SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  52
Télécharger pour lire hors ligne
การบริหารดานวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
                              พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙




            ผูชวยศาสตราจารย ดร.เดนพงษ สุดภักดี
             รองอธิการบดีฝายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                      denpong@kku.ac.th

                                                           1
Paperless Presentation



    http://slideshare.net/denpong




                                    2
3
ฝายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ




                                  4
หนวยงานในความรับผิดชอบ
             กํากับ ดูแล                   ควบคุม สั่งการ
•   สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ   • สํานักวิชาศึกษาทั่วไป
•   ศูนยคอมพิวเตอร              • สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน
•   วิทยาลัยนานาชาติ
•   สถาบันภาษา




                                                                   5
ภารกิจสําคัญฝายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

         กํากับ ดูแล            งานใหม งานตอเนื่องหรืองานเรงดวน       หนวยงานหรือกลไกใหมทจะจัดตั้ง
                                                                                               ี่
                               • การพัฒนาหลักสูตรตาม TQF               • การจัดตั้งศูนยบริการนักศึกษาพิการ
สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ    • การติดตามการดาเนินการหลักสูตรตาม
                                                  ํ                    • การจัดตั้งสํานักพิมพ
                                 TQF
                                                                       • การจัดตั้งหนวยบริการเทคโนโลยี
       ศูนยคอมพิวเตอร        • ปรับปรุงระเบียบวาดวยการศึกษา รวมถึง
                                                     
                                 ขอบังคับ หรือประกาศที่เกียวของ
                                                           ่             สารสนเทศ
                               • การพัฒนาสหกจศึกษาตามมาตรฐานฯ
                                                ิ                      • การจัดตั้ง e-Learning Support
       ศูนยคอมพิวเตอร        • การพัฒนาและใชระบบบตรสมารทการด
                                                         ั               Center ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                 เพื่อการเรียนการสอน การบริหารและ        ตอนบน (สนับสนุนการดําเนินการ
      วิทยาลัยนานาชาติ           การบริการ                               บางสวนโดย สกอ.)
                               • การพัฒนาระบบ KKU e-Store
                               • การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่
       ควบคุม สั่งการ            ทันสมัย มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และมี
                                 ระบบเผชิญเหตุฉุกเฉิน
                               • การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการ
     สํานักวิชาศึกษาทั่วไป       บริหารและบริการ ที่ครอบคลุมภารกจ ิ
                                 ทุกดาน
สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน   • ฯลฯ

                                                                                                              6
ภารกิจหลักผูชวยอธิการบดี
                ผูชวยอธิการบดีฝายวิชาการ                          ผูชวยอธิการบดีฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ
•   การจัดตั้งศูนยบริการนักศึกษาพิการ                     •   ผูอํานวยการสํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน อีกตําแหนงหนึ่ง
•   จัดตั้งหนวยงานรับผิดสอบสหกิจศึกษาระดับสถาบัน          •   การจัดตั้งสํานักพิมพ
•   การพัฒนาหลักสูตรตามมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา             •   การจัดตั้งหนวยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
•   การติดตามการดําเนินการหลักสูตรตามมาตรฐานคุณวุฒิ        •   การจัดตั้ง e-Learning Support Center ภาค
                                                               ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (สนับสนุนการดําเนินการบางสวน
    อุดมศึกษา
                                                               โดย สกอ.)
•   การพัฒนาสหกิจศึกษาตามมาตรฐานสหกิจศึกษาไทย              •   การพัฒนาและใชระบบบัตรสมารทการดเพื่อการเรียนการสอน
•   พัฒนากลไกในการดําเนินการสหกิจศึกษาในระดับสถาบัน            การบริหารและการบริการ
•   พัฒนาระบบใหใหบริการนักศึกษาพิการ                     •   การพัฒนาระบบ KKU e-Store
•   เครือขายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   •   การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ
    ตอนบน                                                      ปลอดภัย และมีระบบเผชิญเหตุฉุกเฉิน
•   เครือขายสหกิจศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน          •   การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและบริการ ที่
                                                               ครอบคลุมภารกิจทุกดาน
                                                           •   เครือขายการจัดการเรียนการสอนออนไลนและการสอนทางไกล
                                                               ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน


                                                                                                                      7
เปนมหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนําของโลก
                                     อันดับ ๑ ใน ๓ ของประเทศ
                                     อันดับ ๑ ใน ๘๐ ของเอเชีย
                                     อันดับ ๑ ใน ๔๐๐ ของโลก
     มหาวิทยาลัย                             มหาวิทยาลัย                                 มหาวิทยาลัย
                                             ที่มีสุขภาวะ
     ที่ใชงานวิจัย                                                                     ทีพึ่งพาตนเอง
                                                                                          ่
                                            และการจัดการ
        เปนฐาน                               องคกรที่ดี                              ดานงบประมาณ
  ยุทธศาสตรที่ ๑         ยุทธศาสตรที่ ๒      ยุทธศาสตรที่ ๓       ยุทธศาสตรที่ ๔             ยุทธศาสตรที่ ๕
   ระบบบริหาร                 การผลิต
     จัดการที่ดี             บัณฑิตที่ดี    ดานการพัฒนานักศึกษา      ดานการวิจัย             ดานบริการวิชาการ
  ยุทธศาสตรที่ ๖        ยุทธศาสตรที่ ๗       ยุทธศาสตรที่ ๘      ยุทธศาสตรที่ ๙             ยุทธศาสตรที่ ๑๐
  การทํานุบํารุง      ดานพัฒนาคุณภาพ และ                                                การบริหารจัดการทรัพยากร ทรัพยสิน
                                                ดานศิษยเกา                             และทรัพยสินทางปญญา เพื่อพัฒนา
                              ระบบ                                 ดานชุมชนสัมพันธ
ศิลปวัฒนธรรมที่ดี                                สัมพันธที่ดี                           มหาวิทยาลัยใหเกิดประโยชนสูงสุดและ
                          ประกันคุณภาพ                                                               พึ่งตนเองได



                         บานวิสัยทัศนมหาวิทยาลัยขอนแกน
                                                                                                                               8
9
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ ระบบบริหารจัดการที่ดี
          กลยุทธที่ ๒                          พัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบสวัสดิการและสิทธิประโยชน
มาตรการที่ ๓        สงเสริมและสนับสนุนการรักษาบุคลากรที่มีความรูความสามารถ และสรางแรงจูงใจเพื่อดึงดูดผูมีความสามารถใหมา
                    ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย
1) กําหนดหลักเกณฑเพื่อดึงดูดอาจารยที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกโดยเฉพาะผูที่กําลังจะ         ตัวชี้วัด
   สําเร็จการศึกษาทั้งใน และตางประเทศ ดวยมาตรการเชิงรุกทั้งในดานการสรรหา และการ           • มีบรรยากาศความเปนสากลที่
   พัฒนาขอเสนอในดานสิ่งดึงดูดใจในการทํางาน                                                    มีคณาจารยชาวไทยและ
2) จัดใหมีชองทางในการคัดสรรผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญที่อยูในภาครัฐและเอกชน               ตางชาติเพิ่มขึ้น
   รวมทั้งผูที่เกษียณอายุที่เปนชาวไทยและชาวตางชาติ มาทําสัญญาเปน Adjunct                 • รอยละของอาจารย
   Professor หรือ Visiting Professor เพื่อพัฒนาศักยภาพดานการเรียนการสอน และการ                 ชาวตางชาติที่เพิ่มขึ้น
   วิจัยของมหาวิทยาลัย
3) จัดทําโครงสรางเงินเดือนพิเศษ ระบบการใหผลตอบแทนทั้งในเชิงเศรษฐกิจและในเชิง
   สังคมอยางเหมาะสม เพื่อสรางแรงจูงใจใหผูที่มีความรูความสามารถ หรือผูที่มี
   ประสบการณสูงทั้งชาวไทยหรือตางประเทศเขามาเปนบุคลากรของมหาวิทยาลัย




ผูรับผิดชอบหลัก    คณะกรรมการบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยขอนแกน                                                         10
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ ระบบบริหารจัดการที่ดี
          กลยุทธที่ ๕                        ระบบบริหารจัดการองคกร
มาตรการที่ ๑        ปรับโครงสรางและระบบบริหารจัดการตางๆ ในมหาวิทยาลัยใหชัดเจน เกิดความคลองตัว และเปนมาตรฐานเดียวกัน

1) โครงการศึกษาทบทวน ระเบียบ ขอบังคับ ที่เกี่ยวของกับมหาวิทยาลัยทั้งหมด เพื่อนําไป      ตัวชี้วัด
   ยกเลิก ปรับปรุง หรือพัฒนาใหมใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบันใหและสามารถนํามา          • ระเบียบ ขอบังคับ และ
   ปฏิบัติไดจริงตามกฎหมาย                                                                   ประกาศตาง ๆ ไดรับการ
2) ดําเนินการปรับปรุงโครงสรางของหนวยงานใหมีความเหมาะสมและสอดคลองกับและ
                                                                                            ปรับปรุงใหทันสมัย
   ระบบการทํางาน ลดความซ้ําซอน ใชทรัพยากรอยางมีคุณคาและมีประสิทธิภาพ




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการและเทคโนโลยสารสนเทศ และ หนวยงานที่เกี่ยวของ
                                          ี                                                                        11
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ ระบบบริหารจัดการที่ดี
          กลยุทธที่ ๕                           ระบบบริหารจัดการองคกร
มาตรการที่ ๓        มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่มคุณภาพ
                                                                   ี

1) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขอมูลของมหาวิทยาลัยใหมีความสมบูรณเชื่อมโยงเขากับ             ตัวชี้วัด
   ฐานขอมูลของหนวยงานตางๆ ที่ผูบริหารระดับกลางหรือระดับสูงสามารถใชประกอบการตัดสินใจได   • มีระบบสารสนเทศที่ตอบสนอง
2) ปรับปรุงระบบเว็ปไซตทางการ (Official website: http://www.kku.ac.th) ของมหาวิทยาลัยได         การบริหารจัดการที่มีคุณภาพ
   มาตรฐานในการนําเสนอ มีขอมูลขาวสารทั้งที่เปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยมุงเนนสําหรับการ   • มีเครือขายนักสารสนเทศฯ
   สื่อสารกับภายนอกเปนหลัก
                                                                                              • มีระบบสารสนเทศสาหรับการ
                                                                                                                   ํ
3) พัฒนา website สําหรับการสื่อสารภายในเปนการเฉพาะ เพื่อใหสามารถสื่อสารขอมูลภายในเปน
   การเฉพาะได เพื่อลดภาระของเว็ปไซตทางการ และทําใหเว็ปไซตทางการเปนที่นาสนใจสําหรับ         บริหารงาน
   กลุมเปาหมายภายนอกยิ่งขึ้น                                                                • มีระบบ smart card
4) สรางเครือขายนักเทคโนโลยีสารสนเทศจากแตละหนวยงานเพื่อรวมกันแลกเปลี่ยนเรียนรูใน
   เทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป รวมกันพัฒนาระบบ และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง
5) สรางหนวยงานหรือกลุมงานหรือกลไกที่เหมาะสม เพื่อรองรับการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
   ในการบริหารอยางเปนระบบ
6) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับบริหารงานเชน e-Office, e-Document เปนตน
7) พัฒนาระบบบัตรนักศึกษาและบัตรบุคลากรใหเปนบัตร smart card

ผูรับผิดชอบหลัก    ศูนยคอมพิวเตอร สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ และ ฝายเทคโนโลยสารสนเทศ
                                                                                 ี                                   12
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๑                         มีหลักสูตรที่ดี (Healthy Curriculum)
มาตรการที่ ๑        จัดหลักสูตรการเรียนการสอนเชงบูรณาการที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานสากลหลากหลายและสอดคลองตอความตองการของผใช
                                               ิ                                                                    ู
                    บัณฑิตและตลาดแรงงาน

1) พัฒนาหลักสูตรนานาชาติที่เปนองคความรูของมหาวิทยาลัยขอนแกน ที่แสดงความโดด             ตัวชี้วัด
   เดนดานวิชาการของพื้นที่หรืออนุภูมิภาคลุมน้ําโขง เพื่อสนองนโยบายรัฐ Education         • จํานวนหลักสูตรที่ไดนานาชาติ
   Hub                                                                                     • จํานวนหลักสูตรการเรียนรู
2) พัฒนาหลักสูตรใหมที่ทันสมัยและตอบสนองความตองการของผูเรียนและสังคม หรือเปน               ตลอดชีวิต
   หลักสูตรที่บูรณาการสหวิชาการ หรือหลักสูตรที่ใหความรูตั้งแตสองศาสตรขึ้นไปและไดรับ   • จํานวนผูประกอบการที่เขา
   ปริญญา 2 ปริญญา                                                                            รวมโครงการ
3) พัฒนาหลักสูตรสําหรับการเรียนรูตลอดชีวิต หลักสูตรการศึกษาทางไกล (Distance               • สัดสวนของรายไดที่เพิ่มขึ้น
   Education) เพื่อตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายทุกกลุม ที่สามารถเรียนรูได
   ตลอดเวลา และสามารถเก็บสะสมหนวยกิต เพื่อขอรับปริญญาบัตรได
4) จัดใหมีโครงการ Honors Cooperative Program ซึ่งจะเปนการรวมมือกับภาคธุรกิจ
   และหนวยงานของรัฐ ในการพัฒนาบุคลากรของหนวยงานใหมีโอกาสในการศึกษาตอใน
   ระดับที่สูงขึ้น หรือการอบรมตามหลักสูตรที่คณะ/มหาวิทยาลัยจัดทําขึ้น ซึ่งสามารถเก็บ
   สะสมรายวิชาตางๆ และสามารถขอรับปริญญาไดเมื่อเรียนครบหลักสูตร

ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ                                                   13
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๑                         มีหลักสูตรที่ดี (Healthy Curriculum)
มาตรการที่ ๒        พิจารณาเพิ่มคณะวิชา และปรับลดหลักสูตรเดม เพิ่มหลักสูตรใหมใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและทิศ
                                                           ิ
                    ทางการพัฒนาของประเทศในอนาคต

1) เปดหลักสูตรใหมจะเนนหลักสูตรที่เกิดจากความตองการของภาคการผลิตจริงเปน                 ตัวชี้วัด
   หลักสูตรที่บูรณาการระหวางศาสตร ขามศาสตร รวมมือกับองคกรทั้งภายในและ                 • สัดสวนของหลักสูตรที่ได
   ตางประเทศ พัฒนาหลักสูตรที่รองรับความตองการของนักศึกษาจากอาเซียน                           มาตรฐานตามเกณฑ
2) ดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหไดมาตรฐานตามเกณฑของ สกอ. หรือ TQF หรือปด                 • หลักสูตรใหม/คณะใหมที่
   หลักสูตรที่ไมไดเปดทําการรับนักศึกษามาตอเนื่องเปนเวลาหลายป หรือยุบรวมหลักสูตรที่       เกิดขึ้น
   มีเนื้อหาซ้ําซอนกัน หรือคลายคลึงกันใหเปนหลักสูตรเดียวกัน                              • สัดสวนของรายไดที่เพิ่มขึ้น
3) ศึกษาความเปนไปไดและจัดทําแผนธุรกิจ โครงการจัดตั้งคณะวิชาใหม เชน คณะรัฐศาสตร
   คณะเศรษฐศาสตร หรือคณะวิชาที่เปนศาสตรใหม ๆ เปนตน




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ                                                       14
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๒                         การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System)
มาตรการที่ ๑        สรางระบบและกลไกเพื่อจูงใจคนดีและคนเกงใหเขามาศึกษาตอในมหาวิทยาลัย (Healthy Input)

1) จัดทําโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและชุมชนโดยเปดโอกาสใหนักเรียนจากทั่ว                 ตัวชี้วัด
   ประเทศเขาศึกษาตอและไดรับทุนการศึกษาจาก มข. ภายใตโครงการตางๆ เชน โครงการ          • ชองทางของสื่อและสือที่ใชใน
                                                                                                               ่
   เรียนดี โครงการพัฒนาและสงเสริมเยาวชนดีเดนในดานความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา              การประสัมพันธ
   พระมหากษัตริย ดานกีฬา ดานศิลปวัฒนธรรม คุณธรรมและจริยธรรม เปนตน
2) การประชาสัมพันธผาน social network ที่เปนที่นิยม หรือประชาสัมพันธสัญจรไปยัง
   โรงเรียนทั้งในภาคอีสานและภูมภาคอน โดยรวมมือกับคณะกรรมการสงเสริมกิจการ
                               ิ     ื่
   มหาวิทยาลัย กิจกรรม Open House คายวิชาการภาคฤดูรอน หรือคายอาสาพัฒนา




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ                                                   15
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๒                          การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System)
มาตรการที่ ๒        จัดใหมีทุนการศึกษาใหแกนักศึกษาที่ยากจน นักศึกษาจากประเทศเพื่อนบานผูดอยโอกาสและผูพิการ

1) สงเสริมใหนักเรียนที่เรียนดี นักเรียนที่ยากจน ผูพิการ มีโอกาสเขาศึกษาตอในชองทางการ     ตัวชี้วัด
   รับเขาที่หลากหลาย พรอมสนับสนุนทุนการศึกษา โดยยึดนโยบายที่จะดูแลนักศึกษาไมให             • จํานวนทุนการศึกษา
   มีปญหาดานการเงินเปนอุปสรรคตอการศึกษาของนักศึกษา และจะไมมีนักศึกษาตองออก               • สัดสวนของจํานวนนักศึกษาที่
   จากการศึกษาเนื่องจากปญหาทางดานการเงิน                                                        ดอยโอกาสและผูพิการที่ไดรับ
2) ประสานความรวมมือกับองคกรระหวางประเทศและสวนราชการของไทยรวมทั้งทุนของ
                                                                                                 ทุน
   มหาวิทยาลัยในการใหการสนับสนุนทุนใหแกนักศึกษาจากประเทศที่กําลังพัฒนามาศึกษา
   ตอในระดับที่สูงขึ้นในมหาวิทยาลัยขอนแกน




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ                                                         16
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๒                         การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System)
มาตรการที่ ๓        พัฒนาระบบการลงทะเบียนสําหรับนักศึกษาที่ดี

1) ศึกษาความเหมาะสมของคาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับนักศึกษาขั้นปริญญาตรี ภาคปกติ
                                                                                   ตัวชี้วัด
   พ.ศ. 2552 ตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ 1688/2552 และดําเนินการ            • ความพึงพอใจของนักศึกษา
   ปรับปรุงใหเหมาะสม โดยเฉพาะกรณีคาเลาเรียนในภาคฤดูรอน และในกรณีที่เหลือหนวย   • ระยะเวลาในการใหบริการ
   กิตนอยในภาคปกติ                                                                    ลดลง
2) ปรับปรุงกระบวนการลงทะเบียนของนักศึกษาวิทยาเขตหนองคาย ใหมีความสมบรณและู
   สะดวกสบายมากขึ้น และลดการเดินทางของนักศึกษามายัง มข. โดยไมจําเปน
3) สนับสนุนใหแตละคณะ มีการนําเอาระบบเทคโนโลยสารสนเทศมาประยกตใชในการ
                                                 ี               ุ
   ตรวจสอบนักศึกษาที่จะสําเร็จการศึกษาเพื่อความรวดเร็วและถูกตอง




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ                                         17
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๒                          การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System)
มาตรการที่ ๔        จัดใหมีสื่อการเรียนการสอน ทรัพยากรการเรียนรู และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรูที่เพียงพอและทันสมัย

1) สงเสริมและสนับสนุนใหมีทรัพยากรออนไลนเพิ่มขึ้น และการเขาถึงฐานขอมูล                    ตัวชี้วัด
   อิเล็กทรอนิกสทั้งที่เปนวารสาร หนังสือ และสื่อความรูอื่น ๆ ที่ครอบคลุมหลากหลาย           • จํานวนสื่อที่ไดรับการพัฒนา
   ศาสตร/สาขาวิชาเพื่อการศึกษาตามอัธยาศัยของนักศึกษา                                         • จํานวนผูใชบริการสํานักวิทย
2) พัฒนาบุคลากรสายผูสอนในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบตางๆ เชน การ                       บริการ
   จัดทําเอกสารประกอบการสอน เอกสารคําสอน ตํารา สไลดประกอบการสอน สื่อออนไลน
   e-Book e-Document หรือ e-Learning
3) พัฒนาสื่อการสอนในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสที่สามารถใชงานไดทั้งกับคอมพิวเตอรและ
   อุปกรณเคลื่อนที่ไรสาย
4) ขยายและเพิ่มเวลาใหบริการของหอสมดกลางเปนการใหบริการทุกวัน ไมเวน
                                          ุ
   วันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ อยางไรก็ตามผูรับบริการสามารถใชบริการบาง
   ประเภทไดตลอดเวลา ผานระบบหองสมุดอิเลคทรอนิกสไดที่ ฐานขอมูล e-Book
                                               ็



ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ สํานักวิทยบริการ และ สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน                                       18
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
            กลยุทธที่ ๒                                การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System)
มาตรการที่ ๕            มีการจัดการเรียนการสอนทียึดผูเรียน และสังคมเปนศูนยกลาง
                                                ่

1) อบรมและสรางความเขาใจในกระบวนการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางโดยการนําเอาการบูรณาการ          ตัวชี้วัด
   การเรียนการสอนและการวิจัยเขาไวดวยกัน ผานกระบวนการเรียนการสอนโดยใชการวิจัยเปนฐาน หรือการเรียน
   การสอนโดยใชปญหาเปนฐาน                                                                                 • ความสามารถในการเรียนรู
2) สงเสริมใหมีการนําเอาโจทยหรือปญหาของสังคมมาใชในการเรียนการสอน ในรายวิชาเชน วิชาสัมมนา วิชาที่เปน      ดวยตนเองของนักศึกษามี
   การศึกษาอิสระ วิชาโครงงานนักศึกษา เปนตน
3) ปรับโครงสรางของการบริหารจัดการสหกิจศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานที่ สํานักงานคณะกรรมการการ                   • จํานวนผูประกอบการที่เขา
   อุดมศึกษา (สกอ.) เชน มีองคกรบริหารงานสหกิจศึกษาในระดับสถาบัน คณะกรรมการสงเสริมสหกิจศึกษา
   แตงตั้งโดยสภาสถาบันอุดมศึกษา มีการบริหารงานสหกิจศึกษาในระดับคณะ ประกอบดวย อาจารยผู                      รวมโครงการ
   ประสานงาน อาจารยที่ปรึกษาสหกิจศึกษา การคัดเลือกองคกรผูใชบัณฑิต การนิเทศ เปนตน
4) การเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับสหกิจศึกษา การอบรมเชิงปฏิบัติการสหกิจศึกษาใหแกคณะตาง ๆ และ
   การถายทอดแนวปฏิบัติสหกิจศึกษาที่ดี (Good Practices) ใหผูรับผิดชอบของแตละคณะ และสนับสนุนให
   นักศึกษาระดับปริญญาตรีมีโอกาสไดทําวิจัยผานกระบวนการเรียนรูในวิชาสหกิจศึกษา หรือโครงงานนักศึกษา
5) การสรางบรรยากาศทางวิชาการใหเกิดขึ้นในมหาวิทยาลัย การเชิญผูทรงคุณวุฒิที่มีชื่อเสียงดานวิชาการมา
   บรรยายใหนักศึกษา และการเปดโอกาสใหนักศึกษาไดเขารวมรับฟงการประชุม/สัมนาวิชาการที่มหาวิทยาลัย/
   คณะจัดขึ้น
6) สงเสริมใหนักศึกษาไดคนพบคุณธรรม จริยธรรมจากประสบการณตรงจากเนื้อหาของกิจกรรมหรือตัวบุคคล
   ตนแบบ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ การนํานักศึกษาไปศึกษาและปฏิบัตินอกสถานที่ที่สอดคลองกับรายวิชา
   และการสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม การเชิญบุคคลตนแบบทางคุณธรรม จริยธรรมมาใหขอคิดกับนักศึกษา
   ในชั้นเรียน หรือการศึกษาจากบุคคลตัวอยางที่มาจากหลากหลายอาชีพ


ผูรับผิดชอบหลัก        ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ                                                                 19
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๒                          การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System)
มาตรการที่ ๖        สงเสริมใหมีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ทักษะการใชชีวิต และทักษะในการใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศที่ดี


1) สนับสนุนใหทุกหลักสูตร เพิ่มสัดสวนรายวิชา ภาษาตางประเทศ เพื่อเสริมสรางทักษะดาน         ตัวชี้วัด
   ภาษาและการสื่อสารดวยภาษาตางประเทศใหกับนักศึกษา ซึ่งจะชวยเพิ่มทางเลือกและ               • จํานวนหลักสูตรที่เพิ่มขึ้น
   โอกาสในการทํางานใหกับนักศึกษาในอนาคต                                                      • ศักยภาพดานภาษาของ
2) เพิ่มจํานวนนักศึกษาตางชาติทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก และนักศึกษา                นักศึกษา
   หลังปริญญาเอก เพื่อสรางสิ่งแวดลอมความเปนสากลของมหาวิทยาลัย
3) จัดใหมีศูนยการเรียนรูภาษาอังกฤษดวยตนเอง เพื่อพัฒนาทักษะการใชภาษาอังกฤษใหแก
   นักศึกษา และลดปญหาการขาดแคลนบุคลากรผูเชี่ยวชาญดานภาษาได
4) จัดใหมีการเสวนาและแลกเปลี่ยนเรียนรูในกลุมอาจารยผูสอนวิชาตางๆ ใหเรียนรู และ
   สามารถประยุกตใชเทคนิคการสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมไดอยางกวางขวาง




