SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
Télécharger pour lire hors ligne
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา ว21102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

นายเดชมณี เนาวโรจน์
ครูชํานาญการพิเศษ

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดยโสธร
สํานักงานเขตพื้นทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
่
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา ว21102 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ความเห็นของผู้ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้

ความเห็นของหัวหน้ากลุมสาระการเรียนรู้
่

……………………………………………. ……………………………………………
……………………………………………. ……………………………………………
……………………………………………. ……………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………..
(………………………………….)
…………./…………………/……..

(ลงชื่อ)…………………………….
(…………………………………..)
……………/………………/………

ความเห็นของหัวหน้ากลุมบริหารวิชาการ
่

ความเห็นของรองผู้อํานวยการ

……………………………………………. ……………………………………………
……………………………………………. ……………………………………………
……………………………………………. ……………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………..
(………………………………….)
…………./…………………/……..

(ลงชื่อ)…………………………….
(…………………………………..)
……………/………………/………

ความเห็นของผู้อํานวยการ

…………………………………………….……………………………………………………….
………………………………….……………………………………………………………………
………………………………………….…………………………………………………………..
(ลงชื่อ)……………………………..
(นายชาติชาย สิงห์พรมสาร)
………./…………………/……..
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์
ิ
ทําไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์
เกี่ยวข้องกับทุกคนทั้งในชีวิตประจําวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือ
เครื่องใช้ และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและการทํางานเหล่านี้ล้วน
เป็นผลของความรู้ วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์
ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิดทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มี
ทักษะสําคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถ
ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนาธรรม
ของโลกสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ( Knowledge - based society ) ดังนั้นทุกคน
จึงจําเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและ
เทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนําความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม

เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการ
เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ
มีทักษะสําคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
โดยใช้
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีสวนร่วมในการเรียนรู้ทุก
่
ขั้นตอน มีการทํากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้
กําหนดสาระสําคัญไว้ดังนี้
* สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการดํารงชีวิต ความหลายทาง
ชีวภาพ การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การทํางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและ
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยีชีวภาพ
* ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต
กับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
การใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่
รอดของสิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
* สารสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การเปลี่ยน
สถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร
* แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์
การออกแรงกระทําต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
ในชีวิตประจําวัน
* พลังงาน พลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์
ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
* กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากร
ทางธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ํา อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของบรรยากาศ
* ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่ เอกภพ ปฏิสัมพันธ์
และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสําคัญของ
เทคโนโลยีอวกาศ
* ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ
หาความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์

วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร
“ เป็นสถานศึกษาแห่งคุณภาพ ผู้เรียนมีคุณธรรม ก้าวนําวิชาการและเทคโนโลยี
ดํารงชีวิตแบบพอเพียงในสังคมได้อย่างมีความสุข”

วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ส่งเสริมให้นักเรียนเป็นบุคคลรักการแสวงหาความรู้ โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีความ
รับผิดชอบ นําความรู้ที่ได้จากการเรียนวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันและสามารถคิด
วิเคราะห์ แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

พันธะกิจ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1. พัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้เต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
2. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพในการพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตาม
มาตรฐานวิชาชีพและมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. ระดมทรัพยากร เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น นวัตกรรม และปัจจัยต่างๆ
อย่างหลากหลายให้เพียงพอและทันสมัย
4. เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยยึดหลักคุณธรรมนําความรู้

ประเด็นยุทธศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
2. การพัฒนาครูและบุคลากรในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3. การพัฒนาการบริหารจัดการในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
4. การพัฒนาความร่วมมือกับองค์กรอื่น เพื่อนําวิทยาศาสตร์ไปพัฒนาชุมชน
เป้าประสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1. ผู้เรียนได้รับการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
2. ครูและบุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพเต็ม
ศักยภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
3. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนําความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีไปใช้ในการพัฒนาชุมชน
และท้องถิ่น

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่
ของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตทํางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ในการดํารงชีวิตของตนเองและ
ดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสําคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้
เทคโนโลยีเทคชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 2 ชีวิตกับสิงแวดล้อม
่
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งมีเรียนรู้และนําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว2.2 เข้าใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติใน
ระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นําความรู้ไปใช้ในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน

สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ
จิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้
และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้
ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มี
กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนแปลง
พลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิต
และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ
นําความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก
ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธ์
ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว7.2 เข้าใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใช้ในการสํารวจอวกาศ
และทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม

สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น
ส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
คุณภาพผู้เรียน
เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปีแล้ว ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา
สาระวิทยาศาสตร์ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีทัศนคติและเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
ตระหนักในคุณค่าของวิทยาศาสตร์ และสามารถนําความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต
ตลอดจนสามารถนําไปเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และเป็นพื้นฐานในการศึกษาในระดับสูงขึ้น
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้เรียนควรมีความสามารถดังนี้
1. เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สําคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทํางาน
ของระบบต่าง ๆการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของ
สิ่งมีชีวิต พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน
สิ่งแวดล้อม
2. เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงในรูปแบบ
ของการเปลี่ยนแปลงสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ในชีวิตประจําวัน กฎการ
อนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของ
แสง
4. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน
พลังงานไฟฟ้าและหลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์
5. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิบัติภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ บนโลก
ความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศ
6. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนา
เทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
7. ตั้งคําถามที่มีการกําหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง
วางแผนและลงมือสํารวจ ตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และ
สร้างองค์ความรู้
8. สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
9.ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดํารงชีวิต การศึกษาหา
ความรู้เพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
10.แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้
โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
11.ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจําวัน
และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น
12.แสดงความซาบซึ้งห่วงใยมีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วนร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน
ท้องถิ่น
13. ทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ
คิดเห็นของผู้อื่น
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้เรียนควรมีความสามารถดังนี้
1.เข้าใจการรักษาดุลยภาพของเซลล์และกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
2.เข้าใจกระบวนการการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผัน มิวเทชัน วิวัฒนาการของ
สิ่งมีชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมต่างๆ
3.เข้าใจกระบวนการ ความสําคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อมนุษย์ สิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
4.เข้าใจชนิดของอนุภาคสําคัญที่เป็นส่วนประกอบในโรงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุใน
ตารางธาตุ การเกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5.เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่างๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์กับ
แรงยึดเหนี่ยว
6.เข้าใจการเกิดปิโตรเลียม การแยกแก๊สธรรมชาติและการกลั่นลําดับส่วนน้ํามันดิบ การนํา
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไปใช้ประโยชน์และผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
7.เข้าใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สําคัญของพอลิเมอร์และสารชีวโมเลกุล
8.เข้าใจความสําคัญระหว่างปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ สมบัติของคลื่นกล
คุณภาพของเสียงและการได้ยิน สมบัติ ประโยชน์และโทษของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี
และพลังงานนิวเคลียร์
9.เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณ์ทางธรณีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
10.เข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ และความสําคัญของ
เทคโนโลยีอวกาศ
11.เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ
และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยี
ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
12.ระบุปัญหา ตั้งคําถามที่จะสํารวจตรวจสอบ โดยมีการกําหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัว
แปรต่างๆ สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบ
สมมติฐานที่เป็นไปได้
13.วางแผนการสํารวจตรวจสอบเพื่อแก้ไขปัญหาหรือตอบคําถาม วิเคราะห์ เชื่อมโยง
ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยใช้สมการทางคณิตศาสตร์หรือสร้างแบบจําลองจากผลหรือความรู้
ที่ได้รับจากการสํารวจตรวจสอบ
14.สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
15.ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดํารงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
ทําโครงงานหริสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
16.แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้
โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
17.ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจําวัน การ
ประกอบชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลจากภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
18.แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือกับผู้ปฏิบัติกับชุมชนและการป้องกัน ดูแล
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น
19.แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ หรือแก้ปัญหาได้
20.ทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผล
ประกอบ เกี่ยวกับการพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและ
สิ่งแวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
รายวิชาพื้นฐาน
ว๒๑๑๐๑
ว๒๑๑๐๒
ว๒๒๑๐๑
ว๒๒๑๐๒
ว๒๓๑๐๑
ว๒๓๑๐๒

วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์

๑
๒
๓
๔
๕
๖

จํานวน
จํานวน
จํานวน
จํานวน
จํานวน
จํานวน

๖๐
๖๐
๖๐
๖๐
๖๐
๖๐

ชั่วโมง
ชั่วโมง
ชั่วโมง
ชั่วโมง
ชั่วโมง
ชั่วโมง

๑.๕
๑.๕
๑.๕
๑.๕
๑.๕
๑.๕

หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต

รายวิชาเพิ่มเติม
ว๒๑๒๐๑ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ว๒๒๒๐๑ วิทยาศาสตร์กับการแก้ไขปัญหา
ว๒๓๒๐๑ เริ่มต้นกับโครงงานวิทยาศาสตร์

จํานวน
จํานวน
จํานวน

๔๐ ชั่วโมง
๔๐ ชั่วโมง
๔๐ ชั่วโมง

๑.๐ หน่วยกิต
๑.๐ หน่วยกิต
๑.๐ หน่วยกิต

รายวิชาเลือกเสรี
ว๒๐๒๐๑
ว๒๐๒๐๒
ว๒๐๒๐๓
ว๒๐๒๐๔
ว๒๐๒๐๕
ว๒๐๒๐๖
ว๒๐๒๐๗
ว๒๐๒๐๘
ว๒๐๒๐๙
ว๒๐๒๑๐
ว๒๐๒๑๑
ว๒๐๒๑๒
ว๒๐๒๑๓
ว๒๐๒๑๔
ว๒๐๒๑๕

โครงงานวิทยาศาสตร์กับคุณภาพชีวิต จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
พืชสมุนไพรกับภูมิปัญญาท้องถิ่น จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
สิ่งประดิษฐ์เชิงวิทยาศาสตร์
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
ของเล่นเชิงกลไกและไฟฟ้า
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
สนุกกับอิเลคทรอนิกส์
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
แสงและทัศนูปกรณ์
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
จับแสงอาทิตย์
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
เส้นใยและสีย้อม
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
วิทยาศาสตร์กับความงาม
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
วิทยาศาสตร์กับสิ่งแวดล้อม
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
วิทยาศาสตร์ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต
พลังงานกับการอนุรักษ์
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
พันธุกรรมกับการอยู่รอด
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
วงจรไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม
จํานวน ๔๐ ชั่วโมง
๑.๐ หน่วยกิต
สมรรถนะสําคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
1.
2.
3.
4.
5.

ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

รักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์
ซื่อสัตย์ สุจริต
มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง
มุ่งมั่นในการทํางาน
รักความเป็นไทย
มีจิตสาธารณะ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปีเพื่อกําหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
สาระการเรียนรู้

สาระที่ ๑

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว๑.๑

สิ่งมีชีวิตกับ
เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
กระบวนดํารงชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและ
หน้าที่ของระบบต่างๆ ของ
สิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธ์กัน มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้
ไปใช้ในการดํารงชีวิตของตนเอง
และดูแลสิ่งมีชีวิต

ตัวชี้วัด

๑. สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะ
ของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและ
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
๒. สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบ
สําคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
๓. ทดลองและอธิบายหน้าที่ของ
ส่วนประกอบที่สําคัญของเซลล์พืช
และเซลล์สัตว์
๔. ทดลองและอธิบายกระบวนการสาร
ผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโมซีส
๕. ทดลองหาปัจจัยบางประการ
ที่จําเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืชและอธิบายว่าแสง
คลอโรฟิลล์
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ํา เป็น
ปัจจัยที่จําเป็นต้องใช้ในการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
๖. ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการ
สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
๗. อธิบายความสําคัญของกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
๘. ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่
เกี่ยวกับการลําเลียงน้ําของพืช
๙. สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่
เกี่ยวกับระบบลําเลียงน้ําและอาหาร
ของพืช
สาระการเรียนรู้
สาระที่ ๔
แรงและการ
เคลื่อนที่

สาระที่ ๖
กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของโลก

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว๔.๑
เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรง
โน้มถ่วงและแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนํา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมี
คุณธรรม
มาตรฐาน ว๖.๑
เข้าใจกระบวนกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้น
บนผิวโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการ
ต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลียนแปลงภูมิอากาศ
่
ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยา
ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไป
ใช้ประโยชน์

๑.

ตัวชี้วัด
สืบค้นข้อมูลและอธิบายปริมาณ สเกลาร์
และปริมาณเวกเตอร์

๒.

ทดลองและอธิบายระยะทาง การกระจัด
อัตราเร็ว ความเร็วในการเคลื่อนที่ของ
วัตถุ

๑.

สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการ
แบ่งชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก

๒.
๓.
๔.

ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
อุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศที่
มีผลต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ
สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายการ
เกิดปรากฎการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีต่อ
มนุษย์
สืบค้น วิเคราะห์และแปลความหมาย
ข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศ
สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายผลของลม
ฟ้าอากาศต่อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม
สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทาง
ธรรมชาติและการกระทําของมนุษย์ที่มี
ดารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก รูโหว่
โอโซน และฝนกรด
สืบค้น วิเคราะห์และอธิบายผลของภาวะ
โลกร้อน รูโหว่โอโซนและฝนกรด ที่มีต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

๕.
๖.

