SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
รายงานผลการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ 
29 สิงหาคม 2557 ปการศึกษา 2557 
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ 
29 สิงหาคม 2557 
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร 
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ 
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
การจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ 
29 สิงหาคม 2557 
ความเห็นของหัวหนากลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร 
…………………………………………….………………………………………………………… 
………………………………….…………………………………………………………………… 
(ลงชื่อ)…………………………….. 
(นางสาคร ทองเทพ) 
………./…………………/…….. 
ความเห็นของรองผูอำนวยการฝ:ายวิชาการ 
…………………………………………….………………………………………………………… 
………………………………….…………………………………………………………………… 
………………………………………….…………………………………………………………… 
(ลงชื่อ)…………………………….. 
(นายเชิดชัย สิงหคิบุตร) 
………./…………………/…….. 
ความเห็นของผูอำนวยการโรงเรียน 
…………………………………………….………………………………………………………… 
………………………………….…………………………………………………………………… 
………………………………………….…………………………………………………………… 
(ลงชื่อ)…………………………….. 
(นายชาติชาย สิงหพรหมสาร) 
………./…………………/……..
บทคัดยอ 
หัวข2อวิจัย การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 
แหงชาติ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ 
ผู2วิจัย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร 
ปที่ทำการวิจัยเสร็จ พ.ศ. 2557 
รายงานการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ จังหวัดยโสธร ครั้งนี้ มีความมุงหมาย เพื่อ 
ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควา 
ไดแก นักเรียนที่รวมกิจกรรม ซึ่งไดกลุมทดลองจากการสุมอยางงาย (Simple Sampling) ซึ่ง 
แบงกลุมตัวอยางเปJนกลุมทดลอง จำนวน 83 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 
ประกอบดวย แบบสอบถามความพึงพอใจที่ผูเรียนมีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร เปJนแบบมาตรา 
สวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ จำนวน 10 ขอ สถิติที่ใชในการวิเคราะห ขอมูล คือ 
คาเฉลี่ย 
ผลการศึกษาคนควาพบวา 
นักเรียนมีความพึงพอใจตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ใน 
พระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร โดยรวมอยูในระดับ มาก
กิตติกรรมประกาศ 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้สำเร็จสมบูรณไดดวยความกรุณาและความชวยเหลืออยาง 
สูงยิ่ง จากนายชาติชาย สิงหพรหมสาร ผูอำนวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูป 
ถัมภ จังหวัดยโสธร และนายเชิดชัย สิงหคิบุตร รองผูอำนวยการโรงเรียน 
ขอขอบคุณคณะครูอาจารยกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ทุกคนที่มีสวนรวม กิจกรรมวัน 
วิทยาศาสตร ในครั้งนี้ 
ขอขอบคุณ ครูอาจารยโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ทุกทานที่สละ 
เวลาในการจัดกิจกรรมและขอบใจนักเรียนทุกคนที่มีสวนรวมในการทำกิจกรรมและประเมินความพึง 
พอใจ 
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร 
ปRการศึกษา 2557
สารบัญ 
บทที่ หนา 
บทคัดยอ ก 
กิตติกรรมประกาศ ข 
สารบัญ ค 
1 
บทนำ ............................................................................................................................. 1 
ภูมิหลัง ..................................................................................................................... 1 
ความสำคัญของศึกษาคนควา ................................................................................. 1 
ขอบเขตของการศึกษาคนควา ................................................................................. 2 
นิยามศัพทเฉพาะ ...................................................................................................... 2 
2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ....................................................................................... 3 
ความพึงพอใจที่มีตอกิจกรรมคายทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร ............................. 3 
3 วิธีดำเนินการศึกษาคนควา ............................................................................................. 14 
ประชากรและกลุมตัวอยาง ....................................................................................... 14 
เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา ..................................................…………......... 14 
วิธีดำเนินการสรางเครื่องมือในการศึกษาคนควา ....................................................... 15 
สถิติที่ใชในการคนควา ............................................................................................. 16 
4 ผลการวิเคราะหขอมูล ................................................................................................... 18 
สัญลักษณที่ใชในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ............................................... 18 
ลำดับขั้นในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ....................................................... 18 
ผลการวิเคราะหศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมคายฯ ……......... 19
สารบัญ 
บทที่ หนา 
5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ......................................................................... 20 
ความมุงหมายของการศึกษาคนควา .......................................................................... 20 
สรุปผลการศึกษาคนควา .......................................................................................... 20 
อภิปรายผล ................................................................................................................ 21 
ขอเสนอแนะ ............................................................................................................. 16 
บรรณานุกรม .................................................................................................................... 22 
ภาคผนวก ........................................................................................................................ 23 
แบบสอบวัดความพึงพอใจของนักเรียน .................................................................... 
รูปภาพบรรยากาศการจัดกิจกรรม................................................................................ 
โครงการกิจกรรมคายทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร……………………………………..
