SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
~1~


                                          อินเทอร์ เน็ต(Internet)

ประวัติความเป็ นมา
       อินเทอร์ เน็ต คือ การเชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกัน ตามโครงการของอาร์ป้าเน็ต (ARPAnet =
       Advanced Research Projects Agency Network) เป็ นหน่วยงานสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ
       (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้งเมื่อประมาณ ปี ค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่ อยมา
       ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) อาร์ป้าเน็ตได้รับทุนสนันสนุนจากหลายฝ่ าย และเปลี่ยนชื่อเป็ นดาป้ าเน็ต (DARPANET
       = Defense Advanced Research Projects Agency Network) พร้อมเปลี่ยนแปลงนโยบาย และได้ทดลองการ
       เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ คนละชนิดจาก 4 เครื อข่ายเข้าหากันเป็ นครั้งแรก คือ 1)มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลองแอ
       งเจอลิส 2)สถาบันวิจยสแตนฟอร์ด 3)มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนีย ซานตาบาบาร่ า และ4)มหาวิทยาลัยยูทาห์
                              ั
       เครื อข่ายทดลองประสบความสาเร็ จอย่างมาก ดังนั้นในปี ค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้เปลี่ยนจาก
       เครื อข่ายทดลอง เป็ นเครื อข่ายที่ใช้งานจริ ง ซึ่ งดาป้ าเน็ตได้โอนหน้าที่รับผิดชอบให้แก่หน่วยการสื่ อสารของ
       กองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปัจจุบนคือ Defense Informations Systems Agency) แต่
                                                                        ั
       ในปัจจุบนอินเทอร์เน็ตมีคณะทางานที่รับผิดชอบบริ หารเครื อข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแล
                  ั
       วัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมติมาตรฐานใหม่ในอินเทอร์ เน็ต, IETF
                                                                              ั
                                                                      ั
       (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้กบอินเทอร์ เน็ต ซึ่ งเป็ นการทางานโดยอาสาสมัคร
       ทั้งสิ้ น
       ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) ดาป้ าเน็ตตัดสิ นใจนา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใช้
       กับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องในระบบ จึงเป็ นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตมา
       จนถึงปัจจุบน เพราะ TCP/IP เป็ นข้อกาหนดที่ทาให้คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องในโลกสื่ อสารด้วยความเข้าใจบน
                    ั
       มาตรฐานเดียวกัน
       ค.ศ.1980(พ.ศ.2523) ดาป้ าเน็ตได้มอบหน้าที่รับผิดชอบการดูแลระบบอินเทอร์ เน็ตให้มูลนิธิวทยาศาสตร์ิ
       แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) ร่ วมกับอีกหลายหน่วยงาน
       ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เริ่ มใช้การกาหนดโดเมนเนม (Domain Name) เป็ นการสร้างฐานข้อมูลแบบกระจาย
                                   ่
       (Distribution Database) อยูในแต่ละเครื อข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทาฐานข้อมูลของ
       ตนเอง จึงไม่จาเป็ นต้องมีฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรี ยกเว็บไซต์ www.yonok.ac.th จะ
       ไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ในเครื่ องบริ การโดเมนเนมหรื อไม่ ถ้ามีก็จะตอบกับมาเป็ นหมายเลขไอพี ถ้าไม่มีก็จะ
       ค้นหาจากเครื่ องบริ การโดเมนเนมที่ทาหน้าที่แปลชื่ออื่น สาหรับชื่อที่ลงท้ายด้วย .th มีเครื่ องบริ การที่
       thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูลของโดเมนเนมที่ลงท้ายด้วย th ทั้งหมด
       ค.ศ.1991(พ.ศ.2534) ทิม เบอร์ เนอร์ส ลี (Tim Berners-Lee) แห่งศูนย์วิจย CERN ได้คิดค้นระบบ
                                                                                    ั
       ไฮเปอร์ เท็กซ์ข้ ึน สามารถเปิ ดด้วย เว็บเบราวเซอร์ (Web Browser) ตัวแรกมีชื่อว่า WWW (World Wide Web)
~2~
   บริ การที่อินเทอร์ เน็ตมีให้
            แต่เว็บไซต์ได้รับความนิยมอย่างจริ งจัง เมื่อศูนย์วิจย NCSA ของมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์เออร์ แบน่าแชมเปญจ์
                                                                ั
            สหรัฐอเมริ กา ได้คิดโปรแกรม MOSAIC (โมเสค) โดย Marc Andreessen ซึ่งเป็ นเว็บเบราว์เซอร์ ระบบ
            กราฟฟิ ก หลังจากนั้นทีมงานที่ทาโมเสคก็ได้ออกไปเปิ ดบริ ษทเน็ตสเคป (Browser Timelines: Lynx 1993,
                                                                        ั
            Mosaic 1993, Netscape 1994, Opera 1994, IE 1995, Mac IE 1996, Mozilla 1999, Chimera 2002, Phoenix
            2002, Camino 2003, Firebird 2003, Safari 2003, MyIE2 2003, Maxthon 2003, Firefox 2004, Seamonkey

 1. Telnet หรื อ SSH
          เครื่ องมือพื้นฐาน ที่ใช้ติดต่อเครื่ องบริ การ (Server) เพื่อเข้าควบคุมการทางานของเครื่ อง ปิ ดเปิ ดบริ การ รับส่ ง
          เมล ใช้พฒนาโปรแกรม เป็ นต้น โปรแกรมนี้มีมาพร้อมกับการติดตั้ง TCP/IP ผูใช้สามารถเรี ยกใช้จาก
                     ั                                                                    ้
          c:windowstelnet.exe แต่การใช้งานเป็ นแบบ Text Mode ที่ผใช้ตองเรี ยนรู ้คาสังให้เข้าใจก่อนใช้งาน ในอดีต
                                                                             ู้ ้           ่
          ผูใช้มกใช้โปรแกรม Pine ในเครื่ องบริ การสาหรับรับส่ งอีเมล ก่อนการใช้ POP3 และ Web-Based จะแพร่ หลาย
            ้ ั
          โปรแกรม PINE ถูกพัฒนาโดยนักศึกษามหาวิทยาลัย WASHINGTON University
          + telnet.org
          + wikipedia.org



2. อีเมล (e-mail หรื อ Electronic Mail)
        อีเมล คือ บริ การกล่องจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผใช้สามารถรับ และส่ งอีเมลในอินเทอร์ เน็ต เพื่อประโยชน์
                                                           ู้
        ด้านการสื่ อสาร ปั จจุบนบริ การอีเมลผ่าน Web-Based Mail ได้รับความนิยมอย่างมาก จึงมีหลายบริ ษทเปิ ด
                                ั                                                                          ั
        ให้บริ การฟรี อีเมล เช่น hotmail.com, yahoo.com, thaimail.com, chaiyo.com, lampang.net, thaiall.com
        บริ การอีเมลที่ได้รับความนิยมมี 2 ประเภทคือ Web-Based Mail และ POP3 บริ การแบบ POP3 นั้นผูใช้สามารถ
                                                                                                         ้
        ดาวน์โหลดอีเมลจากเครื่ องบริ การเมลไปเก็บไว้ในเครื่ องของตน จึงเปิ ดอ่านอีเมลเก่าได้โดยไม่ตองเชื่อมต่อ
                                                                                                     ้
        อินเทอร์ เน็ต เหมาะกับผูใช้ในสานักงานที่มีเครื่ องเป็ นของตนเอง โปรแกรมที่ใช้เปิ ดอีเมลแบบ POP3 เช่น
                                  ้
        Outlook Express, Eudora หรื อ Netscape Mail เป็ นต้น
        + www.thaiall.com/article/mail.htm
~3~

 3. USENET News หรื อ News Group
         ในยุคแรกของอินเทอร์เน็ต มีผใช้บริ การ USENET อย่างแพร่ หลาย เพราะเป็ นแหล่งข้อมูลให้สืบค้นขนาดใหญ่
                                        ู้
         สามารถส่ งคาถาม เข้าไปตอบคาถาม แสดงความคิดเห็น ทาให้เกิดสังคมของการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ปั จจุบนมี         ั
         การใช้งาน USENET น้อยลง เพราะผูใช้หนไปใช้เว็บบอร์ ดซึ่ งเข้าถึงได้ง่าย และเป็ นที่แพร่ หลายกว่า ปัจจุบน
                                               ้ ั                                                             ั
         เชื่อว่าเยาวชนรู ้จก http://www.pantip.com มากกว่า news://soc.culture.thai
                            ั



4. FTP (File Transfer Protocal - บริ การโอนย้ายข้อมูล)
        บริ การนี้ สามารถใช้ download แฟ้ มผ่าน browser ได้เพราะการ download คือ การคัดลอกโปรแกรมจาก
        server มาไว้ในเครื่ องของตน แต่ถาจะ upload แฟ้ ม ซึ่งหมายถึง การส่ งแฟ้ มจากเครื่ องของตน เข้าไปเก็บใน
                                             ้
                                                                                                      ่
        server เช่นการปรับปรุ ง homepage ให้ทนสมัย ซึ่ง homepage ของตนถูกจัดเก็บใน server ที่อยูอีกซี กโลกหนึ่ง
                                                    ั
        จะต้องใช้โปรแกรมอื่น เพื่อส่ งแฟ้ มเข้าไปใน server เช่นโปรแกรม cuteftp หรื อ wsftp หรื อ ftp ของ windows
        การ download นั้นไม่ยาก หากผูให้บริ การยอมให้ใครก็ได้เข้าไป download แฟ้ มใน server ของตน และ
                                           ้
        ผูใช้บริ การรู ้วาแฟ้ มที่ตองการนั้นอยูที่ใด แต่การ upload มักไม่ง่าย เพราะต้องใช้โปรแกรมเป็ น และมีความเป็ น
           ้             ่         ้           ่
        เจ้าของในเนื้ อที่ที่จะกระทา รวมทั้งมี userid และ password เพื่อแสดงสิ ทธิในการเข้าใช้บริ การ การศึกษาการ
        ส่ งแฟ้ มเข้าไปใน server อาจต้องหา บทเรี ยน ftp มาอ่านเพื่อศึกษาวิธีการส่ ง หรื อหาอ่านได้จาก เว็บที่
                                                             ่
        ให้บริ การ upload แฟ้ ม ซึ่ งมักเขียนไว้ละเอียดดีอยูแล้ว
        + ipswitch.com (WS_FTP Client)
        + filezilla.sourceforge.net แนะนาโดย thaiopensource.org
        + www.thaiall.com/learn/useftp.htm
~4~



