SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
Télécharger pour lire hors ligne
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2557
ชื่อโครงงาน
ฮอร์โมน....มนุษย์
(Human…Hormone)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1) นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์ เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง 4
2) นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์ เลขที่ 4
2 นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต เลขที่ 11
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ฮอร์โมน...มนุษย์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Human…Hormone
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1) นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์ เลขที่ 4
2) นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต เลขที่ 11
ชื่อที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 11 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในทุกวันนี้มนุษย์ดาเนินกิจกรรมต่างๆภายในชีวิตประจาวันมากมายโดยการทางานของ
ร่างกายโดยใช้กลไกต่างๆที่ทางานโดยการใช้พลังงาน แล้วยังมีการทางานร่วมกันกับฮอร์โมน
ต่างๆโดยฮอร์โมนแต่ละชนิดนั้นจะทาให้เกิดกระบวนการต่างๆขึ้นทาให้สามารถดาเนินชีวิตได้
อย่างปกติ โดยฮอร์โมนในร่างกายมีน่าที่ที่ต่างกันไปตามแต่ชนิดแล้วมีต่อมสร้างฮอร์โมนในจุด
ต่างๆของร่างกายต่อมนี้เป็นต่อมไร้ท่อโดยต่อมต่อมหนึ่งสามารถสร้างฮอร์โมนได้หลายชนิด
ฮอร์โมนสามารถลาเลียงฮอร์โมนที่สร้างผ่านระบบเลือดไปตามจุดต่างๆของร่างกายทาให้
ร่างกายเกิดการทางานตอบสนองต่อฮอร์โมนต่างๆ
ในการศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมนนี้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการแพทย์หรือ
ฮอร์โมนบางชนิดก็นาสร้างมานามาเสริมสร้างสมรถภาพร่างกายให้แข็งแรง ดังนั้นความรู้ใน
3
เรื่องของฮอร์โมนสามารถทาให้เราดูแลตัวเองได้และรู้ว่าประโยชน์และโทษของฮอร์โมนตัว
นั้นๆเป็นอย่างไรสาคัญต่อร่างกายมากแค่ไหนทาอย่างไรถึงจะทาให้ฮอร์โมนตัวนั้นไม่
เสื่อมสภาพทาให้เกิดโรคบางชนิดดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้จึงมีความสาคัญในระดับหนึ่ง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1) ศึกษาระบบการทางานของฮอร์โมน
2) ศึกษาเกี่ยวกับจุดที่สร้างของฮอร์โมนชนิดต่างๆและการลาเลียง
3) ศึกษาเรื่องความสาคัญของฮอร์โมนบางตัวต่อร่างกาย
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมนแต่ละชนิดว่ามีผลต่อร่างกายแบบใดหลังเมื่อใดมีฮอร์โมนที่ควบคุมกันและกัน
หรือไม่หากขาดไปจะเกิดผลเช่นไร เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปช่วยอ้างอิงในการสอนวิชาชีววิทยาต่อไป
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ฮอร์โมนในร่างกายมนุษย์จะ ถูกขนส่งไปสู่อวัยะต่างๆทั่วร่างกาย แต่จะออกฤทธิ์หรือมีผลต่อ
เฉพาะอวัยวะ และเซลล์บางตัวเท่านั้น ซึ่งฮอร์โมนในร่างกายมนุษย์จะแบ่งเป็น 9 ต่อม คือ
1)ต่อมใต้สมอง( pituitary gland) อยู่ตรงส่วนล่างของสมองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า( anterior lobe of pituitary gland )
ต่อมใต้สมองส่วนกลาง ( intermediated lobe of pituitary )
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง( posterior lobe of pituitary gland )
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ( anterior lobe of pituitary gland )
เป็นส่วนที่ไม่ได้เกิดจาก เนื้อเยื่อประสาท การทางานอยู่ภายใต้การควบคุมของ
hypothalamus สร้างฮอร์โมนประเภทสารโปรตีนหรือพอลิเพปไทด์ ได้แก่
1. Growth hormone(GH) หรือ Somatotrophic hormone(STH) ฮอร์โมนนี้หลั่งตอน
หลับมากกกว่าตอนตื่นและตอนหิวมากกว่าช่วงปกติ เป็นฮอร์โมนที่ประกอบด้วย polypeptide ที่
มีกรดอมิโน 191 ตัว มีธาตุกามะถันอยู่ในรูป disulphid กระตุ้นให้เกิดการเจริญของกล้ามเนื้อ
และกระดูกโดยอาศัย thyroxin และ inrulin เป็นตัวคะตะลิสต์ มีอิทธิพลกระตุ้นการเจริญและ
เพิ่มความยาวของกระดูกกระตุ้นการเจริญของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆของร่างกาย ความผิดปกติ
4
เมื่อร่างกายขาดหรือมีมากเกินไป
- ถ้าร่างกายขาด GH ในเด็ก ทาให้ร่างกายเตี้ยแคระ (สติปัญญาปกติ) เรียก Dawrfism
ในผู้ใหญ่ มีอาการผอมแห้ง น้าตาลในเลือดต่า มีภาวะทนต่อความเครียด(stess) สูงเรียกว่า
Simmom’s disease
- ถ้าร่างกายมี GH มากเกินไป ในวัยเด็ก จะทาให้ร่างกายเติบโตสูงใหญ่ผิดปกติ
น้าตาลในเลือดสูง ทนต่อความเครียดได้น้อย เรียกว่า Gigantism ในผู้ใหญ่ กระดูกขากรรไกร
คางจะยาวผิดปกติ ฝ่ามือ ฝ่าเท้าโต จมูกใหญ่ ฟันใหญ่ และห่างเรียก Acromegaly
2. Gonadotrophin หรือ Gonadotrophic hormone
ประกอบด้วยฮอร์โมนที่สาคัญ 2 ชนิด คือ
2.1 Follicle stimulating hormone (FSH) ทาหน้าที่กระตุ้นฟอลลิเคิลให้สร้างไข่และ
ไข่สุก มีการสร้างฮอร์โมน estrogen ออกมา และกระตุ้น seminiferrous tubule ให้สร้างอสุจิ
2.2 Luteinizing hormone (LH) ทาหน้าที่กระตุ้นให้ไข่ตกจากฟอลลิเคิล สาหรับใน
เพศชาย กระตุ้นให้ interstitial cells ในอัณฑะสร้างฮอร์โมนเพศชาย ซึ่งอาจเรียกว่า Interstitial
Cell Stimulating Hormone (ICSH)
3. Prolactin หรือ Lactogenic hormone (LTH)
ทาหน้าที่กระตุ้นการเจริญของต่อมน้านมในเพศหญิง นอกจากนี้ทาหน้าที่ร่วมกับ
androgen ในเพศชายกระตุ้นต่อมลูกหมาก การบีบตัวของท่อนาอสุจิ การสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ
4. Andrenocorticotrophin หรือ Adrenocorticotrophic hormone (ACTH)
มีหน้าที่กระตุ้นทั้งการเจริญเติบโตและการสร้างฮอร์โมนของต่อมหมวก ไตส่วนนอกให้
สร้างฮอร์โมนของต่อมหมวกไตส่วนนอก ให้สร้างฮอร์โมนตามปกติและกระตุ้น การหลั่ง
insulin การหลั่ง GH ควบคุมการทางานของต่อมเหนือไตชั้นนอก ( adrenal cortex ) ทาให้สีของ
สัตว์เลือดเย็นเข้มขึ้น มีโครงสร้างเหมือน MSH
5. Thyroid Stimulation hormone (TSH)
ทา หน้าที่กระตุ้นให้มีการเพิ่มการนาไอโอดีนเข้าต่อมไทรอยด์ เพื่อเพิ่มการสังเคราะห์
thyroxine hormone การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะถูกควบคุมโดยฮอร์โมนที่
สร้างจาก สมองส่วน hypothalamus มีฮอร์โมนที่กระตุ้นและยับยั้งการผลิตฮอร์โมนของต่อมใต้
สมองส่วนหน้าและมี ชื่อเรียกตามผลที่แสดงออกต่อการสร้างฮอร์โมน เช่น
- ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง GH ( GH releasing hormone, GRH) กระการหลั่งฮอร์โมน
5
growth
- ฮอร์โมนยับยั้งการหลั่ง GH (GH inhibiting hormone,GIH) ยับยั้งไม่ให้มีการหลั่ง
ฮอร์โมน growth
- ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง prolactic (Prolactin releasing hormone,PRH) กระตุ้นให้
Prolactin หลั่งออกมา
- ฮอร์โมนควบคุมการหลั่ง thyroid (Thyroid releasing hormone,TRH) กระตุ้นการหลั่ง
TSH
- ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง Gn (Gonadotrophin releasing hormone,GnRH) กระตุ้นให้มี
การหลั่ง LH และ FSH
ฮอร์โมนเหล่านี้รวมเรียกว่า ฮอร์โมนประสาท เพราะสร้างมาจากเซลล์พิเศษ ซึ่งเปลี่ยนแปลงมา
จากเซลล์ประสาทภายใน hyprothalamus
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง (Intermediate lobe)
มีขนาดเล็กมากทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน Melanocyte Stimulating
Hormone(MSH) ทาหน้าที่ปรับสีของสัตว์เลือดเย็นให้เข้มขึ้น(ทาหน้าที่ตรงข้ามกับ Malatonin
