัญชนะวรรคเดียวกันจะเป็ นไปตามกฎนี้ หน้ า 14
  • 15. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 6.1 พยัญชนะแถวที่ 1 เป็ นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวที่ 1 หรื อ 2 ในวรรคเดียวกันตาม เช่น สัจจะ สัตตะ อัตตะ สักกะ รุ กข ปัจฉิม ทุกข์ บุปผา ฯลฯ 6.2 พยัญชนะแถวที่ 3 เป็ นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวที่ 3 หรื อ 4 ในวรรคเดียวกันตาม เช่น วิชชา อัคคี พยัคฆ์ พุทธ วัทฒน อัชฌาศัย ฯลน 6.3 พยัญชนะแถวที่ 5 เป็ นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวไหนก็ได้ในวรรคเดียวกันตาม เช่น สังกร องค์ สงฆ์ กัณฑ์ จันทนา บัญญัติ ฯลฯ 6.4 เศษวรรคสะกดตามตัวเอง เช่น เวสสันดร วัลลภ อัยยิกา ฯลฯ หมายเหตุ ภาษาสันสกฤตมีตวสะกดตัวตามก็จริ ง แต่ไม่เป็ นไปตาม 6.1 – 6.3 ั เช่น อัคนี มุกดา รักษา วิทยา สัตว์ อาชญา ฯลฯ คาเขมร หลักการสั งเกตคาเขมร 1. คาเขมรมักสะกดด้วย จ ญ ล ร ส ย และมักจะไม่มีตวตามั สู ตรการจา จาน หญิง ลิง เรื อ เสื อ จ สะกด เช่น อานาจ เสร็ จ สมเด็จ ตารวจ ฯลฯ ญ สะกด เช่น เพ็ญ เผอิญ สาราญ ผจญ ครวญ ชานาญ ฯลฯ ล สะกด เช่น กังวล ถกล ถวิล ดล ดาล จรัล กานัล ฯลฯ ร สะกด เช่น ขจร อร กาธร ควร ฯลฯ ส สะกด เช่น ดารัส จรัส ตรัส ฯลฯ 2. คาที่มาจากเขมรมักเป็ นคาควบกล้ า เช่น กรวด กระบือ เกลือ ขลาด กระแส ไพร ตระกอง โปรด กราน กรม กระทรวง กระเพาะ โขลน ฯลฯ 3. คาที่มาจากเขมรมักใช้อกษรนา ั เช่น โฉนด เขม่า ขนอง ขลาด เขลา จมูก ถวาย ฉนา เฉลียง ถวาย ขนุน ขยา ฉลู ฯลฯ 4. คาที่มาจากเขมร มักขึ้นต้นด้วย บัง บัน บา (เพราะมาจาก บ เติมคาหน้า) เช่น บัง บังควร บังอาจ บังคม บังคับ บังเกิด บัน บันทึก บันเทิง บันดาล บันได บา บาเพ็ญ บานาญ บาเหน็จ บาบัด 5. คาที่มากจากเขมรมักขึ้นต้นด้วย กา คา จา ชา ดา ตา ทา สา อา เช่น กาหนด คารบ จาแนก ชานาญ ชารุ ด ดาเนิน ดารัส ตารวจ ตารา ทานบ สาราญ อานวย ฯลฯ ข้อสังเกต ภาษาบาลี, สันสกฤต และเขมร มักไม่มีวรรณยุกต์กากับ หน้ า 15