๗.
สาระการเรียนรู้
สาระที่ ๘
ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี

มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๘.๑
๑. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัว
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการ
แปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ
สืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น
ครอบคลุมและเชื่อถือได้
ส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอนสามารถ ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบ
อธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล
ได้และวางแผนการสํารวจตรวจสอบ
และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ
หลาย ๆ วิธี
เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม ๓. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบ
และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้อง
ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผล
สัมพันธ์กัน
เที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุ
และเครื่องมือที่เหมาะสม
๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิง
ปริมาณและคุณภาพ
๕. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้อง
ของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่
สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน
และความผิดปกติของข้อมูลจากการ
สํารวจตรวจสอบ
๖. สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่
อธิบายผลหรือแสดงผลของการ
สํารวจตรวจสอบ
๗. สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจ
ตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนํา
ความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการ และผลของโครงงาน
หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้

ตัวชี้วัด
๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การ
สํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจาก
แหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่
เชื่อถือได้ และยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมี
ข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น
หรือโต้แย้งจากเดิม
๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/
หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการ และผลของโครงงาน
หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ ชั้นบรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ อุณหภูมิอากาศ
ความดันอากาศ ความชื้นอากาศ ลม เมฆ ฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน มรสุม การพยากรณ์
อากาศ เอลนีโญ ลานีญา การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศของโลก มลพิษทางอากาศ การบอก
ตําแหน่งและการเปลี่ยนตําแหน่งของวัตถุ ปริมาณเวกเตอร์และปริมาณสเกลาร์ อัตราเร็วและ
ความเร็วของวัตถุ การใช้กล้องจุลทรรศน์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิต การลําเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
การลําเลียงน้ําและธาตุอาหารของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืช
การตอบสนองของพืช ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับพืช ทั้งนี้โดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้
เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นํา
ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
รหัสตัวชี้วัด
ว ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑,
ม.๑/๑๒. ม.๑/๑๓
ว ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒
ว ๖.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗
ว ๘.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
รวมทั้งหมด ๓๑ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
๑. สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
หลายเซลล์
๒. สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสําคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
๓. ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สําคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
๔. ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโมซีส
๕. ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จําเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและอธิบายว่าแสง
คลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ํา เป็นปัจจัยที่จําเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วย
แสง
๖. ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
๗. อธิบายความสําคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
๘. ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวกับการลําเลียงน้ําของพืช
๙. สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลําเลียงน้ําและอาหารของพืช
๑๐. ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช
๑๑. อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของ
พืชโดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
๑๒. ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง น้ํา และการสัมผัส
๑๓. อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพื่อเพิ่ม
ผลผลิตของพืชและนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
๑๔. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปริมาณ สเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์
๑๕. ทดลองและอธิบายระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ
๑๖. สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก
๑๗. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศที่มีผลต่อ
ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ
๑๘. สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายการเกิดปรากฎการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีต่อมนุษย์
๑๙. สืบค้น วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศ
๒๐. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายผลของลมฟ้าอากาศต่อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
๒๑. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทางธรรมชาติและการกระทําของมนุษย์ที่มีดาร
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก รูโหว่โอโซน และฝนกรด
๒๒. สืบค้น วิเคราะห์และอธิบายผลของภาวะโลกร้อน รูโหว่โอโซนและฝนกรด ที่มีต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม
๒๓. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้า
เรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
๒๔. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
๒๕. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ
ปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
๒๖. รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
๒๗. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือ
ขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากกาสํารวจตรวจสอบ
๒๘. สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ
๒๙. สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนํา ความรู้ที่ได้ไปใช้ใน
สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงาน
ให้ผู้อื่นเข้าใจ
๓๐. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง
ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและ
ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น หรือโต้แย้งจากเดิม
๓๑. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
โครงสร้างรายวิชา ว ๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่วยกิต
หน่วยการเรียน

มฐ.ตัวชี้วัด

บรรยากาศ

ว๖.๑ ม.๑/๑
ว๖.๑ ม.๑/๒

ลมฟ้าอากาศ

ว๖.๑ ม.๑/๓
ว๖.๑ ม.๑/๔
ว๖.๑ ม.๑/๕
ว๖.๑ ม.๑/๖
ว๖.๑ ม.๑/๗

การเคลื่อนที่

ว๔.๑ ม.๑/๑
ว๔.๑ ม.๑/๒

สาระสําคัญ
• ชั้นบรรยากาศ
• ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อ
บรรยากาศ
• องค์ประกอบของลมฟ้อากาศ
• พายุฟ้าคะนอง
• พายุหมุนเขตร้อน
• มรสุม
• การพยากรณ์อากาศ
• เอลนีโญ-ลานีญา
• การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศ
ของโลก
• มลพิษทางอากาศ
• การบอกตําแหน่งของวัตถุ
• การเปลี่ยนตําแหน่งของวัตถุ
• ปริมาณเวกเตอร์และปริมาณ
สเกลาร์
• อัตราเร็วและความเร็วของวัตถุ

เวลา
(ชม.)
๑๒

น้ําหนัก

๘

๑๒

๔

๘

๑๕
หน่วยการเรียน

มฐ.ตัวชี้วัด

หน่วยของสิ่งมีชีวิต

ว ๑.๑
ว ๑.๑
ว ๑.๑
ว ๑.๑

การดํารงชีวิตของพืช

ว ๑.๑ ม.๑/๕
ว ๑.๑ ม.๑/๖
ว ๑.๑ ม.๑/๗
ว ๑.๑ ม.๑/๘
ว ๑.๑ ม.๑/๙
ว ๑.๑ ม.๑/๑๐
ว ๑.๑ ม.๑/๑๑
ว ๑.๑ ม.๑/๑๒
ว ๑.๑ ม.๑/๑๓
ว ๘.๑ ม.๑/๑ ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปร
ที่สําคัญในการสํารวจ ตรวจสอบ หรือ
ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจอย่าง
ครอบคลุมและเชื่อถือได้
ว ๘.๑ ม.๑/๒ สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้
และวางแผนการสํารวจตรวจสอบ
หลายๆ วิธี
ว ๘.๑ ม.๑/๓ เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้ง
เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผล
เที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุ
และเครื่องมือที่เหมาะสม
ว ๘.๑ ม.๑/๔ รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิง
ปริมาณและคุณภาพ

ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี

ม.๑/๑
ม.๑/๒
ม.๑/๓
ม.๑/๔

สาระสําคัญ
• รู้จักและการใช้งานกล้อง
จุลทรรศน์
• เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
• การลําเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์
• การลําเลียงน้ําและอาหารของ
พืช
• การสังเคราะห์ด้วยแสง
• การสืบพันธุ์และการ
เจริญเติบโตของพืช
• การตอบสนองของพืช

เวลา
(ชม.)
๑๒

น้ําหนัก

๑๗

๒๐

๑๒
หน่วยการเรียน

ธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี

มฐ.ตัวชี้วัด

สาระสําคัญ

ว ๘.๑ ม.๑/ วิเคราะห์และประเมินความ
๕
สอดคล้องของประจักษ์พยานกับ
ข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้ง
กับสมมติฐาน และความผิดปกติ
ของข้อมูลจากการสํารวจตรวจสอบ
ว ๘.๑ ม.๑/ สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่
๖
อธิบายผลหรือแสดงผลของการ
สํารวจตรวจสอบ
ว ๘.๑ ม.๑/ สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจ
๗
ตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และ
นําความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์
ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการ และผลของโครงงาน
หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
ว ๘.๑ ม.๑/ บันทึกและอธิบายผลการสังเกต
๘
การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้า
เพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้
ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับ
การ
เปลี่ยนแปลงความรู้ที่
ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์
พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจาก
เดิม
ว ๘.๑ ม.๑/ จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน
๙
และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการ และผลของโครงงาน
หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
รวมระหว่างภาคเรียน
ประเมินปลายภาคเรียน
รวม

เวลา
(ชม.)

น้ําหนัก

๕๗
๓
๖๐

๗๐
๓๐
๑๐๐
กําหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
จํานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง
ครั้งที่

วันเดือนปี

จํานวน
เรื่องที่สอน
ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิต
1
3 เซลล์และการค้นพบเซลล์
2
3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
3
2 รูปร่างลักษณะของเซลล์
4
3 การแพร่ของสาร
5
2 การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การดํารงชีวิตของพืช
6
2 คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
7
3 ปัจจัยบางประการที่จําเป็นต่อการสังเคราะห์
8
9

2
2

ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ขนราก

11

2

การคายน้ําของพืช

12
13

2
2

การลําเลียงอาหารในพืช

14
2
15
2
16
2
17
3
18
2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 บรรยากาศ
19
2
20
2
21
2
22
2

ตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.1/1
ว 1. 1 ม. 1/2
ว 1. 1 ม. 1/3
ว 1.1 ม.1/1

ว 1.1 ม.1/4
ว 1.1 ม.1/4
ว 1.1 ม.1/5
ว 1.1 ม.1/5
ว 1.1 ม.1/6
ว 1.1 ม.1/6

การตอบสนองต่อสิ งเร้าของพืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช

ว1.1 ม.1/8
ว1.1 ม.1/9
ว1.1 ม.1/8
ว1.1 ม.1/9
ว1.1 ม.1/9
ว1.1 ม.1/8
ว1.1 ม.1/9
ว1.1 ม.1/10
ว1.1 ม.1/11
ว1.1 ม.1/11
ว1.1 ม.1/12
ว1.1 ม.1/13

องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
ความชื้น
ความกดอากาศ

ว 6.1 ม.1/1
ว 6.1 ม.1/2
ว 6.1 ม.1/2
ว 6.1 ม.1/2

ระบบลําเลียงน้ําและแร่ธาตุในพืช

โครงสร้างของดอกไม้
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
ครั้งที่

วันเดือนปี

จํานวน
เรื่องที่สอน
ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ลมฟ้าอากาศ
23
2 ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
24
25
26
27
28

2
2
2
2
2

การวัดปริมาณน้ําฝน
การเกิดลม
พายุฟ้าคะนอง
พายุหมุนเขตร้อน
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก

29

2

รูโหว่โอโซน

30
2
31
2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่
32
2
33
34
35

2
2
2

ฝนกรด
การพยากรณ์อากาศ

ตัวชี้วัด
ว 6.1 ม.1/2
ว 6.1 ม.1/3
ว 6.1 ม.1/5
ว 6.1 ม.1/3
ว 6.1 ม.1/5
ว 6.1 ม.1/5
ว 6.1 ม.1/6
ว 6.1 ม.1/7
ว 6.1 ม.1/6
ว 6.1 ม.1/7
ว 6.1 ม.1/5
ว 6.1 ม.1/4

การเคลื่อนที่ของวัตถุ

ว 4. 1 ม.
1/2

ตําแหน่งของวัตถุ
การกระจัด

ว 4. 1 ม. 1/1
ว 4. 1 ม. 1/1

อัตราเร็วและความเร็วของวัตถุ

ว 4. 1 ม.
1/2
การวัดและประเมินผลการเรียน วิชา ว21102 วิทยาศาสตร์ 2
อัตราส่วนคะแนนรายตัวชี้วัด กลางภาค : ปลายภาค = 70 : 30
อัตราส่วนคะแนนรายตัวชี้วัด : กลางภาค : ปลายภาค = 50 : 20 : 30
ตัวชี้วัด
1
2
3
4
5

6
7
8
9
10
11

12

จํานวน รายจุด
ชม.
ฯ

กลาง
ภาค

ปลาย
ภาค

จํานวน รายจุด

กลาง

ปลาย

สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลาย
เซลล์
สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสําคัญของ
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่
สําคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์
โดยการแพร่และออสโมซีส
ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จําเป็นต่อการ
สังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและอธิบายว่าแสง
คลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ํา เป็น
ปัจจัยที่จําเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช
อธิบายความสําคัญของกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวกับการ
ลําเลียงน้ําของพืช
สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบ
ลําเลียงน้ําและอาหารของพืช
ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่
เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช
อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของ
พืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของ
พืชโดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการ
ขยายพันธุ์
ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง
น้ํา และการสัมผัส
ตัวชี้วัด
ชม.
13
14
15
16
17
18
19
20
21

22
23
24
25
26

การใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์
ปรับปรุงพันธุ์ เพื่อเพิ่มผลผลิตของพืชและนํา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
สืบค้นข้อมูลและอธิบายปริมาณ สเกลาร์และ
ปริมาณเวกเตอร์
ทดลองและอธิบายระยะทาง การกระจัด
อัตราเร็ว ความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ
สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการแบ่งชั้น
บรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก
ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
อุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศที่มีผล
ต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ
สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายการ
เกิดปรากฎการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีต่อมนุษย์
สืบค้น วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจาก
การพยากรณ์อากาศ
สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายผลของลมฟ้า
อากาศต่อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทาง
ธรรมชาติและการกระทําของมนุษย์ที่มีดาร
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก รูโหว่โอโซน และฝน
กรด
สืบค้น วิเคราะห์และอธิบายผลของภาวะโลก
ร้อน รูโหว่โอโซนและฝนกรด ที่มีต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม
ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญ
ในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่อง
ที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวาง
แผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและ
เชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุ
และเครื่องมือที่เหมาะสม
รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิงปริมาณและ
คุณภาพ