5. WWW (World Wide Web)
       บริ การที่ตองใช้โปรแกรม Web Browser เช่น FireFox, Netscape, Internet Explorer, Opera หรื อ Neoplanet
                    ้
       เพื่อเปิ ดดูขอมูลจากเว็บไซต์ (Website) หรื อโฮมเพจ (Homepage) จะได้ขอมูลในลักษณะเป็ นตัวอักษร ภาพ
                      ้                                                    ้
       เสี ยง และภาพเคลื่อนไหว ในลักษณะสื่ อผสม รวมทั้งการสังประมวลผล และตอบสนองแบบอินเทอร์ แอ็กทีฟ
                                                               ่
       (Interactive)
       บริ การนี้ได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็ ว จนนามาใช้งานอย่างหลากหลาย เช่น ชมภาพยนต์ ฟังเพลงออนไลน์ เล่น
       เกมส์ ค้นข้อมูล ประมวลผลข้อมูลทางธุ รกิจ ทาข้อสอบ การส่ งเมล ติดต่อซื้ อขาย ชาระเงินด้วยบัตรเครดิต หรื อ
       ส่ งโพสท์การ์ ด เป็ นต้น
       + class.yonok.ac.th
       + thaiall.com
       + uploadtoday.com



 6. Skype, Net2Phone, Cattelecom.com
        บริ การโทรศัพท์จากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่ องรับโทรศัพท์ที่บาน (PC2Phone) และได้รับความนิยมอย่างมาก
                                                                 ้
        เพราะมีอตราค่าโทรศัพท์ถูกกว่า และผูให้บริ การบางรายยังมีบริ การ PC2Fax สาหรับส่ ง Fax จากเครื่ อง
                  ั                           ้
        คอมพิวเตอร์ไปเครื่ องรับ Fax ที่สานักงาน โดยชาระค่าบริ การแบบ Pre-Paid และใช้บริ การจนกว่าเงินที่จ่ายไว้
        จะหมด แต่ถาโทรจากคอมพิวเตอร์ ไปยังคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้ฟรี เพราะมีโปรแกรมหลายตัวที่มี
                    ้
        ความสามารถนี้ และฟรี เช่นกัน บาง
        + net2phone.com
        + skype.com
        + cattelecom.com
~5~

7. Netmeeting
       ในอดีต .. เป็ นโปรแกรมที่มีชื่อมาก เพราะทาให้คนจากซีกโลกหนึ่ง สามารถติดต่อกับอีกซี กโลก ด้วยภาพ และ
       เสี ยงจากคอมพิวเตอร์ ถึงคอมพิวเตอร์ คล้ายโทรศัพท์ แต่ไม่มีค่าโทรศัพท์ทางไกลไปต่างประเทศ เสี ยค่าใช้จ่าย
       เฉพาะค่าเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตเท่านั้น
       ผูใช้ตอง download โปรแกรมมาติดตั้ง แต่ปัญหาที่สาคัญในการติดต่อสื่ อสารแบบนี้ คือ ต้องการสื่ อที่รองรับการ
           ้ ้
       สื่ อสารด้วยความเร็ วสู ง เพราะการติดต่อด้วยเสี ยง อาจได้เสี ยงที่ไม่ชดเจน หรื อขาดหายระหว่างการสนทนา หาก
                                                                             ั
       ความเร็ วในการเชื่ อมต่อไม่เร็ วพอ และเป็ นไปไม่ได้ ถ้าใช้การเชื่อมต่อเว็บแคม (WebCam) แบบเห็นภาพร่ วมด้วย
        ถ้ายังใช้ Modem 56 Kbps อยู่ แต่ถาใช้ ADSL ก็จะไม่มีปัญหาเรื่ องความเร็ วอีกต่อไป
                                          ้
       To Open Netmeeting in WinXP : Start, Run, conf.exe
       + microsoft.com
       + videofrog.com



8. ICQ (I Seek You)
       ในอดีต .. บริ การนี้เป็ น บริ การที่เยียมมาก และได้รับความนิยมจนไม่คิดว่าจะมีใครมาล้มได้ ผูใดที่มีโปรแกรม
                                              ่                                                   ้
                                                                       ่
       ICQ ไว้ในคอมพิวเตอร์ จะติดต่อกับเพื่อนที่ใช้โปรแกรม ICQ อยูได้อย่างสะดวก เพราะเมื่อเปิ ดเครื่ อง
                                                             ่
       โปรแกรมนี้ จะแสดงสถานะของเพื่อนใน List ทันทีวามาแล้ว และพร้อมจะสนทนาด้วยหรื อไม่ เปรี ยบเสมือนมี
        Pager ติดคอมพิวเตอร์ไว้ทีเดียว บริ การนี้ ผูใช้ตองไป download โปรแกรมมาติดตั้งฟรี เบอร์ ท่ีผมเคยใช้คือ
                                                     ้ ้
       20449588 ปัจจุบนผูคนหันไปใช้ MSN Messenger หรื อ Yahoo Messenger
                        ั ้
       + icq.com
       + msn.com (Webcam, Speaker, Microphone)
       + yahoo.com
~6~

9. IRC (Internet Relay Chat)
        ในอดีต .. บริ การนี้คนไทยทุกวัย ชอบกันมาก โดยเฉพาะโปรแกรม PIRC เพราะทาให้สามารถสนทนากับใคร
        ก็ได้ที่ใช้โปรแกรม PIRC การสนทนากระทาผ่านแป้ นพิมพ์ โดยไม่จาเป็ นต้องเห็นหน้า หรื อรับผิดชอบต่อสิ่ ง
        ที่พิมพ์ออกไป หญิงอาจบอกว่าตนเป็ นชาย นักเรี ยนมัธยมอาจบอกว่าตนเป็ นนางงาม เด็กตจว. อาจบอกว่ากาลัง
        เรี ยนต่อแอลเอ เป็ นต้น
        ใน IRC มักแบ่งเป็ นห้อง โดยมีชื่อห้องเป็ นตัวระบุหวข้อสนทนา หรื อสื่ อให้รู้กนในกลุ่ม เช่น "ห้องวิธีแก้เหงา"
                                                            ั                        ั
        หากใครต้องการสนทนาถึงวิธีแก้เหงา เข้าไปในห้องนั้น หรื อเข้าหลายห้องพร้อมกัน สามารถเลือกสนทนา
        กับใครเป็ นการส่ วนตัว หรื อจะสนทนาพร้อมกันทั้งกลุ่ม เมื่อสนทนากันถูกคอก็สามารถ ที่นด Meeting
                                                                                                  ั
        ตามร้านอาหาร เพื่อนสร้างสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน หรื อนัดสนทนากันใหม่ในเวลาที่สะดวกสาหรับวันต่อไป
        จึงทาให้ทุกเพศทุกวัย ชื่นชอบที่จะใช้บริ การนี้ อย่างมาก โดยเฉพาะคนที่ยงไม่มีคู่ชีวต
                                                                               ั          ิ
        ปัจจุบนผูคนหันไปใช้ Messenger หรื อ Web Chat
                ั ้
        + mirc.com
        + thaiirc.in.th



10. Game Online
        เกมส์กลยุทธหลายเกมส์ เป็ นการจาลองสถานการณ์การรบ หรื อการแข่งขัน ทาให้ผใช้สามารถต่อสู ้กบตัวละคร
                                                                                               ู้               ั
        ในคอมพิวเตอร์ เสมือนคอมพิวเตอร์สามารถคิดเอง และสู ้กบเราได้ แต่ก็ยงมีจุดบกพร่ อง เพราะไม่เหมือน
                                                                        ั           ั
        การสู ้กบคนที่คิดเป็ น และพูดคุยโต้ตอบได้ จึงมีการสร้างเกมส์ และบริ การ ที่ทาให้ผใช้ต่อสู ้กน หรื อร่ วมกันสู ้
                 ั                                                                                ู้    ั
        โดยจ่ายค่าลงทะเบียน เพื่อขอรหัสผูใช้เข้าเครื่ องบริ การ เพื่อการติดต่อสื่ อสาร หรื อทาภารกิจกับเพื่อนร่ วมรบ
                                              ้
        ที่มีจุดมุ่งหมาย หรื อชื่นชอบในเรื่ องเดียวกัน เป็ นบริ การเพื่อความบันเทิงที่กาลังเติมโต อย่างรวดเร็ วในโลก
                                                                   ่
        อินเทอร์ เน็ต และในอนาคต ผูที่เคยติดเกมจะได้เรี ยนรู ้วา เขาน่าจะทากิจกรรมอื่นมากกว่าติดเกม
                                      ้
        + asiasoft.co.th
        + siamcomic.com
        + barbie.com
        + ferryhalim.com
        + thaiall.com/games
~7~

11. Software Updating
       มีโปรแกรมมากมายที่ใช้ประโยชน์จากการติดต่อสื่ อสารผ่านอินเทอร์ เน็ต และหนึ่งในนั้นก็คือ บริ การปรับปรุ ง
       โปรแกรม แบบ Online เช่น โปรแกรมฆ่าไวรัส ที่มีชื่อเสี ยง เกือบทุกโปรแกรม หรื อระบบปฏิบติการอย่าง
                                                                                                 ั
       Microsoft ก็ยอมให้ผใช้สามารถเข้ามา Download ข้อมูลไปปรับปรุ งให้ทนสมัย เพื่อใช้ต่อสู ้ไวรัสตัวใหม่
                           ู้                                                ั
       หรื อแก้ไขจุดบกพร่ องที่พบในภายหลัง ผูใช้เพียงแต่เลือก Click บนปุ่ ม Update โปรแกรมจะทาหน้าที่เชื่อมต่อ
                                             ้
       กับเว็บไซต์ของตน และทางานเองจนการ update สมบูรณ์
       + clamwin.com แนะนาโดย thaiopensource.org
       + antivir.com
       + bitdefender.com