บทที่ 1 
บทนำ 
ภูมิหลัง 
(กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ: 2546) วิทยาศาสตร คณิตศาสตร มีบทบาทสำคัญยิ่งใน 
สังคมโลกปYจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวของกับชีวิตของทุกคน ทั้งในการดำรงชีวิต 
ประจำวันและในงานอาชีพตางๆ เครื่องมือเครื่องใชเพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและในการทำงาน 
ลวนเปJนผลของความรูวิทยาศาสตร ผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอื่นๆ ความรู 
วิทยาศาสตรชวยใหเกิดองคความรูและความเขาใจในปรากฏการณธรรมชาติมากมายมีผลใหเกิดผล 
การพัฒนาทางเทคโนโลยีอยางมาก ในทางกลับกันเทคโนโลยีที่มีสวนสำคัญมากที่จะใหมีการศึกษา 
คนควาความรูทางวิทยาศาสตรตอไปอยางไมหยุดยั้ง 
ผลการทดสอบระดับชาติ(o-net) วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ตั้งแต ปR 2552 – 2555 
ผลสัมฤทธิ์ทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ระดับโรงเรียนมีระดับคะแนนต่ำกวาระดับประเทศ 
จำเปJนตองมีการปรับปรุงและพัฒนานักเรียนใหมีคุณภาพสูงขึ้นอยางเรงดวน 
จากหลักการดังกลาวขางตน กระบวนการเรียนการสอนของครูตองมีการพัฒนาและ 
ปรับปรุงใหมีคุณภาพและมาตรฐานมากขึ้นกวาเดิม เปลี่ยนวิธีการเรียนปรับกระบวนการสอนของครู 
เนนใหนักเรียนมีสื่อการเรียนรูที่หลากหลายมีกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อกระตุนใหนักเรียนเกิดการ 
เรียนรู และมีการจัดกิจกรรมที่ใหนักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของวิทยาศาสตรและสามารถ 
นำไปใชในชีวิตประจำวันได 
ดังนั้นกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ จึงเปJนกิจกรรมหนึ่งที่จะสงผลใหนักเรียนมี 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นและนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร 
ความมุงหมายของการศึกษาค2นคว2า 
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 
โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ จังหวัดยโสธร วันที่ 16 กรกฎาคม 2556 
ขอบเขตของการศึกษาคนควา 
กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ไดแก นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร 
อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร นักเรียน 95 คนที่รวมกิจกรรมในครั้งนี้ ภาคเรียนที่ 1 
ปRการศึกษา 2557 ไดมาโดยสุมตัวอยาง
นิยามศัพทเฉพาะ 
ความพึงพอใจที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร ปRการศึกษา 2557 หมายถึง ความรูสึกชอบ 
หรือไมชอบที่นักเรียนมีตอการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร จำนวน 10 ขอ ที่ผูศึกษาคนควา 
พัฒนาขึ้น
บทที่ 2 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข2อง 
การศึกษาความพึงพอใจที่มีตอการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระ 
ญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปRการศึกษา 
2557 วันที่ 29 สิงหาคม 2557 มีเอกสารที่เกี่ยวของ ดังนี้ 
ความพึงพอใจที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 
การจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ 
ความพึงพอใจที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูป 
ถัมภ จังหวัดยโสธร 
1. ความหมายของความพึงพอใจ มีนักการศึกษาทั้งในและตางประเทศไดให 
ความหมายเกี่ยวกับความพึงพอใจในการเรียนรูไว ดังนี้ 
มอรส (สังคม ไชยเมืองสง 2547 : 43 อางอิงจาก Morse. 1955 : 27 ) 
ไดใหความหมายไววา ความพึงพอใจหมายถึงทุกสิ่งทุกอยางที่สามารถถอดความเครียดของผูที่ทำงาน 
ใหลดนอยลง ถาเกิดความเครียดมากจะทำใหเกิดความไมพอใจในการทำงาน และความเครียดนี้มี 
ผลจากความตองการของมนุษย เมื่อมนุษยมีความตองการมากจะเกิดปฏิกิริยาเรียกรองหาวิธี 
ตอบสนอง ความเครียดก็จะลดนอยลง 
สเตราส และเซเลส (สังคม ไชยเมืองสง 2547 : 43 อางอิงจาก Strarss and 
Saylcs. 1960 : 5-6) ไดใหความเห็นวา ความพึงพอใจเปJนความรูสึกพอใจในงานที่ทำ เต็มใจที่ 
จะปฏิบัติงานนั้นใหสำเร็จตามวัตถุประสงค 
กูiด (สังคม ไชยเมืองสง 2547 : 43 อางอิงจาก Good. 1973 : 161) ไดให 
ความหมายไววา ความพึงพอใจหมายถึงสภาพหรือระดับความพึงพอใจที่เปJนผลมาจากความสนใจ 
และเจตคติของบุคคลที่มีตองาน 
จากความหมายของ ความพึงพอใจ ที่มีผูใหความหมายไวขางตน ผูศึกษาคนควา 
พอจะสรุปไดวา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกนึกคิดที่ดีของบุคคลที่มีตอการทำงานหรือการ 
ปฏิบัติกิจกรรมในเชิงบวก ความรูสึกพอใจ ชอบใจในการรวมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน 
2. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับความพึงพอใจ 
สกiอตต (สังคม ไชยสงเมือง 2547 : 44 อางอิงจาก Scott. 1970 : 124) 
ได 
เสนอความคิดในเรื่องการจูงใจใหเกิดความ 
พึงพอใจตอการทำงานที่จะใหผลในเชิงปฏิบัติ มีลักษณะดังนี้ 
1. งานควรมีสวนสัมพันธกับความปรารถนาสวนตัว และมีความหมาย 
สำหรับผูทำงานนั้นตองมีการวางแผนและวัดความสำเร็จได โดยใชระบบการทำงาน และการควบคุม 
ที่มีประสิทธิภาพ
2. เพื่อใหไดผลในการสรางสิ่งจูงใจภายในเปkาหมายของงาน จะตองมีลักษณะ 
ดังนี้ 
2.1 คนทำงานมีสวนในการตั้งเปkาหมาย 
2.2 ผูปฏิบัติไดรับทราบผลสำเร็จในการทำงานโดยตรง 
2.3 งานนั้นสามารถทำใหสำเร็จได 
เมื่อนำแนวคิดนี้มาประยุกตใชกับการจัดกิจกรรมเรียนการสอน นักเรียนมีสวนเลือก 
เรียนตามความสนใจ และมีโอกาสรวมกันตั้งจุดประสงคหรือความมุงหมายในการทำกิจกรรมไดเลือก 
วิธีแสวงหาความรูดวยวิธีที่ผูเรียนถนัดและสามารถคนหาคำตอบได แคทซ (อรพิน จิรวัฒนศิริ. 