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ สํานักวิชาศึกษาทั่วไป และ สถาบันภาษา                                                    20
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๒                          การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System)
มาตรการที่ ๗        มีศูนยจําหนายหนังสือ และมีหนังสือหลากหลายภาษาเพิ่มขึ้น

1) จัดตั้งสํานักพิมพมหาวิทยาลัยขอนแกน เพื่อสงเสริมการผลิตและจําหนายตําราของ     ตัวชี้วัด
   บุคลากรของมหาวิทยาลัย                                                            • ตํารา/เอกสารทางวิชาการของ
2) ปรับปรุงศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยขอนแกน ใหมีมีความหลากหลายในการจําหนายหนังสือ      บุคลากรที่ไดรับการจัดพิมพ
   ทั้งที่เปนหนังสือเรียน ตํารา หนังสืออานประกอบ ทั้งที่เปนภาษาไทยและ            • สัดสวนรายไดจากการจําหนาย
   ภาษาตางประเทศ และใหมีขยายการใหบริการไปยังวิทยาเขตหนองคาย                         หนังสือ




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ และ สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน                                           21
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๒                       การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System)
มาตรการที่ ๘        สรางบรรยากาศความเปนวิชาการภายในมหาวิทยาลัย

1) สงเสริมใหมีการบรรยายวิชาการ การบรรยายพิเศษ / การเสวนาในประเด็นปญหาตางๆ ที่         ตัวชี้วัด
   เปนประเด็นที่กําลังเปนที่สนใจของประชาคม มข. หรือประชาชนทั่วไป โดยวิทยากร             • จํานวนศูนยการเรียนรูที่เกิดขึ้น
   ผูทรงคุณวุฒิและมีชื่อเสียง                                                            • จํานวนผูเขามาใชบริการใน
2) การจัดกิจกรรมทางวิชาการ นิทรรศการ การอบรม การแขงขัน/การประกวดผลงานทาง                    ศูนย
   วิชาการ อยางสม่ําเสมอตลอดทั้งป




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน และ สํานักวิชาศึกษาทั่วไป                               22
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๓                       การผลิตบัณฑิต
มาตรการที่ ๑        มีแผนการรับนักศึกษาที่เหมาะสมและสอดคลองกับศักยภาพการผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัย

1) พิจารณาทบทวนแผนการรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยขอนแกน และ              ตัวชี้วัด
   วิทยาเขตหนองคายใหสอดคลองกับทรัพยากรของมหาวิทยาลย  ั                               • จํานวนหลักสูตรใหมที่เกิดขึ้น
2) กําหนดนโยบายใหแตละสาขาวิชาหรือแตละหลักสูตรมีโครงการความรวมมือกับภาคธุรกิจ
   อุตสาหกรรมเพื่อใหบัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐานและสนองความตองการของ
   ตลาดแรงงานและเปนการระดมทรัพยากรจากภาคผูใชบัณฑิตใหมีสวนรวมรับผิดชอบใน
   กระบวนการผลิต




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ                                                 23
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๓                          การผลิตบัณฑิต
มาตรการที่ ๒        มีระบบและกลไกการรับเขานักศึกษาที่หลากหลายและเปดโอกาสใหประชาชนทั่วไปไดเขามาศึกษาตอทั้งในระดับปริญญาตรี
                                                                                               
                    และบัณฑิตศึกษา

1) มหาวิทยาลัยจะมีกลไกการรับเขาโดยวิธีการรับตรงนักเรียนหรือประชาชนทั่วไปในภาค                ตัวชี้วัด
   อีสานและทั่วประเทศเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยในหลายรูปแบบ เชน                                  • สัดสวนของนักศึกษาที่รับเขาภ
       • การรับนักเรียนผลการเรียนดีเขาศึกษาโดยไมตองสอบขอเขียน
                                                                                                ภายใตโครงการ
       • การสอบคัดเลือกตรงในโควตาภาคอีสานและนักเรียนจากทั่วประเทศ                            • สัดสวนของนักศึกษาศึกษา
       • การรับผานโควตานักกีฬา นักเรียนดอยโอกาส ผูพิการ                                       ตางชาติ
       • การรับผานโครงการพิเศษของคณะและของมหาวิทยาลย         ั
       • การรับเขาผานระบบ Admission กลาง
2) สรางกลไกพิเศษในการแนะนําหลักสูตรสําหรับนักศึกษาตางชาติ ๆ ทั้งหลักสูตรระดับ
   ปริญญาตรี บัณฑิตศึกษา และโปรแกรมหลังปริญญาเอก ผานเครือขายสถาบันการศึกษา
   คูสัญญาในตางประเทศ และองคกรผูใหทุนระหวางประเทศ




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ                                                         24
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๓                           การผลิตบัณฑิต
มาตรการที่ ๓        มีระบบการรับเขานักศึกษาที่เปดโอกาสใหผูดอยโอกาสและผูพิการที่มีศักยภาพสูงเขามาศึกษาตอในมหาวิทยาลัย

1) จัดใหมีโควตาในการรับนักศึกษาผูดอยและผูพิการเขาศึกษาตอภายใตโครงการ                    ตัวชี้วัด
      • โครงการนักศึกษาเรียนดีจากชนบท และโครงการนักศึกษาเรียนดีในเขตเมืองเปน                   • สัดสวนของนักศึกษา
            โครงการที่การกระจายโอกาสทางการศึกษา ใหผูที่อยูในครอบครัวที่มีรายไดนอย             ผูดอยโอกาสและพิการ
      • โครงการสงเสริมนักเรียนเรียนดีจากภูมิภาคอื่น
      • โครงการนักศึกษาผูพิการ เพื่อใหโอกาสแกผูพิการจากทุกภูมิภาคของประเทศ
2) ดําเนินการจัดตั้งศูนยบริการนักศึกษาพิการอยางเปนทางการ และจัดหาอุปกรณอํานวย
   ความสะดวกเพื่อใหบริการแกนักศึกษา พรอมดูแลใหคําปรึกษาดานการเรียน การใชชีวิต
   ในมหาวิทยาลัยอยางใกลชิด สนับสนุนใหเพื่อนนักศึกษารวมเปนบัดดี้ เพื่อนชวยเพื่อน ทั้ง
   เวลาเรียนและทํากิจกรรม




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ                                                           25
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี
          กลยุทธที่ ๔                        การพัฒนาคณาจารย
มาตรการที่ ๒        สงเสริมความกาวหนาทางวิชาการและพัฒนาศักยภาพของคณาจารยทั้งดานการสอนและดานการวิจัย

1) สนับสนุนและสงเสริมใหอาจารยประจําพัฒนาเทคนิควิธีการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ    ตัวชี้วัด
   เชน การสอนแบบใชปญหาเปนฐาน หรือการเรียนที่ใชการวิจัยเปนฐาน หัวขอวิชาสัมมนา     • สัดสวนของอาจารยที่เขารวม
   หรือโครงงานนักศึกษา                                                                     โครงการ




ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการฯ และ สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน                                                26
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๙ ดานชุมชนสัมพันธ (Healthy Community)
          กลยุทธที่ ๑                         ชุมชนสัมพันธที่ดี
มาตรการที่ ๑        การทํา University Social Responsibility (USR)

1) จัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อพัฒนาชุมชนรอบขางมหาวิทยาลัย รวมกับผูนําชุมชน ผูที่มีสวน   ตัวชี้วัด
   ไดสวนเสีย บุคลากร และนักศึกษา รวมกันพัฒนาชุมชนและสังคมใหมีสิ่งแวดลอมที่ดี         • รอยละของความพึงพอใจ
   เสริมสรางสุขภาวะใหกับชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน สงเสริมใหเยาวชนใช         • สุขภาพโดยรวมของประชาคม
   เวลาใหเปนประโยชน หางไกลจากยาเสพติด และฝกสอนกีฬาใหแกเด็กในชุมชน                     ดีขึ้น
2) การใหความรูและสรางทักษะในการดูแลสุขภาพใหกับประชาคม มข. ในการดูแลสุขภาพ
   การลด ละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยงที่เปนภัยตอสุขภาพ หรือสงเสริมใหมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
   การเลิกสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล การสรางความสัมพันธอันดีระหวางคน
   ในชุมชน
3) รวมกับภาคเอกชนที่ตองการทํากิจกรรมที่รับผิดชอบตอสังคม (Cooperated Social
   Responsibility, CSR) โดยมหาวิทยาลัยเปนองคกรที่มีความรู และภาคเอกชนมี
   งบประมาณ



ผูรับผิดชอบหลัก    ฝายวิชาการและเทคโนโลยสารสนเทศ
                                          ี                                                                   27
การบริหารจัดการทรัพยากร ทรัพยสิน และทรัพยสินทางปญญา เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยใหเกิด
          ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑๐                 ประโยชนสูงสุดและพึ่งตนเองได

          กลยุทธที่ ๑                            การบริหารจัดการทรัพยากรของมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยอยางยั่งยืน

มาตรการที่ ๒         การจัดหารายไดจากการดาเนินงานดานการจัดการเรียนการสอน
                                          ํ

1) การพัฒนาหลักสูตรสําหรับคนทํางาน หรือผูที่เกษียณอายุราชการที่สามารถเรียนสะสมหนวย                   ตัวชี้วัด
   กิตและขอรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรจากหลักสูตรการเรียนรูตลอดชีวิต หลักสูตรการ                       • รอยละของรายไดจากการ
   อบรมระยะสั้น และระยะยาว หรือหลักสูตรการศึกษาทางไกล
                                                                                                          ใหบริการทางวิชาการ
2) การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรบัณฑิตของ
   มหาวิทยาลัยในลักษณะ “โครงการพิเศษ” เปนการจัดหลักสูตรทั้งที่เปนภาษาไทยและ                          • รอยละของรายไดจากคาเลา
   ภาษาอังกฤษ ที่มีการดําเนินกิจกรรมในภาคกลางวันหรือภาคค่ํา ซึ่งปจจุบันมีหลักสูตรของบาง                  เรียน
   คณะวิชาเปดใหบริการอยูแลว
3) การพัฒนาหลักสูตรในการศึกษาปกติในระดับปริญญาตรี-โท-เอก รวมถึงหลักสูตรนานาชาติ
4) จัดตั้งโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแกน (นานาชาติ) เพื่อรองรับความตองการของนักเรียน
   ในทองถิ่นและอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง โดยใหมีรูปแบบของการบริหารจัดการเปนแบบองคกรใน
   กํากับของมหาวิทยาลัย
5) การจัดหารายไดจากการใหบริการใหคําปรึกษาดานวิชาการ ผานหนวยงานที่จัดตั้งขึ้น เรียกชื่อ
   วา “สํานักงานที่ปรึกษาวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน หรือ KKU Academic Consultancy
   Office (KKU-ACO)”


ผูรับผิดชอบหลัก     ฝายวิชาการและเทคโนโลยสารสนเทศ
                                           ี                                                                                            28
ประกาศสภามหาวิทยาลัยขอนแกน
          ฉบับที่ 3/2551
เรื่อง กรอบคุณลักษณะบัณฑิต และนโยบาย
          หลักดานการผลิตบัณฑิต
           มหาวิทยาลัยขอนแกน

                    ประกาศ ณ วันที่ 4 เมษายน 2551
คุณลักษณะบัณฑิต มข.
                              คุณลักษณะเดน    พรอมทํางาน (Ready to Work)
                                                  • มีประสบการณ พรอมปฏิบัติงานในวิชาชีพ (Professional skillful)
                                                  • พรอมตอการเปลี่ยนแปลง (Adaptation)
คุณลักษณะเฉพาะสาขา/วิชาชีพ

                                                  • เรียนรูตลอดชีวิต (Life-long learning)
                                               ดานวิชาการ (Knowledge)
                                                  - Professional Knowledge
                                                  - Professional Skills
                                               ดานวิชางาน (Skills)
                             คุณลักษณะทั่วไป