  12. Palm หรื อ PocketPC
           Palm หรื อ PocketPC นั้นต่างก็เป็ น Organizer ยุคใหม่มีอีกชื่อหนึ่งว่า PDA (Personal Digital Assistant) ซึ่ง
           ถูกตั้งชื่อโดย Apple ตั้งแต่ปี 1990 แต่สมัยนั้นยังไม่สาเร็ จ จึงมีการพัฒนาเรื่ อยมา จนถึงปั จจุบน
                                                                                                           ั
           คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก ที่มีความสามารถสู งมาก เพราะสามารถพัฒนาโปรแกรม สั่งให้ palm ทางานได้หลาย
           ๆ อย่าง ทาให้ความสามารถหลักด้าน organizer กลายเป็ นส่ วนประกอบไปเลย เพราะมีผพฒนาโปรแกรม   ู้ ั
                 ั
           ให้กบ palm มากทีเดียว คนไทยก็ทาครับ เพื่อให้ palm เข้าใจภาษาไทย และใช้ปากกาเขียนภาษาไทยให้
           palm อ่านรู ้เรื่ องได้ทนที
                                   ั
           Palm สามารถทางานร่ วมกับคอมพิวเตอร์ โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน โดยผูใช้ palm สามารถเขียน mail
                                                                                             ้
           ใน palm เมื่อต้องการส่ งก็ upload เข้าคอมพิวเตอร์ที่ online กับ internet แล้ว คอมพิวเตอร์ ก็จะทาหน้าที่ส่ง
           mail ให้อตโนมัติ รวมถึงการรับ mail ใหม่เข้าไปใน palm ทาให้สามารถอ่าน mail จากที่ไหนก็ได้ แต่เป็ น
                       ั
                                                       ่
           การทางานแบบ offline ไม่เหมือนมือถือที่อาน mail ได้แบบ online แต่ palm ไม่ใช่มือถือครับ
~8~



13. WAP (Wireless Application Protocal)
        WAP เป็ นเทคโนโลยีที่ทาให้โทรศัพท์ สามารถเปิ ดเว็บเพจที่พฒนาเพื่อโทรศัพท์มือถือตามมาตรฐาน WAP
                                                                    ั
        โดยเฉพาะ เช่น wopwap.com, wap.siam2you.com, wap.a-roi.com, wap.mweb.co.th รุ่ นของโทรศัพท์ในยุค
        แรกที่ให้บริ การ WAP เช่น Nokia7110, Nokia9110i, EricssonR320, EricssonA2618, Alcatel OneTouch View
        WAP หรื อ 300 family หรื อ 500 family หรื อ 700 family, MotorolaV8088 เป็ นต้น เว็บที่มีขอมูลเรื่ อง wap เช่น
                                                                                                 ้
        wapinsight.com, wap-uk.com, waphq.com, wapjag.com, yourwap.com, waptastic.com เป็ นต้น
        ปั จจุบนเราไม่จาเป็ นต้องเข้า Wap Website แต่เข้าเว็บไซต์โดยตรงผ่านบริ การ GPRS (General Packet Radio
               ั
        Service) ใน GSM Mobile Phone [wikipedia.org]




   การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ต




                 การประยุกต์ใช้อินเทอร์ เน็ตในปั จจุบนทาได้หลากหลาย อาทิเช่น ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิ กส์หรื อ
                                                     ั                               ์
        อีเมล์ (e-Mail) , สนทนา (Chat), อ่านหรื อแสดงความคิดเห็นในเว็บบอร์ ด,การติดตามข่าวสาร, การสื บค้น
        ข้อมูล / การค้นหาข้อมูล, การชม หรื อซื้ อสิ นค้าออนไลน์ , การดาวน์โหลด เกม เพลง ไฟล์ขอมูล ฯลฯ, การ
                                                                                             ้
        ติดตามข้อมูล ภาพยนตร์ รายการบันเทิงต่างๆ ออนไลน์, การเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ออนไลน์, การเรี ยนรู้
        ออนไลน์ (e-Learning), การประชุมทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต

                                     ่
        (Video Conference), โทรศัพท์ผานอินเทอร์ เน็ต (VoIP), การอัพโหลดข้อมูล หรื อ อื่นๆแนวโน้มล่าสุ ดของ
        การใช้อินเทอร์ เน็ตคือการใช้อินเทอร์ เน็ตแหล่งพบปะสังสรรค์เพื่อสร้างเครื อข่ายสังคมซึ่ งพบว่าปั จจุบน
                                                                                                            ั
        เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวกาลังได้รับความนิ ยมอย่างแพร่ หลายเช่น Facebook Twitter Hi 5
        และการใช้เริ่ มมีการแพร่ ขยายเข้าไปสู่ การใช้อินเทอร์ เน็ตผ่าโทรศัพท์มือถือ (Mobile Internet) มากขึ้น
        เนื่องจากเทคโนโลยีปัจจุบนสนับสนุนให้การเข้าถึงเครื อข่ายผ่านโทรศัพท์มือ ถือทาได้ง่ายขึ้นมาก
                                ั
~9~

การค้ นหาข้ อมูลทางอินเทอร์ เน็ต

                     ่
         ระยะเวลาที่ผานมาจน ถึงปัจจุบน “โฮมเพจ เว็บเพจ เว็บไซด์ เวิลด์ไวด์เว็บ(www) อินเตอร์เน็ต”เป็ นคาที่คนหูและ
                                     ั                                                                      ุ้
ได้ยนกันบ่อยๆ จนกลายเป็ นสิ่ งที่เกี่ยวข้องในชีวตประจาวันของเรามากเข้าไปทุกขณะ เทคโนโลยีเหล่านี้ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า
    ิ                                           ิ
มันกาลังเติบโต และเข้ามามีส่วนสาคัญในชีวตของมนุษย์มากยิงขึ้น
                                        ิ              ่
การเข้าถึงแหล่งข้อมูล บนอินเตอร์เน็ตในปัจจุบน มีเว็บไซด์ที่รวบรวม จักระเบียบข้อมูลออกเป็ นหมวดหมู่ท้ งที่เป็ น
                                            ั                                                        ั
แหล่งข้อมูลของสถานศึกษาโดยตรง และองค์กรอื่นๆ ที่ให้บริ การข้อมูลเพื่อเป็ นความรู ้ รวมทั้งองค์กรที่ต้ งขึ้นมาเพื่อทา
                                                                                                      ั
หน้าที่รวบรวม สื บค้น และให้บริ การข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตโดยตรง ด้วยเหตุน้ ีจึงจาเป็ นต้องมีการเรี ยนรู ้วธีการใช้งาน การ
                                                                                                        ิ
                                                  ่
จัดระบบข้อมูลการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่ องมือที่มีอยูในอินเตอร์เน็ตในที่น้ ีจะยกตัวอย่างวิธีการค้นหาข้อมูลใน wwwการ
                                                                ่
ค้นหาข้อมูลในเวิลด์ไวด์เว็บใน โลกของเวิลด์ไวด์เว็บนั้นมีขอมูลอยูมากกว่า 100 ล้านหน้า ถ้าเราเปิ ดเว็บเพจ ไปทีละหน้า ๆ
                                                         ้
จะต้องเสี ยเวลามาก และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ ดังนั้นจึงมีวธีการค้นหาข้อมูลอย่างรวดเร็ ว โดยใช้เว็บไซต์ชนิด
                                                                 ิ
หนึ่งที่เรี ยกว่า เว็บไซต์คนหาข้อมูล (Search Site) ซึ่งรวบรวมเว็บไซต์ต่าง ๆ เอาไว้ เราเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ตองการ แล้ว
                           ้                                                                                ้
              ่
เข้าไปขอที่อยูของเว็บไซต์ใน Search Site เราก็จะได้ขอมูลตามต้องการ
                                                   ้

ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic mail

                                              ู้ ั
         บริ การ E-Mail ฟรี เป็ นบริ การที่มีผใช้กนมาก เพราะใช้สาหรับส่ ง และอ่านข้อความ กับผูที่ตองการ
                                                                                              ้ ้
ติดต่อด้วยและใช้แทนจดหมายได้อย่างดี เพราะไม่ตองเสี ยค่าใช้จ่าย และผูรับจะได้รับในเวลาเกือบทันทีที่
                                             ้                      ้
ส่ งไป ผูใหับริ การ E-Mail ฟรี ในปั จจุบน เช่นของ hotmail หรื อ yahoo mail หรื อ ตามแต่ละประเทศ ที่คนใน
         ้                              ั
ประเทศจะทา Server ให้บริ การ สาหรับกลุ่มที่มีความสนใจคล้าย ๆ กัน เช่น thaimail.com หรื อ chaiyo.com
ซึ่งเป็ นของคนไทย และ mail ฟรี เหล่านี้ จะให้บริ การไปเรื่ อย ๆ ไม่มีการหมดอายุ แต่จะหมดอายุถาผูใช้เกิด
                                                                                             ้ ้
เลิกใช้เป็ นเวลานานเกินไป สาหรับ E-Mail ของสถาบัน จะหมดอายุแน่นอน หลักจากที่สาเร็ จการศึกษา จึง
เป็ นจุดบกพร่ องข้อใหญ่ ที่ทาให้นกศึกษา หันไปใช้ E-Mailฟรี มากกว่าที่สถาบัน จัดไว้ให้ การใช้ E-Mail
                                 ั
กับผูให้บริ การฟรี เช่น thaimail.com, lampang.net, thaiall.com หรื อ chaiyo.com นั้น ผูใช้จะต้องไป
     ้                                                                                 ้
download โปรแกรม browser เช่น netscape หรื อ Internet Explorer หรื อ Opera หรื อ NeoPlanet มาไว้ใน
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ต่อ Internet แล้วเปิ ดหน้าเว็บของแหล่งบริ การ เพื่อใช้บริ การ E-Mail ดังกล่าว ซึ่ ง

ผูใช้จะต้องขอใช้บริ การ และจะได้รับ userid และ password ประจาตัว เพื่อ login เข้าใช้บริ การ E-Mail ทุก
  ้
ครั้ง ปัจจุบนการขอใช้บริ การ E-Mail สามารถเลือกได้ที่จะใช้ web-based หรื อ POP เพราะแต่ละแบบมี
            ั
จุดเด่น จุดด้อยที่แตกต่างกัน โดย web-based จะเหมาะกับผูที่เดินทางเป็ นประจา ส่ วน pop จะเหมาะกับผูมี
                                                       ้                                          ้
คอมพิวเตอร์ ส่วนตัว
~ 10 ~

พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์

         พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทาธุรกรรมทุกรู ปแบบโดยครอบคลุมถึงการซื้อขายสิ นค้า/บริ การ การชาระ
เงิน การโฆษณาโดยผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะเครื อข่ายทางอินเทอร์เน็ต พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Commerce) หรื ออีคอมเมิร์ซ (E-Commerce) เริ่ มขึ้นเมื่อประมาณต้นทศวรรษที่ 1970 โดยเริ่ มจากการโอนเงิน
ทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาย และในช่วงเริ่ มต้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่จะเป็ นบริ ษทใหญ่ๆ เท่านั้น บริ ษท
                                                                                            ั                    ั
เล็กๆ มีจานวนไม่มากนัก ต่อมาเมื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange-EDI) ได้
                                             ี
แพร่ หลายขึ้น ประกอบกับคอมพิวเตอร์พีซีได้ม ีการขยายเพิ่มอย่างรวดเร็ วพร้อมกับการพัฒนาด้านอินเทอร์เน็ตและเว็บ
ทาให้หน่วยงานและบุคคลต่าง ๆ ได้ใช้พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ในปั จจุบนพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ครอบคลุม
                                                                         ั
ธุรกรรมหลายประเภท เช่น การโฆษณา การซื้อขายสิ นค้า การซื้อหุน การทางาน การประมูล และการให้บริ การลูกค้า
                                                           ้




การสนทนาออนไลน์

         การสนทนาออนไลน์ หรื อ Internet Relay Chat (IRC) หมายถึง โปรแกรมที่ถกสร้างมาเพื่อการสนทนาเครื อข่าย
                                                                            ู
อินเทอร์เน็ต โดยการพิมพ์ขอความผ่านคียบอร์ดขึ้นสู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ซ่ ึงจะมีชื่อของ ผูเ้ ล่นและข้อความแสดงขึ้นใน
                         ้           ์
หน้าต่างภายในจอคอมพิวเตอร์ของโปรแกรมสนทนา ให้คนอื่นๆ ที่ร่วมสนทนาในห้องสนทนา (chat room) นั้น ๆ ได้เห็น
ว่า ผูเ้ ล่นสนทนาคนอื่น ๆ สามารถเข้าสนทนาได้

          การสนทนาออนไลน์ในแบบ Web Chat และ Web Board มีการทางานพื้นฐานแบบเดียวกันนันคือ เป็ น
                                                                                    ่

การสนทนากันโดยผ่านเซิร์ฟเวอร์กลาง ไม่ได้ติดต่อกันเองระหว่างเครื่ องคู่สนทนา เมื่อคุณพิมพ์ขอความส่งไป
                                                                                          ้

ข้อความนั้นจะถูกส่งไปเก็บยังเซิร์ฟเวอร์กลางและแสดงผลข้อความนั้นส่งกลับมา ในภาพรวมทั้งหมด รวมถึง

                                       ่ ั
ส่งต่อไปยังเครื่ องอื่น ๆ ที่ออนไลน์อยูกบเซิร์ฟเวอร์น้ นด้วย ทาให้ทุกคนสามารถมองเห็นข้อความต่าง ๆ ที่เก็บ
                                                       ั

ไว้บนเซิร์ฟเวอร์ โดยใช้โปรแกรมบราวเซอร์เป็ นตัวช่วยในการดึงและส่งข้อมูล ความรวดเร็ วในการโต้ตอบ

                    ่ ั                                           ้ ั
และแสดงผลก็จะขึ้นอยูกบความเร็ วในการติดต่อกัน ระหว่างเครื่ องของผูใช้กบเซิร์ฟเวอร์ จานวนผูที่เข้าติดต่อ
                                                                                          ้

กับเซิร์ฟเวอร์กลางในขณะนั้น ๆ ก็มีผลต่อความเร็ วในการโต้ตอบ
~ 11 ~




บริการโอนย้ ายข้ อมูล
„ บริ การนี้ สามารถใช้ download แฟ้ มผ่าน browser ได้เพราะการ download คือ การคัดลอกโปรแกรมจาก server มาไว้ใน
เครื่ องของตน แต่ถาจะ upload แฟ้ ม ซึ่งหมายถึง การส่งแฟ้ มจากเครื่ องของตน เข้าไปเก็บใน server เช่นการปรับปรุ ง
                  ้
                                                                ่
homepage ให้ทนสมัย ซึ่ง homepage ของตนถูกจัดเก็บใน server ที่อยูอีกซีกโลกหนึ่ง จะต้องใช้โปรแกรมอื่น เพื่อส่งแฟ้ ม
             ั
เข้าไปใน server เช่นโปรแกรม cuteftp หรื อ wsftp หรื อ ftp ของ windows
                               ้                                                                 ้              ่
„ การ download นั้นไม่ยาก หากผูให้บริ การยอมให้ใครก็ได้เข้าไป download แฟ้ มใน server ของตน และผูใช้บริ การรู ้วา
แฟ้ มที่ตองการนั้นอยูที่ใด แต่การ upload มักไม่ง่าย เพราะต้องใช้โปรแกรมเป็ น และมีความเป็ นเจ้าของในเนื้อที่ที่จะกระทา
         ้           ่
รวมทั้งมี userid และ password เพื่อแสดงสิ ทธิในการเข้าใช้บริ การ การศึกษาการส่งแฟ้ มเข้าไปใน server อาจต้องหา
                                                                                                                    ่
บทเรี ยน ftp มาอ่านเพื่อศึกษาวิธีการส่ง หรื อหาอ่านได้จาก เว็บที่ให้บริ การ upload แฟ้ ม ซึ่งมักเขียนไว้ละเอียดดีอยูแล้ว
~ 12 ~

บริการทีอนเทอร์ เน็ตมีให้
        ่ิ
- Telnet หรื อ SSH                                                   อินเทอร์ เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Inter และ net
- USENET News หรื อ News Group
                                                                     1. อินเทอร์ (Inter) คือ ระหว่าง หรื อท่ามกลาง
- FTP (File Transfer Protocal - บริ การโอนย้ายข้อมูล)
- WWW (World Wide Web)                                               2. เน็ต (Net) คือ เครื อข่าย (Network)
- Skype, Net2Phone, Cattelecom.com
- Netmeeting
                                                                                      การโอนย้ ายข้ อมูล
- ICQ (I Seek You)
- IRC (Internet Relay Chat)                                                           สามารถใช้ download แฟ้ มผ่าน browser ได้
- Game Online                                                                         เพราะการdownload คือ การคัดลอกโปรแกรม
- Software Updating                                                                   จาก server มาไว้ในเครื่ องของตน
- Palm หรื อ PocketPC
- WAP (Wireless Application Protocal)




                                                                                อินเทอร์ เน็ต
    การสนทนาออนไลน์ (online chatting)
                                                                                (Internet)

การสนทนาออนไลน์ หรื อ Internet Relay Chat (IRC)
หมายถึง โปรแกรมที่ถูกสร้างมาเพื่อการสนทนา
เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต โดยการพิมพ์ขอความผ่าน
                                   ้
คียบอร์ดขึ้นสู่หน้าจอคอมพิวเตอร์
   ์
                                                                                    ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ Electronic mail

                                                                                    ใช้สาหรับส่ง และอ่านข้อความ กับผูท่ี
                                                                                                                     ้
                                                                                    ต้องการติดต่อด้วย และใช้แทนจดหมายได้
                                                                                    อย่างดี เพราะไม่ตองเสี ยค่าใช้จ่าย และผูรับ
                                                                                                     ้                      ้
                พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)                                จะได้รับในเวลาเกือบทันทีที่ส่ง
                พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทาธุรกรรมทุก
                รู ปแบบโดยครอบคลุมถึงการซื้อขายสิ นค้า/บริ การ การ
                ชาระเงิน การโฆษณาโดยผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
                ประเภทต่าง ๆ
~ 13 ~



คาถาม
~ 14 ~
~ 15 ~

                                             แหล่งอ้างอิง

ข้อมูลจาก http://www.computerhistory.org/exhibits/internet_history/ ,
http://www.thaiall.com/article/internet.htmและ http://www.sri.com/about/timeline/arpanet.html
ข้อมูลจากหนังสื อดี
Internet starter kit (Adam C.Engst | Corwin S. Low | Michael A. Simon)
เปิ ดโลกอินนเทอร์เน็ต (สมนึก คีรีโต | สุ รศักดิ์ สงวนพงษ์ | สมชาย นาประเสริ ฐชัย)
User's Basic Guide to the Internet (สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล)
The ABCs of The Internet (Srisakdi Charmonman,Ph.D. ...)