2541 : Web Site ; อางอิงมาจาก katz. 1983 : 163) ไดกลาวถึง ทฤษฎีการใชประโยชน 
และความพึงพอใจจากสื่อ เปJนทฤษฏีที่ใหความสำคัญกับผูบริโภค (Consumer) หรือผูรับสาร 
(Reciver) โดยผูรับสารจะอยูในฐานะเปJนผูกระทำการเลือกใชสื่อ (Active Selector of Media 
Communication) ซึ่งนับไดวา เปJนมุมมองที่แตกตางไปจากทฤษฎีเดิมที่ไมใหความสำคัญกับผูรับ 
สารเพราะแตเดิมผูรับสารถูกมองวาเปJนเปJนผูถูกกระทำ ดังนั้น สมมุติฐานของทฤษฎีการใช 
ประโยชนและความพึงพอใจในการสื่อสาร ผูสงสารจึงไมอาจคาดหมายความสัมพันธระหวางขาวสาร 
กับประสิทธิผลของการสื่อสาร ผูสงสารจึงไมอาจคาดหมายความสัมพันธระหวางขาวสารกับ 
ประสิทธิผลของการสื่อการ เพราะทามกลางความสัมพันธของตัวแปรทั้งสอง มีปYจจัยดานการใชสื่อ 
ของผูรับสารเขามาเปJนตัวแปรแทรกซอนของกระบวนการสื่อสาร แคทซ ไดทำการศึกษาและอธิบาย 
เรื่องการใชประโยชนและการไดรับความพึงพอใจจากสื่อ ดังภาพประกอบ 4 
สภาวะทางจิตใจ 
และสังคม 
(ซึงก่อให้เกิด) 
ภาพประกอบ 1 การใชประโยชนและการไดรับความพึงพอใจจากสื่อ 
สภาวะทางจิตใจ 
และสังคม 
(ซึงก่อให้เกิด) 
ทั้งนี้ ปYจจัยที่เขามาเกี่ยวของกับผูรับสารซึ่งแคทซและคณะใหความสนใจ คือ 
1. สภาพทางสังคมและลักษณะทางจิตวิทยาของผูรับสาร (The Social and 
Psychological Origins) 
2. ความตองการ และความคาดหวังในการใชสื่อของผูรับสาร (Need, Ex-pectation 
of the Mass Media) 
ความคาดหวัง 
จากสือ 
มวลชนหรือ 
แหล่งข่าวสารอืน 
ๆ 
เปิดรับสือมวลชนสือหรือแหล่ง 
ข่าวสารรูปแบบต่าง ๆ (อันก่อให้ผล 
คือ) 
การได้รับความพึงพอใจ 
ตามทีต้องการ 
ผลอืน ๆ ทีตามมา(ทีไม่ได้ 
มุ่งหวังได้)ตามทีต้องการ
สองปYจจัยนำไปสูพฤติกรรมการเป}ดรับของผูรับของผูรับสารที่แตกตางกัน อันเปJนผลมาจาก 
ความพึงพอใจที่แตกตางกัน และเนื่องจากทฤษฎีใหความสนใจกับบทบาทของผูรับสารวาเปJนผู 
เลือกใชสื่อ ไดมีการศึกษาถึงปYจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับผูรับสาร ( เชน รายได การศึกษา ) โดย 
ทั้งสองปYจจัยนี้ ไดรับพิจารณาวา นำมาซึ่งเวลาวางในการเป}ดรับสื่อ ( Free Time of Media 
Use )ขณะเดียวกันสภาวะทางสังคม และจิตใจที่ตางกัน กอใหมนุษยมีความตองการแตกตางกันไป 
ความตองการที่แตกตางกันนี้ทำใหแตละคนคาดคะเนสื่อแตละประเภทเพื่อสนองตอบความพึงพอใจ 
ไดแตกตางกันไปดวย 
เฮอรเบอรก (สังคม ไชยสงเมือง 2547 : 45-46 อางอิงจาก Herberg. 1959 : 
113-115) ไดทำการศึกษาคนควาทฤษฎีที่เปJนมูลเติมที่ทำใหเกิดความพึงพอใจ เรียก The 
Motivation Hygiene Theory ทฤษฎีนี้ไดกลาวถึงปYจจัยที่ทำใหเกิดความพึงพอใจในการทำงาน 
2 ปYจจัย คือ 
1. ปYจจัยกระตุน (Motivation Fact) เปJนปYจจัยที่เกี่ยวกับการงาน ซึ่งมีผล 
กอใหเกิดความพึงพอใจในการทำงาน 
2. ปYจจัยค้ำจุน (Hygien Factors) เปJนปYจจัยที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในการทำงาน 
และมีหนาที่ใหบุคคลเกิดความพึงพอใจในการทำงาน ในการดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ความ 
พึงพอใจเปJนสิ่งสำคัญที่จะกระตุนใหผูทำงานที่ไดรับมอบหมาย หรือตองการปฏิบัติใหบรรลุผลตาม 
วัตถุประสงค ครูผูสอนซึ่งในสภาพปYจจุบันเปJนเพียงผูอำนวยความสะดวก หรือใหคำแนะนำปรึกษา 
ถึงความพึงพอใจในการเรียนรู การทำใหผูเรียนเกิดความพึงพอใจในการเรียนรู หรือการปฏิบัติงานมี 
แนวคิดพื้นฐานที่ตางกัน 2 ลักษณะ คือ 
2.1 ความพึงพอใจนำไปสูการปฏิบัติงาน 
การตอบสนองความตองการผูปฏิบัติงานจนเกิดความพึงพอใจ จะทำใหเกิด 
แรงจูงใจในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานที่สูงกวาผูไมไดรับการตอบสนอง ทัศนะตามแนวคิด 
ดังกลาว สามารถแสดงดังภาพประกอบ 5 (สมยศ นาวีการ. 2525 : 155) 
ความพึงพอใจของ 
ผู้ปฏิบัติงาน 
แรงจูงใจ การปฏิบัติงานทีมี 