                                                  - Communication/language Skills
                                                  - IT & Computer Skills
                                                  - Research/Thinking Skills
                                                  - Management Skills
                                               ดานวิชาคน (Attitude)
                                                  - Personal
                                                  - Interpersonal
                                                  - Social
                                                                                                                    30
กรอบคุณลักษณะบัณฑิต มข.
                                          คุณลักษณะทั่วไป-ปริญญาตรี
วิชาการ     1.1 มีความรูและประสบการณการเรียนรูในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถปฏิบัติงานในวิชาชีพในสถานการณ
(Knowledge) ตางๆ ได
                1.2 มีความสามารถในการคิด วิเคราะห และริเริ่มสรางสรรค โดยใชความรูและประสบการณของตนในการ
                แกไขปญหาการทํางานได
วิชางาน         2.1 มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในการสือสารในชีวิตประจําวัน การศึกษาเรียนรูในสาขาวิชาการที่ตนศึกษา
                                                         ่
(Skills)        และการปฏิบัติงานในวิชาชีพได
                2.2 มีความสามารถในการใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตร หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห
                หรือแกปญหาในชีวิตประจําวัน และในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได
                2.3 มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศในการสื่อสารและการแสวงหาความรูดวยตนเอง
                เพื่อประโยชนในการศึกษาในสาขาวิชาชีพได
                2.4 มีความรูและทักษะดานระบบและทฤษฎีการบริหารองคการในระดับที่สามารถนําไปใชประโยชนในการทํางานได
                อยางมีประสิทธิภาพ
วิชาคน          เขาใจ ซาบซึ้ง และปฏิบัติได ในดานตางๆ ดังนี้
(Attitude)      3.1 มีวินัย ซื่อสัตย และรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว วิชาชีพ องคกร สังคม และประเทศชาติ
                3.2 มีภาวะผูนํา เขาใจในความแตกตางหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได
                3.3 มีความรักและภาคภูมิใจในทองถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
กรอบคุณลักษณะบัณฑิต มข.
                                             คุณลักษณะทั่วไป-ปริญญาโท
วิชาการ     1.1 มีความรูลึกในสาขาวิชาที่ศึกษา และสามารถประยุกตในการประกอบวิชาชีพชั้นสูงหรือการวิจัยเพื่อ
(Knowledge) แกปญหาหรือสรางองคความรูใหม
                 1.2 มีความสามารถในการคิด วิเคราะห และริเริ่มสรางสรรค โดยใชความรูและประสบการณของตนในการ
                 แกไขขอโตแยงหรือปญหาที่ยุงยากซับซอนในทางวิชาการหรือวิชาชีพได
วิชางาน          2.1 มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในการศึกษาเรียนรู และการสื่อสารถายทอดความรูในทางวิชาการได
(Skills)         2.2 มีความสามารถในการใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรและสถิติ หรือกระบวนการวิจัยในการคิด
                 วิเคราะห หรือการแกปญหาการปฏิบัตงานหรือปญหาทางวิชาการที่สลับซับซอนได
                                                   ิ
                 2.3 มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศในการแสวงหาความรูดวยตนเอง และสรางสรรค
                 ผลงานทางวิชาการเพื่อประโยชนในการเรียนรูของผูอื่นได
                 2.4 มีความรูและทักษะดานระบบและทฤษฎีการบริหารองคการในระดับที่สามารถนําไปใชประโยชนในการทํางานได
                 อยางมีประสิทธิภาพ

วิชาคน           เขาใจ ซาบซึ้ง ปฏิบัติได และถายทอดแกผูอื่นได ในดานตางๆ ดังนี้
(Attitude)       3.1 มีวินัย ซื่อสัตย และรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว วิชาชีพ องคกร สังคม และประเทศชาติ
                 3.2 มีภาวะผูนํา เขาใจในความแตกตางหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได
                 3.3 มีความรักและภาคภูมิใจในทองถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
กรอบคุณลักษณะบัณฑิต มข.
                                                 คุณลักษณะทั่วไป-ปริญญาเอก
วิชาการ       1.1 มีความรูลึกในวิชาการที่ศึกษาและศาสตรในสาขาที่มีความสัมพันธกัน สามารถทําการวิจัยเพื่อแกปญหาทีซับซอน
                                                                                                                   ่
(Knowledge)   หรือสรางองคความรูใหม และทําการถายทอดเพื่อใหเกิดการพัฒนาในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพนั้นๆ ได
              1.2 มีความสามารถในการคิด วิเคราะห สังเคราะห และเปนผูนําในการริเริ่มสรางสรรค โดยใชความรูและประสบการณ
              ของตนในการแกไขขอโตแยง/ปญหาที่ยุงยากซับซอนในทางวิชาการหรือวิชาชีพได

วิชางาน       2.1 มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานทางวิชาการ และเผยแพรหรือถายทอดความรูในทาง
(Skills)      วิชาการในระดับนานาชาติได
              2.2 มีความสามารถในการใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรและสถิติ หรือกระบวนการวิจัยในการคิด
              วิเคราะห หรือการแกปญหาการปฏิบัตงานหรือปญหาทางวิชาการที่สลับซับซอนและพัฒนาองคความรูใหมได
                                                ิ
              2.3 มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศในการแสวงหาความรูดวยตนเอง และสรางสรรค
              ผลงานทางวิชาการเพื่อประโยชนในการเรียนรูของผูอื่นได
              2.4 มีความรูและทักษะดานระบบและทฤษฎีการบริหารองคการในระดับที่สามารถนําไปใชประโยชนในการทํางานได
              อยางมีประสิทธิภาพ

วิชาคน        เขาใจ ซาบซึ้ง ปฏิบัติได ถายทอดแกผูอื่นได และเปนแบบอยางที่ดีได ในดานตางๆ ดังนี้
(Attitude)    3.1 มีวินัย ซื่อสัตย และรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว วิชาชีพ องคกร สังคม และประเทศชาติ
              3.2 มีภาวะผูนํา เขาใจในความแตกตางหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได
              3.3 มีความรักและภาคภูมิใจในทองถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
34
การพัฒนาหลักสูตร
      คุณ
   ลักษณะ                  ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร
   บัณฑิต
วิชาการ (Knowledge)                        วิชางาน (Skills)                        วิชาคน (Attitude)

                                              รายวิชาในหลักสูตร
                                          วัตถุประสงคของรายวิชา
                                                   (K, S, A)
                                             - กิจกรรมการเรียนรู

            หัวขอที่สอน                   กิจกรรมการเรียนรู                    การวัดและประเมินผล

                                 ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผูเรียน
                           การประเมิน                               การประเมิน
                             การสอน                                    ตนเอง
                            โดยผูเรียน                              โดยผูสอน                         35
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


                สภามหาวิทยาลัย    • แตงตั้งโดยอธิการบดีหรือรองอธิการบดีฝายวิชาการและ
                                    เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                  • องคประกอบ
        กรรมการผูทรงคุณวุฒิของสภาฯ o อาจารยประจําในหลักสูตร อยางนอย ๒ คน
                                      o ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย อยางนอย ๓ คน
ขั้นตอนการจัดทําและพิจารณาหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
                                        (ควรประกอบดวย)
         กรรมการกลั่นกรองหลักสูตรฯ
                                              นั น าการที่เชี่ยวชาญในสาขาวิ
       (ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกกวิช๑๙๑๑/๒๕๕๒) ชา
                                              ตัวแทนผูใชบัณฑิต
                                              ตัวแทนภาคประชาชน
            กรรมการประจําคณะ
                                  • บทบาทหนาที่
                                      o ศึกษาและวิเคราะหขอมูล
      ประชุม/เวียนกรรมการรางหลักสูตร o รางกรอบคุณลักษณะที่พึงประสงคและกรอบผลการ
                                        เรียนรู
                                      o จัดทําเอกสาร มคอ.2
         จัดทํารายละเอียดหลักสูตร มคอ.๒


         แตงตั้งคณะกรรมการรางหลักสูตร
                                                                                         36
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.๒)
• โครงสรางหลักสูตร
     รายวิชาศึกษาทั่วไป อยางนอย ๓๐ หนวยกิต
     รายวิชาเฉพาะ อยางนอย ๘๔ หนวยกิต
     รายวิชาเลือกเสรี อยางนอย ๖ หนวยกิต
• เงื่อนไขอื่นๆ
     รายวิชาภาษาอังกฤษ อยางนอย ๑๒ หนวยกิต
     รายวิชาศึกษาทั่วไปรหัส ๐๐๐xxx อยางนอย ๒๑ หนวยกิต + รายวิชาศึกษาทั่วไป
      ที่ไมใชรหัส ๐๐๐xxx ไมเกิน ๙ หนวยกิต
     รายวิชาสหกิจศึกษา อยางนอย ๖ หนวยกิต (บังคับ หรือ เลือก)
     ตองสอบผานหลักสูตรมาตรฐานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศขั้นพื้นฐาน

                                                                             37
นโยบายมหาวิทยาลัยและสภามหาวิทยาลัย
 มีรายวิชาที่ใชภาษาอังกฤษเปนสื่อในการเรียนการสอน
 สงเสริมการเรียนการสอนใหนักศึกษาเรียนรูภาษาที่สาม
  (นอกเหนือจากภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
 สงเสริมคุณธรรม จริยธรรมที่เปนอัตลักษณของมหาวิทยาลัย คือ
  มีวินัย ซื่อสัตย และรับผิดชอบ



                                                               38
การขออนุมัติรายวิชาศึกษาทั่วไปที่ไมใชรหัส ๐๐๐
•   เปนรายวิชาที่ไมไดอยูในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป พ.ศ. ๒๕๕๓
•   จํานวนไมเกิน ๙ หนวยกิต
•   สอดคลองกับปรัชญาวิชาศึกษาทั่วไป
•   พิจารณาโดยกรรมการวิชาศึกษาทั่วไป
•   อาจพิจารณาใชรายวิชาศึกษาทั่วไปของหลักสูตรนานาชาติได



                                                                  39
มาตรฐานผลการเรียนรู
• มีอยางนอย ๕ ดาน (อาจเพิ่ม ทักษะพิสัย ในบางหลักสูตร)
• จัดทํามาตรฐานผลการเรียนรูของหลักสูตร (ไมจําเปนตองเหมือน
  หรือตรงกับของหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป)
• เนน มีวินัย ซื่อสัตย และรับผิดชอบ ในผลการเรียนรูดานคุณธรรม
  จริยธรรม
• จัดทําแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ
  เรียนรูสูรายวิชา (Curriculum Mapping) โดยนํารายวิชาทั้งหมด
  มากําหนดตามผลการเรียนรูที่หลักสูตรกําหนด
                                                               40
มคอ. ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗




                   41
มคอ. ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗




                   42
มคอ. ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗




                   43
มคอ. ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗




                   44
นโยบายหลัก
 ดานการผลิตบัณฑิต
มหาวิทยาลัยขอนแกน
นโยบายหลักดานการผลิตบัณฑิต
                                          1. การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรใหมีองคประกอบและรายวิชาดังตอไปนี้
1.1 ปรัชญา วัตถุประสงค รายวิชา ที่สอดคลองกับกรอบคุณลักษณะบัณฑิต
1.2 มีรายวิชาที่สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห การวิจัย การแกปญหา
1.3 มีรายวิชาสงเสริมการปฏิบัติงานจริง
1.4 มีรายวิชาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ
1.5 มีการพัฒนาทักษะเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศ ตามเกณฑ
1.6 มีรายวิชาสงเสริมพัฒนาทักษะการบริหารจัดการ การดําเนินชีวิตบน
พื้นฐานหลักเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม การรูจักสิทธิและ
หนาที่ และการมีจิตสํานึกตอสังคม
นโยบายหลักดานการผลิตบัณฑิต
                                          2. การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนรายวิชาในหลกสูตร ใหมีกระบวนการดังนี้
                                      ั
2.1 มุงเนนการพฒนากระบวนการเรยนรของผูเรียน การบูรณาการองคความรู
                  ั                  ี ู                               
จากประสบการณวิจัยหรือบรการวิชาการมาใชในการเรยนการสอน
                                ิ                    ี
2.2 มีการใชแหลงเรียนรู สื่อเทคโนโลยีตางๆ เพื่อสงเสริมใหนักศึกษาเรียนรู
ดวยตนเองจากแหลงเรียนรูทหลากหลาย ดวยวิธีการตางๆ
                              ี่
2.3 มีการบูรณาการ/สอดแทรกคณธรรมและจรยธรรมในกระบวนการจัดการ
                                   ุ            ิ
เรียนการสอน
2.4 มีการสอนรายวิชาในหลักสูตรโดยใชภาษาอังกฤษ ตามเปาหมายที่คณะ/
สาขาวิชากําหนด
นโยบายหลักดานการผลิตบัณฑิต
                              3. การสงเสริมและพัฒนาอาจารย
3.1 อาจารยพึงไดรับการพัฒนา ทั้งดานคุณวุฒิ ความรูความสามารถดานการ
วิจัย การเรียนการสอน ความชํานาญในสาขาวิชาในระดับสงขน     ู ึ้
3.2 อาจารยใหมทุกคน ตองผานกระบวนการอบรมและพฒนา ใหมีความรู
                                                       ั
ความเขาใจในเรื่ององคกร บทบาทหนาที่ของอาจารย หลักสูตรและ
กระบวนการผลิตบัณฑิต และการจัดการเรียนการสอน
3.3 อาจารยทุกคน ตองเขารับการอบรมและพัฒนา เพื่อใหมีความรู
ความสามารถดานการจัดการเรยนการสอน การวิจัย การผลิตผลงานทาง
                              ี
วิชาการ อยางสม่ําเสมอ ตามระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกําหนด
3.4 อาจารยตองไดรับการสงเสริมและกํากับดูแลใหเปนผูมีคณธรรมและ
                                                          ุ
จริยธรรม มีจิตสํานึกที่ดีและความรับผิดชอบตอบทบาทหนาทีและจรรยาบรรณ
                                                            ่
ครู เปนแบบอยางที่ดีของนักศึกษาและสังคมทั่วไป
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Contenu connexe

