SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้
                               เรือง การเกิดฝนและการวัดปริมาณนําฝน

          ฝน (rain) เป็ นรู ปแบบหนึงของการตกลงมาจากฟ้ าของนํา นอกจากฝนแล้วยังมีการตกลงมา
                                                  ่
ในรู ป หิ มะ เกล็ดนําแข็ง ลูกเห็บ นําค้าง ฝนนันอยูในรู ปหยดนําซึ งตกลงมายังพืนผิวโลกจากเมฆ
ฝนตกเกิดจาก นําโดนความร้อนของแสงจากดวงอาทิตย์หรื อความร้อนอืนใดทีใช้ในการต้มนํา
จนทําให้ระเหยกลายเป็ นไอนํา ลอยขึนไปในอากาศ เมือไอนํามากขึนจะรวมตัวกันเป็ นละอองนําเล็กๆ
ปริ มาณของละอองนํายิงมากขึนเรื อยๆก็จะรวมตัวกันเป็ นเมฆฝน พอมากเข้าอากาศไม่สามารถพยุง
ละอองนําเหล่านี ต่อไปได้ นําก็จะหล่นลงมายังผืนโลกให้เราเรี ยกขานกันว่าฝนตก วัฏจักรของนําที
เกิดขึน เป็ นอย่างนีมาตลอดตังแต่โลกใบกลมของเราเกิดขึนมา และคงดําเนินต่อไปเรื อยๆ

                                                 ่
          นําฝนทีตกลงมาบนโลกเรานัน ถือได้วาเป็ นกระบวนการหนึงของวงจรนําทีหมุนเวียนอยูใน      ่
โลกนีอย่างต่อเนื องกันไปไม่มีทีสิ นสุ ด เริ มด้วยการระเหยโดยพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ทีส่ อง
ตรงลงมายังผิวนํา ทําให้นาจากมหาสมุทรและแหล่งนําต่าง ๆ กลายเป็ นไอลอยขึนไปเป็ นส่ วนหนึงของ
                          ํ
บรรยากาศ ในวันหนึง ๆ ประมาณว่ามีไอนําระเหยจากมหาสมุทร 875 ลูกบาศก์กิโลเมตร เมือรวมกับ
นําทีพืชคายออกมาและนําบนแผ่นดินระเหยขึนมาอีก 165 ลูกบาศก์กิโลเมตร รวมเป็ นนําทีกลายเป็ นไอ
ในแต่ละวันมากถึง 1,040 ลูกบาศก์กิโลเมตร กระแสลมอุ่นจะหอบเอาไอนําดังกล่าวลอยขึนทีสู ง เมือ
กระทบกับอากาศเย็นในเบืองสู งจะกลันตัวกลายเป็ นละอองนําเล็ก ๆ ละอองนําจํานวนมากเหล่านีจะ
รวมตัวกันเข้าเป็ นเมฆ จากนันจึงรวมตัวกันเป็ นหยดนําทีมีขนาดใหญ่ขึน ปริ มาณมากขึน จนบรรยากาศ
รับไว้ไม่ไหวจึงตกลงสู่ พืนโลกในรู ปของหยาดนําฟ้ า(precipitation)ประเภทต่าง ๆ เช่น นําฝน ลูกเห็บ
หิ มะ เป็ นต้น เมือนําฝนตกลงสู่ พืนดิน บางส่ วนจะถูกพืชดูดซึ มเข้าไปและคายออกทางใบ เรี ยกว่าการ
ดูดซึ มและการคายนําของพืช อีกส่ วนหนึงซึ มลงสู่ ชนบาดาล นําจํานวนมากไหลบ่าลงสู่ พืนดิน โดย
                                                    ั
ส่ วนหนึงไหลซึ มลอดไปตามชันดินทีลาดเอียง และไหลลงสู่ แหล่งนําต่าง ๆ บางส่ วนขังอยูตามแหล่ง
                                                                                      ่
นําบนดิน และค่อย ๆไหลลงสู่ แหล่งนําต่าง ๆ และเมือได้รับพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ นําก็จะ
ระเหยกลับขึนบรรยากาศเป็ นวงจร