  • 16. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คายืมจากภาษาจีน และภาษาชวา การเขียนคาที่มาจากภาษาจีน และภาษาชวาใช้หลักง่าย ๆ คือ เขียนรู ปตามเสี ยงที่ออก หรื อได้ยนโดยใช้ตวสะกดตรงตามมาตรา และมักใช้รูปวรรณยุกต์กากับเสี ยง ิ ั คายืมจากภาษาตระกูลยุโรป 1. ใช้ ศัพท์บัญญัติ คือ การกาหนดคาไทย บาลี สันสกฤต หรื อเขมร ที่มีความหมาย หรื อสื่ อความหมาย เหมือนศัพท์คาเดิม อาจใช้ในการแปลคาศัพท์ หรื อสร้างคาศัพท์ก็ได้ เช่น vision - วิสัยทัศน์ bus - รถโดยสารประจาทาง stamp - ดวงตราไปรษณี ยากร 2. การทับศัพท์ คือ การถอดรู ปอักษรจากต้นฉบับเป็ นอักษรไทย ยึดหลักตามราชบัณฑิตสภา ดังนี้ 2.1 ถอดรู ปอักษรตัวต่อตัวตามแนวเทียบ มักไม่ใช้รูปวรรณยุกต์ เช่น clinic – คลินิก computer – คอมพิวเตอร์ dollar – ดอลลาร์ guitar – กีตาร์ 2.2 คาบางคาที่เคยใช้รูปวรรณยุกต์อนุโลมให้ใช้ได้ เช่น แท็กซี่ ท็อฟฟี่ เค้ก เป็ นต้น 3. ศัพท์เทคนิค หรือชื่อเฉพาะ สามารถใช้ทบศัพท์ได้ แต่ยดหลักการใช้แนวเทียบตัวอักษร ั ึ อ้างอิง ประสิ ทธิ์ กาพย์กลอน และไพบูลย์ ดวงจันทร์ , 2527, ความรู ้เกี่ยวกับภาษาไทย, กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช ราชบัณฑิตยสถาน, 2539, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, กรุ งเทพฯ: อักษรเจริ ญทัศน์ อุปกิตศิลปสาร, 2531, หลักภาษาไทย, กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช ตัวอย่างข้ อสอบ เรื่องคาไทยแท้และคายืมภาษาต่ างประเทศ 1. ข้อใดเป็ นคาไทยแท้ทุกคา (O-Net 49) 1. รู ้กินเพิ่มพลังงาน รู ้อ่านเพิ่มกาลังปั ญญา 2. น้ ามันขาดแคลน คุยกับแฟนก็ตองดับไฟ ้ 3. รักบ้ านต้ องล้อมรั้ว รักครอบครัวต้ องล้อมรัก 4. ภาษาบอกความเป็ นชาติ เอกราชบอกความเป็ นไทย หน้ า 16
  • 17. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2. ข้อใดไม่ มีคาที่มาจากภาษาเขมร (A-Net 49) 1. โปรดเอื้อเฟื้ อแก่เด็กและคนชรา 2. เราจะไปรับหลานสาวทีสถานีบางซื่อ ่ 3. นวนิยายเรื่ องนี้ดาเนินเรื่ องได้กระชับดี 4. เขาเป็ นคนเจ้าสาราญมาตั้งแต่ยงหนุ่ม ั 3. ข้อใดไม่มีคาที่มาจากภาษาบาลีหรื อภาษาสันสกฤต (ข้อสอบ O NET 2551) 1. เราต้องใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง 2. อย่าเลี้ยงลูกให้เป็ นเทวดา 3. ชื่ อของเขาอยู่ในทาเนียบรุ่ น 