ฯ

ภาค

ภาค
ตัวชี้วัด
27

28
29

30

31

จํานวน รายจุด
ชม.
ฯ

กลาง
ภาค

ปลาย
ภาค

20

30

วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของ
ประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือ
ขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของ
ข้อมูลจากกาสํารวจตรวจสอบ
สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือ
แสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ
สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจตรวจสอบ ใน
เรื่องที่เกี่ยวข้อง และนํา ความรู้ที่ได้ไปใช้ใน
สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้
ผู้อื่นเข้าใจ
บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ
ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง
ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและ
ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น หรือโต้แย้งจาก
เดิม
จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบาย
เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ

ประเมินปลายภาค
รวม

60

50

Contenu connexe

Tendances

เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
krupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
Wann Rattiya
 

Tendances (20)

เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 

Similaire à แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมเค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
somdetpittayakom school
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
Pew Juthiporn
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
nang_phy29
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
krupornpana55
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
Tophit Sampootong
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
ธวัช บุตรศรี
 

Similaire à แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 (20)

นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
Plan e book
Plan e bookPlan e book
Plan e book
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมเค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Ast.c2560.6tp
Ast.c2560.6tpAst.c2560.6tp
Ast.c2560.6tp
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
Computa
ComputaComputa
Computa
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
A
AA
A
 
โครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษาโครงการทัศนศึกษา
โครงการทัศนศึกษา
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 