จากต่อม pineal ) ในสัตว์เลือดอุ่นมีหน้าที่ไม่แน่ชัด
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior lobe)
เป็นกลุ่มเซลล์ของเนื้อเยื่อประสาทจาก hypothalamus ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน
ภายนอก แล้วลาเลียงมาไว้ที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ได้แก่
1. Oxytocin ทาให้กล้ามเนื้อมดลูก เต้านม กระเพาะปัสสาวะมีการหดตัว ฮอร์โมนนี้จะ
มีการหลั่งออกมาตอนคลอดลูกและในขณะร่วมเพศ แต่ถ้าหลั่งออกมามากก่อนคลอดจะทาให้
แท้งลูกได้
2. Vasopressin หรือ Antidiuretic hormone ( ADH ) ทาให้เส้นเลือดมีการหดตัวช่วยให้
ท่อหน่วยไตดูดน้ากลับคืน ทาให้ลดการสูญเสียน้าและเกลือแร่ที่จาเป็น ถ้าร่างกายขาดจะ
ปัสสาวะมากทาให้เกิดโรคเบาจืด( diabetes inspidus)
2)ต่อมไพเนียล (pineal gland)
6
เป็นต่อมเล็กๆ ที่อยู่ระหว่างสมองส่วน cerebrum พูซ้ายและพูขวา
ต่อมไพเนียลจะสร้างฮอร์โมน melatoninMelatonin เป็น ฮอร์โมนที่มีความสาคัญในคน
และสัตว์ชั้นสูงในช่วงก่อนวัยหนุ่มสาว โดยจะไปยับยั้งการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์ ถ้าต่อมนี้
เกิดผิดปกติและผลิตฮอร์โมนนี้มากเกินไปจะทาให้เป็นหนุ่มสาวช้าลง กว่าปกติ ในสัตว์ที่มี
กระดูกสันหลังชั้นต่าบางชนิด เช่น ปลาปากกลมต่อมไพเนียลจะไม่ได้ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน
แต่จะทาหน้าที่เป็นกลุ่มเซลล์รับแสง (photoreceptor)
การหลั่งฮอร์โมนของต่อมนี้ จะหลั่งได้ดีในกรณีอยู่ในที่มืดในสัตว์พวกที่อยู่ในที่มีแสงสว่าง
มากจะหลั่ง น้อย พวกสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด ซึ่งเป็นสัตว์เลือดเย็น
ฮอร์โมนนี้จะไปช่วยในการปรับสีของผิวหนังให้จางลง (ทาหน้าที่ตรงกันข้ามกับ MSH จากต่อม
ใต้สมองส่วนกลาง)
3)ต่อมไทรอยด์(Thyroid gland)
เป็นต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ มี 2 lobe อยู่บริเวณลาคอ หน้าหลอดลมใต้กล่องเสียงเล็กน้อย ต่อม
นี้สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ
1. Thyroxin
เป็นสารอนุพันธ์ของกรดอะมิโน ช่วยเร่งอัตราเมแทบอลิซึมของร่างกาย ในสัตว์ครึ่งบก
ครึ่งน้า ช่วยให้เกิด metamorphosis เร็วขึ้น ฮอร์โมนนี้จาเป็นต่อการเจริญและการพัฒนาการของ
ร่างกายโดยเฉพาะสมองถ้าขาด ฮอร์โมนไทรอกซิน ในเด็กจะทาให้อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง
สติปัญญาไม่ดี อวัยวะเพศไม่เจริญ ร่างกายเตี้ยแคระ เรียกกลุ่มอาการนี้ว่า Cretinism ส่วนใน
ผู้ใหญ่จะมีอาการเหนื่อยง่าย ซึม อ้วนง่าย ผมและผิวหนังแห้ง ความจาเสื่อม กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เฉื่อยชา เรียกกลุ่ม อาการนี้ว่า Myxedema นอกจากนี้การขาดธาตุไอโอดีน ยังมีผลทาให้ต่อม
ไทรอยด์ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนไทรอกซินได้ส่งผลให้เป็น โรคคอพอก ( Simple goiter หรือ
endemic goiter) เพราะเมื่อร่างกายขาดไทรอกซิน จะมีผลให้Hypotalamus หลั่งสารเคมีมา
กระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้หลั่งฮอร์โมน TSH ส่งมาที่ต่อมไทรอยด์มากกว่าปกติ เมื่อต่อม
ถูกกระตุ้นจึงมีขนาดขยายโตขึ้น การสร้างฮอร์โมนนี้มากเกินไปจะทาให้เกิดโรค Grave’s
disease ในเด็กจะมีอาการตัวสั่น ตกใจง่าย แต่คอไม่พอก ส่วนในผู้ใหญ่จะเกิดอาการคอพอกเป็น
พิษ (toxin goiter หรือ exophthalmic goiter ) ต่อมมีขนาดใหญ่ มีฮอร์โมนมาก อัตราเมแทบอลิ
7
ซึมจะสูง นานไปจะมีการสะสมสารเคมีบางชนิดในเบ้าตาทาให้ตาโปน
2. Calcitonin
เป็นฮอร์โมนที่ทาหน้าที่ลดระดับของ แคลเซียมในเลือดที่สูงเกินปกติ ให้เข้าสู่ระดับปกติ
โดยดึงส่วนที่เกินนั้นไปไว้ที่กระดูก ดังนั้นระดับแคลเซียมในเลือดจึงเป็นตัวควบคุมการหลั่ง
ฮอร์โมน ฮอร์โมนนี้จะทางานร่วมกับต่อมพาราไทรอยด์และวิตามิน
4) ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyroid gland)
มีขนาดเท่าเมล็ดถั่วเขียว มีอยู่ด้วยกัน 4 ต่อม ฝังอยู่ด้านหลังของต่อมไทรอยด์ข้างละ 2 ต่อม
ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมนี้คือ
1.parathormone Parathormone
เป็นฮอร์โมนที่ทาหน้าที่ควบคุมระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสในเลือดและ เนื้อเยื่อให้
ปกติ ช่วยให้ไตและลาไส้เล็กดูดแคลเซียมกลับคืนได้มากขึ้น โดยทางานร่วมกับวิตามิน ซี และ
ดี ทาหน้าที่ควบคุมแคลเซียม
2.Calcitonin
ถ้าขาดฮอร์โมนชนิดนี้ จะทาให้การดูดแคลเซียมกลับที่ท่องของหน่วยไตลดน้อยลง แต่จะ
มีฟอสฟอรัสมากขึ้น มีผลทาให้เกิดตะคริวชักกระตุก กล้ามเนื้อเกร็งเรียกการเกิด tetany แก้โดย
ลดอาหารที่มีฟอสฟอรัสสูงๆ และเพิ่มแคลเซียมหรือฉีดวิตามิน D แต่ในกรณีที่มีมากเกินไปจะ
ทาให้กระดูกและฟันไม่แข็งแรงประสาทตอบสนองได้น้อย กล้ามเนื้อเปลี้ย ปวดกระดูก
5)ต่อมไทมัส(Thymus gland)
มีลักษณะเป็น 2 พู อยู่ตรงทรวงอก รอบเส้นเลือดใหญ่ของหัวใจเป็นเนื้อเยื่อน้าเหลือง ทาหน้าที่
สร้างลิมโฟไซต์(T-Lymphotyce) หรือ T-Cell การที่เนื้อเยื่อน้าเหลืองสร้างเซลล์ได้ต้องมี
ฮอร์โมนThymosinที่สร้างจาก เนื้อเยื่อบางส่วนของต่อมไทมัส ต่อมนี้เจริญเต็มที่ตั้งแต่ทารกยัง
อยู่ในครรภ์แม่ และจะเสื่อมสภาพเรื่อยๆเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
นอกจากนี้ ฮอร์โมนบางชนิดยังสามารถสร้างจากเนื้อเยื่อในร่างกายได้เนื้อเยื่อสาคัญคือ
เนื้อเยื่อชั้นในกระเพาะอาหาร และลาไส้เล็ก ฮอร์โมนที่สร้างจากเนื้อเยื่อนี้เป็นสารประเภท
8
โปรตีน มีหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร ได้แก่
1. Gastrin เป็น ฮอร์โมนที่สร้างจากเนื้อเยื่อชั้นในของกระเพาะอาหาร ทาหน้าที่
กระตุ้น ทาหน้าที่กระตุ้นหลั่งน้าย่อยจากตับอ่อน การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลาไส้
เล็ก
2. Sacretin เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากเนื้อเยื่อชั้นในบริเวณดูโอดินัม ของลาไส้เล็ก
ทาหน้าที่กระตุ้นการหลั่งน้าย่อยในตับอ่อน และกระตุ้นตับให้หลั่งน้าดี เมื่ออาหารผ่านจาก
กระเพาะเข้าสู่ลาไส้เล็ก
6)ตับอ่อน(Pancreas)
ส่วนที่เป็นต่อมไร้ท่อ จะผลิตฮอร์โมนที่สาคัญ ดังนี้
1) อินซูลิน เป็นฮอร์โมนที่ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดต่าลง โดยช่วยให้กลูโคสผ่าน เข้า
เซลล์และเปลี่ยนส่วนหนึ่งเป็นไกลโคเจนเก็บไว้ที่ตับ ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดอยู่ในระดับ
ปกติ
2) กลูคากอน เป็นฮอร์โมนที่ทางานตรงข้ามกับอินซูลิน คือ ทาให้ระดับน้าตาลใน เลือด
สูงขึ้น
7) Islet of langerhans
Paul langerhan(1868) แห่งมหาวิทยาลัยไพรเบิร์กในเยอรมัน ได้ศึกษาตับอ่อนและพบกลุ่ม
เซลล์ตับอ่อนกระจายอยู่เป็นย่อมๆมีหลอดเลือดมา หล่อเลี้ยงมาก แ ละเรียกกลุ่มเซลล์เหล่านี้ตาม
ชื่อของผู้คนพบว่า islets of Langerhans ฮอร์โมนที่สาคัญมี 2 ชนิดคือ
1. Insulin สร้างมาจากกลุ่ม B – cell ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีขนาดเล็กและมีจานวนมาก หน้าที่ของ
insulin คือรักษาระดับน้าตาลในเลือดให้เป็นปกติ ถ้ามีน้าตาลในเลือดสูง insulin จะช่วยเร่งการ
นากลูโคสเข้าเซลล์และเร่งการสร้าง glycogen เพื่อเก็บสะสมไว้ที่นับและกล้ามเนื้อ และเร่งการ
ใช้กลูโคสของเซลล์ทั่วไป ทาให้น้าตาลในเลือดน้อยลง
ในคนปกติจะมีน้าตาลในเลือด 100 mg ต่อเลือด 100 Cm3 กรณีคนที่ขาด insulin ทาให้
เป็นโรคเบาหวาน ( diabetes mellitus ) คือ มีน้าตาลในเลือดสูงมากและหลอดไตดูดกลับไม่หมด
จึงมีส่วนหนึ่งออกมากับปัสสาวะ เมื่อเป็นมากๆ ร่างกายจะผอม น้าหนักตัวลดลงมากเนื่องจากมี