Contenu connexe

Tendances

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPrapatsorn Keawnoun
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)Krusine soyo
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)Prapatsorn Keawnoun
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPapichaya Chengtong
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internetSamorn Tara
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsaranya40
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตprimpatcha
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 

Tendances (19)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internet
 
บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต
บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ตบทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต
บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
Ch03
Ch03Ch03
Ch03
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 

Similaire à อินเทอร์เน็ต

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2เขมิกา กุลาศรี
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตNaluemonPcy
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)Paveenut
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตFon Kittiya
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
Internet
InternetInternet
InternetSchool
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นPrapaporn Boonplord
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPapichaya Chengtong
 

Similaire à อินเทอร์เน็ต (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 

Plus de Pp'dan Phuengkun

งานย่อย1 ร่วมการแข่งขัน
งานย่อย1 ร่วมการแข่งขันงานย่อย1 ร่วมการแข่งขัน
งานย่อย1 ร่วมการแข่งขันPp'dan Phuengkun
 
งานสรุปกลุ่มที่ 5 งานเดี่ยว
งานสรุปกลุ่มที่ 5 งานเดี่ยวงานสรุปกลุ่มที่ 5 งานเดี่ยว
งานสรุปกลุ่มที่ 5 งานเดี่ยวPp'dan Phuengkun
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นPp'dan Phuengkun
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก (1)
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก (1)การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก (1)
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก (1)Pp'dan Phuengkun
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก 1
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก  1การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก  1
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก 1Pp'dan Phuengkun
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกPp'dan Phuengkun
 
ยานไร้คนบังคับ
ยานไร้คนบังคับยานไร้คนบังคับ
ยานไร้คนบังคับPp'dan Phuengkun
 
ปกอินเทร์เน็ต
ปกอินเทร์เน็ตปกอินเทร์เน็ต
ปกอินเทร์เน็ตPp'dan Phuengkun
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตPp'dan Phuengkun
 

Plus de Pp'dan Phuengkun (15)

งานย่อย1 ร่วมการแข่งขัน
งานย่อย1 ร่วมการแข่งขันงานย่อย1 ร่วมการแข่งขัน
งานย่อย1 ร่วมการแข่งขัน
 
งานสรุปกลุ่มที่ 5 งานเดี่ยว
งานสรุปกลุ่มที่ 5 งานเดี่ยวงานสรุปกลุ่มที่ 5 งานเดี่ยว
งานสรุปกลุ่มที่ 5 งานเดี่ยว
 
Mindmap2
Mindmap2Mindmap2
Mindmap2
 
Mindmap
MindmapMindmap
Mindmap
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก (1)
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก (1)การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก (1)
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก (1)
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก 1
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก  1การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก  1
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก 1
 
งานย่อย 1
งานย่อย 1งานย่อย 1
งานย่อย 1
 
Mapcom
MapcomMapcom
Mapcom
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
ยานไร้คนบังคับ
ยานไร้คนบังคับยานไร้คนบังคับ
ยานไร้คนบังคับ
 
พม่า
พม่าพม่า
พม่า
 
ข าวไอท
ข าวไอท ข าวไอท
ข าวไอท
 
ปกอินเทร์เน็ต
ปกอินเทร์เน็ตปกอินเทร์เน็ต
ปกอินเทร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 