ภาพประกอบ 5 ความพึงพอใจนำไปสูการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ 
ผลตอบแทนที 
ได้รับ 
ประสิทธิภาพ 
จากแนวคิดดังกลาว ครูผูสอนที่ตองการใหกิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปJนสำคัญบรรลุ 
ผลสำเร็จ จึงตองคำนึงถึงการจัดบรรยากาศ และสถานการณรวมทั้งสื่อ อุปกรณการเรียนการสอน 
ที่เอื้ออำนวยตอการเรียนการสอน เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของผูเรียนใหมีแรงจูงใจในการทำ 
กิจกรรมจนบรรลุตามวัตถุประสงคของหลักสูตร 
2.2 ผลการปฏิบัติงานนำไปสูความพึงพอใจ 
ความสัมพันธระหวางความพึงพอใจ และผลการปฏิบัติงานจะถูกเชื่อมโยง 
ดวยปYจจัยอื่น ๆ ผลการปฏิบัติที่ดีจะนำไปสูผลตอบแทนที่เหมาะสมซึ่งในที่สุดจะนำไปสูการตอบ 
สนองความพึงพอใจ ผลการปฏิบัติงานยอมไดรับการตอบสนองในรูปของรางวัล หรือผลตอบแทน
โดยผานการรับรูเกี่ยวกับความยุติธรรมของผลการตอบแทน ซึ่งเปJนตัวบงชี้ปริมาณของผลตอบแทน 
ที่ผูปฏิบัติงานไดรับ นั่นคือ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานจะถูกกำหนดโดยความแตกตางระหวาง 
ผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง และการรับรูเรื่องเกี่ยวกับความยุติธรรมของผลตอบแทนที่รับรูแลว 
ความพึงพอใจจึงเกิดขึ้น (สมยศ นาวีการ. 2521 : 119) 
จากแนวคิดพื้นฐานดังกลาว เมื่อนำมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลตอบแทน 
ภายในหรือรางวัลภายในเปJนผลดานความรูสึกของผูเรียนที่เกิดขึ้นแกตัวผูเรียนเอง เชน ความรูสึก 
ตอ 
ความสำเร็จที่เกิดขึ้นเมื่อสามารถเอาชนะความยุงยากตางๆ และสามารถดำเนินงานภายใตความ 
ยุงยากทั้งหลายไดสำเร็จ ทำใหเกิดความภาคภูมิใจ ความเชื่อมั่น ตลอดจนไดรับการยกยองจาก 
บุคคลอื่น 
สวนผลตอบแทนภายนอก เปJนรางวัลที่ผูอื่นจัดหาใหมากกวาที่ตนเองใหตนเอง เชน การไดรับคำ 
ยกยองชมเชยจากครูผูสอน พอแม ผูปกครอง หรือแมแตการไดรับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 
ในระดับที่นาพอใจ 
สรุปไดวา ความพึงพอใจในกิจกรรม และผลการเรียนจะมีความสัมพันธกันในทางบวก 
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ กิจกรรมที่ผูเรียนไดปฏิบัตินั้น ทำใหผูเรียนไดรับการตอบสนองความตองการดาน 
รางกายและจิตใจ ซึ่งเปJนสวนที่จะทำใหเกิดความสมบูรณของชีวิตมากนอยเพียงใด นั่นคือ สิ่งที่ 
ครูผูสอนจะคำนึงถึงองคประกอบตางๆ ในการเสริมสรางความพึงพอใจในการเรียนรูใหกับผูเรียน 
การจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ เป9นการจัดกรรมลักษณะเหมือนคายวิทยาศษ 
สตร คือ มีการจัดกิจกรรมเป9นฐาน ดังนั้นจึงนำทฤษฎี และหลักการของคายมาใช2ในการจัด 
กิจกรรม ดังนี้ 
คายวิทยาศาสตรคืออะไร 
คายวิทยาศาสตร เปJนการจัดกิจกรรมใหแกผูเรียนที่มีความสนใจทางดานวิทยาศาสตรได 
มีโอกาสเขารวมกิจกรรม ณ ที่ใดที่หนึ่ง ตามหลักสูตรและเวลาที่กำหนด ซึ่งกิจกรรมที่จัดใหผูเรียน 
ชวยเพิ่มพูนความรู ประสบการณ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และเจตคติทางวิทยาศาสตรใน 
สภาพแวดลอมจริง ซึ่งอาจอยูในลักษณะคายพักแรม (ดาราวรรณ อานันทนสกุล,2547) 
กิจกรรมคายวิทยาศาสตร หมายถึง กิจกรรมการเรียนรูทางวิทยาศาสตรที่จัดขึ้นเพื่อที่จะ 
ชวยเพิ่มพูนความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเจตคติทางวิทยาศาสตรในสภาพแวดลอม 
จริงหรืออาจพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่เพื่อรับประสบการณตรงซึ่งประสบการณบางอยางไม 
สามารถจัดในหองเรียนได นักเรียนที่มารวมกิจกรรมมีการพักแรมรวมกัน ณ ที่ใดที่หนึ่งเพื่อใหเกิด 
ปฏิสัมพันธที่ดีตอกัน (ทัศนภรณ แสงศรีเรือง,2548) 
จากแนวคิดขางตน ผูเขียนสรุปไดวา คายวิทยาศาสตรก็คือการสรางประสบการณ 
ทางการเรียนรูที่ใหเกิดขึ้นกับผูเรียน โดยจัดใหมีการอยูคายรวมกันของนักเรียน เพื่อรวมกันเรียนรูและ 