การสลายไขมันและโปรตีน มาใช้แทนคาร์โบไฮเดรตซึ่งร่างกายใช้ไม่ได้ผู้ป่วยจะถ่ายปัสสาวะ
9
บ่อยครั้ง และมีน้าตาลออกมาด้วย ปัสสาวะมีความเป็นกรดมาก เนื่องจากมีคีโตนบอดี (Ketone
Body) ซึ่งเป็นผลจากการสลายไขมัน นอกจากนี้ถ้าหากเป็นแผลจะหายยากมากเพราะในเลือดมี
น้าตาลสูง จุลินทรีย์ต่างๆจึงใช้เป็นอาหารได้เป็นอย่างดี เมื่อเป็นนานเข้าผู้ป่วยจะตาย เนื่องจาก
ไตหมดประสิทธิภาพในการทางาน
2. Glucagon สร้าง มาจาก B – cell เป็นเซลล์ที่มีขนาดใหญ่และมีน้อยกว่า ? – cell
glucagon มีหน้าที่เพิ่มน้าตาลในเลือดโดยเร่งสลายไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคส ( ทาหน้าที่
ตรงข้ามกับ insulin ) และเร่งการสร้างกลูโคสจากโปรตีนด้วย ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงระดับ
น้าตาลในเลือดจะเป็นสัญญาณให้ฮอร์โมนทั้งสองชนิด นี้ทางานเพื่อรักษาระดับน้าตาลในเลือด
ให้อยู่ในภาวะปกติเสมอ
8)ต่อมหมวกไต(adrenal gland)
เป็นต่อมไร้ท่อที่อยู่เหนือไตทั้งสองข้าง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม ต่อมหมวกไตแบ่งออกเป็น 2
ส่วน คือ
1. adrenal cortex
หรือต่อมหมวกไตชั้น นอก ผลิตฮอร์โมนได้มากกว่า 50 ชนิด ภายใต้การควบคุมของ
ACTH จากต่อมใต้สมองตอนหน้า ฮอร์โมนที่ผลิตขึ้นมีสมบัติเป็นสเตอรอยด์ (steroid) แบ่ง
ฮอร์โมนเป็น 3 กลุ่มที่สาคัญ คือ
1.1 Glucocorticoid hormone ทา หน้าที่ควบคุมเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต
โดยเปลี่ยน glycogen ในตับและกล้ามเนื้อให้เป็นกลูโคส ( ทาหน้าที่เหมือนกลูคากอนจากตับ
อ่อน)ในวงการแพทย์ใช้เป็นยาลดการอักเสบและ รักษาโรคภูมิแพ้ฮอร์โมนกลุ่มนี้คือ cortisol
และ cortisone ( ในภาวะตึงเครียดถ้ามีการหลั่ง cortisol มากทาให้เกิดโรคกระเพาะอาหารได้)
ถ้ามีฮอร์โมนกลุ่มนี้มากเกินไปจาทาให้อ้วน อ่อนแอ ( ไขมัน พอกตามตัว ) หน้ากลมคล้ายดวง
จันทร์ หน้าท้องลาย น้าตาลในเลือดสูงเช่นเดียวกับคนเป็นโรคเบาหวาน เรียกว่า โรคคูชชิง(
Cushing’s syndrome)
1.2 Mineralocorticoid hormone ทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้าและเกลือแร่
ฮอร์โมนสาคัญกลุ่มนี้คือ aldosterone ช่วยในการทางานของไตในการดูดกลับ Na และ Cl
ภายในท่อตับ
10
ถ้าขาด aldosterone จะทาให้ร่างกายสูญเสียน้าและโซเดียมไปพร้อมกับปัสสาวะ ส่งผลให้เลือด
ในร่างกายลดลงจนอาจทาให้ผู้ป่วยตายเพราะความดันเลือดต่า
1.3 Adrenalsexhormone ฮอร์โมน เพศช่วยกระตุ้นให้มีลักษณะทางเพศที่สมบูรณ์
ทั้งชายและหญิง (secondeary sexual characteristics) ในเด็กผู้หญิงพบว่า ถ้ามีฮอร์โมนเพศมาก
เกินไปจะมี่ขนาด clitoris โต และมีอวัยวะที่ labium คล้ายๆถุงอัณฑะถ้าเป็นผู้หญิงที่โตเป็นสาว
แล้วจะมีผลทาให้เสียงต่าและมีหนวด เกิดขึ้น ประจาเดือนหยุดเรียกลักษณะนี้ว่า Adrenogentital
sysdrome
ถ้า adrenal cortex ถูกทาลายจะไม่สามารถสร้างฮอร์โมนทาให้เป็นโรค Addison’s disease ผู้ที่
เป็นโรคนี้ร่างกายจะซูบผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุได้ซึ่งจะ
ทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
2. Adrenal medulla เป็นเนื้อชั้นในของต่อมหมวกไต อยู่ภายใต้การควบคุมของ sympathetic
( ไม่มี parasympathetic ) ถูกกระตุ้นในขณะตกใจ เครียด กลัว โกรธ เนื้อเยื่อชั้นนี้จะทาหน้าที่
สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด
2.1 Adrenalin hormone หรือ Epinephrine hormone กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรง (
ความดันเลือดสูง ) เส้นเลือดขยายตัวเปลี่ยน glycogen ในตับให้เป็นกลูโคสในเลือด ทาให้มี
พลังงานมากในขณะหลั่งออกมา (adrenalin ใช้ในการห้ามเลือดได้เพราะทาให้เลือดเป็นลิ่ม ๆ)
2.2 Noradrenalin hormone หรือ Norepinephrine hormone กระตุ้นให้เส้นเลือดมี
การบีบตัว ( ความดันเลือดสูง ) ผลอื่นๆคล้าย adrenalin แต่มีฤทธิ์น้อยกว่า
9)ต่อมเพศ (gonad gland)
1. อัณฑะ (testis) ภาย ในอัณฑะมีกลุ่มเซลล์ interstitial cell เป็นแหล่งที่ทาหน้าที่สร้าง
ฮอร์โมนเพศชายฮอร์โมนที่ถูกสร้างเป็นสารสเตียรอยด์ ที่เรียกว่า androgens ประกอบด้วย
ฮอร์โมนหลายชนิด ที่สาคัญคือ testosterone ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะของเพศชาย เช่น เสียง
แตก นมขึ้นพาน มีหนวดบริเวณที่ริมฝีปาก กระดูกหัวไหล่กว้าง
2. รังไข่( ovary ) เป็น แหล่งสร้างฮอร์โมนเพศหญิง ต่อมเพศอยู่ในรังไข่ทั้ง 2 ข้าง มี
แหล่งสร้างฮอร์โมน 2 แหล่ง คือ follicle ในรังไข่ และ corpus luteum ฮอร์โมนที่สร้างได้มี 2
ชนิด คือ
11
1.1 Estrogen เป็นฮอร์โมนที่สร้างจาก follicle ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะเพศหญิง การ
มีประจาเดือน เตรียมการตั้งครรภ์ห้ามการสร้างไข่ โดยห้าม FSH จากต่อมใต้สมองและกระตุ้น
ให้มีการหลั่ง LH แทน
1.2 Progesterone สร้างจาก corpus luteum มีหน้าที่ในการกระตุ้นให้ผนังมดลูกหนา
ห้ามการมีประจาเดือน ห้ามการตกไข่ ให้ต่อมน้านมเจริญมากขึ้น ป้องกันการแท้งบุตร อยู่ภายใต้
การควบคุมของฮอร์โมน FSH และ LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ระบบฮอร์โมนขณะมีการ
เปลี่ยนแปลงรอบเดือน ในขณะมีรอบเดือน (memstrucation) Estrogen และ LH ต่า
progresterone ต่ามาก ภายหลังการตกไข่ (ovulation ) progesterone จะสูงขึ้นและจะสูงสุด
ภายหลังตกไข่ผ่านไป 1 สัปดาห์ จากนั้นจะลดลงเรื่อยๆถ้าไข่ไม่ถูกปฏิสนธิ
ความผิดปกติของฮอร์โมน
สาเหตุ
1. การสร้างฮอร์โมนไม่เพียงพอ
2. เซลล์เป้ าหมายไม่ตอบสนองต่อฮอร์โมน ซึ่งมีระดับปกติ
3. ตัวรับสัญญาณ (receptors) ผิดปกติ เกิดโรคของต่อมไทรอยด์
4. ต่อมไทรอยด์ไม่ทางาน
5. การฉายรังสีที่กระทบกระเทือนต่อมไทรอยด์
6. การได้รับยากลุ่มกอยโทรเจน (goitrogens) ซึ่งเป็นสารที่ทาให้การนาไอโอดีนเข้าเซลล์ไม่ได้ดี
หรือแย่งเอนไซม์ TPOในการจับไอโอดีน
7. การขาดไอโอดีน
8. การขาดเอนไซม์ไทโรเปอรอกซิเดส (thyroperoxidase)
9. การเกิดโรคของต่อมใต้สมอง หรือที่ไฮโพทาลามัส
12
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1)คิดหัวข้อโครงงาน
2)หาข้อมูลของโครงงาน
3)จัดทาโครงร่างงาน
4)ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5)ปรับปรุงแก้ไขโครงงาน
6)ทาเอกสารรายงาน
7)ประเมินโครงงาน
8)นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1)คอมพิวเตอร์+อินเตอร์เน็ต
2)โปรแกรม Adobe Dreamweaver
งบประมาณ
50 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน
สัปดาห์ที่
ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
1 คิดหัวข้อโครงงาน นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์
3 จัดทาโครงร่างงาน นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต
5 ปรับปรุงทดสอบ นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์
6 การทาเอกสารรายงาน นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต
7 ประเมินผลงาน นาย กิตติพันธุ์ ,นาย รังสิมันตุ์
8 นาเสนอโครงงาน นาย กิตติพันธุ์ ,นาย รังสิมันตุ์
13
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ทราบถึงผลของฮอร์โมนต่างๆต่อร่างกาย
ทราบถึงประโยชน์และโทษของความไม่สมดุลของฮอร์โมน
ทราบถึงการทางานเป็นระบบของฮอร์โมน
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.chaiwbi.com/2552student/ms5/d525102/wbi/525109/unit02/unit2_1001.html
http://www.chaiwbi.com/2552student/ms5/d525102/wbi/525109/unit03/unit3_1001.html
http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/hormone/chapter4/thyroid_abnormal.htm