4. ภรรยาของเขาทางานอยูที่นี่ ่ 4. ข้อใดมีคาที่มาจากภาษาต่างประเทศมากที่สุด (กข/2540) 1. จงเจริ ญชเยศด้วย เดชะ 2. ปราชญ์แสดงดาริ ดวย ไตรยางศ์ ้ 3. อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ 4. บัณฑิตวินิจเลิศ แถลงสาร 5. คาประพันธ์ต่อไปนี้คายืมมาจากภาษาต่างประเทศรวมกี่คา (สามัญ 2/2539) “บารุ งบิดามา ตุระด้ วยหทัยปรี ย์ หากลูกและเมียมี ก็ถนอมประหนึ่งตน” 1. 5 คา 2. 6 คา 3. 7 คา 4. 8 คา 6. คาซ้อนทุกคาในข้อใดเกิดจากคาไทยทั้งหมด (สามัญ 1/2541) 1. ภูเขา ข้าทาส 2. ข้าวของ มูลค่า 3. แก่นสาร กาลเวลา 4. แก่เฒ่ า หยาบช้ า 7. ข้อใดใช้คาภาษาต่างประเทศโดยไม่จาเป็ น (2/2543) ่ 1. เมื่อไฟดับควรตรวจดูวาเป็ นเพราะฟิ วส์ขาดหรื อปลักหลุด ๊ 2. เด็ก ๆ ชอบรับประทานไอศกรี มช็อกโกแลตมากกว่าไอศกรี มกะทิสด 3. ก่อนเข้ าแบงก์ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ ต้ องถอดหมวกกันน็อกและแว่นตาดาออก 4. นักกอล์ฟหลายคน อยากเปลี่ยนวงสวิงให้คล้ายกับไทเกอร์ วดส์ เพื่อให้ตีลูกได้แม่นและไกล ู 8. ข้อใดจาเป็ นต้องใช้คาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ (1/2544) 1. โรงพิมพ์ส่งงานพิมพ์มาให้ตรวจปรู๊ ฟที่สองแล้ว 2. ห้างสรรพสิ นค้าที่เปิ ดใหม่มกจะมีของแถมแจกฟรี แก่ลูกค้า ั 3. นักศึกษาที่เรี ยนได้เกรดเอ ห้าวิชาในเทอมใดจะได้รับการยกเว้นค่าหน่วยกิตในเทอมต่อไป 4. นักกีฬาวีลแชร์ ของไทยได้ เหรียญทอง จากการแข่ งขันกีฬาคนพิการทีประเทศออสเตรเลีย ่ 9. ข้อใดใช้คาภาษาต่างประเทศ โดยไม่จาเป็ น (2/2544) 1. เวลาไปเที่ยวป่ า ฉันชอบสวมกางเกงยีนส์และหมวดแก๊ป 2. ขณะนี้น้ ามันเบนซิ นราคาแพงมาก อีกทั้งแก๊สก็กาลังขึ้นราคา 3. พอถึงสนามหลวง คนขับรถเมล์เหยียบเบรกกะทันหันจนเราหัวคะมา 4. ที่ทางานของฉันกาลังซ่อมลิฟต์ ที่หองทางานก็ตองซ่อมสวิตช์ไฟด้วย ้ ้ หน้ า 17
  • 18. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 10. ข้อใดจาเป็ นต้องใช้คาต่างประเทศ (O-Net 49) 1. ราคานามันดีเซลและเบนซินขึน ๆ ลง ๆ ตามกลไกการตลาด ้ ้ 2. รัฐบาลประกาศกาจัดคอร์ รัปชันให้หมดไปจากประเทศไทย ่ 3. ยักษ์ใหญ่มือถือทุ่มโปรโมชันใหม่ ๆ เฉื อนกันดุเดือน ่ 