Tendances

สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554Thanawut Rattanadon
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56manus1999
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICTPanita Wannapiroon Kmutnb
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรีย
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรีย
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียsupharinee
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนวราภรณ์ อุ่นเที่ยว
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานKatekyo Sama
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือNirut Uthatip
 

Tendances (19)

สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 
2013 09-12 complete set
2013 09-12 complete set2013 09-12 complete set
2013 09-12 complete set
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรีย
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรีย
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรีย
 
การศึกษาว..
การศึกษาว..การศึกษาว..
การศึกษาว..
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 

Similaire à การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITShort Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITDenpong Soodphakdee
 
เครือข่ายวิจัย Jan19-2012
เครือข่ายวิจัย Jan19-2012เครือข่ายวิจัย Jan19-2012
เครือข่ายวิจัย Jan19-2012chutan
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)sirinyabh
 
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทIct Krutao
 
TQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityTQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityDenpong Soodphakdee
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์jeabjeabloei
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปUraiwantia
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siripornsiriporn9915
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3warijung2012
 

Similaire à การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITShort Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
 
เครือข่ายวิจัย Jan19-2012
เครือข่ายวิจัย Jan19-2012เครือข่ายวิจัย Jan19-2012
เครือข่ายวิจัย Jan19-2012
 
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdfO.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
O.1โครงสร้างการบริหารงาน.pdf
 
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าวโครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)
 
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
V 260
V 260V 260
V 260
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
asean-library-ict
asean-library-ictasean-library-ict
asean-library-ict
 
TQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityTQF and Research Base University
TQF and Research Base University
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูป
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siriporn
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
NSTDA KM
NSTDA KMNSTDA KM
NSTDA KM
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
 

Plus de Denpong Soodphakdee

Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityDenpong Soodphakdee
 
Smart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUSmart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUDenpong Soodphakdee
 
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityBalancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityDenpong Soodphakdee
 
Living, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKULiving, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKUDenpong Soodphakdee
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsDenpong Soodphakdee
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteDenpong Soodphakdee
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationDenpong Soodphakdee
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceDenpong Soodphakdee
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityDenpong Soodphakdee
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersDenpong Soodphakdee
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityDenpong Soodphakdee
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryDenpong Soodphakdee
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesDenpong Soodphakdee
 

Plus de Denpong Soodphakdee (20)

Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Smart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUSmart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKU
 
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityBalancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Living, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKULiving, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKU
 
New Media in Digital Age
New Media in Digital AgeNew Media in Digital Age
New Media in Digital Age
 
21st century learning skills
21st century learning skills21st century learning skills
21st century learning skills
 
ICT in Modern Education
ICT in Modern EducationICT in Modern Education
ICT in Modern Education
 
New Learning Paradigm
New Learning ParadigmNew Learning Paradigm
New Learning Paradigm
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its Applications
 
KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education Institute
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern Organization
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library Service
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century Learners
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen University
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success Secretary
 
Google Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU ExperiencesGoogle Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU Experiences
 
Video the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERsVideo the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERs
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational Resources
 

การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. การบริหารดานวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ผูชวยศาสตราจารย ดร.เดนพงษ สุดภักดี รองอธิการบดีฝายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ denpong@kku.ac.th 1
  • 2. Paperless Presentation http://slideshare.net/denpong 2
  • 3. 3
  • 5. หนวยงานในความรับผิดชอบ กํากับ ดูแล ควบคุม สั่งการ • สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ • สํานักวิชาศึกษาทั่วไป • ศูนยคอมพิวเตอร • สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน • วิทยาลัยนานาชาติ • สถาบันภาษา 5
  • 6. ภารกิจสําคัญฝายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ กํากับ ดูแล งานใหม งานตอเนื่องหรืองานเรงดวน หนวยงานหรือกลไกใหมทจะจัดตั้ง ี่ • การพัฒนาหลักสูตรตาม TQF • การจัดตั้งศูนยบริการนักศึกษาพิการ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ • การติดตามการดาเนินการหลักสูตรตาม ํ • การจัดตั้งสํานักพิมพ TQF • การจัดตั้งหนวยบริการเทคโนโลยี ศูนยคอมพิวเตอร • ปรับปรุงระเบียบวาดวยการศึกษา รวมถึง   ขอบังคับ หรือประกาศที่เกียวของ ่ สารสนเทศ • การพัฒนาสหกจศึกษาตามมาตรฐานฯ ิ • การจัดตั้ง e-Learning Support ศูนยคอมพิวเตอร • การพัฒนาและใชระบบบตรสมารทการด ั Center ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อการเรียนการสอน การบริหารและ ตอนบน (สนับสนุนการดําเนินการ วิทยาลัยนานาชาติ การบริการ บางสวนโดย สกอ.) • การพัฒนาระบบ KKU e-Store • การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ ควบคุม สั่งการ ทันสมัย มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และมี ระบบเผชิญเหตุฉุกเฉิน • การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการ สํานักวิชาศึกษาทั่วไป บริหารและบริการ ที่ครอบคลุมภารกจ ิ ทุกดาน สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน • ฯลฯ 6
  • 7. ภารกิจหลักผูชวยอธิการบดี ผูชวยอธิการบดีฝายวิชาการ ผูชวยอธิการบดีฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ • การจัดตั้งศูนยบริการนักศึกษาพิการ • ผูอํานวยการสํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน อีกตําแหนงหนึ่ง • จัดตั้งหนวยงานรับผิดสอบสหกิจศึกษาระดับสถาบัน • การจัดตั้งสํานักพิมพ • การพัฒนาหลักสูตรตามมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา • การจัดตั้งหนวยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ • การติดตามการดําเนินการหลักสูตรตามมาตรฐานคุณวุฒิ • การจัดตั้ง e-Learning Support Center ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (สนับสนุนการดําเนินการบางสวน อุดมศึกษา โดย สกอ.) • การพัฒนาสหกิจศึกษาตามมาตรฐานสหกิจศึกษาไทย • การพัฒนาและใชระบบบัตรสมารทการดเพื่อการเรียนการสอน • พัฒนากลไกในการดําเนินการสหกิจศึกษาในระดับสถาบัน การบริหารและการบริการ • พัฒนาระบบใหใหบริการนักศึกษาพิการ • การพัฒนาระบบ KKU e-Store • เครือขายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ ตอนบน ปลอดภัย และมีระบบเผชิญเหตุฉุกเฉิน • เครือขายสหกิจศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน • การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและบริการ ที่ ครอบคลุมภารกิจทุกดาน • เครือขายการจัดการเรียนการสอนออนไลนและการสอนทางไกล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 7
  • 8. เปนมหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนําของโลก อันดับ ๑ ใน ๓ ของประเทศ อันดับ ๑ ใน ๘๐ ของเอเชีย อันดับ ๑ ใน ๔๐๐ ของโลก มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ที่มีสุขภาวะ ที่ใชงานวิจัย ทีพึ่งพาตนเอง ่ และการจัดการ เปนฐาน องคกรที่ดี ดานงบประมาณ ยุทธศาสตรที่ ๑ ยุทธศาสตรที่ ๒ ยุทธศาสตรที่ ๓ ยุทธศาสตรที่ ๔ ยุทธศาสตรที่ ๕ ระบบบริหาร การผลิต จัดการที่ดี บัณฑิตที่ดี ดานการพัฒนานักศึกษา ดานการวิจัย ดานบริการวิชาการ ยุทธศาสตรที่ ๖ ยุทธศาสตรที่ ๗ ยุทธศาสตรที่ ๘ ยุทธศาสตรที่ ๙ ยุทธศาสตรที่ ๑๐ การทํานุบํารุง ดานพัฒนาคุณภาพ และ การบริหารจัดการทรัพยากร ทรัพยสิน ดานศิษยเกา และทรัพยสินทางปญญา เพื่อพัฒนา ระบบ ดานชุมชนสัมพันธ ศิลปวัฒนธรรมที่ดี สัมพันธที่ดี มหาวิทยาลัยใหเกิดประโยชนสูงสุดและ ประกันคุณภาพ พึ่งตนเองได บานวิสัยทัศนมหาวิทยาลัยขอนแกน 8
  • 9. 9
  • 10. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ ระบบบริหารจัดการที่ดี กลยุทธที่ ๒ พัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบสวัสดิการและสิทธิประโยชน มาตรการที่ ๓ สงเสริมและสนับสนุนการรักษาบุคลากรที่มีความรูความสามารถ และสรางแรงจูงใจเพื่อดึงดูดผูมีความสามารถใหมา ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย 1) กําหนดหลักเกณฑเพื่อดึงดูดอาจารยที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกโดยเฉพาะผูที่กําลังจะ ตัวชี้วัด สําเร็จการศึกษาทั้งใน และตางประเทศ ดวยมาตรการเชิงรุกทั้งในดานการสรรหา และการ • มีบรรยากาศความเปนสากลที่ พัฒนาขอเสนอในดานสิ่งดึงดูดใจในการทํางาน มีคณาจารยชาวไทยและ 2) จัดใหมีชองทางในการคัดสรรผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญที่อยูในภาครัฐและเอกชน ตางชาติเพิ่มขึ้น รวมทั้งผูที่เกษียณอายุที่เปนชาวไทยและชาวตางชาติ มาทําสัญญาเปน Adjunct • รอยละของอาจารย Professor หรือ Visiting Professor เพื่อพัฒนาศักยภาพดานการเรียนการสอน และการ ชาวตางชาติที่เพิ่มขึ้น วิจัยของมหาวิทยาลัย 3) จัดทําโครงสรางเงินเดือนพิเศษ ระบบการใหผลตอบแทนทั้งในเชิงเศรษฐกิจและในเชิง สังคมอยางเหมาะสม เพื่อสรางแรงจูงใจใหผูที่มีความรูความสามารถ หรือผูที่มี ประสบการณสูงทั้งชาวไทยหรือตางประเทศเขามาเปนบุคลากรของมหาวิทยาลัย ผูรับผิดชอบหลัก คณะกรรมการบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยขอนแกน 10
  • 11. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ ระบบบริหารจัดการที่ดี กลยุทธที่ ๕ ระบบบริหารจัดการองคกร มาตรการที่ ๑ ปรับโครงสรางและระบบบริหารจัดการตางๆ ในมหาวิทยาลัยใหชัดเจน เกิดความคลองตัว และเปนมาตรฐานเดียวกัน 1) โครงการศึกษาทบทวน ระเบียบ ขอบังคับ ที่เกี่ยวของกับมหาวิทยาลัยทั้งหมด เพื่อนําไป ตัวชี้วัด ยกเลิก ปรับปรุง หรือพัฒนาใหมใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบันใหและสามารถนํามา • ระเบียบ ขอบังคับ และ ปฏิบัติไดจริงตามกฎหมาย ประกาศตาง ๆ ไดรับการ 2) ดําเนินการปรับปรุงโครงสรางของหนวยงานใหมีความเหมาะสมและสอดคลองกับและ  ปรับปรุงใหทันสมัย ระบบการทํางาน ลดความซ้ําซอน ใชทรัพยากรอยางมีคุณคาและมีประสิทธิภาพ ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการและเทคโนโลยสารสนเทศ และ หนวยงานที่เกี่ยวของ ี 11
  • 12. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ ระบบบริหารจัดการที่ดี กลยุทธที่ ๕ ระบบบริหารจัดการองคกร มาตรการที่ ๓ มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่มคุณภาพ ี 1) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขอมูลของมหาวิทยาลัยใหมีความสมบูรณเชื่อมโยงเขากับ ตัวชี้วัด ฐานขอมูลของหนวยงานตางๆ ที่ผูบริหารระดับกลางหรือระดับสูงสามารถใชประกอบการตัดสินใจได • มีระบบสารสนเทศที่ตอบสนอง 2) ปรับปรุงระบบเว็ปไซตทางการ (Official website: http://www.kku.ac.th) ของมหาวิทยาลัยได การบริหารจัดการที่มีคุณภาพ มาตรฐานในการนําเสนอ มีขอมูลขาวสารทั้งที่เปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยมุงเนนสําหรับการ • มีเครือขายนักสารสนเทศฯ สื่อสารกับภายนอกเปนหลัก • มีระบบสารสนเทศสาหรับการ ํ 3) พัฒนา website สําหรับการสื่อสารภายในเปนการเฉพาะ เพื่อใหสามารถสื่อสารขอมูลภายในเปน การเฉพาะได เพื่อลดภาระของเว็ปไซตทางการ และทําใหเว็ปไซตทางการเปนที่นาสนใจสําหรับ บริหารงาน กลุมเปาหมายภายนอกยิ่งขึ้น • มีระบบ smart card 4) สรางเครือขายนักเทคโนโลยีสารสนเทศจากแตละหนวยงานเพื่อรวมกันแลกเปลี่ยนเรียนรูใน เทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป รวมกันพัฒนาระบบ และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง 5) สรางหนวยงานหรือกลุมงานหรือกลไกที่เหมาะสม เพื่อรองรับการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารอยางเปนระบบ 6) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับบริหารงานเชน e-Office, e-Document เปนตน 7) พัฒนาระบบบัตรนักศึกษาและบัตรบุคลากรใหเปนบัตร smart card ผูรับผิดชอบหลัก ศูนยคอมพิวเตอร สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ และ ฝายเทคโนโลยสารสนเทศ ี 12
  • 13. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๑ มีหลักสูตรที่ดี (Healthy Curriculum) มาตรการที่ ๑ จัดหลักสูตรการเรียนการสอนเชงบูรณาการที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานสากลหลากหลายและสอดคลองตอความตองการของผใช ิ  ู บัณฑิตและตลาดแรงงาน 1) พัฒนาหลักสูตรนานาชาติที่เปนองคความรูของมหาวิทยาลัยขอนแกน ที่แสดงความโดด ตัวชี้วัด เดนดานวิชาการของพื้นที่หรืออนุภูมิภาคลุมน้ําโขง เพื่อสนองนโยบายรัฐ Education • จํานวนหลักสูตรที่ไดนานาชาติ Hub • จํานวนหลักสูตรการเรียนรู 2) พัฒนาหลักสูตรใหมที่ทันสมัยและตอบสนองความตองการของผูเรียนและสังคม หรือเปน ตลอดชีวิต หลักสูตรที่บูรณาการสหวิชาการ หรือหลักสูตรที่ใหความรูตั้งแตสองศาสตรขึ้นไปและไดรับ • จํานวนผูประกอบการที่เขา ปริญญา 2 ปริญญา รวมโครงการ 3) พัฒนาหลักสูตรสําหรับการเรียนรูตลอดชีวิต หลักสูตรการศึกษาทางไกล (Distance • สัดสวนของรายไดที่เพิ่มขึ้น Education) เพื่อตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายทุกกลุม ที่สามารถเรียนรูได ตลอดเวลา และสามารถเก็บสะสมหนวยกิต เพื่อขอรับปริญญาบัตรได 4) จัดใหมีโครงการ Honors Cooperative Program ซึ่งจะเปนการรวมมือกับภาคธุรกิจ และหนวยงานของรัฐ ในการพัฒนาบุคลากรของหนวยงานใหมีโอกาสในการศึกษาตอใน ระดับที่สูงขึ้น หรือการอบรมตามหลักสูตรที่คณะ/มหาวิทยาลัยจัดทําขึ้น ซึ่งสามารถเก็บ สะสมรายวิชาตางๆ และสามารถขอรับปริญญาไดเมื่อเรียนครบหลักสูตร ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 13
  • 14. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๑ มีหลักสูตรที่ดี (Healthy Curriculum) มาตรการที่ ๒ พิจารณาเพิ่มคณะวิชา และปรับลดหลักสูตรเดม เพิ่มหลักสูตรใหมใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและทิศ ิ ทางการพัฒนาของประเทศในอนาคต 1) เปดหลักสูตรใหมจะเนนหลักสูตรที่เกิดจากความตองการของภาคการผลิตจริงเปน ตัวชี้วัด หลักสูตรที่บูรณาการระหวางศาสตร ขามศาสตร รวมมือกับองคกรทั้งภายในและ • สัดสวนของหลักสูตรที่ได ตางประเทศ พัฒนาหลักสูตรที่รองรับความตองการของนักศึกษาจากอาเซียน มาตรฐานตามเกณฑ 2) ดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหไดมาตรฐานตามเกณฑของ สกอ. หรือ TQF หรือปด • หลักสูตรใหม/คณะใหมที่ หลักสูตรที่ไมไดเปดทําการรับนักศึกษามาตอเนื่องเปนเวลาหลายป หรือยุบรวมหลักสูตรที่ เกิดขึ้น มีเนื้อหาซ้ําซอนกัน หรือคลายคลึงกันใหเปนหลักสูตรเดียวกัน • สัดสวนของรายไดที่เพิ่มขึ้น 3) ศึกษาความเปนไปไดและจัดทําแผนธุรกิจ โครงการจัดตั้งคณะวิชาใหม เชน คณะรัฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร หรือคณะวิชาที่เปนศาสตรใหม ๆ เปนตน ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 14
  • 15. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System) มาตรการที่ ๑ สรางระบบและกลไกเพื่อจูงใจคนดีและคนเกงใหเขามาศึกษาตอในมหาวิทยาลัย (Healthy Input) 1) จัดทําโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและชุมชนโดยเปดโอกาสใหนักเรียนจากทั่ว ตัวชี้วัด ประเทศเขาศึกษาตอและไดรับทุนการศึกษาจาก มข. ภายใตโครงการตางๆ เชน โครงการ • ชองทางของสื่อและสือที่ใชใน ่ เรียนดี โครงการพัฒนาและสงเสริมเยาวชนดีเดนในดานความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา การประสัมพันธ พระมหากษัตริย ดานกีฬา ดานศิลปวัฒนธรรม คุณธรรมและจริยธรรม เปนตน 2) การประชาสัมพันธผาน social network ที่เปนที่นิยม หรือประชาสัมพันธสัญจรไปยัง โรงเรียนทั้งในภาคอีสานและภูมภาคอน โดยรวมมือกับคณะกรรมการสงเสริมกิจการ ิ ื่ มหาวิทยาลัย กิจกรรม Open House คายวิชาการภาคฤดูรอน หรือคายอาสาพัฒนา ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 15
  • 16. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System) มาตรการที่ ๒ จัดใหมีทุนการศึกษาใหแกนักศึกษาที่ยากจน นักศึกษาจากประเทศเพื่อนบานผูดอยโอกาสและผูพิการ 1) สงเสริมใหนักเรียนที่เรียนดี นักเรียนที่ยากจน ผูพิการ มีโอกาสเขาศึกษาตอในชองทางการ ตัวชี้วัด รับเขาที่หลากหลาย พรอมสนับสนุนทุนการศึกษา โดยยึดนโยบายที่จะดูแลนักศึกษาไมให • จํานวนทุนการศึกษา มีปญหาดานการเงินเปนอุปสรรคตอการศึกษาของนักศึกษา และจะไมมีนักศึกษาตองออก • สัดสวนของจํานวนนักศึกษาที่ จากการศึกษาเนื่องจากปญหาทางดานการเงิน ดอยโอกาสและผูพิการที่ไดรับ 2) ประสานความรวมมือกับองคกรระหวางประเทศและสวนราชการของไทยรวมทั้งทุนของ  ทุน มหาวิทยาลัยในการใหการสนับสนุนทุนใหแกนักศึกษาจากประเทศที่กําลังพัฒนามาศึกษา ตอในระดับที่สูงขึ้นในมหาวิทยาลัยขอนแกน ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 16