อินเทอร์เน็ต

  • 1. ~1~ อินเทอร์ เน็ต(Internet) ประวัติความเป็ นมา อินเทอร์ เน็ต คือ การเชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกัน ตามโครงการของอาร์ป้าเน็ต (ARPAnet = Advanced Research Projects Agency Network) เป็ นหน่วยงานสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้งเมื่อประมาณ ปี ค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่ อยมา ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) อาร์ป้าเน็ตได้รับทุนสนันสนุนจากหลายฝ่ าย และเปลี่ยนชื่อเป็ นดาป้ าเน็ต (DARPANET = Defense Advanced Research Projects Agency Network) พร้อมเปลี่ยนแปลงนโยบาย และได้ทดลองการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ คนละชนิดจาก 4 เครื อข่ายเข้าหากันเป็ นครั้งแรก คือ 1)มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลองแอ งเจอลิส 2)สถาบันวิจยสแตนฟอร์ด 3)มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนีย ซานตาบาบาร่ า และ4)มหาวิทยาลัยยูทาห์ ั เครื อข่ายทดลองประสบความสาเร็ จอย่างมาก ดังนั้นในปี ค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้เปลี่ยนจาก เครื อข่ายทดลอง เป็ นเครื อข่ายที่ใช้งานจริ ง ซึ่ งดาป้ าเน็ตได้โอนหน้าที่รับผิดชอบให้แก่หน่วยการสื่ อสารของ กองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปัจจุบนคือ Defense Informations Systems Agency) แต่ ั ในปัจจุบนอินเทอร์เน็ตมีคณะทางานที่รับผิดชอบบริ หารเครื อข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแล ั วัตถุประสงค์หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมติมาตรฐานใหม่ในอินเทอร์ เน็ต, IETF ั ั (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้กบอินเทอร์ เน็ต ซึ่ งเป็ นการทางานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้ น ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) ดาป้ าเน็ตตัดสิ นใจนา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใช้ กับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องในระบบ จึงเป็ นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตมา จนถึงปัจจุบน เพราะ TCP/IP เป็ นข้อกาหนดที่ทาให้คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่ องในโลกสื่ อสารด้วยความเข้าใจบน ั มาตรฐานเดียวกัน ค.ศ.1980(พ.ศ.2523) ดาป้ าเน็ตได้มอบหน้าที่รับผิดชอบการดูแลระบบอินเทอร์ เน็ตให้มูลนิธิวทยาศาสตร์ิ แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) ร่ วมกับอีกหลายหน่วยงาน ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เริ่ มใช้การกาหนดโดเมนเนม (Domain Name) เป็ นการสร้างฐานข้อมูลแบบกระจาย ่ (Distribution Database) อยูในแต่ละเครื อข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทาฐานข้อมูลของ ตนเอง จึงไม่จาเป็ นต้องมีฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรี ยกเว็บไซต์ www.yonok.ac.th จะ ไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ในเครื่ องบริ การโดเมนเนมหรื อไม่ ถ้ามีก็จะตอบกับมาเป็ นหมายเลขไอพี ถ้าไม่มีก็จะ ค้นหาจากเครื่ องบริ การโดเมนเนมที่ทาหน้าที่แปลชื่ออื่น สาหรับชื่อที่ลงท้ายด้วย .th มีเครื่ องบริ การที่ thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูลของโดเมนเนมที่ลงท้ายด้วย th ทั้งหมด ค.ศ.1991(พ.ศ.2534) ทิม เบอร์ เนอร์ส ลี (Tim Berners-Lee) แห่งศูนย์วิจย CERN ได้คิดค้นระบบ ั ไฮเปอร์ เท็กซ์ข้ ึน สามารถเปิ ดด้วย เว็บเบราวเซอร์ (Web Browser) ตัวแรกมีชื่อว่า WWW (World Wide Web)
  • 2. ~2~ บริ การที่อินเทอร์ เน็ตมีให้ แต่เว็บไซต์ได้รับความนิยมอย่างจริ งจัง เมื่อศูนย์วิจย NCSA ของมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์เออร์ แบน่าแชมเปญจ์ ั สหรัฐอเมริ กา ได้คิดโปรแกรม MOSAIC (โมเสค) โดย Marc Andreessen ซึ่งเป็ นเว็บเบราว์เซอร์ ระบบ กราฟฟิ ก หลังจากนั้นทีมงานที่ทาโมเสคก็ได้ออกไปเปิ ดบริ ษทเน็ตสเคป (Browser Timelines: Lynx 1993, ั Mosaic 1993, Netscape 1994, Opera 1994, IE 1995, Mac IE 1996, Mozilla 1999, Chimera 2002, Phoenix 2002, Camino 2003, Firebird 2003, Safari 2003, MyIE2 2003, Maxthon 2003, Firefox 2004, Seamonkey 1. Telnet หรื อ SSH เครื่ องมือพื้นฐาน ที่ใช้ติดต่อเครื่ องบริ การ (Server) เพื่อเข้าควบคุมการทางานของเครื่ อง ปิ ดเปิ ดบริ การ รับส่ ง เมล ใช้พฒนาโปรแกรม เป็ นต้น โปรแกรมนี้มีมาพร้อมกับการติดตั้ง TCP/IP ผูใช้สามารถเรี ยกใช้จาก ั ้ c:windowstelnet.exe แต่การใช้งานเป็ นแบบ Text Mode ที่ผใช้ตองเรี ยนรู ้คาสังให้เข้าใจก่อนใช้งาน ในอดีต ู้ ้ ่ ผูใช้มกใช้โปรแกรม Pine ในเครื่ องบริ การสาหรับรับส่ งอีเมล ก่อนการใช้ POP3 และ Web-Based จะแพร่ หลาย ้ ั โปรแกรม PINE ถูกพัฒนาโดยนักศึกษามหาวิทยาลัย WASHINGTON University + telnet.org + wikipedia.org 2. อีเมล (e-mail หรื อ Electronic Mail) อีเมล คือ บริ การกล่องจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผใช้สามารถรับ และส่ งอีเมลในอินเทอร์ เน็ต เพื่อประโยชน์ ู้ ด้านการสื่ อสาร ปั จจุบนบริ การอีเมลผ่าน Web-Based Mail ได้รับความนิยมอย่างมาก จึงมีหลายบริ ษทเปิ ด ั ั ให้บริ การฟรี อีเมล เช่น hotmail.com, yahoo.com, thaimail.com, chaiyo.com, lampang.net, thaiall.com บริ การอีเมลที่ได้รับความนิยมมี 2 ประเภทคือ Web-Based Mail และ POP3 บริ การแบบ POP3 นั้นผูใช้สามารถ ้ ดาวน์โหลดอีเมลจากเครื่ องบริ การเมลไปเก็บไว้ในเครื่ องของตน จึงเปิ ดอ่านอีเมลเก่าได้โดยไม่ตองเชื่อมต่อ ้ อินเทอร์ เน็ต เหมาะกับผูใช้ในสานักงานที่มีเครื่ องเป็ นของตนเอง โปรแกรมที่ใช้เปิ ดอีเมลแบบ POP3 เช่น ้ Outlook Express, Eudora หรื อ Netscape Mail เป็ นต้น + www.thaiall.com/article/mail.htm
  • 3. ~3~ 3. USENET News หรื อ News Group ในยุคแรกของอินเทอร์เน็ต มีผใช้บริ การ USENET อย่างแพร่ หลาย เพราะเป็ นแหล่งข้อมูลให้สืบค้นขนาดใหญ่ ู้ สามารถส่ งคาถาม เข้าไปตอบคาถาม แสดงความคิดเห็น ทาให้เกิดสังคมของการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ปั จจุบนมี ั การใช้งาน USENET น้อยลง เพราะผูใช้หนไปใช้เว็บบอร์ ดซึ่ งเข้าถึงได้ง่าย และเป็ นที่แพร่ หลายกว่า ปัจจุบน ้ ั ั เชื่อว่าเยาวชนรู ้จก http://www.pantip.com มากกว่า news://soc.culture.thai ั 4. FTP (File Transfer Protocal - บริ การโอนย้ายข้อมูล) บริ การนี้ สามารถใช้ download แฟ้ มผ่าน browser ได้เพราะการ download คือ การคัดลอกโปรแกรมจาก server มาไว้ในเครื่ องของตน แต่ถาจะ upload แฟ้ ม ซึ่งหมายถึง การส่ งแฟ้ มจากเครื่ องของตน เข้าไปเก็บใน ้ ่ server เช่นการปรับปรุ ง homepage ให้ทนสมัย ซึ่ง homepage ของตนถูกจัดเก็บใน server ที่อยูอีกซี กโลกหนึ่ง ั จะต้องใช้โปรแกรมอื่น เพื่อส่ งแฟ้ มเข้าไปใน server เช่นโปรแกรม cuteftp หรื อ wsftp หรื อ ftp ของ windows การ download นั้นไม่ยาก หากผูให้บริ การยอมให้ใครก็ได้เข้าไป download แฟ้ มใน server ของตน และ ้ ผูใช้บริ การรู ้วาแฟ้ มที่ตองการนั้นอยูที่ใด แต่การ upload มักไม่ง่าย เพราะต้องใช้โปรแกรมเป็ น และมีความเป็ น ้ ่ ้ ่ เจ้าของในเนื้ อที่ที่จะกระทา รวมทั้งมี userid และ password เพื่อแสดงสิ ทธิในการเข้าใช้บริ การ การศึกษาการ ส่ งแฟ้ มเข้าไปใน server อาจต้องหา บทเรี ยน ftp มาอ่านเพื่อศึกษาวิธีการส่ ง หรื อหาอ่านได้จาก เว็บที่ ่ ให้บริ การ upload แฟ้ ม ซึ่ งมักเขียนไว้ละเอียดดีอยูแล้ว + ipswitch.com (WS_FTP Client) + filezilla.sourceforge.net แนะนาโดย thaiopensource.org + www.thaiall.com/learn/useftp.htm
  • 4. ~4~ 5. WWW (World Wide Web) บริ การที่ตองใช้โปรแกรม Web Browser เช่น FireFox, Netscape, Internet Explorer, Opera หรื อ Neoplanet ้ เพื่อเปิ ดดูขอมูลจากเว็บไซต์ (Website) หรื อโฮมเพจ (Homepage) จะได้ขอมูลในลักษณะเป็ นตัวอักษร ภาพ ้ ้ เสี ยง และภาพเคลื่อนไหว ในลักษณะสื่ อผสม รวมทั้งการสังประมวลผล และตอบสนองแบบอินเทอร์ แอ็กทีฟ ่ (Interactive) บริ การนี้ได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็ ว จนนามาใช้งานอย่างหลากหลาย เช่น ชมภาพยนต์ ฟังเพลงออนไลน์ เล่น เกมส์ ค้นข้อมูล ประมวลผลข้อมูลทางธุ รกิจ ทาข้อสอบ การส่ งเมล ติดต่อซื้ อขาย ชาระเงินด้วยบัตรเครดิต หรื อ ส่ งโพสท์การ์ ด เป็ นต้น + class.yonok.ac.th + thaiall.com + uploadtoday.com 6. Skype, Net2Phone, Cattelecom.com บริ การโทรศัพท์จากคอมพิวเตอร์ไปยังเครื่ องรับโทรศัพท์ที่บาน (PC2Phone) และได้รับความนิยมอย่างมาก ้ เพราะมีอตราค่าโทรศัพท์ถูกกว่า และผูให้บริ การบางรายยังมีบริ การ PC2Fax สาหรับส่ ง Fax จากเครื่ อง ั ้ คอมพิวเตอร์ไปเครื่ องรับ Fax ที่สานักงาน โดยชาระค่าบริ การแบบ Pre-Paid และใช้บริ การจนกว่าเงินที่จ่ายไว้ จะหมด แต่ถาโทรจากคอมพิวเตอร์ ไปยังคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้ฟรี เพราะมีโปรแกรมหลายตัวที่มี ้ ความสามารถนี้ และฟรี เช่นกัน บาง + net2phone.com + skype.com + cattelecom.com