สรางประสบการณที่ดีไมวาจะเปJนดานทักษะ ดานกระบวนการและเจตคติที่ดีทางวิทยาศาสตร 
นักเรียนจะได2อะไรจากคายวิทยาศาสตร 
การเขาคายวิทยาศาสตรนั้นหลาย ๆ คน คิดวาก็คงเหมือนเขาคายพักแรม แตหากมองดี 
ๆ แลวก็จะพบวาคายวิทยาศาสตรก็แตกตางจากคายพักแรมอยูไมนอย ทั้งความรูและประสบการณที่
ในหองเรียนครูคงจัดใหไมได กิจกรรมที่ผูเรียนมีบทบาทตอการเรียนรู หรือคิดแกปYญหาและหาคำตอบ 
ดวยตนเอง สิ่งหนึ่งที่ผูคิดคาดวาผูเรียนจะไดรับจากคายวิทยาศาสตรมีดังจะกลาวตอไปนี้ 
คิดเป9น ทำเป9น คายวิทยาศาสตรเปJนเสมือนหองเรียน หองหนึ่งแตไมใชหองสี่เหลี่ยมที่ 
แสนจะนาเบื่อหนายของนักเรียน คายวิทยาศาสตรนั้นนักเรียนจะไดปฏิบัติ ลงมือทำและคิดเอง เชน มี 
โจทยวา มีอุปกรณอยูหนึ่งกลอง ใหประดิษฐสิ่งของและมีทฤษฎีทางวิทยาศาสตรที่สามารถอธิบายได 
นักเรียนจะตองคิดวาจะทำอะไรดี ทำอยางไร และการทำงานที่ดีนักเรียนจะตองรูจักการวางแผน ซึ่ง 
ในโลกความเปJน จริงสิ่งเหลานี้นักเรียนคงยากที่จะหลีกเลี่ยง และสิ่งหนึ่งที่ผูเรียนจะไดเรียนรูคือ สิ่งที่ 
อยูรอบ ๆ ตัวของนักเรียนนั้นไมมีความครบถวนสมบูรณเสมอไป ฉะนั้นจำเปJนที่จะตองรูจักคิด และทำ 
เพื่อสรางสรรคใหสิ่งที่ตนตองการนั้นเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงประโยชนและคุณคาที่จะไดรับเปJนหลัก 
ความคิดริเริ่ม สร2างสรรค ซึ่งเปJนการคิดระดับสูง และสำคัญยิ่งตอการเรียนรู 
วิทยาศาสตร แตการสรางสรรคนั้นก็ตองเปJนการสรางสรรคในสิ่งที่มีคุณคา ในคายวิทยาศาสตรมักจะ 
ใหนักเรียนไดริเริ่มทำเอง ซึ่งบอยครั้งที่นักเรียนตองคิดหาแนวทางในการแกปYญหาที่พบ ซึ่งการคิด 
ริเริ่มสรางสรรคจะเกิดไดดีในสภาพที่นักเรียนพรอมและสนุกที่จะเรียนรูในสิ่งที่นักเรียนเองมีความ 
สนใจ 
คิดอยางเป9นระบบ ในแตละครั้งที่มีการทำงาน ก็ตองมีการวางแผน หากแผนที่วางไว 
อยางเปJนระบบดีแลวก็ยอมที่จะดำเนินกิจกรรมไดอยางราบรื่นและรวดเร็ว ผลก็จะทำใหการแกปYญหา 
นั้นคลี่คลายไปดวยดี 
การรู2จักใช2เหตุ ใช2ผล โดยธรรมชาติของวิทยาศาสตรแลวจะหลอหลอมใหคนมีเหตุผล 
ฉะนั้นคายวิทยาศาสตรก็จะสามารถหลอหลอมใหนักเรียนรูจักใชเหตุและผลในการตัดสินใจ โดยการ 
ตัดสินใจนั้นก็ตองอยูบนความเปJนไปไดตามขอมูลหรือสถานการณในขณะนั้นที่นักเรียนกำลังประสบ 
ได2รับความรู2และเกิดการบูรณาการความรู2 กิจกรรมในคายนอกจากนักเรียนจะได 
เรียนรูแลว นักเรียนยังจะตองนำความรูแขนงตาง ๆ มาปรับใชและเชื่อมโยงเขาดวยกัน เพื่อที่จะ 
แกปYญหาเหลานั้น หรือเพื่อใชในการเรียนรูในสิ่งใหม 
รู2จักการใช2ชีวิตและทำงานรวมกับผู2อื่น สิ่งหนึ่งที่ผูเรียนจะไดรับบทบาทหนาที่ที่จะ 
ไดรับเมื่อมีการทำงานรวมกับผูอื่น ซึ่งจะเปJนฝ‚กนักเรียนไดวาการที่เราเขามามีบทบาท สิ่งหนึ่งที่จะ 
ตามมาดวยคือความรับผิดชอบ ในการทำงานรวมกับผูอื่นนั้นจะสรางความเปJนผูนำและผูตามให 
เกิดขึ้น และที่สำคัญระเบียบวินัย หรือกฏเกณฑจะถูกสรางขึ้นเมื่อมนุษยมาอยูรวมกันอยางเปJนปกติ 
สุข ในการอยูคายนั้นจะสอนใหนักเรียนรูวาการรักษาระเบียบวินัยถือเปJนเรื่องสำคัญยิ่งในการอยู 
รวมกับผูอื่น 
ความสนุกสนาน เปJนความสุขและความประทับใจที่จะหาไดจากชีวิต คายวิทยาศาสตร 
จำเปJนตองสรางความสนุกสนานใหเกิดเพื่อที่จะเปJนแรงจูงใจและกระตุนใหนักเรียนเกิดการเรียนรู 
วัตถุประสงคของการจัดคายวิทยาศาสตร 
ไมวาจะจัดการเรียนการสอนแบบไหน สิ่งที่หนึ่งที่ครูจำเปJนตองคำนึงถึงเสมอคือ เรา 
จัดการเรียนการสอนแบบนั้นเพื่ออะไร นอกจะเราจะไดเปkาหมายในการจัดการเรียนการสอนแลว ครู 
ยังไดแนวคิดในการจัดกิจกรรมดี ๆ ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร เพื่อใหนักเรียนไดสนุกกับสิ่งที่ 
นักเรียนไดเรียนรู ซึ่งคายวิทยาศาสตรเองก็ไดมี สำหรับวัตถุประสงคในการจัดคายวิทยาศาสตร ก็ไดมี 