  • 17. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System) มาตรการที่ ๓ พัฒนาระบบการลงทะเบียนสําหรับนักศึกษาที่ดี 1) ศึกษาความเหมาะสมของคาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับนักศึกษาขั้นปริญญาตรี ภาคปกติ  ตัวชี้วัด พ.ศ. 2552 ตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ 1688/2552 และดําเนินการ • ความพึงพอใจของนักศึกษา ปรับปรุงใหเหมาะสม โดยเฉพาะกรณีคาเลาเรียนในภาคฤดูรอน และในกรณีที่เหลือหนวย • ระยะเวลาในการใหบริการ กิตนอยในภาคปกติ ลดลง 2) ปรับปรุงกระบวนการลงทะเบียนของนักศึกษาวิทยาเขตหนองคาย ใหมีความสมบรณและู สะดวกสบายมากขึ้น และลดการเดินทางของนักศึกษามายัง มข. โดยไมจําเปน 3) สนับสนุนใหแตละคณะ มีการนําเอาระบบเทคโนโลยสารสนเทศมาประยกตใชในการ ี ุ ตรวจสอบนักศึกษาที่จะสําเร็จการศึกษาเพื่อความรวดเร็วและถูกตอง ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 17
  • 18. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System) มาตรการที่ ๔ จัดใหมีสื่อการเรียนการสอน ทรัพยากรการเรียนรู และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรูที่เพียงพอและทันสมัย 1) สงเสริมและสนับสนุนใหมีทรัพยากรออนไลนเพิ่มขึ้น และการเขาถึงฐานขอมูล ตัวชี้วัด อิเล็กทรอนิกสทั้งที่เปนวารสาร หนังสือ และสื่อความรูอื่น ๆ ที่ครอบคลุมหลากหลาย • จํานวนสื่อที่ไดรับการพัฒนา ศาสตร/สาขาวิชาเพื่อการศึกษาตามอัธยาศัยของนักศึกษา • จํานวนผูใชบริการสํานักวิทย 2) พัฒนาบุคลากรสายผูสอนในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบตางๆ เชน การ บริการ จัดทําเอกสารประกอบการสอน เอกสารคําสอน ตํารา สไลดประกอบการสอน สื่อออนไลน e-Book e-Document หรือ e-Learning 3) พัฒนาสื่อการสอนในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสที่สามารถใชงานไดทั้งกับคอมพิวเตอรและ อุปกรณเคลื่อนที่ไรสาย 4) ขยายและเพิ่มเวลาใหบริการของหอสมดกลางเปนการใหบริการทุกวัน ไมเวน ุ วันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ อยางไรก็ตามผูรับบริการสามารถใชบริการบาง ประเภทไดตลอดเวลา ผานระบบหองสมุดอิเลคทรอนิกสไดที่ ฐานขอมูล e-Book ็ ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ สํานักวิทยบริการ และ สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน 18
  • 19. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System) มาตรการที่ ๕ มีการจัดการเรียนการสอนทียึดผูเรียน และสังคมเปนศูนยกลาง ่ 1) อบรมและสรางความเขาใจในกระบวนการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางโดยการนําเอาการบูรณาการ ตัวชี้วัด การเรียนการสอนและการวิจัยเขาไวดวยกัน ผานกระบวนการเรียนการสอนโดยใชการวิจัยเปนฐาน หรือการเรียน การสอนโดยใชปญหาเปนฐาน • ความสามารถในการเรียนรู 2) สงเสริมใหมีการนําเอาโจทยหรือปญหาของสังคมมาใชในการเรียนการสอน ในรายวิชาเชน วิชาสัมมนา วิชาที่เปน ดวยตนเองของนักศึกษามี การศึกษาอิสระ วิชาโครงงานนักศึกษา เปนตน 3) ปรับโครงสรางของการบริหารจัดการสหกิจศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานที่ สํานักงานคณะกรรมการการ • จํานวนผูประกอบการที่เขา อุดมศึกษา (สกอ.) เชน มีองคกรบริหารงานสหกิจศึกษาในระดับสถาบัน คณะกรรมการสงเสริมสหกิจศึกษา แตงตั้งโดยสภาสถาบันอุดมศึกษา มีการบริหารงานสหกิจศึกษาในระดับคณะ ประกอบดวย อาจารยผู รวมโครงการ ประสานงาน อาจารยที่ปรึกษาสหกิจศึกษา การคัดเลือกองคกรผูใชบัณฑิต การนิเทศ เปนตน 4) การเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับสหกิจศึกษา การอบรมเชิงปฏิบัติการสหกิจศึกษาใหแกคณะตาง ๆ และ การถายทอดแนวปฏิบัติสหกิจศึกษาที่ดี (Good Practices) ใหผูรับผิดชอบของแตละคณะ และสนับสนุนให นักศึกษาระดับปริญญาตรีมีโอกาสไดทําวิจัยผานกระบวนการเรียนรูในวิชาสหกิจศึกษา หรือโครงงานนักศึกษา 5) การสรางบรรยากาศทางวิชาการใหเกิดขึ้นในมหาวิทยาลัย การเชิญผูทรงคุณวุฒิที่มีชื่อเสียงดานวิชาการมา บรรยายใหนักศึกษา และการเปดโอกาสใหนักศึกษาไดเขารวมรับฟงการประชุม/สัมนาวิชาการที่มหาวิทยาลัย/ คณะจัดขึ้น 6) สงเสริมใหนักศึกษาไดคนพบคุณธรรม จริยธรรมจากประสบการณตรงจากเนื้อหาของกิจกรรมหรือตัวบุคคล ตนแบบ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ การนํานักศึกษาไปศึกษาและปฏิบัตินอกสถานที่ที่สอดคลองกับรายวิชา และการสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม การเชิญบุคคลตนแบบทางคุณธรรม จริยธรรมมาใหขอคิดกับนักศึกษา ในชั้นเรียน หรือการศึกษาจากบุคคลตัวอยางที่มาจากหลากหลายอาชีพ ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 19
  • 20. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System) มาตรการที่ ๖ สงเสริมใหมีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ทักษะการใชชีวิต และทักษะในการใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศที่ดี 1) สนับสนุนใหทุกหลักสูตร เพิ่มสัดสวนรายวิชา ภาษาตางประเทศ เพื่อเสริมสรางทักษะดาน ตัวชี้วัด ภาษาและการสื่อสารดวยภาษาตางประเทศใหกับนักศึกษา ซึ่งจะชวยเพิ่มทางเลือกและ • จํานวนหลักสูตรที่เพิ่มขึ้น โอกาสในการทํางานใหกับนักศึกษาในอนาคต • ศักยภาพดานภาษาของ 2) เพิ่มจํานวนนักศึกษาตางชาติทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก และนักศึกษา นักศึกษา หลังปริญญาเอก เพื่อสรางสิ่งแวดลอมความเปนสากลของมหาวิทยาลัย 3) จัดใหมีศูนยการเรียนรูภาษาอังกฤษดวยตนเอง เพื่อพัฒนาทักษะการใชภาษาอังกฤษใหแก นักศึกษา และลดปญหาการขาดแคลนบุคลากรผูเชี่ยวชาญดานภาษาได 4) จัดใหมีการเสวนาและแลกเปลี่ยนเรียนรูในกลุมอาจารยผูสอนวิชาตางๆ ใหเรียนรู และ สามารถประยุกตใชเทคนิคการสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมไดอยางกวางขวาง ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ สํานักวิชาศึกษาทั่วไป และ สถาบันภาษา 20
  • 21. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System) มาตรการที่ ๗ มีศูนยจําหนายหนังสือ และมีหนังสือหลากหลายภาษาเพิ่มขึ้น 1) จัดตั้งสํานักพิมพมหาวิทยาลัยขอนแกน เพื่อสงเสริมการผลิตและจําหนายตําราของ ตัวชี้วัด บุคลากรของมหาวิทยาลัย • ตํารา/เอกสารทางวิชาการของ 2) ปรับปรุงศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยขอนแกน ใหมีมีความหลากหลายในการจําหนายหนังสือ บุคลากรที่ไดรับการจัดพิมพ ทั้งที่เปนหนังสือเรียน ตํารา หนังสืออานประกอบ ทั้งที่เปนภาษาไทยและ • สัดสวนรายไดจากการจําหนาย ภาษาตางประเทศ และใหมีขยายการใหบริการไปยังวิทยาเขตหนองคาย หนังสือ ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน 21
  • 22. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่ดี (Healthy Learning Management System) มาตรการที่ ๘ สรางบรรยากาศความเปนวิชาการภายในมหาวิทยาลัย 1) สงเสริมใหมีการบรรยายวิชาการ การบรรยายพิเศษ / การเสวนาในประเด็นปญหาตางๆ ที่ ตัวชี้วัด เปนประเด็นที่กําลังเปนที่สนใจของประชาคม มข. หรือประชาชนทั่วไป โดยวิทยากร • จํานวนศูนยการเรียนรูที่เกิดขึ้น ผูทรงคุณวุฒิและมีชื่อเสียง • จํานวนผูเขามาใชบริการใน 2) การจัดกิจกรรมทางวิชาการ นิทรรศการ การอบรม การแขงขัน/การประกวดผลงานทาง ศูนย วิชาการ อยางสม่ําเสมอตลอดทั้งป ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน และ สํานักวิชาศึกษาทั่วไป 22
  • 23. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๓ การผลิตบัณฑิต มาตรการที่ ๑ มีแผนการรับนักศึกษาที่เหมาะสมและสอดคลองกับศักยภาพการผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัย 1) พิจารณาทบทวนแผนการรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยขอนแกน และ ตัวชี้วัด วิทยาเขตหนองคายใหสอดคลองกับทรัพยากรของมหาวิทยาลย ั • จํานวนหลักสูตรใหมที่เกิดขึ้น 2) กําหนดนโยบายใหแตละสาขาวิชาหรือแตละหลักสูตรมีโครงการความรวมมือกับภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมเพื่อใหบัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐานและสนองความตองการของ ตลาดแรงงานและเปนการระดมทรัพยากรจากภาคผูใชบัณฑิตใหมีสวนรวมรับผิดชอบใน กระบวนการผลิต ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 23
  • 24. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๓ การผลิตบัณฑิต มาตรการที่ ๒ มีระบบและกลไกการรับเขานักศึกษาที่หลากหลายและเปดโอกาสใหประชาชนทั่วไปไดเขามาศึกษาตอทั้งในระดับปริญญาตรี  และบัณฑิตศึกษา 1) มหาวิทยาลัยจะมีกลไกการรับเขาโดยวิธีการรับตรงนักเรียนหรือประชาชนทั่วไปในภาค ตัวชี้วัด อีสานและทั่วประเทศเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยในหลายรูปแบบ เชน • สัดสวนของนักศึกษาที่รับเขาภ • การรับนักเรียนผลการเรียนดีเขาศึกษาโดยไมตองสอบขอเขียน  ภายใตโครงการ • การสอบคัดเลือกตรงในโควตาภาคอีสานและนักเรียนจากทั่วประเทศ • สัดสวนของนักศึกษาศึกษา • การรับผานโควตานักกีฬา นักเรียนดอยโอกาส ผูพิการ ตางชาติ • การรับผานโครงการพิเศษของคณะและของมหาวิทยาลย ั • การรับเขาผานระบบ Admission กลาง 2) สรางกลไกพิเศษในการแนะนําหลักสูตรสําหรับนักศึกษาตางชาติ ๆ ทั้งหลักสูตรระดับ ปริญญาตรี บัณฑิตศึกษา และโปรแกรมหลังปริญญาเอก ผานเครือขายสถาบันการศึกษา คูสัญญาในตางประเทศ และองคกรผูใหทุนระหวางประเทศ ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 24
  • 25. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๓ การผลิตบัณฑิต มาตรการที่ ๓ มีระบบการรับเขานักศึกษาที่เปดโอกาสใหผูดอยโอกาสและผูพิการที่มีศักยภาพสูงเขามาศึกษาตอในมหาวิทยาลัย 1) จัดใหมีโควตาในการรับนักศึกษาผูดอยและผูพิการเขาศึกษาตอภายใตโครงการ ตัวชี้วัด • โครงการนักศึกษาเรียนดีจากชนบท และโครงการนักศึกษาเรียนดีในเขตเมืองเปน • สัดสวนของนักศึกษา โครงการที่การกระจายโอกาสทางการศึกษา ใหผูที่อยูในครอบครัวที่มีรายไดนอย ผูดอยโอกาสและพิการ • โครงการสงเสริมนักเรียนเรียนดีจากภูมิภาคอื่น • โครงการนักศึกษาผูพิการ เพื่อใหโอกาสแกผูพิการจากทุกภูมิภาคของประเทศ 2) ดําเนินการจัดตั้งศูนยบริการนักศึกษาพิการอยางเปนทางการ และจัดหาอุปกรณอํานวย ความสะดวกเพื่อใหบริการแกนักศึกษา พรอมดูแลใหคําปรึกษาดานการเรียน การใชชีวิต ในมหาวิทยาลัยอยางใกลชิด สนับสนุนใหเพื่อนนักศึกษารวมเปนบัดดี้ เพื่อนชวยเพื่อน ทั้ง เวลาเรียนและทํากิจกรรม ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ 25
  • 26. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ การผลิตบัณฑิตที่ดี กลยุทธที่ ๔ การพัฒนาคณาจารย มาตรการที่ ๒ สงเสริมความกาวหนาทางวิชาการและพัฒนาศักยภาพของคณาจารยทั้งดานการสอนและดานการวิจัย 1) สนับสนุนและสงเสริมใหอาจารยประจําพัฒนาเทคนิควิธีการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ตัวชี้วัด เชน การสอนแบบใชปญหาเปนฐาน หรือการเรียนที่ใชการวิจัยเปนฐาน หัวขอวิชาสัมมนา • สัดสวนของอาจารยที่เขารวม หรือโครงงานนักศึกษา โครงการ ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการฯ และ สํานักนวัตกรรมการเรียนการสอน 26
  • 27. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๙ ดานชุมชนสัมพันธ (Healthy Community) กลยุทธที่ ๑ ชุมชนสัมพันธที่ดี มาตรการที่ ๑ การทํา University Social Responsibility (USR) 1) จัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อพัฒนาชุมชนรอบขางมหาวิทยาลัย รวมกับผูนําชุมชน ผูที่มีสวน ตัวชี้วัด ไดสวนเสีย บุคลากร และนักศึกษา รวมกันพัฒนาชุมชนและสังคมใหมีสิ่งแวดลอมที่ดี • รอยละของความพึงพอใจ เสริมสรางสุขภาวะใหกับชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน สงเสริมใหเยาวชนใช • สุขภาพโดยรวมของประชาคม เวลาใหเปนประโยชน หางไกลจากยาเสพติด และฝกสอนกีฬาใหแกเด็กในชุมชน ดีขึ้น 2) การใหความรูและสรางทักษะในการดูแลสุขภาพใหกับประชาคม มข. ในการดูแลสุขภาพ การลด ละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยงที่เปนภัยตอสุขภาพ หรือสงเสริมใหมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี การเลิกสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล การสรางความสัมพันธอันดีระหวางคน ในชุมชน 3) รวมกับภาคเอกชนที่ตองการทํากิจกรรมที่รับผิดชอบตอสังคม (Cooperated Social Responsibility, CSR) โดยมหาวิทยาลัยเปนองคกรที่มีความรู และภาคเอกชนมี งบประมาณ ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการและเทคโนโลยสารสนเทศ ี 27