Plus de dnavaroj

บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
dnavaroj
 

Plus de dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyan
 

แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

  • 1. แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายเดชมณี เนาวโรจน์ ครูชํานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดยโสธร สํานักงานเขตพื้นทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ่
  • 2. แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา ว21102 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ความเห็นของผู้ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ ความเห็นของหัวหน้ากลุมสาระการเรียนรู้ ่ ……………………………………………. …………………………………………… ……………………………………………. …………………………………………… ……………………………………………. …………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………….. (………………………………….) …………./…………………/…….. (ลงชื่อ)……………………………. (…………………………………..) ……………/………………/……… ความเห็นของหัวหน้ากลุมบริหารวิชาการ ่ ความเห็นของรองผู้อํานวยการ ……………………………………………. …………………………………………… ……………………………………………. …………………………………………… ……………………………………………. …………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………….. (………………………………….) …………./…………………/…….. (ลงชื่อ)……………………………. (…………………………………..) ……………/………………/……… ความเห็นของผู้อํานวยการ …………………………………………….………………………………………………………. ………………………………….…………………………………………………………………… ………………………………………….………………………………………………………….. (ลงชื่อ)…………………………….. (นายชาติชาย สิงห์พรมสาร) ………./…………………/……..
  • 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ ิ ทําไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์มีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับทุกคนทั้งในชีวิตประจําวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือ เครื่องใช้ และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและการทํางานเหล่านี้ล้วน เป็นผลของความรู้ วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิดทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มี ทักษะสําคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถ ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนาธรรม ของโลกสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ( Knowledge - based society ) ดังนั้นทุกคน จึงจําเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและ เทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนําความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการ เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีสวนร่วมในการเรียนรู้ทุก ่ ขั้นตอน มีการทํากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้ กําหนดสาระสําคัญไว้ดังนี้ * สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการดํารงชีวิต ความหลายทาง ชีวภาพ การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การทํางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยีชีวภาพ * ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่ รอดของสิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ * สารสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การเปลี่ยน สถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร * แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การออกแรงกระทําต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ในชีวิตประจําวัน * พลังงาน พลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์ ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและ สิ่งแวดล้อม
  • 4. * กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากร ทางธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ํา อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของบรรยากาศ * ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่ เอกภพ ปฏิสัมพันธ์ และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสําคัญของ เทคโนโลยีอวกาศ * ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ หาความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์ วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร “ เป็นสถานศึกษาแห่งคุณภาพ ผู้เรียนมีคุณธรรม ก้าวนําวิชาการและเทคโนโลยี ดํารงชีวิตแบบพอเพียงในสังคมได้อย่างมีความสุข” วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ส่งเสริมให้นักเรียนเป็นบุคคลรักการแสวงหาความรู้ โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีความ รับผิดชอบ นําความรู้ที่ได้จากการเรียนวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันและสามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม พันธะกิจ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1. พัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้เต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพในการพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตาม มาตรฐานวิชาชีพและมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. ระดมทรัพยากร เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น นวัตกรรม และปัจจัยต่างๆ อย่างหลากหลายให้เพียงพอและทันสมัย 4. เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักคุณธรรมนําความรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1. การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 2. การพัฒนาครูและบุคลากรในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3. การพัฒนาการบริหารจัดการในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4. การพัฒนาความร่วมมือกับองค์กรอื่น เพื่อนําวิทยาศาสตร์ไปพัฒนาชุมชน
  • 5. เป้าประสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1. ผู้เรียนได้รับการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2. ครูและบุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพเต็ม ศักยภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ 3. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการนําความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีไปใช้ในการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ ของระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิตทํางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ในการดํารงชีวิตของตนเองและ ดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสําคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้ เทคโนโลยีเทคชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 2 ชีวิตกับสิงแวดล้อม ่ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งมีเรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว2.2 เข้าใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติใน ระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นําความรู้ไปใช้ในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
  • 6. มาตรฐาน ว3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มี กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนแปลง พลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว7.2 เข้าใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใช้ในการสํารวจอวกาศ และทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
  • 7. คุณภาพผู้เรียน เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปีแล้ว ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา สาระวิทยาศาสตร์ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีทัศนคติและเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ ตระหนักในคุณค่าของวิทยาศาสตร์ และสามารถนําความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนสามารถนําไปเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และเป็นพื้นฐานในการศึกษาในระดับสูงขึ้น จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้เรียนควรมีความสามารถดังนี้ 1. เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สําคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทํางาน ของระบบต่าง ๆการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน สิ่งแวดล้อม 2. เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงในรูปแบบ ของการเปลี่ยนแปลงสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3. เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ในชีวิตประจําวัน กฎการ อนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของ แสง 4. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงานไฟฟ้าและหลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 5. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิบัติภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ บนโลก ความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศ 6. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนา เทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม 7. ตั้งคําถามที่มีการกําหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง วางแผนและลงมือสํารวจ ตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และ สร้างองค์ความรู้ 8. สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 9.ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดํารงชีวิต การศึกษาหา ความรู้เพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ 10.แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้ 11.ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น
  • 8. 12.แสดงความซาบซึ้งห่วงใยมีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วนร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ท้องถิ่น 13. ทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้เรียนควรมีความสามารถดังนี้ 1.เข้าใจการรักษาดุลยภาพของเซลล์และกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต 2.เข้าใจกระบวนการการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผัน มิวเทชัน วิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมต่างๆ 3.เข้าใจกระบวนการ ความสําคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อมนุษย์ สิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม 4.เข้าใจชนิดของอนุภาคสําคัญที่เป็นส่วนประกอบในโรงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุใน ตารางธาตุ การเกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 5.เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่างๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์กับ แรงยึดเหนี่ยว 6.เข้าใจการเกิดปิโตรเลียม การแยกแก๊สธรรมชาติและการกลั่นลําดับส่วนน้ํามันดิบ การนํา ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไปใช้ประโยชน์และผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 7.เข้าใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สําคัญของพอลิเมอร์และสารชีวโมเลกุล 8.เข้าใจความสําคัญระหว่างปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ สมบัติของคลื่นกล คุณภาพของเสียงและการได้ยิน สมบัติ ประโยชน์และโทษของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี และพลังงานนิวเคลียร์ 9.เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณ์ทางธรณีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม 10.เข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ และความสําคัญของ เทคโนโลยีอวกาศ 11.เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยี ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม 12.ระบุปัญหา ตั้งคําถามที่จะสํารวจตรวจสอบ โดยมีการกําหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรต่างๆ สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบ สมมติฐานที่เป็นไปได้ 13.วางแผนการสํารวจตรวจสอบเพื่อแก้ไขปัญหาหรือตอบคําถาม วิเคราะห์ เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยใช้สมการทางคณิตศาสตร์หรือสร้างแบบจําลองจากผลหรือความรู้ ที่ได้รับจากการสํารวจตรวจสอบ 14.สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 9. 15.ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดํารงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทําโครงงานหริสร้างชิ้นงานตามความสนใจ 16.แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้ 17.ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจําวัน การ ประกอบชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลจากภูมิปัญญา ท้องถิ่นและเทคโนโลยีที่ทันสมัย 18.แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือกับผู้ปฏิบัติกับชุมชนและการป้องกัน ดูแล ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น 19.แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ หรือแก้ปัญหาได้ 20.ทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผล ประกอบ เกี่ยวกับการพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