                                        ภาพแสดง วัฏจักรของนํา
เกิดจากอนุภาคของไอนําขนาดต่างๆในก้อนเมฆเมือมีขนาดใหญ่ขึนจนไม่สามารถลอยตัวอยู่
ในก้อนเมฆได้ก็จะตกลงมาเป็ นฝน ฝนจะตกลงมายังพืนดินได้นนจะต้องมีเมฆเกิดในท้องฟ้ าก่อน เมฆ
                                                            ั
มีอยูหลายชนิด มีเมฆบางชนิ ดเท่านันทีทําให้มีฝนตก เราทราบแล้วว่าไอนําจะกลันตัวเป็ นเมฆก็ต่อเมือ
      ่
มีอนุภาคกลันตัวเล็กๆอยูเ่ ป็ นจํานวนมากเพียงพอและไอนําจะเกาะตัวบนอนุภาคเหล่านี รวมกันทําให้
เกิด เป็ นเมฆ เมฆจะกลันตัวเป็ นนําฝนได้ก็ตองมีอนุภาคแข็งตัว(Freezing nuclei) หรื อเม็ดนําขนาดใหญ่
                                           ้
ซึ งจะดึงเม็ดนําขนาดเล็กมารวมตัว กันจนเป็ นเม็ดฝน สภาวะของนําทีตกลงมาจากท้องฟ้ าอาจเป็ น
ลักษณะของฝน,ฝนละอองหิ มะหรื อลูกเห็บซึ งเรารวมเรี ยกว่านําฟ้ าจะตกลง มาในลักษณะไหนขึนอยู่
กับอุณหภูมิของอากาศในพืนทีนันๆ นําฟ้ าต้องเกิดจากเมฆ ไม่มีเมฆไม่มีนาฟ้ าแต่เมือมีเมฆไม่
                                                                      ํ
จําเป็ นต้องมีนาฟ้ า เสมอไปเพราะเมฆหลายชนิดทีลอยอยูเ่ ฉยๆไม่ตกลงมา มีเมฆบางชนิดเท่านันทีทํา
                ํ
ให้เกิดนําฟ้ า

การวัดปริมาณนําฝน
  กรมอุตุนิยมวิทยา วัดปริ มาณฝนทีตกลงมาโดยใช้ภาชนะรองรับนําฝน




                                  ภาชนะรองรับนําฝนอย่ างง่ าย

   เมือต้องการวัดปริ มาณฝน จะตังเครื องวัดปริ มาณฝนไว้กลางแจ้ง เมือเวลาผ่านไปครบ 24 ชัวโมง ก็
จะนํานําฝนทีรองรับได้ เทใส่ กระบอกตวงมาตรฐาน แล้ววางกระบอกตวงในทีรองรับเพือให้กระบอก
          ่
ตวงตังอยูในแนวดิง จากนันดูขีดสเกลข้างกระบอกตวง ซึ งตรงกับระดับนําฝน แล้วอ่านตัวเลขในหน่วย
มิลลิเมตร
หลังจากทีกรมอุตุนิยมวิทยาได้วดปริ มาณนําฝนทีตกรวมระยะเวลา 24 ชัวโมง และให้
                                   ั
ความหมายของฝนทีตกในประเทศแถบโซนร้อนในย่านมรสุ ม แบ่งเป็ นเกณฑ์ดงนี ั


            ฝนวัดจํานวนไม่ได้ = ฝนตกมีปริ มาณน้อยกว่า 0.1 มิลลิเมตร
            ฝนเล็กน้อย          = ฝนตก 0.1 มิลลิเมตร ขึนไป แต่ไม่เกิน 10 มิลลิเมตร
            ฝนปานกลาง           = ฝนตกปริ มาณ 10.1 มิลลิเมตร ถึง 35.0 มิลลิเมตร
            ฝนตกหนัก            = ฝนตกปริ มาณ 35.1 มิลลิเมตร ถึง 90 มิลลิเมตร
            ฝนตกหนักมาก         = ฝนตกตังแต่ 90.1 มิลลิเมตรขึนไป