4. เวลาขับรถต้องคาดเซฟตีเบลต์ทุกครั้ง 11. ข้อใดเขียนคาทับศัพท์ภาษาอังกฤษได้ถูกต้องทุกคา (O-NET 50) 1. เปอร์เซ็น พลาสติค คลินิก 2. ซอส เต็นท์ เบนซิน 3. กร๊ าฟ ช้อค สปริ ง 4. สวิตซ์ เชิ้ต ดีเปรสชัน่ 12. ข้อใดไม่มีคาภาษาไทยแทนคาภาษาต่างประเทศ (O-NET 50) 1. วัยรุ่ นส่ วนใหญ่ชอบร้องเพลงฮิตติดอันดับ 2. รัฐบาลมีโปรเจ็กต์พฒนาชนบทมากมาย ั 3. พ่อค้ารับออร์ เดอร์ สงสิ นค้าจากอเมริ กา ่ั 4. ปัจจุบันอินเทอร์ เน็ตมีความจาเป็ นอย่างยิง่ บทที่ 4 การสร้ างคา 1. คาประสม หมายถึง การเอาคามารวมกันให้เกิดความหมายใหม่ (คาประสม = คาต้น + คาเติม) - คาประสมจะมีความหมายโดยตรงหรื อโดยนัยก็ได้ - คาประสมเกิดจากคาต่างชนิดรวมกันเมื่อปะสมกันแล้วอาจเป็ นคาชนิดเดิมหรื อชนิดใหม่ก็ได้ เช่น แม่(นาม) + พริ ก(นาม) = น้ าพริ ก (นาม) ห่อ (กริ ยา) + หมก (กริ ยา) = ห่อหมก (นาม) - ถ้าขึ้นต้นด้วย การ ของ เครื่ อง ควา ช่าง ชาว ผู ้ ที่ นัก หมอ มักเป็ นคาประสม 2. คาซ้ อน มี 2 ประเภท 2.1 คาซ้อนเพื่อความหมาย มี 3 ลักษณะ (1) คาซ้อนที่เกิดจากการนาคาที่ความหมายเหมือนกันมาซ้อนกัน เช่น ใหญ่โต สวยงาม บ้านเรื อน ทรัพย์สิน ข้ อสอบชอบออกคาซ้ อนภาษาไทยภาษาถิ่น เช่ น พัดวี ทองคา เสื่ อสาด เป็ นต้น (2) คาซ้อนที่เกิดจากการนาคาที่ความหมายคล้ ายกันมาซ้อนกัน เช่น เงินทอง เพชรพลอย หน้าตา แขน ขา (3) คาซ้อนที่เกิดจากการนาคาที่ความหมายตรงข้ ามกันมาซ้อนกัน เช่น เป็ นตาย ร้ายดี ถี่ห่าง 2.2 คาซ้อนเพื่อเสี ยง ต้องมีพยัญชนะต้นเป็ นเสี ยงเดียวกันโดยที่แต่ละคาจะมีความหมายหรื อไม่มีก็ได้ เช่น เกะกะ งอแง จอแจ เจี๊ยวจ๊าว เตาะแตะ ฟูมฟาย อึดอัด ฯลฯ คาซ้อนจะมีความหมาย กว้างขึ้นแคบลง คงเดิม หรื อเปลี่ยนไปก็ได้ หน้ า 18
  • 19. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 3. คาซ้า หมายถึง การใช้คาเดิมซ้ ากันสองครั้ง คาที่ใช้ซ้ าสามาถแทนด้วยไม้ยมก (ๆ) ได้ ความหมายของคาซ้ า ได้แก่ บอกลักษณะ บอกพหูพจน์ เพิ่มจานวน บอกความถี่(ความต่อเนื่ อง) ไม่เจาะจง อ่อนลง เน้นย้า เปลี่ยนความหมาย 4. คาสมาส เป็ นการสร้างคาแบบบาลีลนสกฤต โดยแบ่งเป็ น 2 วิธี คือ สมาสแบบไม่มีสนธิ (ชนคา) และสมา ั แบบมีสนธิ (เชื่อมคา) กฎของคาสมาสมี 3 ข้อ 1. คาที่นามาสมาสกันต้องเป็ นคาบาลีสัสนกฤตเท่านั้น 2. แปลความหมายจากหลังไปหน้า 3. อ่านออกเสี ยงต่อเนื่องระหว่างคา 4.1คาสมาสแบบไม่ มีสนธิ (ชนคา) เช่น คุณธรรม (คุณ+ธรรม) ราชการ (ราช +การ) สัตวแพทย์(สัตว์ + แพทย์) ชีววิทยา (ชีวะ+วิทยา) ถ้าเจอคาใดที่ ลงท้ายด้วย ธรรม ศาสตร์ สถาน ศึ กษา กิ จ กรรม วิทยา กร ภาพ ศิ ลป์ การ ภัย = มักเป็ น คาสมาสแบบไม่มีสนธิ 4.2 คาสมาสแบบมีสนธิ (เชื่อมคา) ***โจทย์เน้นเฉพาะ สระสนธิ เท่านั้น 1. สระสนธิ เช่ น ชลาลัย (ชล+อาลัย) ปรมินทร์ (ปรม+อินทร์ ) ราชูปถัมภ์ (ราช+อุปถัมภ์) จุฬาลงกรณ์ (จุฬา +อลงกรณ์) สุ ริยโยทัย (สุ ริยะ+ อุทย) ั 2. พยัญชนะสนธิ จาเป็ นคาไปเลยเพราะมีแค่ไม่กี่คา ได้แก่ พรหมชาติ อาตมภาพ รโหฐาน มโนภาพ เตโชธาตุ นิรทุกข์ นิรภัย ทุรชน ทรชน ฯลฯ 3. นิคหิ ตสนธิ สังเกตคาที่ข้ ึนต้นด้วย สง สัง สัม สัญ สัณ สมา สมุ สโม ตัวอย่ างข้ อสอบบทที่ 4 เรื่องการสร้ างคา 1. คาประสมทุกคาในข้อใดมีโครงสร้างเหมือนคาว่า “เครื่ องซักผ้า” (O-NET 50) 1. ผ้าขาวม้า หม้อหุงข้าว ้ั 2. แปรงสี ฟัน ตูกบข้าว 3. รถไถนา น้ าพริ กเผา 4. ยาหยอดตา ไม้ จิมฟัน ้ 2. ข้อใดเป็ นคาประสมทุกคา (O-Net 49) 1. บ้านเรื อน พ่อแม่ ลูกหลาน 2. ขาดเหลือ บ้านนอก อ้วนพี 3. ห่อหมก ชัวดี ่ บ้านพัก 4. กล้วยไม้ เสื้อคลุม แผ่นเสี ยง หน้ า 19
  • 20. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 3. ข้อความต่อไปนี้มีคาประสมจานวนเท่าใด (ไม่นบคาซ้ า) ั “ปั จจุบนสิ นค้าต่าง ๆ ที่ขายได้ ไม่ได้ขายด้วยคุณภาพอย่างเดียวแล้ว แต่ขายด้วยภาพลักษณ์ ที่ดีดวย ั ้ นันหมายความว่าห้างนั้นบริ ษทนั้นมี ชื่อเสี ยงดี มี สินค้าดี มี ภูมิหลังดี และสิ นค้านั้นเป็ นที่ น่าเชื่ อถื อใน ่ ั วงการค้า” 1. 4 คา 2. 5 คา 3. 6 คา 4. 7 คา 4. ข้อความต่อไปนี้มีคาซ้อนกี่คา (O-Net 49) การระเบิดของภูเขาไฟทาให้หินร้อนจากใต้พิภพดันตัวขึ้นมาเหนื อผิวโลก ก่อให้เกิดคลื่น ยักษ์ถาโถมเข้าทาลายบ้านเรื อนและชี วิต ท้องทะเลปั่ นป่ วน ท้องฟ้ ามืดมิดทาให้ผคนหวาดกลัวคิด ู้ ว่าโลกจะแตก 1. 4 คา 2. 5 คา 3. 6 คา 4. 