  • 10. โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รายวิชาพื้นฐาน ว๒๑๑๐๑ ว๒๑๑๐๒ ว๒๒๑๐๑ ว๒๒๑๐๒ ว๒๓๑๐๑ ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ว๒๑๒๐๑ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ว๒๒๒๐๑ วิทยาศาสตร์กับการแก้ไขปัญหา ว๒๓๒๐๑ เริ่มต้นกับโครงงานวิทยาศาสตร์ จํานวน จํานวน จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๔๐ ชั่วโมง ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต ๑.๐ หน่วยกิต ๑.๐ หน่วยกิต รายวิชาเลือกเสรี ว๒๐๒๐๑ ว๒๐๒๐๒ ว๒๐๒๐๓ ว๒๐๒๐๔ ว๒๐๒๐๕ ว๒๐๒๐๖ ว๒๐๒๐๗ ว๒๐๒๐๘ ว๒๐๒๐๙ ว๒๐๒๑๐ ว๒๐๒๑๑ ว๒๐๒๑๒ ว๒๐๒๑๓ ว๒๐๒๑๔ ว๒๐๒๑๕ โครงงานวิทยาศาสตร์กับคุณภาพชีวิต จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต พืชสมุนไพรกับภูมิปัญญาท้องถิ่น จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต สิ่งประดิษฐ์เชิงวิทยาศาสตร์ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต ของเล่นเชิงกลไกและไฟฟ้า จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต สนุกกับอิเลคทรอนิกส์ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต แสงและทัศนูปกรณ์ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต จับแสงอาทิตย์ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต เส้นใยและสีย้อม จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต วิทยาศาสตร์กับความงาม จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต วิทยาศาสตร์กับสิ่งแวดล้อม จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต วิทยาศาสตร์ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต พลังงานกับการอนุรักษ์ จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต พันธุกรรมกับการอยู่รอด จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต วงจรไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม จํานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หน่วยกิต
  • 11. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 1. 2. 3. 4. 5. ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. รักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทํางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
  • 12. การวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปีเพื่อกําหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ สาระการเรียนรู้ สาระที่ ๑ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว๑.๑ สิ่งมีชีวิตกับ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต กระบวนดํารงชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและ หน้าที่ของระบบต่างๆ ของ สิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธ์กัน มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ ไปใช้ในการดํารงชีวิตของตนเอง และดูแลสิ่งมีชีวิต ตัวชี้วัด ๑. สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะ ของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและ เซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ๒. สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบ สําคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ๓. ทดลองและอธิบายหน้าที่ของ ส่วนประกอบที่สําคัญของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ ๔. ทดลองและอธิบายกระบวนการสาร ผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโมซีส ๕. ทดลองหาปัจจัยบางประการ ที่จําเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืชและอธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ํา เป็น ปัจจัยที่จําเป็นต้องใช้ในการ สังเคราะห์ด้วยแสง ๖. ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการ สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ๗. อธิบายความสําคัญของกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๘. ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่ เกี่ยวกับการลําเลียงน้ําของพืช ๙. สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่ เกี่ยวกับระบบลําเลียงน้ําและอาหาร ของพืช
  • 13. สาระการเรียนรู้ สาระที่ ๔ แรงและการ เคลื่อนที่ สาระที่ ๖ กระบวนการ เปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรง โน้มถ่วงและแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนํา ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมี คุณธรรม มาตรฐาน ว๖.๑ เข้าใจกระบวนกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้น บนผิวโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการ ต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลียนแปลงภูมิอากาศ ่ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ๑. ตัวชี้วัด สืบค้นข้อมูลและอธิบายปริมาณ สเกลาร์ และปริมาณเวกเตอร์ ๒. ทดลองและอธิบายระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็วในการเคลื่อนที่ของ วัตถุ ๑. สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการ แบ่งชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก ๒. ๓. ๔. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศที่ มีผลต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายการ เกิดปรากฎการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีต่อ มนุษย์ สืบค้น วิเคราะห์และแปลความหมาย ข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศ สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายผลของลม ฟ้าอากาศต่อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทาง ธรรมชาติและการกระทําของมนุษย์ที่มี ดารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก รูโหว่ โอโซน และฝนกรด สืบค้น วิเคราะห์และอธิบายผลของภาวะ โลกร้อน รูโหว่โอโซนและฝนกรด ที่มีต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๕. ๖. ๗.
  • 14. สาระการเรียนรู้ สาระที่ ๘ ธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว ๘.๑ ๑. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัว ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการ แปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ สืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ครอบคลุมและเชื่อถือได้ ส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอนสามารถ ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบ อธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล ได้และวางแผนการสํารวจตรวจสอบ และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ หลาย ๆ วิธี เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม ๓. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบ และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้อง ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผล สัมพันธ์กัน เที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุ และเครื่องมือที่เหมาะสม ๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิง ปริมาณและคุณภาพ ๕. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้อง ของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่ สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการ สํารวจตรวจสอบ ๖. สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่ อธิบายผลหรือแสดงผลของการ สํารวจตรวจสอบ ๗. สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจ ตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนํา ความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
  • 15. สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การ สํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจาก แหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่ เชื่อถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมี ข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น หรือโต้แย้งจากเดิม ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
  • 16. คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ชั้นบรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ อุณหภูมิอากาศ ความดันอากาศ ความชื้นอากาศ ลม เมฆ ฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน มรสุม การพยากรณ์ อากาศ เอลนีโญ ลานีญา การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศของโลก มลพิษทางอากาศ การบอก ตําแหน่งและการเปลี่ยนตําแหน่งของวัตถุ ปริมาณเวกเตอร์และปริมาณสเกลาร์ อัตราเร็วและ ความเร็วของวัตถุ การใช้กล้องจุลทรรศน์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิต การลําเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การลําเลียงน้ําและธาตุอาหารของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืช การตอบสนองของพืช ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับพืช ทั้งนี้โดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้ เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นํา ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑, ม.๑/๑๒. ม.๑/๑๓ ว ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ว ๖.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗ ว ๘.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙ รวมทั้งหมด ๓๑ ตัวชี้วัด
  • 17. ตัวชี้วัด ๑. สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวิต หลายเซลล์ ๒. สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสําคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ๓. ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สําคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ๔. ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโมซีส ๕. ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จําเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและอธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ํา เป็นปัจจัยที่จําเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วย แสง ๖. ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ๗. อธิบายความสําคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ๘. ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวกับการลําเลียงน้ําของพืช ๙. สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลําเลียงน้ําและอาหารของพืช ๑๐. ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช ๑๑. อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของ พืชโดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์ ๑๒. ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง น้ํา และการสัมผัส ๑๓. อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพื่อเพิ่ม ผลผลิตของพืชและนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๑๔. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปริมาณ สเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ ๑๕. ทดลองและอธิบายระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ๑๖. สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก ๑๗. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศที่มีผลต่อ ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ ๑๘. สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายการเกิดปรากฎการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีต่อมนุษย์ ๑๙. สืบค้น วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศ ๒๐. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายผลของลมฟ้าอากาศต่อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม ๒๑. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทางธรรมชาติและการกระทําของมนุษย์ที่มีดาร เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก รูโหว่โอโซน และฝนกรด ๒๒. สืบค้น วิเคราะห์และอธิบายผลของภาวะโลกร้อน รูโหว่โอโซนและฝนกรด ที่มีต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ๒๓. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้า เรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ๒๔. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ๒๕. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ ปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