Contenu connexe

Tendances

โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
โครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมโครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมI'am Jimmy
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวsingha_koy
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0Prachyanun Nilsook
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1Artit Promratpan
 
งานคอม (อาหารเช้า)
งานคอม (อาหารเช้า)งานคอม (อาหารเช้า)
งานคอม (อาหารเช้า)Rujyada Auntrakul
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วAdithun Sukprasert
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมSupaluck
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อNattapong Boonpong
 
ระบบร่างกายของมนุษย์
ระบบร่างกายของมนุษย์ระบบร่างกายของมนุษย์
ระบบร่างกายของมนุษย์prrimhuffy
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5ChutimaKerdpom
 
โครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันโครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันSupakit10
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อwaratree wanapanubese
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 

Tendances (20)

โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
โครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมโครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติม
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
 
งานคอม (อาหารเช้า)
งานคอม (อาหารเช้า)งานคอม (อาหารเช้า)
งานคอม (อาหารเช้า)
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6
 
STEM Education KMUTNB
STEM Education KMUTNBSTEM Education KMUTNB
STEM Education KMUTNB
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ระบบร่างกายของมนุษย์
ระบบร่างกายของมนุษย์ระบบร่างกายของมนุษย์
ระบบร่างกายของมนุษย์
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5
 
โครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันโครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตัน
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 

En vedette

ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์dgnjamez
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานคนสวย ฉัน
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
อวัยวะของมนุษย์
อวัยวะของมนุษย์อวัยวะของมนุษย์
อวัยวะของมนุษย์preap
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงnatjira
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thitichaya24
 
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้า
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้ากล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้า
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้าSarawut Fnp
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
โครงงานสุขภาพ
โครงงานสุขภาพโครงงานสุขภาพ
โครงงานสุขภาพtanawanbenz
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

En vedette (20)

ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์ฮอร์โมนมนุษย์
ฮอร์โมนมนุษย์
 
ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์
 
Gene
GeneGene
Gene
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
อวัยวะของมนุษย์
อวัยวะของมนุษย์อวัยวะของมนุษย์
อวัยวะของมนุษย์
 
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสงสื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
สื่อการเรียนการสอนเรื่อง คลื่น เสียง แสง
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
1. facial muscles
1. facial muscles1. facial muscles
1. facial muscles
 
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้า
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้ากล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้า
กล้ามเนื้อแสดงความรู้สึกของหน้า
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
โครงงานสุขภาพ
โครงงานสุขภาพโครงงานสุขภาพ
โครงงานสุขภาพ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

Similaire à โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์

โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.bamhattamanee
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.bamhattamanee
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Raphephan Charoenphol
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานNatthanaSriloer
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer ProjectBee Attarit
 
โครงงานคอมอาหาร
โครงงานคอมอาหารโครงงานคอมอาหาร
โครงงานคอมอาหารBenaun Pbll
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 

Similaire à โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ (20)

โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
เจาะลึกอาชีพแพทย์
เจาะลึกอาชีพแพทย์เจาะลึกอาชีพแพทย์
เจาะลึกอาชีพแพทย์
 
โครงงานคอมอาหาร
โครงงานคอมอาหารโครงงานคอมอาหาร
โครงงานคอมอาหาร
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 

Plus de dgnjamez

ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์dgnjamez
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีdgnjamez
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาdgnjamez
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์dgnjamez
 
การพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือdgnjamez
 
การประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานdgnjamez
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานdgnjamez
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาdgnjamez
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์dgnjamez
 
การประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานdgnjamez
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีdgnjamez
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์dgnjamez
 

Plus de dgnjamez (20)

ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์ฮอร์โมน มนุษย์
ฮอร์โมน มนุษย์
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎี
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
การพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือ
 
การประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งาน
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
การประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งาน
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎี
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chem
ChemChem
Chem
 
Bio
BioBio
Bio
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
Math
MathMath
Math
 

โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน ฮอร์โมน....มนุษย์ (Human…Hormone) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1) นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์ เลขที่ 4 ชั้น ม.6 ห้อง 4 2) นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์ เลขที่ 4 2 นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต เลขที่ 11 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ฮอร์โมน...มนุษย์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Human…Hormone ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1) นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์ เลขที่ 4 2) นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต เลขที่ 11 ชื่อที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 11 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในทุกวันนี้มนุษย์ดาเนินกิจกรรมต่างๆภายในชีวิตประจาวันมากมายโดยการทางานของ ร่างกายโดยใช้กลไกต่างๆที่ทางานโดยการใช้พลังงาน แล้วยังมีการทางานร่วมกันกับฮอร์โมน ต่างๆโดยฮอร์โมนแต่ละชนิดนั้นจะทาให้เกิดกระบวนการต่างๆขึ้นทาให้สามารถดาเนินชีวิตได้ อย่างปกติ โดยฮอร์โมนในร่างกายมีน่าที่ที่ต่างกันไปตามแต่ชนิดแล้วมีต่อมสร้างฮอร์โมนในจุด ต่างๆของร่างกายต่อมนี้เป็นต่อมไร้ท่อโดยต่อมต่อมหนึ่งสามารถสร้างฮอร์โมนได้หลายชนิด ฮอร์โมนสามารถลาเลียงฮอร์โมนที่สร้างผ่านระบบเลือดไปตามจุดต่างๆของร่างกายทาให้ ร่างกายเกิดการทางานตอบสนองต่อฮอร์โมนต่างๆ ในการศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมนนี้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการแพทย์หรือ ฮอร์โมนบางชนิดก็นาสร้างมานามาเสริมสร้างสมรถภาพร่างกายให้แข็งแรง ดังนั้นความรู้ใน
  • 3. 3 เรื่องของฮอร์โมนสามารถทาให้เราดูแลตัวเองได้และรู้ว่าประโยชน์และโทษของฮอร์โมนตัว นั้นๆเป็นอย่างไรสาคัญต่อร่างกายมากแค่ไหนทาอย่างไรถึงจะทาให้ฮอร์โมนตัวนั้นไม่ เสื่อมสภาพทาให้เกิดโรคบางชนิดดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้จึงมีความสาคัญในระดับหนึ่ง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1) ศึกษาระบบการทางานของฮอร์โมน 2) ศึกษาเกี่ยวกับจุดที่สร้างของฮอร์โมนชนิดต่างๆและการลาเลียง 3) ศึกษาเรื่องความสาคัญของฮอร์โมนบางตัวต่อร่างกาย ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมนแต่ละชนิดว่ามีผลต่อร่างกายแบบใดหลังเมื่อใดมีฮอร์โมนที่ควบคุมกันและกัน หรือไม่หากขาดไปจะเกิดผลเช่นไร เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปช่วยอ้างอิงในการสอนวิชาชีววิทยาต่อไป หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ฮอร์โมนในร่างกายมนุษย์จะ ถูกขนส่งไปสู่อวัยะต่างๆทั่วร่างกาย แต่จะออกฤทธิ์หรือมีผลต่อ เฉพาะอวัยวะ และเซลล์บางตัวเท่านั้น ซึ่งฮอร์โมนในร่างกายมนุษย์จะแบ่งเป็น 9 ต่อม คือ 1)ต่อมใต้สมอง( pituitary gland) อยู่ตรงส่วนล่างของสมองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า( anterior lobe of pituitary gland ) ต่อมใต้สมองส่วนกลาง ( intermediated lobe of pituitary ) ต่อมใต้สมองส่วนหลัง( posterior lobe of pituitary gland ) ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ( anterior lobe of pituitary gland ) เป็นส่วนที่ไม่ได้เกิดจาก เนื้อเยื่อประสาท การทางานอยู่ภายใต้การควบคุมของ hypothalamus สร้างฮอร์โมนประเภทสารโปรตีนหรือพอลิเพปไทด์ ได้แก่ 1. Growth hormone(GH) หรือ Somatotrophic hormone(STH) ฮอร์โมนนี้หลั่งตอน หลับมากกกว่าตอนตื่นและตอนหิวมากกว่าช่วงปกติ เป็นฮอร์โมนที่ประกอบด้วย polypeptide ที่ มีกรดอมิโน 191 ตัว มีธาตุกามะถันอยู่ในรูป disulphid กระตุ้นให้เกิดการเจริญของกล้ามเนื้อ และกระดูกโดยอาศัย thyroxin และ inrulin เป็นตัวคะตะลิสต์ มีอิทธิพลกระตุ้นการเจริญและ เพิ่มความยาวของกระดูกกระตุ้นการเจริญของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆของร่างกาย ความผิดปกติ
  • 4. 4 เมื่อร่างกายขาดหรือมีมากเกินไป - ถ้าร่างกายขาด GH ในเด็ก ทาให้ร่างกายเตี้ยแคระ (สติปัญญาปกติ) เรียก Dawrfism ในผู้ใหญ่ มีอาการผอมแห้ง น้าตาลในเลือดต่า มีภาวะทนต่อความเครียด(stess) สูงเรียกว่า Simmom’s disease - ถ้าร่างกายมี GH มากเกินไป ในวัยเด็ก จะทาให้ร่างกายเติบโตสูงใหญ่ผิดปกติ น้าตาลในเลือดสูง ทนต่อความเครียดได้น้อย เรียกว่า Gigantism ในผู้ใหญ่ กระดูกขากรรไกร คางจะยาวผิดปกติ ฝ่ามือ ฝ่าเท้าโต จมูกใหญ่ ฟันใหญ่ และห่างเรียก Acromegaly 2. Gonadotrophin หรือ Gonadotrophic hormone ประกอบด้วยฮอร์โมนที่สาคัญ 2 ชนิด คือ 2.1 Follicle stimulating hormone (FSH) ทาหน้าที่กระตุ้นฟอลลิเคิลให้สร้างไข่และ ไข่สุก มีการสร้างฮอร์โมน estrogen ออกมา และกระตุ้น seminiferrous tubule ให้สร้างอสุจิ 2.2 Luteinizing hormone (LH) ทาหน้าที่กระตุ้นให้ไข่ตกจากฟอลลิเคิล สาหรับใน เพศชาย กระตุ้นให้ interstitial cells ในอัณฑะสร้างฮอร์โมนเพศชาย ซึ่งอาจเรียกว่า Interstitial Cell Stimulating Hormone (ICSH) 3. Prolactin หรือ Lactogenic hormone (LTH) ทาหน้าที่กระตุ้นการเจริญของต่อมน้านมในเพศหญิง นอกจากนี้ทาหน้าที่ร่วมกับ androgen ในเพศชายกระตุ้นต่อมลูกหมาก การบีบตัวของท่อนาอสุจิ การสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ 4. Andrenocorticotrophin หรือ Adrenocorticotrophic hormone (ACTH) มีหน้าที่กระตุ้นทั้งการเจริญเติบโตและการสร้างฮอร์โมนของต่อมหมวก ไตส่วนนอกให้ สร้างฮอร์โมนของต่อมหมวกไตส่วนนอก ให้สร้างฮอร์โมนตามปกติและกระตุ้น การหลั่ง insulin การหลั่ง GH ควบคุมการทางานของต่อมเหนือไตชั้นนอก ( adrenal cortex ) ทาให้สีของ สัตว์เลือดเย็นเข้มขึ้น มีโครงสร้างเหมือน MSH 5. Thyroid Stimulation hormone (TSH) ทา หน้าที่กระตุ้นให้มีการเพิ่มการนาไอโอดีนเข้าต่อมไทรอยด์ เพื่อเพิ่มการสังเคราะห์ thyroxine hormone การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะถูกควบคุมโดยฮอร์โมนที่ สร้างจาก สมองส่วน hypothalamus มีฮอร์โมนที่กระตุ้นและยับยั้งการผลิตฮอร์โมนของต่อมใต้ สมองส่วนหน้าและมี ชื่อเรียกตามผลที่แสดงออกต่อการสร้างฮอร์โมน เช่น - ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง GH ( GH releasing hormone, GRH) กระการหลั่งฮอร์โมน
  • 5. 5 growth - ฮอร์โมนยับยั้งการหลั่ง GH (GH inhibiting hormone,GIH) ยับยั้งไม่ให้มีการหลั่ง ฮอร์โมน growth - ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง prolactic (Prolactin releasing hormone,PRH) กระตุ้นให้ Prolactin หลั่งออกมา - ฮอร์โมนควบคุมการหลั่ง thyroid (Thyroid releasing hormone,TRH) กระตุ้นการหลั่ง TSH - ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง Gn (Gonadotrophin releasing hormone,GnRH) กระตุ้นให้มี การหลั่ง LH และ FSH ฮอร์โมนเหล่านี้รวมเรียกว่า ฮอร์โมนประสาท เพราะสร้างมาจากเซลล์พิเศษ ซึ่งเปลี่ยนแปลงมา จากเซลล์ประสาทภายใน hyprothalamus ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง (Intermediate lobe) มีขนาดเล็กมากทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน Melanocyte Stimulating Hormone(MSH) ทาหน้าที่ปรับสีของสัตว์เลือดเย็นให้เข้มขึ้น(ทาหน้าที่ตรงข้ามกับ Malatonin จากต่อม pineal ) ในสัตว์เลือดอุ่นมีหน้าที่ไม่แน่ชัด ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior lobe) เป็นกลุ่มเซลล์ของเนื้อเยื่อประสาทจาก hypothalamus ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ภายนอก แล้วลาเลียงมาไว้ที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ได้แก่ 1. Oxytocin ทาให้กล้ามเนื้อมดลูก เต้านม กระเพาะปัสสาวะมีการหดตัว ฮอร์โมนนี้จะ มีการหลั่งออกมาตอนคลอดลูกและในขณะร่วมเพศ แต่ถ้าหลั่งออกมามากก่อนคลอดจะทาให้ แท้งลูกได้ 2. Vasopressin หรือ Antidiuretic hormone ( ADH ) ทาให้เส้นเลือดมีการหดตัวช่วยให้ ท่อหน่วยไตดูดน้ากลับคืน ทาให้ลดการสูญเสียน้าและเกลือแร่ที่จาเป็น ถ้าร่างกายขาดจะ ปัสสาวะมากทาให้เกิดโรคเบาจืด( diabetes inspidus) 2)ต่อมไพเนียล (pineal gland)