        การรวบรวมข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศในหน้าหนังสื อพิมพ์ทาให้สามารถสรุ ปได้วา
                                                                       ํ                  ่
สภาพอากาศในสถานทีและเวลาต่างกันก็จะแตกต่างกันด้วย ในปั จจุบนนีแหล่งข้อมูลต่างๆ เหล่านี
                                                                 ั
รวมทังข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม จะช่วยทําให้การพยากรณ์อากาศมีความถูกต้องแม่นยําขึน
ซึ งการพยากรณ์อากาศมีความจําเป็ นต่อการดํารงชี วตประจําวันเป็ นอย่างมาก
                                                ิ
        ปริมาณนําฝน หมายถึง ระดับความลึกของนําฝนในภาชนะทีรองรับนําฝน ทังนี
ภาชนะทีรองรับนําฝนจะต้ องวางให้ อยู่ในแนวระดับ และวัดในช่ วงเวลาทีกําหนดด้ วย นิยมอ่านค่า
ปริ มาณนําฝน ในหน่วยของมิลลิลิตร เครื องมือวัดปริ มาณนําฝน เรี ยกว่า เครืองวัดนําฝน (rain
                 ่
gaufge) ซึ งมีอยูหลายแบบ เช่น
        เครืองวัดนําฝนแบบทรงกระบอก
        หยดนําฝนทีตกลงมาจะถูกเก็บไว้
ก่อนทีจะมาถึงพืนดิน โดยฝนจะตกลงสู่ กรวยทีมี
ด้านข้างสู งชันแล้วไหลลงสู่ ขวดเก็บ นําฝนทีเก็บ
ไว้จะถูกนํามาวัดด้วยกระบอกตวงทีมีมาตรวัด
กํากับอยู่ มาตรวัดทีใช้วดขึนอยูกบพืนทีของปาก
                        ั      ่ ั
กรวย ทําให้วดตัวเลขของนําฝนต่ อหน่ วยพืนทีได้
              ั
2.2 เครืองวัดนําฝนแบบบันทึกหรือแบบ
อัตโนมัติ
         ในทีห่างไกลเป็ นไปไม่ได้ทีจะ
ตรวจวัดฝนทุก ๆ วัน เครื องวัดนําฝนแบบถัง
กาลักนําจะวัดนําฝนเองในแต่ละวัน และทําให้
ขวดเก็บนําแห้งเตรี ยมพร้อมทีจะใช้ในการวัดครัง
ต่อไป ปริ มาณทีเก็บได้จะถูกบันทึกไว้บนม้วน
กระดาษโดยอัตโนมัติ

Contenu connexe

Tendances

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 

Tendances (20)

แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 

En vedette

ใบความรู้+เราวัดปริมาณน้ำฝนได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f49-1page
ใบความรู้+เราวัดปริมาณน้ำฝนได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f49-1pageใบความรู้+เราวัดปริมาณน้ำฝนได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f49-1page
ใบความรู้+เราวัดปริมาณน้ำฝนได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f49-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนdnavaroj
 
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบ
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบสังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบ
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบThanawat Krajaejun
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศkulruedee_chm
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 

En vedette (8)

ใบความรู้+เราวัดปริมาณน้ำฝนได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f49-1page
ใบความรู้+เราวัดปริมาณน้ำฝนได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f49-1pageใบความรู้+เราวัดปริมาณน้ำฝนได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f49-1page
ใบความรู้+เราวัดปริมาณน้ำฝนได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f49-1page
 
วิจัยปริมาณน้ำฝน 2528 2553
วิจัยปริมาณน้ำฝน 2528 2553วิจัยปริมาณน้ำฝน 2528 2553
วิจัยปริมาณน้ำฝน 2528 2553
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซน
 