ผูนำเสนอไวหลายประเด็น ดังจะนำเสนอตอไปนี้
1. เพื่อเป}ดโอกาสใหผูเรียนไดสัมผัส เรียนรูดวยประสบการณตรงที่เปJนสถานการณจริง 
จากแหลงเรียนรูในที่อยูในสภาพแวดลอมจริง และที่สำคัญทำใหผูเรียนไดมีโอกาสในการทำ 
กิจกรรมที่หลากหลาย 
2. เพื่อสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนากระบวนการคิดระดับสูง ไดแก กระบวนการคิด 
แกปYญหา กระบวนการคิดสังเคราะห กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ และมี 
ความสามารถในการตัดสินใจ 
3. เพื่อสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะการสื่อสารมีปฏิสัมพันธกับผูอื่น ตลอดจน 
ความสามารถในการรวมมือ รูจักการปรับตัวใหเขากับผูอื่น การชวยเหลือซึ่งกันและกันการ 
รวมมือรวมใจในการเรียนรูและทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค 
4. เพื่อสงเสริมความเปJนผูนำและเปJนสมาชิกที่ดี มีความสามารถในการตัดสินใจอยาง 
ถูกตองและมีความสมเหตุสมผล 
5. เพื่อสงเสริมและพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร พัฒนาความรูและการประยุกต 
ความรูทางวิทยาศาสตรในทางที่สรางสรรค และเหมาะสม 
6. เพื่อปลูกฝYงความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่ 
เปJนไทยพรอมที่จะมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน 
7. สรางเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของวิทยาศาสตร ซึ่งเปJนสิ่งสำคัญมาก 
8. เพื่อใหผูเรียนรูจักการใชเวลาวางในทางที่เหมาะสม และเกิดประโยชน 
9. เพื่อใหผูเรียนไดจักความเสียสละ ตรงตอเวลา รับผิดชอบตอผูอื่น 
คายที่จัดจะออกมาในลักษณะใด ทั้งนี้และทั้งนั้นก็ตองเปJนไปตามวัตถุประสงคของการ 
จัดคายเปJนสำคัญ เพราะนอกจะไดแนวทางในการจัดแลว วัตถุประสงคก็ยังสามารถชวยใหผูจัดคาย 
สามารถวางแผนดานงบประมาณ การจัดกิจกรรมและทีมงานไดเปJนอยางดี 
รูปแบบการจัดคายวิทยาศาสตร 
รูปแบบและลักษณะคายวิทยาศาสตรก็มีความหลากหลายดวยกัน และไมมีรูปแบบที่ 
แนนอนตายตัว ซึ่งจากระบบการเรียนการสอนที่เนนใหเด็กไดลงมือทำ และเรียนรูดวยตนเอง จำเปJนที่ 
จะตองมีการจัดกิจกรรมที่นักเรียนไดทำจริง การจัดคายนั้นก็จำเปJนจะตองคำนึงถึงจำนวนนักเรียนที่ 
เขารวมดวย ทั้งนี้ก็เพื่อใหการจัดกิจกรรมเปJนไปอยางทั่วถึง นักเรียนทุกคนมีโอกาสในการเรียนรูโดย 
เทาเทียมกัน ในการจัดกิจกรรมที่เนนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติก็เชนกิจกรรมการทดลอง หากตองการ 
ใหนักเรียนพิสูจนกฎทางวิทยาศาสตร ก็จะตองใหนักเรียนตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง เก็บ 
ขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปผลการทดลอง และที่สำคัญตองการนำเสนอในสิ่งที่ตนเองไดเรียนรู หาก 
รูปแบบคายวิทยาศาสตรเปJนในลักษณะนี้ ก็จะทำใหนักเรียนไดเรียนรูวิธีการในการแกปYญหา ฝ‚ก 
กระบวนการทำงานอยางเปJนระบบ และฝ‚กทักษะทางวิทยาศาสตรไดเปJนอยางดี ตัวอยางก็เชน คาย 
โครงงานวิทยาศาสตร 
แตหากเปJนการจัดคายแบบสำรวจ หรือศึกษาระบบนิเวศ ก็คงตองพานักเรียนเขาไป 
เรียนรูในแหลงการเรียนรูจริง หรือจัดสภาพแวดลอมขึ้นใหคลายคลึงกับสภาพจริง ซึ่งก็จะเปลี่ยน 
บรรยากาศการเรียนรูไดเปJนอยางดี เพราะนักเรียนจะไดเห็นของจริง เขาใจในระบบนิเวศ และ 
มองเห็นความสัมพันธและกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบนั้น ๆ อีกทั้งการจัดคายในลักษณะนี้ 
หากมีผูเชี่ยวชาญ หรือปราชญในดานนั้นมาเปJนผูนำศึกษาแลว ก็จะทำใหบรรยากาศการเรียนรูตื่นเตน 
และสนุกมากยิ่งขึ้น เนื่องปราชญยอมมีความรูและเชี่ยวชาญในเรื่องที่สอนเปJนอยางดี และรูวาสิ่งที่
นักเรียนนาจะเรียนรูคืออะไร ตัวอยางก็เชน คายวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมรุนเยาว คายดูนก คายดูดาว 
(คายดาราศาสตร) คายศึกษาแมลง 