  • 28. การบริหารจัดการทรัพยากร ทรัพยสิน และทรัพยสินทางปญญา เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยใหเกิด ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑๐ ประโยชนสูงสุดและพึ่งตนเองได กลยุทธที่ ๑ การบริหารจัดการทรัพยากรของมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยอยางยั่งยืน มาตรการที่ ๒ การจัดหารายไดจากการดาเนินงานดานการจัดการเรียนการสอน ํ 1) การพัฒนาหลักสูตรสําหรับคนทํางาน หรือผูที่เกษียณอายุราชการที่สามารถเรียนสะสมหนวย ตัวชี้วัด กิตและขอรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรจากหลักสูตรการเรียนรูตลอดชีวิต หลักสูตรการ • รอยละของรายไดจากการ อบรมระยะสั้น และระยะยาว หรือหลักสูตรการศึกษาทางไกล ใหบริการทางวิชาการ 2) การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรบัณฑิตของ มหาวิทยาลัยในลักษณะ “โครงการพิเศษ” เปนการจัดหลักสูตรทั้งที่เปนภาษาไทยและ • รอยละของรายไดจากคาเลา ภาษาอังกฤษ ที่มีการดําเนินกิจกรรมในภาคกลางวันหรือภาคค่ํา ซึ่งปจจุบันมีหลักสูตรของบาง เรียน คณะวิชาเปดใหบริการอยูแลว 3) การพัฒนาหลักสูตรในการศึกษาปกติในระดับปริญญาตรี-โท-เอก รวมถึงหลักสูตรนานาชาติ 4) จัดตั้งโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแกน (นานาชาติ) เพื่อรองรับความตองการของนักเรียน ในทองถิ่นและอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง โดยใหมีรูปแบบของการบริหารจัดการเปนแบบองคกรใน กํากับของมหาวิทยาลัย 5) การจัดหารายไดจากการใหบริการใหคําปรึกษาดานวิชาการ ผานหนวยงานที่จัดตั้งขึ้น เรียกชื่อ วา “สํานักงานที่ปรึกษาวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน หรือ KKU Academic Consultancy Office (KKU-ACO)” ผูรับผิดชอบหลัก ฝายวิชาการและเทคโนโลยสารสนเทศ ี 28
  • 29. ประกาศสภามหาวิทยาลัยขอนแกน ฉบับที่ 3/2551 เรื่อง กรอบคุณลักษณะบัณฑิต และนโยบาย หลักดานการผลิตบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน ประกาศ ณ วันที่ 4 เมษายน 2551
  • 30. คุณลักษณะบัณฑิต มข. คุณลักษณะเดน พรอมทํางาน (Ready to Work) • มีประสบการณ พรอมปฏิบัติงานในวิชาชีพ (Professional skillful) • พรอมตอการเปลี่ยนแปลง (Adaptation) คุณลักษณะเฉพาะสาขา/วิชาชีพ • เรียนรูตลอดชีวิต (Life-long learning) ดานวิชาการ (Knowledge) - Professional Knowledge - Professional Skills ดานวิชางาน (Skills) คุณลักษณะทั่วไป - Communication/language Skills - IT & Computer Skills - Research/Thinking Skills - Management Skills ดานวิชาคน (Attitude) - Personal - Interpersonal - Social 30
  • 31. กรอบคุณลักษณะบัณฑิต มข. คุณลักษณะทั่วไป-ปริญญาตรี วิชาการ 1.1 มีความรูและประสบการณการเรียนรูในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถปฏิบัติงานในวิชาชีพในสถานการณ (Knowledge) ตางๆ ได 1.2 มีความสามารถในการคิด วิเคราะห และริเริ่มสรางสรรค โดยใชความรูและประสบการณของตนในการ แกไขปญหาการทํางานได วิชางาน 2.1 มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในการสือสารในชีวิตประจําวัน การศึกษาเรียนรูในสาขาวิชาการที่ตนศึกษา ่ (Skills) และการปฏิบัติงานในวิชาชีพได 2.2 มีความสามารถในการใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตร หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห หรือแกปญหาในชีวิตประจําวัน และในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได 2.3 มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศในการสื่อสารและการแสวงหาความรูดวยตนเอง เพื่อประโยชนในการศึกษาในสาขาวิชาชีพได 2.4 มีความรูและทักษะดานระบบและทฤษฎีการบริหารองคการในระดับที่สามารถนําไปใชประโยชนในการทํางานได อยางมีประสิทธิภาพ วิชาคน เขาใจ ซาบซึ้ง และปฏิบัติได ในดานตางๆ ดังนี้ (Attitude) 3.1 มีวินัย ซื่อสัตย และรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว วิชาชีพ องคกร สังคม และประเทศชาติ 3.2 มีภาวะผูนํา เขาใจในความแตกตางหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได 3.3 มีความรักและภาคภูมิใจในทองถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
  • 32. กรอบคุณลักษณะบัณฑิต มข. คุณลักษณะทั่วไป-ปริญญาโท วิชาการ 1.1 มีความรูลึกในสาขาวิชาที่ศึกษา และสามารถประยุกตในการประกอบวิชาชีพชั้นสูงหรือการวิจัยเพื่อ (Knowledge) แกปญหาหรือสรางองคความรูใหม 1.2 มีความสามารถในการคิด วิเคราะห และริเริ่มสรางสรรค โดยใชความรูและประสบการณของตนในการ แกไขขอโตแยงหรือปญหาที่ยุงยากซับซอนในทางวิชาการหรือวิชาชีพได วิชางาน 2.1 มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในการศึกษาเรียนรู และการสื่อสารถายทอดความรูในทางวิชาการได (Skills) 2.2 มีความสามารถในการใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรและสถิติ หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห หรือการแกปญหาการปฏิบัตงานหรือปญหาทางวิชาการที่สลับซับซอนได ิ 2.3 มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศในการแสวงหาความรูดวยตนเอง และสรางสรรค ผลงานทางวิชาการเพื่อประโยชนในการเรียนรูของผูอื่นได 2.4 มีความรูและทักษะดานระบบและทฤษฎีการบริหารองคการในระดับที่สามารถนําไปใชประโยชนในการทํางานได อยางมีประสิทธิภาพ วิชาคน เขาใจ ซาบซึ้ง ปฏิบัติได และถายทอดแกผูอื่นได ในดานตางๆ ดังนี้ (Attitude) 3.1 มีวินัย ซื่อสัตย และรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว วิชาชีพ องคกร สังคม และประเทศชาติ 3.2 มีภาวะผูนํา เขาใจในความแตกตางหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได 3.3 มีความรักและภาคภูมิใจในทองถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
  • 33. กรอบคุณลักษณะบัณฑิต มข. คุณลักษณะทั่วไป-ปริญญาเอก วิชาการ 1.1 มีความรูลึกในวิชาการที่ศึกษาและศาสตรในสาขาที่มีความสัมพันธกัน สามารถทําการวิจัยเพื่อแกปญหาทีซับซอน ่ (Knowledge) หรือสรางองคความรูใหม และทําการถายทอดเพื่อใหเกิดการพัฒนาในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพนั้นๆ ได 1.2 มีความสามารถในการคิด วิเคราะห สังเคราะห และเปนผูนําในการริเริ่มสรางสรรค โดยใชความรูและประสบการณ ของตนในการแกไขขอโตแยง/ปญหาที่ยุงยากซับซอนในทางวิชาการหรือวิชาชีพได วิชางาน 2.1 มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในการผลิตผลงานทางวิชาการ และเผยแพรหรือถายทอดความรูในทาง (Skills) วิชาการในระดับนานาชาติได 2.2 มีความสามารถในการใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรและสถิติ หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห หรือการแกปญหาการปฏิบัตงานหรือปญหาทางวิชาการที่สลับซับซอนและพัฒนาองคความรูใหมได ิ 2.3 มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศในการแสวงหาความรูดวยตนเอง และสรางสรรค ผลงานทางวิชาการเพื่อประโยชนในการเรียนรูของผูอื่นได 2.4 มีความรูและทักษะดานระบบและทฤษฎีการบริหารองคการในระดับที่สามารถนําไปใชประโยชนในการทํางานได อยางมีประสิทธิภาพ วิชาคน เขาใจ ซาบซึ้ง ปฏิบัติได ถายทอดแกผูอื่นได และเปนแบบอยางที่ดีได ในดานตางๆ ดังนี้ (Attitude) 3.1 มีวินัย ซื่อสัตย และรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว วิชาชีพ องคกร สังคม และประเทศชาติ 3.2 มีภาวะผูนํา เขาใจในความแตกตางหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได 3.3 มีความรักและภาคภูมิใจในทองถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
  • 34. 34
  • 35. การพัฒนาหลักสูตร คุณ ลักษณะ ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร บัณฑิต วิชาการ (Knowledge) วิชางาน (Skills) วิชาคน (Attitude) รายวิชาในหลักสูตร วัตถุประสงคของรายวิชา (K, S, A) - กิจกรรมการเรียนรู หัวขอที่สอน กิจกรรมการเรียนรู การวัดและประเมินผล ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผูเรียน การประเมิน การประเมิน การสอน ตนเอง โดยผูเรียน โดยผูสอน 35
  • 36. สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สภามหาวิทยาลัย • แตงตั้งโดยอธิการบดีหรือรองอธิการบดีฝายวิชาการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ • องคประกอบ กรรมการผูทรงคุณวุฒิของสภาฯ o อาจารยประจําในหลักสูตร อยางนอย ๒ คน o ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย อยางนอย ๓ คน ขั้นตอนการจัดทําและพิจารณาหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแกน (ควรประกอบดวย) กรรมการกลั่นกรองหลักสูตรฯ  นั น าการที่เชี่ยวชาญในสาขาวิ (ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกกวิช๑๙๑๑/๒๕๕๒) ชา  ตัวแทนผูใชบัณฑิต  ตัวแทนภาคประชาชน กรรมการประจําคณะ • บทบาทหนาที่ o ศึกษาและวิเคราะหขอมูล ประชุม/เวียนกรรมการรางหลักสูตร o รางกรอบคุณลักษณะที่พึงประสงคและกรอบผลการ เรียนรู o จัดทําเอกสาร มคอ.2 จัดทํารายละเอียดหลักสูตร มคอ.๒ แตงตั้งคณะกรรมการรางหลักสูตร 36
  • 37. รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.๒) • โครงสรางหลักสูตร  รายวิชาศึกษาทั่วไป อยางนอย ๓๐ หนวยกิต  รายวิชาเฉพาะ อยางนอย ๘๔ หนวยกิต  รายวิชาเลือกเสรี อยางนอย ๖ หนวยกิต • เงื่อนไขอื่นๆ  รายวิชาภาษาอังกฤษ อยางนอย ๑๒ หนวยกิต  รายวิชาศึกษาทั่วไปรหัส ๐๐๐xxx อยางนอย ๒๑ หนวยกิต + รายวิชาศึกษาทั่วไป ที่ไมใชรหัส ๐๐๐xxx ไมเกิน ๙ หนวยกิต  รายวิชาสหกิจศึกษา อยางนอย ๖ หนวยกิต (บังคับ หรือ เลือก)  ตองสอบผานหลักสูตรมาตรฐานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศขั้นพื้นฐาน 37
  • 38. นโยบายมหาวิทยาลัยและสภามหาวิทยาลัย  มีรายวิชาที่ใชภาษาอังกฤษเปนสื่อในการเรียนการสอน  สงเสริมการเรียนการสอนใหนักศึกษาเรียนรูภาษาที่สาม (นอกเหนือจากภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)  สงเสริมคุณธรรม จริยธรรมที่เปนอัตลักษณของมหาวิทยาลัย คือ มีวินัย ซื่อสัตย และรับผิดชอบ 38
  • 39. การขออนุมัติรายวิชาศึกษาทั่วไปที่ไมใชรหัส ๐๐๐ • เปนรายวิชาที่ไมไดอยูในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป พ.ศ. ๒๕๕๓ • จํานวนไมเกิน ๙ หนวยกิต • สอดคลองกับปรัชญาวิชาศึกษาทั่วไป • พิจารณาโดยกรรมการวิชาศึกษาทั่วไป • อาจพิจารณาใชรายวิชาศึกษาทั่วไปของหลักสูตรนานาชาติได 39
  • 40. มาตรฐานผลการเรียนรู • มีอยางนอย ๕ ดาน (อาจเพิ่ม ทักษะพิสัย ในบางหลักสูตร) • จัดทํามาตรฐานผลการเรียนรูของหลักสูตร (ไมจําเปนตองเหมือน หรือตรงกับของหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป) • เนน มีวินัย ซื่อสัตย และรับผิดชอบ ในผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม • จัดทําแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ เรียนรูสูรายวิชา (Curriculum Mapping) โดยนํารายวิชาทั้งหมด มากําหนดตามผลการเรียนรูที่หลักสูตรกําหนด 40
  • 41. มคอ. ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ 41
  • 42. มคอ. ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ 42
  • 43. มคอ. ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ 43
  • 44. มคอ. ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ 44
  • 46. นโยบายหลักดานการผลิตบัณฑิต 1. การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรใหมีองคประกอบและรายวิชาดังตอไปนี้ 1.1 ปรัชญา วัตถุประสงค รายวิชา ที่สอดคลองกับกรอบคุณลักษณะบัณฑิต 1.2 มีรายวิชาที่สงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห การวิจัย การแกปญหา 1.3 มีรายวิชาสงเสริมการปฏิบัติงานจริง 1.4 มีรายวิชาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ 1.5 มีการพัฒนาทักษะเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศ ตามเกณฑ 1.6 มีรายวิชาสงเสริมพัฒนาทักษะการบริหารจัดการ การดําเนินชีวิตบน พื้นฐานหลักเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม การรูจักสิทธิและ หนาที่ และการมีจิตสํานึกตอสังคม
  • 47. นโยบายหลักดานการผลิตบัณฑิต 2. การจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนรายวิชาในหลกสูตร ใหมีกระบวนการดังนี้ ั 2.1 มุงเนนการพฒนากระบวนการเรยนรของผูเรียน การบูรณาการองคความรู ั ี ู  จากประสบการณวิจัยหรือบรการวิชาการมาใชในการเรยนการสอน  ิ  ี 2.2 มีการใชแหลงเรียนรู สื่อเทคโนโลยีตางๆ เพื่อสงเสริมใหนักศึกษาเรียนรู ดวยตนเองจากแหลงเรียนรูทหลากหลาย ดวยวิธีการตางๆ ี่ 2.3 มีการบูรณาการ/สอดแทรกคณธรรมและจรยธรรมในกระบวนการจัดการ ุ ิ เรียนการสอน 2.4 มีการสอนรายวิชาในหลักสูตรโดยใชภาษาอังกฤษ ตามเปาหมายที่คณะ/ สาขาวิชากําหนด
  • 48. นโยบายหลักดานการผลิตบัณฑิต 3. การสงเสริมและพัฒนาอาจารย 3.1 อาจารยพึงไดรับการพัฒนา ทั้งดานคุณวุฒิ ความรูความสามารถดานการ วิจัย การเรียนการสอน ความชํานาญในสาขาวิชาในระดับสงขน ู ึ้ 3.2 อาจารยใหมทุกคน ตองผานกระบวนการอบรมและพฒนา ใหมีความรู ั ความเขาใจในเรื่ององคกร บทบาทหนาที่ของอาจารย หลักสูตรและ กระบวนการผลิตบัณฑิต และการจัดการเรียนการสอน 3.3 อาจารยทุกคน ตองเขารับการอบรมและพัฒนา เพื่อใหมีความรู ความสามารถดานการจัดการเรยนการสอน การวิจัย การผลิตผลงานทาง ี วิชาการ อยางสม่ําเสมอ ตามระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกําหนด 3.4 อาจารยตองไดรับการสงเสริมและกํากับดูแลใหเปนผูมีคณธรรมและ ุ จริยธรรม มีจิตสํานึกที่ดีและความรับผิดชอบตอบทบาทหนาทีและจรรยาบรรณ ่ ครู เปนแบบอยางที่ดีของนักศึกษาและสังคมทั่วไป