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบ
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบสังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบ
สังคมศึกษา เครื่องมือภูมิศาสตร์+สาระการออกสอบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
Evaporation (1)
Evaporation (1)Evaporation (1)
Evaporation (1)
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 

Similaire à การวัดปริมาณน้ำฝน

ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศdnavaroj
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่0857099227
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงTanwalai Kullawong
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงChutikan Mint
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนdnavaroj
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1amloveyou
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองdnavaroj
 
2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docx2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docxnoeynymon
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศPatzuri Orz
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงChutikan Mint
 

Similaire à การวัดปริมาณน้ำฝน (20)

ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
Sci31101 rain
Sci31101 rainSci31101 rain
Sci31101 rain
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
Sci31101 cloud
Sci31101 cloudSci31101 cloud
Sci31101 cloud
 
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
 
_cloud__rain.pptx
_cloud__rain.pptx_cloud__rain.pptx
_cloud__rain.pptx
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อน
 
วาตภัย
วาตภัยวาตภัย
วาตภัย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนอง
 
2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docx2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docx
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 

Plus de dnavaroj

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisdnavaroj
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...dnavaroj
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559dnavaroj
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...dnavaroj
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2dnavaroj
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1dnavaroj
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)dnavaroj
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันdnavaroj
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyandnavaroj
 