จากที่กลาวมานั้นรูปแบบคายที่จัดขึ้นอาจจะมีการพักแรม หรือไมก็ได ทั้งนี้ก็ขึ้นกับ 
วัตถุประสงคในการจัดคายนั้น ๆ ระยะเวลา และที่สำคัญคืองบประมาณที่ใชในการจัดกิจกรรม 
ประการสำคัญที่จะกำหนดลักษณะคายก็คือเปkาหมายหรือวัตถุประสงคในการจัดคายแตละครั้ง ฉะนั้น 
สำหรับผูที่จะจัดคายวิทยาศาสตรก็คงจะตองมองในประเด็นเหลานี้ เพื่อเปJนแนวทางในการจัดสินใจ 
แนวทางในการจัดคายวิทยาศาสตร 
แนวทางในการจัดคายวิทยาศาสตรนั้น ก็ขึ้นอยูกับความสามารถและประสบการณใน 
การจัดการของผูจัดคายเอง แตแนวทางที่โดยทั่วไปก็จะประกอบดวยขั้นตอนโดยคราว ๆ ดังจะกลาว 
ตอไปนี้ 
ขั้นการเตรียมการ นับวาการวางแผนที่ดีจะนำพาไปสูความสำเร็จไดกวาครึ่ง และก็ตอง 
ไดรับความรวมมือจากบุคคลและหนวยงานหลายฝ:าย เพื่อกำหนดวัตถุประสงค วางแผนกำหนดการ 
แตงตั้งคณะดำเนินงานฝ:ายตาง ๆ เพื่อรวมกันกำหนดสถานที่ เวลาและกำหนด Theme ของคาย 
ขั้นดำเนินกิจกรรม ในการดำเนินงานจำเปJนตองมีความยึดหยุนตามความเหมาะสม 
เพราะหากมีปYญหาเกิดเหตุการณไมคาดฝYนขึ้นจะสงผลใหการดำเนินงานตองหยุดชะงัก หรือติดขัด 
และหลาย ๆ ฝ:ายก็จำเปJนตองรับผิดชอบตามที่ตนนั้นไดรับความไววางใจใหปฎิบัติงานในสวนของ 
ตนเอง 
ขั้นประเมินผล การที่จะทราบวาผลการจัดคายนั้น เรียบรอย และตรงตามจุดประสงคก็ 
ควรที่จะมีการประเมินผล ประการแรกที่ควรทำการประเมิน คือ การประเมินความพึงพอใจใน 
กิจกรรมคายวิทยาศาสตร เพราะนั่นคือสิ่งที่ทำใหผูเรียนที่รวมกิจกรรมเกิดความประทับใจและมี 
ความสุขในการรวมกิจกรรมในโอกาสตอ ๆ ไป ซึ่งก็นับวาเปJนจุดเริ่มตนที่ดีที่จะทำใหผูเรียนรักการ 
เรียนรู และที่จะลืมไมไดคือการประเมินผลการเรียนรูและประสบการณมี่นักเรียนไดรับ ทั้งนี้ผลที่ได 
จากการประเมินก็เปJนประโยชนสำหรับการปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมในโอกาสตอ ๆ ไป 
กิจกรรมที่จัดขึ้นในคาย 
สำหรับกิจกรรมที่จะจัดขึ้นในคายก็สามารถแบงไดเปJน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ กิจกรรม 
วิชาการ และกิจกรรมสันทนาการ เพราะการเขาคายนั้นนอกจากสาระแลวนักเรียนควรมีความสุขดวย 
ไมเชนนั้นบรรยากาศมันคงไมแตกตางจากเรียนในหองเสียเทาไหร คงไมนักเรียนคนไหนอยากมีเขา 
คายที่ตองมานั่งฟYงบรรยายทั้งภาคเชาและบายคราวละ 3 ชั่วโมง 
สำหรับกิจกรรมดานวิชาการนั้น ก็ควรคำนึงถึงสิ่งตอไปนี้ 
 กิจกรรมที่จัดขึ้นนั้นมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคของการจัดคายหรือไม 
 กิจกรรมที่จัดขึ้นนั้น มีสิ่งที่แปลกใหมจากที่เคยจัดในหองเรียนหรือไม ทั้งนี้ก็เพื่อสรางใหม 
ประสบการณแกนักเรียน 
 กิจกรรมนั้นนักเรียนมีบทบาทสำคัญในการเรียนรูดวยตนเองหรือไม 
 กิจกรรมนั้นมีความสนุก กระตุนใหนักเรียนเกิดการเรียนรูที่ดีหรือไม 
 กิจกรรมวิชาการที่จัดนั้น ก็สามารถแบงไดเปJนหลากหลายรูปแบบ ดังจะไดกลาว 
ตอไปนี้ กิจกรรมที่ลงมือปฏิบัติหรือการแก2ปAญหาที่ประสบจากชีวิตจริง โดย 
กิจกรรมที่มีนั้นควรพิจารณาถึงความเหมาะสมในหลาย ๆ ดาน ไมวาจะเปJนความปลอดภัย 
เปJนเหตุการณที่มีโอกาสประสบไดจริงในชีวิตประจำวัน เพื่อที่จะทำใหนักเรียนไดรับ
ประสบการณอันเปJนประโยชนที่สามารถนำไปประยุกตใชในการดำรงชีวิตของตน 
ได กิจกรรมประเภทที่ใช2พัฒนาความคิดในระดับสูง ซึ่งจะเปJนกิจกรรมที่ 
นักเรียนจะไดมีสวนรวมอยางเต็มที่ในการชวยกันคิดหาทางในการแกปYญหาตามสถานการณ 
จำลองที่ครูไดจัเตรียมไว หรือเหตุการณเฉพาะหนาที่นักเรียนเองอาจจะประสบในระหวางทำ 
กิจกรรมโดยกิจกรรมนี้จะเนนใหเห็นถึงกระบวนการทำงานกลุมไดเปJนอยางดี และสมาชิก 
ภายในกลุมก็ตองชวยกันวางแผนในการแกไขปYญหา 
กิจกรรมที่มีการสร2างสรรคผลงาน ซึ่งกิจกรรมนี้จะฝ‚กใหนักเรียนมีความคิด 
สรางสรรค ซึ่งปYจจุบนการพัฒนาใหนักเรียนมีกระบวนการคิดนั้นสำคัญมาก และหลาย ๆ 