7 คา 5. ข้อใดไม่มีคาซ้อน (ฉบับตุลาคม 2546) 1. ธรรมดาเกิดมาเป็ นสตรี ชัวดีคงได้คู่มาสู่ สม ่ ั 2. ตาปะขาวเฒ่าแก่แซ่กนมา พร้อมนังปรึ กษาที่วดนั้น ่ ั 3. ได้ถือน้ าพระพิพฒน์สจจา จะหลบลี้หนีหน้าไปทาไม ั ั 4. แสนรโหโอฬาร์ น่าสบาย หญิงและชายต่ างกลุ้มประชุ มกัน 6. ข้อใดไม่มีคาซ้อน (๒/๒๕๔๕) 1. หน้าตาของสลวยดูสดใสขึ้นเมื่อทราบข่าวคนรักของเธอ 2. สาลินไม่รู้จกมักคุนกับอัศนียแต่เขาก็มาชวนเธอทางาน ั ้ ์ 3. รจนาตกอยู่ในวังวนของความทุกข์ ทดูจะหาทางออกไม่ ได้ ี่ 4. กนกเรขาไม่เดือดร้อนที่คนเข้าใจผิดเรื่ องการทางานของเธอ 7.ข้อใดเป็ นคาซ้อนทุกคา(A-NET 50) 1. ลอดลายมังกร สิ งห์สาราสัตว์ น้ าท่า 2.โมโหโกรธา ดั้งเดิม ปางก่อน 3.เสกสรร เก็บงา บาปบุญคุณโทษ 4.วิชาความรู้ ข้าวปลาอาหาร แม่ไม้มวยไทย 8.ข้อใดมีคาที่สลับคาแล้วไม่เป็ นคาซ้อน(A-NET 50) 1. ปนปลอม ยียวน 2. ร่ อนเร่ เลือนราง 3. ทนทาน โลมเล้า 4. กลับกลอก ลอกเลียน 9. ข้อใดไม่มีคาซ้อน (O-NET 50) 1. กินข้าวเสร็ จแล้วต้องช่วยกันเก็บถ้วยชามให้เรี ยบร้อย 2. ประชาชนกาลังยื้อแย่งกันซื้ อเสื้ อเหลืองที่เมืองทองธานี 3. เด็กวัยรุ่ นทุกวันนี้ชอบกินเหล้าเมายาประพฤติตนเหลวแหลก 4. รัฐบาลยอมให้ ราคานามันลอยตัวได้ จึงทาให้ นามันมีราคาแพง ้ ้ หน้ า 20
  • 21. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 10. ข้อใดมีท้ งคาซ้อนและคาประสม (A-Net 49) ั 1. ของของใคร ของใครก็ห่วง ของใครใครก็ตองหวง ห่วงใยรักใคร่ ถนอม ้ 2. ชอบไหม ชอบไหม รู ปร่ างหน้าตาอย่างนี้ ถามหน่อยเถอะพี่ ชอบไหม ชอบไหม 3. น้ องเปิ้ ลน่ ารัก น้ องเปิ้ ลน่ ารัก ผมเหงาอ้ างว้ างเปล่ าเปลียว ผมอยู่คนเดียวในความมืด ่ 4. ไก่ไหมครับไก่ ซื้ อไหมครับ จะกลับแล้วไก่ ไก่ขายถูกถูกแถมกระดูกกับไม้เสี ยบไก่ 11. ข้อใดไม่ ใช้คาซ้ า (A-Net 49) 1. มีความเหงาเยียบเย็นเป็ นที่อยู่ วันวันรับรู ้การไหลผ่าน 2. เยียมเยียมมองมองแล้วร้องว่า ่ ่ อะไรนี่บ่นบ้าน่าหนวกหู 3. สงสารใจใจเจ้ าเอยไม่ เคยว่าง ทุกก้ าวย่ างหยุดใจไม่ ได้ หนอ 4. ปูนอยน้อยวิงร่ อยตามริ มหาด ้ ่ ทั้งสองมาดหมายตะครุ บปุบเปิ ดหาย 12. คาซ้ าในข้อใดไม่สามารถใช้เป็ นคาเดี่ยวได้ (O-NET 50) 1. กับข้ าวพืน ๆ ใครก็ทาได้ ้ 