Plus de dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyan
 

การวัดปริมาณน้ำฝน

  • 1. ใบความรู้ เรือง การเกิดฝนและการวัดปริมาณนําฝน ฝน (rain) เป็ นรู ปแบบหนึงของการตกลงมาจากฟ้ าของนํา นอกจากฝนแล้วยังมีการตกลงมา ่ ในรู ป หิ มะ เกล็ดนําแข็ง ลูกเห็บ นําค้าง ฝนนันอยูในรู ปหยดนําซึ งตกลงมายังพืนผิวโลกจากเมฆ
  • 2. ฝนตกเกิดจาก นําโดนความร้อนของแสงจากดวงอาทิตย์หรื อความร้อนอืนใดทีใช้ในการต้มนํา จนทําให้ระเหยกลายเป็ นไอนํา ลอยขึนไปในอากาศ เมือไอนํามากขึนจะรวมตัวกันเป็ นละอองนําเล็กๆ ปริ มาณของละอองนํายิงมากขึนเรื อยๆก็จะรวมตัวกันเป็ นเมฆฝน พอมากเข้าอากาศไม่สามารถพยุง ละอองนําเหล่านี ต่อไปได้ นําก็จะหล่นลงมายังผืนโลกให้เราเรี ยกขานกันว่าฝนตก วัฏจักรของนําที เกิดขึน เป็ นอย่างนีมาตลอดตังแต่โลกใบกลมของเราเกิดขึนมา และคงดําเนินต่อไปเรื อยๆ ่ นําฝนทีตกลงมาบนโลกเรานัน ถือได้วาเป็ นกระบวนการหนึงของวงจรนําทีหมุนเวียนอยูใน ่ โลกนีอย่างต่อเนื องกันไปไม่มีทีสิ นสุ ด เริ มด้วยการระเหยโดยพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ทีส่ อง ตรงลงมายังผิวนํา ทําให้นาจากมหาสมุทรและแหล่งนําต่าง ๆ กลายเป็ นไอลอยขึนไปเป็ นส่ วนหนึงของ ํ บรรยากาศ ในวันหนึง ๆ ประมาณว่ามีไอนําระเหยจากมหาสมุทร 875 ลูกบาศก์กิโลเมตร เมือรวมกับ นําทีพืชคายออกมาและนําบนแผ่นดินระเหยขึนมาอีก 165 ลูกบาศก์กิโลเมตร รวมเป็ นนําทีกลายเป็ นไอ ในแต่ละวันมากถึง 1,040 ลูกบาศก์กิโลเมตร กระแสลมอุ่นจะหอบเอาไอนําดังกล่าวลอยขึนทีสู ง เมือ กระทบกับอากาศเย็นในเบืองสู งจะกลันตัวกลายเป็ นละอองนําเล็ก ๆ ละอองนําจํานวนมากเหล่านีจะ รวมตัวกันเข้าเป็ นเมฆ จากนันจึงรวมตัวกันเป็ นหยดนําทีมีขนาดใหญ่ขึน ปริ มาณมากขึน จนบรรยากาศ รับไว้ไม่ไหวจึงตกลงสู่ พืนโลกในรู ปของหยาดนําฟ้ า(precipitation)ประเภทต่าง ๆ เช่น นําฝน ลูกเห็บ หิ มะ เป็ นต้น เมือนําฝนตกลงสู่ พืนดิน บางส่ วนจะถูกพืชดูดซึ มเข้าไปและคายออกทางใบ เรี ยกว่าการ ดูดซึ มและการคายนําของพืช อีกส่ วนหนึงซึ มลงสู่ ชนบาดาล นําจํานวนมากไหลบ่าลงสู่ พืนดิน โดย ั ส่ วนหนึงไหลซึ มลอดไปตามชันดินทีลาดเอียง และไหลลงสู่ แหล่งนําต่าง ๆ บางส่ วนขังอยูตามแหล่ง ่ นําบนดิน และค่อย ๆไหลลงสู่ แหล่งนําต่าง ๆ และเมือได้รับพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ นําก็จะ ระเหยกลับขึนบรรยากาศเป็ นวงจร ภาพแสดง วัฏจักรของนํา
  • 3. เกิดจากอนุภาคของไอนําขนาดต่างๆในก้อนเมฆเมือมีขนาดใหญ่ขึนจนไม่สามารถลอยตัวอยู่ ในก้อนเมฆได้ก็จะตกลงมาเป็ นฝน ฝนจะตกลงมายังพืนดินได้นนจะต้องมีเมฆเกิดในท้องฟ้ าก่อน เมฆ ั มีอยูหลายชนิด มีเมฆบางชนิ ดเท่านันทีทําให้มีฝนตก เราทราบแล้วว่าไอนําจะกลันตัวเป็ นเมฆก็ต่อเมือ ่ มีอนุภาคกลันตัวเล็กๆอยูเ่ ป็ นจํานวนมากเพียงพอและไอนําจะเกาะตัวบนอนุภาคเหล่านี รวมกันทําให้ เกิด เป็ นเมฆ เมฆจะกลันตัวเป็ นนําฝนได้ก็ตองมีอนุภาคแข็งตัว(Freezing