  • 6. 6 เป็นต่อมเล็กๆ ที่อยู่ระหว่างสมองส่วน cerebrum พูซ้ายและพูขวา ต่อมไพเนียลจะสร้างฮอร์โมน melatoninMelatonin เป็น ฮอร์โมนที่มีความสาคัญในคน และสัตว์ชั้นสูงในช่วงก่อนวัยหนุ่มสาว โดยจะไปยับยั้งการเจริญของอวัยวะสืบพันธุ์ ถ้าต่อมนี้ เกิดผิดปกติและผลิตฮอร์โมนนี้มากเกินไปจะทาให้เป็นหนุ่มสาวช้าลง กว่าปกติ ในสัตว์ที่มี กระดูกสันหลังชั้นต่าบางชนิด เช่น ปลาปากกลมต่อมไพเนียลจะไม่ได้ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน แต่จะทาหน้าที่เป็นกลุ่มเซลล์รับแสง (photoreceptor) การหลั่งฮอร์โมนของต่อมนี้ จะหลั่งได้ดีในกรณีอยู่ในที่มืดในสัตว์พวกที่อยู่ในที่มีแสงสว่าง มากจะหลั่ง น้อย พวกสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด ซึ่งเป็นสัตว์เลือดเย็น ฮอร์โมนนี้จะไปช่วยในการปรับสีของผิวหนังให้จางลง (ทาหน้าที่ตรงกันข้ามกับ MSH จากต่อม ใต้สมองส่วนกลาง) 3)ต่อมไทรอยด์(Thyroid gland) เป็นต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ มี 2 lobe อยู่บริเวณลาคอ หน้าหลอดลมใต้กล่องเสียงเล็กน้อย ต่อม นี้สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ 1. Thyroxin เป็นสารอนุพันธ์ของกรดอะมิโน ช่วยเร่งอัตราเมแทบอลิซึมของร่างกาย ในสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้า ช่วยให้เกิด metamorphosis เร็วขึ้น ฮอร์โมนนี้จาเป็นต่อการเจริญและการพัฒนาการของ ร่างกายโดยเฉพาะสมองถ้าขาด ฮอร์โมนไทรอกซิน ในเด็กจะทาให้อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง สติปัญญาไม่ดี อวัยวะเพศไม่เจริญ ร่างกายเตี้ยแคระ เรียกกลุ่มอาการนี้ว่า Cretinism ส่วนใน ผู้ใหญ่จะมีอาการเหนื่อยง่าย ซึม อ้วนง่าย ผมและผิวหนังแห้ง ความจาเสื่อม กล้ามเนื้ออ่อนแรง เฉื่อยชา เรียกกลุ่ม อาการนี้ว่า Myxedema นอกจากนี้การขาดธาตุไอโอดีน ยังมีผลทาให้ต่อม ไทรอยด์ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนไทรอกซินได้ส่งผลให้เป็น โรคคอพอก ( Simple goiter หรือ endemic goiter) เพราะเมื่อร่างกายขาดไทรอกซิน จะมีผลให้Hypotalamus หลั่งสารเคมีมา กระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้หลั่งฮอร์โมน TSH ส่งมาที่ต่อมไทรอยด์มากกว่าปกติ เมื่อต่อม ถูกกระตุ้นจึงมีขนาดขยายโตขึ้น การสร้างฮอร์โมนนี้มากเกินไปจะทาให้เกิดโรค Grave’s disease ในเด็กจะมีอาการตัวสั่น ตกใจง่าย แต่คอไม่พอก ส่วนในผู้ใหญ่จะเกิดอาการคอพอกเป็น พิษ (toxin goiter หรือ exophthalmic goiter ) ต่อมมีขนาดใหญ่ มีฮอร์โมนมาก อัตราเมแทบอลิ
  • 7. 7 ซึมจะสูง นานไปจะมีการสะสมสารเคมีบางชนิดในเบ้าตาทาให้ตาโปน 2. Calcitonin เป็นฮอร์โมนที่ทาหน้าที่ลดระดับของ แคลเซียมในเลือดที่สูงเกินปกติ ให้เข้าสู่ระดับปกติ โดยดึงส่วนที่เกินนั้นไปไว้ที่กระดูก ดังนั้นระดับแคลเซียมในเลือดจึงเป็นตัวควบคุมการหลั่ง ฮอร์โมน ฮอร์โมนนี้จะทางานร่วมกับต่อมพาราไทรอยด์และวิตามิน 4) ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyroid gland) มีขนาดเท่าเมล็ดถั่วเขียว มีอยู่ด้วยกัน 4 ต่อม ฝังอยู่ด้านหลังของต่อมไทรอยด์ข้างละ 2 ต่อม ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมนี้คือ 1.parathormone Parathormone เป็นฮอร์โมนที่ทาหน้าที่ควบคุมระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสในเลือดและ เนื้อเยื่อให้ ปกติ ช่วยให้ไตและลาไส้เล็กดูดแคลเซียมกลับคืนได้มากขึ้น โดยทางานร่วมกับวิตามิน ซี และ ดี ทาหน้าที่ควบคุมแคลเซียม 2.Calcitonin ถ้าขาดฮอร์โมนชนิดนี้ จะทาให้การดูดแคลเซียมกลับที่ท่องของหน่วยไตลดน้อยลง แต่จะ มีฟอสฟอรัสมากขึ้น มีผลทาให้เกิดตะคริวชักกระตุก กล้ามเนื้อเกร็งเรียกการเกิด tetany แก้โดย ลดอาหารที่มีฟอสฟอรัสสูงๆ และเพิ่มแคลเซียมหรือฉีดวิตามิน D แต่ในกรณีที่มีมากเกินไปจะ ทาให้กระดูกและฟันไม่แข็งแรงประสาทตอบสนองได้น้อย กล้ามเนื้อเปลี้ย ปวดกระดูก 5)ต่อมไทมัส(Thymus gland) มีลักษณะเป็น 2 พู อยู่ตรงทรวงอก รอบเส้นเลือดใหญ่ของหัวใจเป็นเนื้อเยื่อน้าเหลือง ทาหน้าที่ สร้างลิมโฟไซต์(T-Lymphotyce) หรือ T-Cell การที่เนื้อเยื่อน้าเหลืองสร้างเซลล์ได้ต้องมี ฮอร์โมนThymosinที่สร้างจาก เนื้อเยื่อบางส่วนของต่อมไทมัส ต่อมนี้เจริญเต็มที่ตั้งแต่ทารกยัง อยู่ในครรภ์แม่ และจะเสื่อมสภาพเรื่อยๆเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น นอกจากนี้ ฮอร์โมนบางชนิดยังสามารถสร้างจากเนื้อเยื่อในร่างกายได้เนื้อเยื่อสาคัญคือ เนื้อเยื่อชั้นในกระเพาะอาหาร และลาไส้เล็ก ฮอร์โมนที่สร้างจากเนื้อเยื่อนี้เป็นสารประเภท
  • 8. 8 โปรตีน มีหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร ได้แก่ 1. Gastrin เป็น ฮอร์โมนที่สร้างจากเนื้อเยื่อชั้นในของกระเพาะอาหาร ทาหน้าที่ กระตุ้น ทาหน้าที่กระตุ้นหลั่งน้าย่อยจากตับอ่อน การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลาไส้ เล็ก 2. Sacretin เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากเนื้อเยื่อชั้นในบริเวณดูโอดินัม ของลาไส้เล็ก ทาหน้าที่กระตุ้นการหลั่งน้าย่อยในตับอ่อน และกระตุ้นตับให้หลั่งน้าดี เมื่ออาหารผ่านจาก กระเพาะเข้าสู่ลาไส้เล็ก 6)ตับอ่อน(Pancreas) ส่วนที่เป็นต่อมไร้ท่อ จะผลิตฮอร์โมนที่สาคัญ ดังนี้ 1) อินซูลิน เป็นฮอร์โมนที่ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดต่าลง โดยช่วยให้กลูโคสผ่าน เข้า เซลล์และเปลี่ยนส่วนหนึ่งเป็นไกลโคเจนเก็บไว้ที่ตับ ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดอยู่ในระดับ ปกติ 2) กลูคากอน เป็นฮอร์โมนที่ทางานตรงข้ามกับอินซูลิน คือ ทาให้ระดับน้าตาลใน เลือด สูงขึ้น 7) Islet of langerhans Paul langerhan(1868) แห่งมหาวิทยาลัยไพรเบิร์กในเยอรมัน ได้ศึกษาตับอ่อนและพบกลุ่ม เซลล์ตับอ่อนกระจายอยู่เป็นย่อมๆมีหลอดเลือดมา หล่อเลี้ยงมาก แ ละเรียกกลุ่มเซลล์เหล่านี้ตาม ชื่อของผู้คนพบว่า islets of Langerhans ฮอร์โมนที่สาคัญมี 2 ชนิดคือ 1. Insulin สร้างมาจากกลุ่ม B – cell ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีขนาดเล็กและมีจานวนมาก หน้าที่ของ insulin คือรักษาระดับน้าตาลในเลือดให้เป็นปกติ ถ้ามีน้าตาลในเลือดสูง insulin จะช่วยเร่งการ นากลูโคสเข้าเซลล์และเร่งการสร้าง glycogen เพื่อเก็บสะสมไว้ที่นับและกล้ามเนื้อ และเร่งการ ใช้กลูโคสของเซลล์ทั่วไป ทาให้น้าตาลในเลือดน้อยลง ในคนปกติจะมีน้าตาลในเลือด 100 mg ต่อเลือด 100 Cm3 กรณีคนที่ขาด insulin ทาให้ เป็นโรคเบาหวาน ( diabetes mellitus ) คือ มีน้าตาลในเลือดสูงมากและหลอดไตดูดกลับไม่หมด จึงมีส่วนหนึ่งออกมากับปัสสาวะ เมื่อเป็นมากๆ ร่างกายจะผอม น้าหนักตัวลดลงมากเนื่องจากมี การสลายไขมันและโปรตีน มาใช้แทนคาร์โบไฮเดรตซึ่งร่างกายใช้ไม่ได้ผู้ป่วยจะถ่ายปัสสาวะ