2. แท็กซี่ คนไหน ๆ ก็ไม่รับฉันสักคัน ั 3. หาซื้ อเมล็ดพันธุ์ดี ๆ มาเพาะปลูก 4. จุดตะเกียงกระป๋ องเล็ก ๆ ท่องหนังสื อ 13. คาซ้ าในข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น (ฉบับตุลาคม 2546) 1. น้อยมีเสื้ อผ้าสวยเป็ นตูๆ ้ 2. เมื่อตอนเด็กๆ ฉันไม่ ชอบว่ายนา ้ 3. ฉันเห็นทหารเดินมาเป็ นแถวๆ 4. เขาไปเที่ยวกับเพื่อนๆ ในวันอาทิตย์ 14. ข้อใดเป็ นคาสมาสทุกคา (ฉบับตุลาคม 2546) 1. พลความ นาฏศิลป์ สรรพสัตว์ 2. ชลบุรี ธนบัตร พิธีกร 3. ราชดาเนิน สหกรณ์ ชีวประวัติ 4. ยุทธวิธี คริ สตจักร เอกภาพ 15. ข้อใดไม่ มีคาสมาส (O-Net 49) 1. ในลักษณ์น้ นว่าปั จจามิตร ั มาตั้งติดดาหากรุ งใหญ่ 2. ผงคลีมืดคลุ้มโพยมบน บดบังสุ ริยนในท้ องฟา ้ 3. ตรัสขาดว่าราชบุตรี จรกาธิ บดีมากล่าวขาน 4. เกียรติยศจะไว้ในธรณิ นทร์ จนสุ ดสิ้ นดินแดนแผ่นฟ้ า 16. ข้อใดไม่มีคาสมาส (O-NET 50) 1. บทความบางเรื่องมีแผนภูมิประกอบ 2. คณะนาฏศิลป์ ไทยไปแสดงต่างประเทศ 3. หนังสื อที่มีอายุครบ 50 ปี แล้วไม่มีค่าลิขสิ ทธิ์ 4. ทหารที่สละชีพเพื่อชาติได้รับการยกย่องให้เป็ นวีรบุรุษ หน้ า 21
  • 22. เอกสารประกอบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 17. ข้อใดเป็ นคาสมาสที่มีสนธิทุกคา (O-NET 50) 1. โลกาภิวตน์ เอกภพ ศานติสุข ั 2. สิ งหาสน์ วชิ ราวุธ นิลบล ุ 3. ฉัพพรรณรังสี อิทธิ ฤทธิ์ ปริ ศนา 4. มโหฬาร เจตนารมณ์ เบญจเพส 18. ข้อใดเป็ นคาสมาสที่มีสนธิทุกคา (1/2547) 1. ทิวากร อมริ นทร์ รัตติกาล 2. สรรพางค์ ธันวาคม อรัญวาสี 3. กุศโลบาย มิจฉาทิฐิ บุญญาธิการ 4. ธรรมาสน์ มหัศจรรย์ อรุ โณทัย 19. การสร้างคาในข้อใดมีลกษณะต่างจากข้ออื่น (A-Net 49) ั 1. อุทกภัย คณิ ตศาสตร์ มนุษยชาติ 2. กาลเทศะ ธุ รกิจ แพทยศาสตร์ 3. อุณหภูมิ เทพบุตร ประวัติศาสตร์ 4. ภัตตาคาร อรุ โณทัย วชิ ราวุธ 20. ข้อใดมีคาที่เกิดจากการสร้างคามากชนิดที่สุด (ฉบับตุลาคม 2546) 1. ผู้สูงอายุควรรู้ จักดูแลสุ ขภาพให้ แข็งแรง 2. ใบหน้ายิมแย้มของเธอทาให้ความโกรธของเราเบาบางลง ้ 3. ถ้าอยากเป็ นคนน่ารักอย่างไทย จิตใจควรงามและเป็ นธรรม 4. หัวใจของศาสนาพุทธคือละชัว ทาดี และทาจิตใจให้ผองแผ้ว ่ ่ หน้ า 22