nuclei) หรื อเม็ดนําขนาดใหญ่ ้ ซึ งจะดึงเม็ดนําขนาดเล็กมารวมตัว กันจนเป็ นเม็ดฝน สภาวะของนําทีตกลงมาจากท้องฟ้ าอาจเป็ น ลักษณะของฝน,ฝนละอองหิ มะหรื อลูกเห็บซึ งเรารวมเรี ยกว่านําฟ้ าจะตกลง มาในลักษณะไหนขึนอยู่ กับอุณหภูมิของอากาศในพืนทีนันๆ นําฟ้ าต้องเกิดจากเมฆ ไม่มีเมฆไม่มีนาฟ้ าแต่เมือมีเมฆไม่ ํ จําเป็ นต้องมีนาฟ้ า เสมอไปเพราะเมฆหลายชนิดทีลอยอยูเ่ ฉยๆไม่ตกลงมา มีเมฆบางชนิดเท่านันทีทํา ํ ให้เกิดนําฟ้ า การวัดปริมาณนําฝน กรมอุตุนิยมวิทยา วัดปริ มาณฝนทีตกลงมาโดยใช้ภาชนะรองรับนําฝน ภาชนะรองรับนําฝนอย่ างง่ าย เมือต้องการวัดปริ มาณฝน จะตังเครื องวัดปริ มาณฝนไว้กลางแจ้ง เมือเวลาผ่านไปครบ 24 ชัวโมง ก็ จะนํานําฝนทีรองรับได้ เทใส่ กระบอกตวงมาตรฐาน แล้ววางกระบอกตวงในทีรองรับเพือให้กระบอก ่ ตวงตังอยูในแนวดิง จากนันดูขีดสเกลข้างกระบอกตวง ซึ งตรงกับระดับนําฝน แล้วอ่านตัวเลขในหน่วย มิลลิเมตร
  • 4. หลังจากทีกรมอุตุนิยมวิทยาได้วดปริ มาณนําฝนทีตกรวมระยะเวลา 24 ชัวโมง และให้ ั ความหมายของฝนทีตกในประเทศแถบโซนร้อนในย่านมรสุ ม แบ่งเป็ นเกณฑ์ดงนี ั ฝนวัดจํานวนไม่ได้ = ฝนตกมีปริ มาณน้อยกว่า 0.1 มิลลิเมตร ฝนเล็กน้อย = ฝนตก 0.1 มิลลิเมตร ขึนไป แต่ไม่เกิน 10 มิลลิเมตร ฝนปานกลาง = ฝนตกปริ มาณ 10.1 มิลลิเมตร ถึง 35.0 มิลลิเมตร ฝนตกหนัก = ฝนตกปริ มาณ 35.1 มิลลิเมตร ถึง 90 มิลลิเมตร ฝนตกหนักมาก = ฝนตกตังแต่ 90.1 มิลลิเมตรขึนไป การรวบรวมข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศในหน้าหนังสื อพิมพ์ทาให้สามารถสรุ ปได้วา ํ ่ สภาพอากาศในสถานทีและเวลาต่างกันก็จะแตกต่างกันด้วย ในปั จจุบนนีแหล่งข้อมูลต่างๆ เหล่านี ั รวมทังข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม จะช่วยทําให้การพยากรณ์อากาศมีความถูกต้องแม่นยําขึน ซึ งการพยากรณ์อากาศมีความจําเป็ นต่อการดํารงชี วตประจําวันเป็ นอย่างมาก ิ ปริมาณนําฝน หมายถึง ระดับความลึกของนําฝนในภาชนะทีรองรับนําฝน ทังนี ภาชนะทีรองรับนําฝนจะต้ องวางให้ อยู่ในแนวระดับ และวัดในช่ วงเวลาทีกําหนดด้ วย นิยมอ่านค่า ปริ มาณนําฝน ในหน่วยของมิลลิลิตร เครื องมือวัดปริ มาณนําฝน เรี ยกว่า เครืองวัดนําฝน (rain ่ gaufge) ซึ งมีอยูหลายแบบ เช่น เครืองวัดนําฝนแบบทรงกระบอก หยดนําฝนทีตกลงมาจะถูกเก็บไว้ ก่อนทีจะมาถึงพืนดิน โดยฝนจะตกลงสู่ กรวยทีมี ด้านข้างสู งชันแล้วไหลลงสู่ ขวดเก็บ นําฝนทีเก็บ ไว้จะถูกนํามาวัดด้วยกระบอกตวงทีมีมาตรวัด กํากับอยู่ มาตรวัดทีใช้วดขึนอยูกบพืนทีของปาก ั ่ ั กรวย ทําให้วดตัวเลขของนําฝนต่ อหน่ วยพืนทีได้ ั
  • 5. 2.2 เครืองวัดนําฝนแบบบันทึกหรือแบบ อัตโนมัติ ในทีห่างไกลเป็ นไปไม่ได้ทีจะ ตรวจวัดฝนทุก ๆ วัน เครื องวัดนําฝนแบบถัง กาลักนําจะวัดนําฝนเองในแต่ละวัน และทําให้ ขวดเก็บนําแห้งเตรี ยมพร้อมทีจะใช้ในการวัดครัง ต่อไป ปริ มาณทีเก็บได้จะถูกบันทึกไว้บนม้วน กระดาษโดยอัตโนมัติ