  • 5. ~5~ 7. Netmeeting ในอดีต .. เป็ นโปรแกรมที่มีชื่อมาก เพราะทาให้คนจากซีกโลกหนึ่ง สามารถติดต่อกับอีกซี กโลก ด้วยภาพ และ เสี ยงจากคอมพิวเตอร์ ถึงคอมพิวเตอร์ คล้ายโทรศัพท์ แต่ไม่มีค่าโทรศัพท์ทางไกลไปต่างประเทศ เสี ยค่าใช้จ่าย เฉพาะค่าเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตเท่านั้น ผูใช้ตอง download โปรแกรมมาติดตั้ง แต่ปัญหาที่สาคัญในการติดต่อสื่ อสารแบบนี้ คือ ต้องการสื่ อที่รองรับการ ้ ้ สื่ อสารด้วยความเร็ วสู ง เพราะการติดต่อด้วยเสี ยง อาจได้เสี ยงที่ไม่ชดเจน หรื อขาดหายระหว่างการสนทนา หาก ั ความเร็ วในการเชื่ อมต่อไม่เร็ วพอ และเป็ นไปไม่ได้ ถ้าใช้การเชื่อมต่อเว็บแคม (WebCam) แบบเห็นภาพร่ วมด้วย ถ้ายังใช้ Modem 56 Kbps อยู่ แต่ถาใช้ ADSL ก็จะไม่มีปัญหาเรื่ องความเร็ วอีกต่อไป ้ To Open Netmeeting in WinXP : Start, Run, conf.exe + microsoft.com + videofrog.com 8. ICQ (I Seek You) ในอดีต .. บริ การนี้เป็ น บริ การที่เยียมมาก และได้รับความนิยมจนไม่คิดว่าจะมีใครมาล้มได้ ผูใดที่มีโปรแกรม ่ ้ ่ ICQ ไว้ในคอมพิวเตอร์ จะติดต่อกับเพื่อนที่ใช้โปรแกรม ICQ อยูได้อย่างสะดวก เพราะเมื่อเปิ ดเครื่ อง ่ โปรแกรมนี้ จะแสดงสถานะของเพื่อนใน List ทันทีวามาแล้ว และพร้อมจะสนทนาด้วยหรื อไม่ เปรี ยบเสมือนมี Pager ติดคอมพิวเตอร์ไว้ทีเดียว บริ การนี้ ผูใช้ตองไป download โปรแกรมมาติดตั้งฟรี เบอร์ ท่ีผมเคยใช้คือ ้ ้ 20449588 ปัจจุบนผูคนหันไปใช้ MSN Messenger หรื อ Yahoo Messenger ั ้ + icq.com + msn.com (Webcam, Speaker, Microphone) + yahoo.com
  • 6. ~6~ 9. IRC (Internet Relay Chat) ในอดีต .. บริ การนี้คนไทยทุกวัย ชอบกันมาก โดยเฉพาะโปรแกรม PIRC เพราะทาให้สามารถสนทนากับใคร ก็ได้ที่ใช้โปรแกรม PIRC การสนทนากระทาผ่านแป้ นพิมพ์ โดยไม่จาเป็ นต้องเห็นหน้า หรื อรับผิดชอบต่อสิ่ ง ที่พิมพ์ออกไป หญิงอาจบอกว่าตนเป็ นชาย นักเรี ยนมัธยมอาจบอกว่าตนเป็ นนางงาม เด็กตจว. อาจบอกว่ากาลัง เรี ยนต่อแอลเอ เป็ นต้น ใน IRC มักแบ่งเป็ นห้อง โดยมีชื่อห้องเป็ นตัวระบุหวข้อสนทนา หรื อสื่ อให้รู้กนในกลุ่ม เช่น "ห้องวิธีแก้เหงา" ั ั หากใครต้องการสนทนาถึงวิธีแก้เหงา เข้าไปในห้องนั้น หรื อเข้าหลายห้องพร้อมกัน สามารถเลือกสนทนา กับใครเป็ นการส่ วนตัว หรื อจะสนทนาพร้อมกันทั้งกลุ่ม เมื่อสนทนากันถูกคอก็สามารถ ที่นด Meeting ั ตามร้านอาหาร เพื่อนสร้างสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน หรื อนัดสนทนากันใหม่ในเวลาที่สะดวกสาหรับวันต่อไป จึงทาให้ทุกเพศทุกวัย ชื่นชอบที่จะใช้บริ การนี้ อย่างมาก โดยเฉพาะคนที่ยงไม่มีคู่ชีวต ั ิ ปัจจุบนผูคนหันไปใช้ Messenger หรื อ Web Chat ั ้ + mirc.com + thaiirc.in.th 10. Game Online เกมส์กลยุทธหลายเกมส์ เป็ นการจาลองสถานการณ์การรบ หรื อการแข่งขัน ทาให้ผใช้สามารถต่อสู ้กบตัวละคร ู้ ั ในคอมพิวเตอร์ เสมือนคอมพิวเตอร์สามารถคิดเอง และสู ้กบเราได้ แต่ก็ยงมีจุดบกพร่ อง เพราะไม่เหมือน ั ั การสู ้กบคนที่คิดเป็ น และพูดคุยโต้ตอบได้ จึงมีการสร้างเกมส์ และบริ การ ที่ทาให้ผใช้ต่อสู ้กน หรื อร่ วมกันสู ้ ั ู้ ั โดยจ่ายค่าลงทะเบียน เพื่อขอรหัสผูใช้เข้าเครื่ องบริ การ เพื่อการติดต่อสื่ อสาร หรื อทาภารกิจกับเพื่อนร่ วมรบ ้ ที่มีจุดมุ่งหมาย หรื อชื่นชอบในเรื่ องเดียวกัน เป็ นบริ การเพื่อความบันเทิงที่กาลังเติมโต อย่างรวดเร็ วในโลก ่ อินเทอร์ เน็ต และในอนาคต ผูที่เคยติดเกมจะได้เรี ยนรู ้วา เขาน่าจะทากิจกรรมอื่นมากกว่าติดเกม ้ + asiasoft.co.th + siamcomic.com + barbie.com + ferryhalim.com + thaiall.com/games
  • 7. ~7~ 11. Software Updating มีโปรแกรมมากมายที่ใช้ประโยชน์จากการติดต่อสื่ อสารผ่านอินเทอร์ เน็ต และหนึ่งในนั้นก็คือ บริ การปรับปรุ ง โปรแกรม แบบ Online เช่น โปรแกรมฆ่าไวรัส ที่มีชื่อเสี ยง เกือบทุกโปรแกรม หรื อระบบปฏิบติการอย่าง ั Microsoft ก็ยอมให้ผใช้สามารถเข้ามา Download ข้อมูลไปปรับปรุ งให้ทนสมัย เพื่อใช้ต่อสู ้ไวรัสตัวใหม่ ู้ ั หรื อแก้ไขจุดบกพร่ องที่พบในภายหลัง ผูใช้เพียงแต่เลือก Click บนปุ่ ม Update โปรแกรมจะทาหน้าที่เชื่อมต่อ ้ กับเว็บไซต์ของตน และทางานเองจนการ update สมบูรณ์ + clamwin.com แนะนาโดย thaiopensource.org + antivir.com + bitdefender.com 12. Palm หรื อ PocketPC Palm หรื อ PocketPC นั้นต่างก็เป็ น Organizer ยุคใหม่มีอีกชื่อหนึ่งว่า PDA (Personal Digital Assistant) ซึ่ง ถูกตั้งชื่อโดย Apple ตั้งแต่ปี 1990 แต่สมัยนั้นยังไม่สาเร็ จ จึงมีการพัฒนาเรื่ อยมา จนถึงปั จจุบน ั คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก ที่มีความสามารถสู งมาก เพราะสามารถพัฒนาโปรแกรม สั่งให้ palm ทางานได้หลาย ๆ อย่าง ทาให้ความสามารถหลักด้าน organizer กลายเป็ นส่ วนประกอบไปเลย เพราะมีผพฒนาโปรแกรม ู้ ั ั ให้กบ palm มากทีเดียว คนไทยก็ทาครับ เพื่อให้ palm เข้าใจภาษาไทย และใช้ปากกาเขียนภาษาไทยให้ palm อ่านรู ้เรื่ องได้ทนที ั Palm สามารถทางานร่ วมกับคอมพิวเตอร์ โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน โดยผูใช้ palm สามารถเขียน mail ้ ใน palm เมื่อต้องการส่ งก็ upload เข้าคอมพิวเตอร์ที่ online กับ internet แล้ว คอมพิวเตอร์ ก็จะทาหน้าที่ส่ง mail ให้อตโนมัติ รวมถึงการรับ mail ใหม่เข้าไปใน palm ทาให้สามารถอ่าน mail จากที่ไหนก็ได้ แต่เป็ น ั ่ การทางานแบบ offline ไม่เหมือนมือถือที่อาน mail ได้แบบ online แต่ palm ไม่ใช่มือถือครับ
  • 8. ~8~ 13. WAP (Wireless Application Protocal) WAP เป็ นเทคโนโลยีที่ทาให้โทรศัพท์ สามารถเปิ ดเว็บเพจที่พฒนาเพื่อโทรศัพท์มือถือตามมาตรฐาน WAP ั โดยเฉพาะ เช่น wopwap.com, wap.siam2you.com, wap.a-roi.com, wap.mweb.co.th รุ่ นของโทรศัพท์ในยุค แรกที่ให้บริ การ WAP เช่น Nokia7110, Nokia9110i, EricssonR320, EricssonA2618, Alcatel OneTouch View WAP หรื อ 300 family หรื อ 500 family หรื อ 700 family, MotorolaV8088 เป็ นต้น เว็บที่มีขอมูลเรื่ อง wap เช่น ้ wapinsight.com, wap-uk.com, waphq.com, wapjag.com, yourwap.com, waptastic.com เป็ นต้น ปั จจุบนเราไม่จาเป็ นต้องเข้า Wap Website แต่เข้าเว็บไซต์โดยตรงผ่านบริ การ GPRS (General Packet Radio ั Service) ใน GSM Mobile Phone [wikipedia.org] การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ต การประยุกต์ใช้อินเทอร์ เน็ตในปั จจุบนทาได้หลากหลาย อาทิเช่น ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิ กส์หรื อ ั ์ อีเมล์ (e-Mail) , สนทนา (Chat), อ่านหรื อแสดงความคิดเห็นในเว็บบอร์ ด,การติดตามข่าวสาร, การสื บค้น ข้อมูล / การค้นหาข้อมูล, การชม หรื อซื้ อสิ นค้าออนไลน์ , การดาวน์โหลด เกม เพลง ไฟล์ขอมูล ฯลฯ, การ ้ ติดตามข้อมูล ภาพยนตร์ รายการบันเทิงต่างๆ ออนไลน์, การเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ออนไลน์, การเรี ยนรู้ ออนไลน์ (e-Learning), การประชุมทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต ่ (Video Conference), โทรศัพท์ผานอินเทอร์ เน็ต (VoIP), การอัพโหลดข้อมูล หรื อ อื่นๆแนวโน้มล่าสุ ดของ การใช้อินเทอร์ เน็ตคือการใช้อินเทอร์ เน็ตแหล่งพบปะสังสรรค์เพื่อสร้างเครื อข่ายสังคมซึ่ งพบว่าปั จจุบน ั เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวกาลังได้รับความนิ ยมอย่างแพร่ หลายเช่น Facebook Twitter Hi 5 และการใช้เริ่ มมีการแพร่ ขยายเข้าไปสู่ การใช้อินเทอร์ เน็ตผ่าโทรศัพท์มือถือ (Mobile Internet) มากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีปัจจุบนสนับสนุนให้การเข้าถึงเครื อข่ายผ่านโทรศัพท์มือ ถือทาได้ง่ายขึ้นมาก ั