  • 18. ๒๖. รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ ๒๗. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือ ขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากกาสํารวจตรวจสอบ ๒๘. สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ ๒๙. สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนํา ความรู้ที่ได้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงาน ให้ผู้อื่นเข้าใจ ๓๐. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและ ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น หรือโต้แย้งจากเดิม ๓๑. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
  • 19. โครงสร้างรายวิชา ว ๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕ หน่วยกิต หน่วยการเรียน มฐ.ตัวชี้วัด บรรยากาศ ว๖.๑ ม.๑/๑ ว๖.๑ ม.๑/๒ ลมฟ้าอากาศ ว๖.๑ ม.๑/๓ ว๖.๑ ม.๑/๔ ว๖.๑ ม.๑/๕ ว๖.๑ ม.๑/๖ ว๖.๑ ม.๑/๗ การเคลื่อนที่ ว๔.๑ ม.๑/๑ ว๔.๑ ม.๑/๒ สาระสําคัญ • ชั้นบรรยากาศ • ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อ บรรยากาศ • องค์ประกอบของลมฟ้อากาศ • พายุฟ้าคะนอง • พายุหมุนเขตร้อน • มรสุม • การพยากรณ์อากาศ • เอลนีโญ-ลานีญา • การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศ ของโลก • มลพิษทางอากาศ • การบอกตําแหน่งของวัตถุ • การเปลี่ยนตําแหน่งของวัตถุ • ปริมาณเวกเตอร์และปริมาณ สเกลาร์ • อัตราเร็วและความเร็วของวัตถุ เวลา (ชม.) ๑๒ น้ําหนัก ๘ ๑๒ ๔ ๘ ๑๕
  • 20. หน่วยการเรียน มฐ.ตัวชี้วัด หน่วยของสิ่งมีชีวิต ว ๑.๑ ว ๑.๑ ว ๑.๑ ว ๑.๑ การดํารงชีวิตของพืช ว ๑.๑ ม.๑/๕ ว ๑.๑ ม.๑/๖ ว ๑.๑ ม.๑/๗ ว ๑.๑ ม.๑/๘ ว ๑.๑ ม.๑/๙ ว ๑.๑ ม.๑/๑๐ ว ๑.๑ ม.๑/๑๑ ว ๑.๑ ม.๑/๑๒ ว ๑.๑ ม.๑/๑๓ ว ๘.๑ ม.๑/๑ ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปร ที่สําคัญในการสํารวจ ตรวจสอบ หรือ ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจอย่าง ครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว ๘.๑ ม.๑/๒ สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้ และวางแผนการสํารวจตรวจสอบ หลายๆ วิธี ว ๘.๑ ม.๑/๓ เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้ง เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผล เที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุ และเครื่องมือที่เหมาะสม ว ๘.๑ ม.๑/๔ รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิง ปริมาณและคุณภาพ ธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ สาระสําคัญ • รู้จักและการใช้งานกล้อง จุลทรรศน์ • เซลล์ของสิ่งมีชีวิต • การลําเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ • การลําเลียงน้ําและอาหารของ พืช • การสังเคราะห์ด้วยแสง • การสืบพันธุ์และการ เจริญเติบโตของพืช • การตอบสนองของพืช เวลา (ชม.) ๑๒ น้ําหนัก ๑๗ ๒๐ ๑๒
  • 21. หน่วยการเรียน ธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มฐ.ตัวชี้วัด สาระสําคัญ ว ๘.๑ ม.๑/ วิเคราะห์และประเมินความ ๕ สอดคล้องของประจักษ์พยานกับ ข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้ง กับสมมติฐาน และความผิดปกติ ของข้อมูลจากการสํารวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ม.๑/ สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่ ๖ อธิบายผลหรือแสดงผลของการ สํารวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ม.๑/ สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจ ๗ ตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และ นําความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ว ๘.๑ ม.๑/ บันทึกและอธิบายผลการสังเกต ๘ การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้า เพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับ การ เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์ พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจาก เดิม ว ๘.๑ ม.๑/ จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน ๙ และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ รวมระหว่างภาคเรียน ประเมินปลายภาคเรียน รวม เวลา (ชม.) น้ําหนัก ๕๗ ๓ ๖๐ ๗๐ ๓๐ ๑๐๐
  • 22. กําหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง รายวิชา วิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จํานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง ครั้งที่ วันเดือนปี จํานวน เรื่องที่สอน ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิต 1 3 เซลล์และการค้นพบเซลล์ 2 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 3 2 รูปร่างลักษณะของเซลล์ 4 3 การแพร่ของสาร 5 2 การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การดํารงชีวิตของพืช 6 2 คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง 7 3 ปัจจัยบางประการที่จําเป็นต่อการสังเคราะห์ 8 9 2 2 ด้วยแสงของพืช ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ขนราก 11 2 การคายน้ําของพืช 12 13 2 2 การลําเลียงอาหารในพืช 14 2 15 2 16 2 17 3 18 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 บรรยากาศ 19 2 20 2 21 2 22 2 ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.1/1 ว 1. 1 ม. 1/2 ว 1. 1 ม. 1/3 ว 1.1 ม.1/1 ว 1.1 ม.1/4 ว 1.1 ม.1/4 ว 1.1 ม.1/5 ว 1.1 ม.1/5 ว 1.1 ม.1/6 ว 1.1 ม.1/6 การตอบสนองต่อสิ งเร้าของพืช เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช ว1.1 ม.1/8 ว1.1 ม.1/9 ว1.1 ม.1/8 ว1.1 ม.1/9 ว1.1 ม.1/9 ว1.1 ม.1/8 ว1.1 ม.1/9 ว1.1 ม.1/10 ว1.1 ม.1/11 ว1.1 ม.1/11 ว1.1 ม.1/12 ว1.1 ม.1/13 องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ อุณหภูมิของอากาศ ความชื้น ความกดอากาศ ว 6.1 ม.1/1 ว 6.1 ม.1/2 ว 6.1 ม.1/2 ว 6.1 ม.1/2 ระบบลําเลียงน้ําและแร่ธาตุในพืช โครงสร้างของดอกไม้ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
  • 23. ครั้งที่ วันเดือนปี จํานวน เรื่องที่สอน ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ลมฟ้าอากาศ 23 2 ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ 24 25 26 27 28 2 2 2 2 2 การวัดปริมาณน้ําฝน การเกิดลม พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก 29 2 รูโหว่โอโซน 30 2 31 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่ 32 2 33 34 35 2 2 2 ฝนกรด การพยากรณ์อากาศ ตัวชี้วัด ว 6.1 ม.1/2 ว 6.1 ม.1/3 ว 6.1 ม.1/5 ว 6.1 ม.1/3 ว 6.1 ม.1/5 ว 6.1 ม.1/5 ว 6.1 ม.1/6 ว 6.1 ม.1/7 ว 6.1 ม.1/6 ว 6.1 ม.1/7 ว 6.1 ม.1/5 ว 6.1 ม.1/4 การเคลื่อนที่ของวัตถุ ว 4. 1 ม. 1/2 ตําแหน่งของวัตถุ การกระจัด ว 4. 1 ม. 1/1 ว 4. 1 ม. 1/1 อัตราเร็วและความเร็วของวัตถุ ว 4. 1 ม. 1/2
  • 24. การวัดและประเมินผลการเรียน วิชา ว21102 วิทยาศาสตร์ 2 อัตราส่วนคะแนนรายตัวชี้วัด กลางภาค : ปลายภาค = 70 : 30 อัตราส่วนคะแนนรายตัวชี้วัด : กลางภาค : ปลายภาค = 50 : 20 : 30 ตัวชี้วัด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 จํานวน รายจุด ชม. ฯ กลาง ภาค ปลาย ภาค จํานวน รายจุด กลาง ปลาย สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลาย เซลล์ สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสําคัญของ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่ สําคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์ โดยการแพร่และออสโมซีส ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จําเป็นต่อการ สังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและอธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ํา เป็น ปัจจัยที่จําเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช อธิบายความสําคัญของกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวกับการ ลําเลียงน้ําของพืช สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบ ลําเลียงน้ําและอาหารของพืช ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่ เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของ พืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของ พืชโดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการ ขยายพันธุ์ ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง น้ํา และการสัมผัส ตัวชี้วัด
  • 25. ชม. 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 การใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพื่อเพิ่มผลผลิตของพืชและนํา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ สืบค้นข้อมูลและอธิบายปริมาณ สเกลาร์และ ปริมาณเวกเตอร์ ทดลองและอธิบายระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการแบ่งชั้น บรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศที่มีผล ต่อปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายการ เกิดปรากฎการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีต่อมนุษย์ สืบค้น วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจาก การพยากรณ์อากาศ สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายผลของลมฟ้า อากาศต่อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทาง ธรรมชาติและการกระทําของมนุษย์ที่มีดาร เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก รูโหว่โอโซน และฝน กรด สืบค้น วิเคราะห์และอธิบายผลของภาวะโลก ร้อน รูโหว่โอโซนและฝนกรด ที่มีต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญ ในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่อง ที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวาง แผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุ และเครื่องมือที่เหมาะสม รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิงปริมาณและ คุณภาพ ฯ ภาค ภาค
  • 26. ตัวชี้วัด 27 28 29 30 31 จํานวน รายจุด ชม. ฯ กลาง ภาค ปลาย ภาค 20 30 วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของ ประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือ ขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของ ข้อมูลจากกาสํารวจตรวจสอบ สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือ แสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจตรวจสอบ ใน เรื่องที่เกี่ยวข้อง และนํา ความรู้ที่ได้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ ผู้อื่นเข้าใจ บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและ ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น หรือโต้แย้งจาก เดิม จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบาย เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ประเมินปลายภาค รวม 60 50