  • 9. 9 บ่อยครั้ง และมีน้าตาลออกมาด้วย ปัสสาวะมีความเป็นกรดมาก เนื่องจากมีคีโตนบอดี (Ketone Body) ซึ่งเป็นผลจากการสลายไขมัน นอกจากนี้ถ้าหากเป็นแผลจะหายยากมากเพราะในเลือดมี น้าตาลสูง จุลินทรีย์ต่างๆจึงใช้เป็นอาหารได้เป็นอย่างดี เมื่อเป็นนานเข้าผู้ป่วยจะตาย เนื่องจาก ไตหมดประสิทธิภาพในการทางาน 2. Glucagon สร้าง มาจาก B – cell เป็นเซลล์ที่มีขนาดใหญ่และมีน้อยกว่า ? – cell glucagon มีหน้าที่เพิ่มน้าตาลในเลือดโดยเร่งสลายไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคส ( ทาหน้าที่ ตรงข้ามกับ insulin ) และเร่งการสร้างกลูโคสจากโปรตีนด้วย ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงระดับ น้าตาลในเลือดจะเป็นสัญญาณให้ฮอร์โมนทั้งสองชนิด นี้ทางานเพื่อรักษาระดับน้าตาลในเลือด ให้อยู่ในภาวะปกติเสมอ 8)ต่อมหมวกไต(adrenal gland) เป็นต่อมไร้ท่อที่อยู่เหนือไตทั้งสองข้าง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม ต่อมหมวกไตแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. adrenal cortex หรือต่อมหมวกไตชั้น นอก ผลิตฮอร์โมนได้มากกว่า 50 ชนิด ภายใต้การควบคุมของ ACTH จากต่อมใต้สมองตอนหน้า ฮอร์โมนที่ผลิตขึ้นมีสมบัติเป็นสเตอรอยด์ (steroid) แบ่ง ฮอร์โมนเป็น 3 กลุ่มที่สาคัญ คือ 1.1 Glucocorticoid hormone ทา หน้าที่ควบคุมเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต โดยเปลี่ยน glycogen ในตับและกล้ามเนื้อให้เป็นกลูโคส ( ทาหน้าที่เหมือนกลูคากอนจากตับ อ่อน)ในวงการแพทย์ใช้เป็นยาลดการอักเสบและ รักษาโรคภูมิแพ้ฮอร์โมนกลุ่มนี้คือ cortisol และ cortisone ( ในภาวะตึงเครียดถ้ามีการหลั่ง cortisol มากทาให้เกิดโรคกระเพาะอาหารได้) ถ้ามีฮอร์โมนกลุ่มนี้มากเกินไปจาทาให้อ้วน อ่อนแอ ( ไขมัน พอกตามตัว ) หน้ากลมคล้ายดวง จันทร์ หน้าท้องลาย น้าตาลในเลือดสูงเช่นเดียวกับคนเป็นโรคเบาหวาน เรียกว่า โรคคูชชิง( Cushing’s syndrome) 1.2 Mineralocorticoid hormone ทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้าและเกลือแร่ ฮอร์โมนสาคัญกลุ่มนี้คือ aldosterone ช่วยในการทางานของไตในการดูดกลับ Na และ Cl ภายในท่อตับ
  • 10. 10 ถ้าขาด aldosterone จะทาให้ร่างกายสูญเสียน้าและโซเดียมไปพร้อมกับปัสสาวะ ส่งผลให้เลือด ในร่างกายลดลงจนอาจทาให้ผู้ป่วยตายเพราะความดันเลือดต่า 1.3 Adrenalsexhormone ฮอร์โมน เพศช่วยกระตุ้นให้มีลักษณะทางเพศที่สมบูรณ์ ทั้งชายและหญิง (secondeary sexual characteristics) ในเด็กผู้หญิงพบว่า ถ้ามีฮอร์โมนเพศมาก เกินไปจะมี่ขนาด clitoris โต และมีอวัยวะที่ labium คล้ายๆถุงอัณฑะถ้าเป็นผู้หญิงที่โตเป็นสาว แล้วจะมีผลทาให้เสียงต่าและมีหนวด เกิดขึ้น ประจาเดือนหยุดเรียกลักษณะนี้ว่า Adrenogentital sysdrome ถ้า adrenal cortex ถูกทาลายจะไม่สามารถสร้างฮอร์โมนทาให้เป็นโรค Addison’s disease ผู้ที่ เป็นโรคนี้ร่างกายจะซูบผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุได้ซึ่งจะ ทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ 2. Adrenal medulla เป็นเนื้อชั้นในของต่อมหมวกไต อยู่ภายใต้การควบคุมของ sympathetic ( ไม่มี parasympathetic ) ถูกกระตุ้นในขณะตกใจ เครียด กลัว โกรธ เนื้อเยื่อชั้นนี้จะทาหน้าที่ สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด 2.1 Adrenalin hormone หรือ Epinephrine hormone กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรง ( ความดันเลือดสูง ) เส้นเลือดขยายตัวเปลี่ยน glycogen ในตับให้เป็นกลูโคสในเลือด ทาให้มี พลังงานมากในขณะหลั่งออกมา (adrenalin ใช้ในการห้ามเลือดได้เพราะทาให้เลือดเป็นลิ่ม ๆ) 2.2 Noradrenalin hormone หรือ Norepinephrine hormone กระตุ้นให้เส้นเลือดมี การบีบตัว ( ความดันเลือดสูง ) ผลอื่นๆคล้าย adrenalin แต่มีฤทธิ์น้อยกว่า 9)ต่อมเพศ (gonad gland) 1. อัณฑะ (testis) ภาย ในอัณฑะมีกลุ่มเซลล์ interstitial cell เป็นแหล่งที่ทาหน้าที่สร้าง ฮอร์โมนเพศชายฮอร์โมนที่ถูกสร้างเป็นสารสเตียรอยด์ ที่เรียกว่า androgens ประกอบด้วย ฮอร์โมนหลายชนิด ที่สาคัญคือ testosterone ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะของเพศชาย เช่น เสียง แตก นมขึ้นพาน มีหนวดบริเวณที่ริมฝีปาก กระดูกหัวไหล่กว้าง 2. รังไข่( ovary ) เป็น แหล่งสร้างฮอร์โมนเพศหญิง ต่อมเพศอยู่ในรังไข่ทั้ง 2 ข้าง มี แหล่งสร้างฮอร์โมน 2 แหล่ง คือ follicle ในรังไข่ และ corpus luteum ฮอร์โมนที่สร้างได้มี 2 ชนิด คือ
  • 11. 11 1.1 Estrogen เป็นฮอร์โมนที่สร้างจาก follicle ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะเพศหญิง การ มีประจาเดือน เตรียมการตั้งครรภ์ห้ามการสร้างไข่ โดยห้าม FSH จากต่อมใต้สมองและกระตุ้น ให้มีการหลั่ง LH แทน 1.2 Progesterone สร้างจาก corpus luteum มีหน้าที่ในการกระตุ้นให้ผนังมดลูกหนา ห้ามการมีประจาเดือน ห้ามการตกไข่ ให้ต่อมน้านมเจริญมากขึ้น ป้องกันการแท้งบุตร อยู่ภายใต้ การควบคุมของฮอร์โมน FSH และ LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ระบบฮอร์โมนขณะมีการ เปลี่ยนแปลงรอบเดือน ในขณะมีรอบเดือน (memstrucation) Estrogen และ LH ต่า progresterone ต่ามาก ภายหลังการตกไข่ (ovulation ) progesterone จะสูงขึ้นและจะสูงสุด ภายหลังตกไข่ผ่านไป 1 สัปดาห์ จากนั้นจะลดลงเรื่อยๆถ้าไข่ไม่ถูกปฏิสนธิ ความผิดปกติของฮอร์โมน สาเหตุ 1. การสร้างฮอร์โมนไม่เพียงพอ 2. เซลล์เป้ าหมายไม่ตอบสนองต่อฮอร์โมน ซึ่งมีระดับปกติ 3. ตัวรับสัญญาณ (receptors) ผิดปกติ เกิดโรคของต่อมไทรอยด์ 4. ต่อมไทรอยด์ไม่ทางาน 5. การฉายรังสีที่กระทบกระเทือนต่อมไทรอยด์ 6. การได้รับยากลุ่มกอยโทรเจน (goitrogens) ซึ่งเป็นสารที่ทาให้การนาไอโอดีนเข้าเซลล์ไม่ได้ดี หรือแย่งเอนไซม์ TPOในการจับไอโอดีน 7. การขาดไอโอดีน 8. การขาดเอนไซม์ไทโรเปอรอกซิเดส (thyroperoxidase) 9. การเกิดโรคของต่อมใต้สมอง หรือที่ไฮโพทาลามัส
  • 12. 12 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1)คิดหัวข้อโครงงาน 2)หาข้อมูลของโครงงาน 3)จัดทาโครงร่างงาน 4)ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5)ปรับปรุงแก้ไขโครงงาน 6)ทาเอกสารรายงาน 7)ประเมินโครงงาน 8)นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1)คอมพิวเตอร์+อินเตอร์เน็ต 2)โปรแกรม Adobe Dreamweaver งบประมาณ 50 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1 คิดหัวข้อโครงงาน นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์ 3 จัดทาโครงร่างงาน นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต 5 ปรับปรุงทดสอบ นาย รังสิมันตุ์ เตจ๊ะบูรณ์ 6 การทาเอกสารรายงาน นาย กิตติพันธุ์ ปัญญาภูษิต 7 ประเมินผลงาน นาย กิตติพันธุ์ ,นาย รังสิมันตุ์ 8 นาเสนอโครงงาน นาย กิตติพันธุ์ ,นาย รังสิมันตุ์
  • 13. 13 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ทราบถึงผลของฮอร์โมนต่างๆต่อร่างกาย ทราบถึงประโยชน์และโทษของความไม่สมดุลของฮอร์โมน ทราบถึงการทางานเป็นระบบของฮอร์โมน สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.chaiwbi.com/2552student/ms5/d525102/wbi/525109/unit02/unit2_1001.html http://www.chaiwbi.com/2552student/ms5/d525102/wbi/525109/unit03/unit3_1001.html http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/hormone/chapter4/thyroid_abnormal.htm