  • 9. ~9~ การค้ นหาข้ อมูลทางอินเทอร์ เน็ต ่ ระยะเวลาที่ผานมาจน ถึงปัจจุบน “โฮมเพจ เว็บเพจ เว็บไซด์ เวิลด์ไวด์เว็บ(www) อินเตอร์เน็ต”เป็ นคาที่คนหูและ ั ุ้ ได้ยนกันบ่อยๆ จนกลายเป็ นสิ่ งที่เกี่ยวข้องในชีวตประจาวันของเรามากเข้าไปทุกขณะ เทคโนโลยีเหล่านี้ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า ิ ิ มันกาลังเติบโต และเข้ามามีส่วนสาคัญในชีวตของมนุษย์มากยิงขึ้น ิ ่ การเข้าถึงแหล่งข้อมูล บนอินเตอร์เน็ตในปัจจุบน มีเว็บไซด์ที่รวบรวม จักระเบียบข้อมูลออกเป็ นหมวดหมู่ท้ งที่เป็ น ั ั แหล่งข้อมูลของสถานศึกษาโดยตรง และองค์กรอื่นๆ ที่ให้บริ การข้อมูลเพื่อเป็ นความรู ้ รวมทั้งองค์กรที่ต้ งขึ้นมาเพื่อทา ั หน้าที่รวบรวม สื บค้น และให้บริ การข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตโดยตรง ด้วยเหตุน้ ีจึงจาเป็ นต้องมีการเรี ยนรู ้วธีการใช้งาน การ ิ ่ จัดระบบข้อมูลการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่ องมือที่มีอยูในอินเตอร์เน็ตในที่น้ ีจะยกตัวอย่างวิธีการค้นหาข้อมูลใน wwwการ ่ ค้นหาข้อมูลในเวิลด์ไวด์เว็บใน โลกของเวิลด์ไวด์เว็บนั้นมีขอมูลอยูมากกว่า 100 ล้านหน้า ถ้าเราเปิ ดเว็บเพจ ไปทีละหน้า ๆ ้ จะต้องเสี ยเวลามาก และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ ดังนั้นจึงมีวธีการค้นหาข้อมูลอย่างรวดเร็ ว โดยใช้เว็บไซต์ชนิด ิ หนึ่งที่เรี ยกว่า เว็บไซต์คนหาข้อมูล (Search Site) ซึ่งรวบรวมเว็บไซต์ต่าง ๆ เอาไว้ เราเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ตองการ แล้ว ้ ้ ่ เข้าไปขอที่อยูของเว็บไซต์ใน Search Site เราก็จะได้ขอมูลตามต้องการ ้ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic mail ู้ ั บริ การ E-Mail ฟรี เป็ นบริ การที่มีผใช้กนมาก เพราะใช้สาหรับส่ ง และอ่านข้อความ กับผูที่ตองการ ้ ้ ติดต่อด้วยและใช้แทนจดหมายได้อย่างดี เพราะไม่ตองเสี ยค่าใช้จ่าย และผูรับจะได้รับในเวลาเกือบทันทีที่ ้ ้ ส่ งไป ผูใหับริ การ E-Mail ฟรี ในปั จจุบน เช่นของ hotmail หรื อ yahoo mail หรื อ ตามแต่ละประเทศ ที่คนใน ้ ั ประเทศจะทา Server ให้บริ การ สาหรับกลุ่มที่มีความสนใจคล้าย ๆ กัน เช่น thaimail.com หรื อ chaiyo.com ซึ่งเป็ นของคนไทย และ mail ฟรี เหล่านี้ จะให้บริ การไปเรื่ อย ๆ ไม่มีการหมดอายุ แต่จะหมดอายุถาผูใช้เกิด ้ ้ เลิกใช้เป็ นเวลานานเกินไป สาหรับ E-Mail ของสถาบัน จะหมดอายุแน่นอน หลักจากที่สาเร็ จการศึกษา จึง เป็ นจุดบกพร่ องข้อใหญ่ ที่ทาให้นกศึกษา หันไปใช้ E-Mailฟรี มากกว่าที่สถาบัน จัดไว้ให้ การใช้ E-Mail ั กับผูให้บริ การฟรี เช่น thaimail.com, lampang.net, thaiall.com หรื อ chaiyo.com นั้น ผูใช้จะต้องไป ้ ้ download โปรแกรม browser เช่น netscape หรื อ Internet Explorer หรื อ Opera หรื อ NeoPlanet มาไว้ใน เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ต่อ Internet แล้วเปิ ดหน้าเว็บของแหล่งบริ การ เพื่อใช้บริ การ E-Mail ดังกล่าว ซึ่ ง ผูใช้จะต้องขอใช้บริ การ และจะได้รับ userid และ password ประจาตัว เพื่อ login เข้าใช้บริ การ E-Mail ทุก ้ ครั้ง ปัจจุบนการขอใช้บริ การ E-Mail สามารถเลือกได้ที่จะใช้ web-based หรื อ POP เพราะแต่ละแบบมี ั จุดเด่น จุดด้อยที่แตกต่างกัน โดย web-based จะเหมาะกับผูที่เดินทางเป็ นประจา ส่ วน pop จะเหมาะกับผูมี ้ ้ คอมพิวเตอร์ ส่วนตัว
  • 10. ~ 10 ~ พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทาธุรกรรมทุกรู ปแบบโดยครอบคลุมถึงการซื้อขายสิ นค้า/บริ การ การชาระ เงิน การโฆษณาโดยผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะเครื อข่ายทางอินเทอร์เน็ต พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) หรื ออีคอมเมิร์ซ (E-Commerce) เริ่ มขึ้นเมื่อประมาณต้นทศวรรษที่ 1970 โดยเริ่ มจากการโอนเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาย และในช่วงเริ่ มต้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่จะเป็ นบริ ษทใหญ่ๆ เท่านั้น บริ ษท ั ั เล็กๆ มีจานวนไม่มากนัก ต่อมาเมื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange-EDI) ได้ ี แพร่ หลายขึ้น ประกอบกับคอมพิวเตอร์พีซีได้ม ีการขยายเพิ่มอย่างรวดเร็ วพร้อมกับการพัฒนาด้านอินเทอร์เน็ตและเว็บ ทาให้หน่วยงานและบุคคลต่าง ๆ ได้ใช้พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ในปั จจุบนพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ครอบคลุม ั ธุรกรรมหลายประเภท เช่น การโฆษณา การซื้อขายสิ นค้า การซื้อหุน การทางาน การประมูล และการให้บริ การลูกค้า ้ การสนทนาออนไลน์ การสนทนาออนไลน์ หรื อ Internet Relay Chat (IRC) หมายถึง โปรแกรมที่ถกสร้างมาเพื่อการสนทนาเครื อข่าย ู อินเทอร์เน็ต โดยการพิมพ์ขอความผ่านคียบอร์ดขึ้นสู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ซ่ ึงจะมีชื่อของ ผูเ้ ล่นและข้อความแสดงขึ้นใน ้ ์ หน้าต่างภายในจอคอมพิวเตอร์ของโปรแกรมสนทนา ให้คนอื่นๆ ที่ร่วมสนทนาในห้องสนทนา (chat room) นั้น ๆ ได้เห็น ว่า ผูเ้ ล่นสนทนาคนอื่น ๆ สามารถเข้าสนทนาได้ การสนทนาออนไลน์ในแบบ Web Chat และ Web Board มีการทางานพื้นฐานแบบเดียวกันนันคือ เป็ น ่ การสนทนากันโดยผ่านเซิร์ฟเวอร์กลาง ไม่ได้ติดต่อกันเองระหว่างเครื่ องคู่สนทนา เมื่อคุณพิมพ์ขอความส่งไป ้ ข้อความนั้นจะถูกส่งไปเก็บยังเซิร์ฟเวอร์กลางและแสดงผลข้อความนั้นส่งกลับมา ในภาพรวมทั้งหมด รวมถึง ่ ั ส่งต่อไปยังเครื่ องอื่น ๆ ที่ออนไลน์อยูกบเซิร์ฟเวอร์น้ นด้วย ทาให้ทุกคนสามารถมองเห็นข้อความต่าง ๆ ที่เก็บ ั ไว้บนเซิร์ฟเวอร์ โดยใช้โปรแกรมบราวเซอร์เป็ นตัวช่วยในการดึงและส่งข้อมูล ความรวดเร็ วในการโต้ตอบ ่ ั ้ ั และแสดงผลก็จะขึ้นอยูกบความเร็ วในการติดต่อกัน ระหว่างเครื่ องของผูใช้กบเซิร์ฟเวอร์ จานวนผูที่เข้าติดต่อ ้ กับเซิร์ฟเวอร์กลางในขณะนั้น ๆ ก็มีผลต่อความเร็ วในการโต้ตอบ
  • 11. ~ 11 ~ บริการโอนย้ ายข้ อมูล „ บริ การนี้ สามารถใช้ download แฟ้ มผ่าน browser ได้เพราะการ download คือ การคัดลอกโปรแกรมจาก server มาไว้ใน เครื่ องของตน แต่ถาจะ upload แฟ้ ม ซึ่งหมายถึง การส่งแฟ้ มจากเครื่ องของตน เข้าไปเก็บใน server เช่นการปรับปรุ ง ้ ่ homepage ให้ทนสมัย ซึ่ง homepage ของตนถูกจัดเก็บใน server ที่อยูอีกซีกโลกหนึ่ง จะต้องใช้โปรแกรมอื่น เพื่อส่งแฟ้ ม ั เข้าไปใน server เช่นโปรแกรม cuteftp หรื อ wsftp หรื อ ftp ของ windows ้ ้ ่ „ การ download นั้นไม่ยาก หากผูให้บริ การยอมให้ใครก็ได้เข้าไป download แฟ้ มใน server ของตน และผูใช้บริ การรู ้วา แฟ้ มที่ตองการนั้นอยูที่ใด แต่การ upload มักไม่ง่าย เพราะต้องใช้โปรแกรมเป็ น และมีความเป็ นเจ้าของในเนื้อที่ที่จะกระทา ้ ่ รวมทั้งมี userid และ password เพื่อแสดงสิ ทธิในการเข้าใช้บริ การ การศึกษาการส่งแฟ้ มเข้าไปใน server อาจต้องหา ่ บทเรี ยน ftp มาอ่านเพื่อศึกษาวิธีการส่ง หรื อหาอ่านได้จาก เว็บที่ให้บริ การ upload แฟ้ ม ซึ่งมักเขียนไว้ละเอียดดีอยูแล้ว
  • 12. ~ 12 ~ บริการทีอนเทอร์ เน็ตมีให้ ่ิ - Telnet หรื อ SSH อินเทอร์ เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Inter และ net - USENET News หรื อ News Group 1. อินเทอร์ (Inter) คือ ระหว่าง หรื อท่ามกลาง - FTP (File Transfer Protocal - บริ การโอนย้ายข้อมูล) - WWW (World Wide Web) 2. เน็ต (Net) คือ เครื อข่าย (Network) - Skype, Net2Phone, Cattelecom.com - Netmeeting การโอนย้ ายข้ อมูล - ICQ (I Seek You) - IRC (Internet Relay Chat) สามารถใช้ download แฟ้ มผ่าน browser ได้ - Game Online เพราะการdownload คือ การคัดลอกโปรแกรม - Software Updating จาก server มาไว้ในเครื่ องของตน - Palm หรื อ PocketPC - WAP (Wireless Application Protocal) อินเทอร์ เน็ต การสนทนาออนไลน์ (online chatting) (Internet) การสนทนาออนไลน์ หรื อ Internet Relay Chat (IRC) หมายถึง โปรแกรมที่ถูกสร้างมาเพื่อการสนทนา เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต โดยการพิมพ์ขอความผ่าน ้ คียบอร์ดขึ้นสู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ์ ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ Electronic mail ใช้สาหรับส่ง และอ่านข้อความ กับผูท่ี ้ ต้องการติดต่อด้วย และใช้แทนจดหมายได้ อย่างดี เพราะไม่ตองเสี ยค่าใช้จ่าย และผูรับ ้ ้ พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) จะได้รับในเวลาเกือบทันทีที่ส่ง พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การทาธุรกรรมทุก รู ปแบบโดยครอบคลุมถึงการซื้อขายสิ นค้า/บริ การ การ ชาระเงิน การโฆษณาโดยผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ประเภทต่าง ๆ
  • 15. ~ 15 ~ แหล่งอ้างอิง ข้อมูลจาก http://www.computerhistory.org/exhibits/internet_history/ , http://www.thaiall.com/article/internet.htmและ http://www.sri.com/about/timeline/arpanet.html ข้อมูลจากหนังสื อดี Internet starter kit (Adam C.Engst | Corwin S. Low | Michael A. Simon) เปิ ดโลกอินนเทอร์เน็ต (สมนึก คีรีโต | สุ รศักดิ์ สงวนพงษ์ | สมชาย นาประเสริ ฐชัย) User's Basic Guide to the Internet (สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล) The ABCs of The Internet (Srisakdi Charmonman,Ph.D. ...)