หนวยงานก็พยายามที่เขามามีสวนรวมในการพัฒนาใหเด็กไทยเปJนผูที่คิดเปJน แตกิจกรรมที่ใชใน 
การพัฒนากระบวนการคิดสรางสรรคของนักเรียนนั้นตองเปJนกิจกรรมที่เกิดประโยชนและ 
สามารถใชไดจริงดวย 
 กิจกรรมนั้นตองมีการสรางและปลูกฝYงเจตคติที่ดี และเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร 
และเกิดความภาคภูมิใจในทองถิ่นของตน 
 สำคัญที่สุด คือ กิจกรรมตองมีความปลอดภัยทั้งตอนักเรียนและผูที่เกี่ยวของ 
ในสวนของกิจกรรมสันทนาการนั้น เปJนกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อควาสนุกสนาน คลายเครียด 
สงเสริมความกลาแสดงออก ความสามัคคีและความเปJนผูนำ กิจกรรมสันทนาการที่นำมาใชนั้นควร 
เปJนกิจกรรมที่สรางความสัมพันธอันดีระหวางสมาชิกในคาย และมีความสรางสรรค กิจกรรมที่ใชใน 
การสันทนาการก็เชน การรองเพลง การเลนเกมส โดยในการเลนเกมสนั้นก็มีสวนในการฝ‚กทักษะ 
หลาย ๆ ดานใหกับนักเรียน เชน ทักษะทางประสาทสัมผัส ทักษะการสังเกต ทักษะการฟYง ไหวพริบ 
หรือแมกระทั่งเชาวปYญญา ซึ่งในการเลือกเกมสมาเลนนั้น ก็ตองคำนึงชวงวัยของนักเรียนเพื่อ 
ความสำเร็จของการเลนนั้น การเลนกีฬา ก็ถือวาเปJนกิจกรรมสันทนาการไดเชนกัน สำหรับกีฬาที่ใช 
นั้นก็ไมควรมีกฏเกณฑยุงยากมาก และทุกคนมีสวนรวม ทั้งนี้ก็เพื่อใหนักเรียนไดผอนคลาย 
ความเครียดทางกิจกรรมและเปJนการออกกำลังสงเสริมสุขภาพ และประการสุดทายคือการแสดงละคร 
ก็สามารถทำไดเชนกัน อาจจะเปJนกิจกรรมรอบกองไฟ หรือละครสั้น ๆ โดยการแสดงนั้นจะฝ‚ก 
ความคิดสรางสรรค และความกลาแสดงออกไดเปJนอยางดี ตัวอยางการแสดงก็เชน การแสดงนิทาน 
ดวงดาว การแสดงละครที่ใหแงคิดตาง ๆ หรือการแสดงละครแนวสืบสวนสอบสวน (วิทยาศาสตร) 
เปJนตน ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับประเภทของคาย หรือเปkาหมายที่ครูผูจัดตองใหการใหนักเรียนไดแสดงออก 
สำหรับเวลาที่ใชในการจัดกิจกรรมสันทนาการนั้น ก็ขึ้นอยูกับความเหมาะและกำหนดการของคาย 
โดยสวนใหญก็จะประมาณ 5-10 นาที กอนหรือหลังการจัดกิจรรม คั่นระหวางการเปลี่ยนชวงกิจกรรม 
หรืออาจจัดไวเปJนกิจกรรมตอนเย็นหลังรับประทานอาหารเย็นก็ได เชน กิจกรรมการแสดงละคร เปJน 
ตน 
การทำคายวิทยาศาสตรที่ไดนำเสนอไปนั้น ก็เปJนอีกรูปแบบหนึ่งในการจัดการเรียนการ 
สอนที่เนนผูเรียนเปJนศูนยกลาง มีกิจกรรมที่หลากหลาย นักเรียนไดคิดเอง ทำเอง และได 
ประสบการณที่ในหองเรียนจะเกิดขึนไดยาก วัตถุประสงคหลักที่ตองมีการจัดคายก็คือการที่ตองการให 
นักเรียนไดประสบการณและไดเรียนรูสิ่งใหม นอกเหนือจากหองเรียน ฉะนั้นรูปแบบการจัดคาย 
วิทยาศาสตรก็จะไมมีรูปแบบที่เฉพาะเจาะจงมาก แตจะขึ้นอยูกับวัตถุประสงคหรือเปkาหมายของคาย 
นั้น ๆ
สิ่งสำคัญอยางนึกที่ตองคำนึงถึงเสมอหากตองมีการจัดคายวิทยาศาสตรคือ งบประมาณ 
ทั้งนี้ก็เพื่อใหเกิดการวางแผนในการดำเนินกิจกรรม หรือแนวทางในการจัดกิจกรรมภายในคาย และ 
การระหวางการดำเนินคายนั้น ปYญหาหรืออุปสรรคตางเกิดขึ้นไดเสมอ ฉะนั้นการรวมมือ และ 
ประสานงานที่ดีระหวางฝ:ายของคณะครูที่จัดคายและผูที่เกี่ยวของจะทำใหปYญหานั้นสามารถคลี่คลาย 
ไปในทางที่ดีได 
บทบาทของนักเรียนและครูภายในคายนั้นแลดูจะแตกตางจากในหองเรียนคอนขาง 
เดนชัด ซึ่งถือเปJนโอกาสที่ดีที่ครูจะไดเรียนรูพฤติกรรมของนักเรียนวานักเรียนนั้นเกิดการเรียนรูไดดวย 
วิธีใด และอยางไร พรอมทั้งอุปนิสัยใจคอ ทั้งนี้ก็เพื่อที่ครูจะไดปรับปรุงการเรียนการสอนในหองเรียน 
ใหเหมาะสมกับความตองการและความสามารถของนักเรียน เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูอยางเต็ม 
ศักยภาพของตนเอง จากที่ผูเขียนกลาวมาทั้งหมดนี้ ก็เพื่อเสนอแนะแนวทาง หรือ 
ทางเลือกหนึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหแกนักเรียน โดยหวังวานักเรียนนั้นจะมีความสุขและ 
เรียนรูไดอยางเต็มที่โดยที่นักเรียนเองเปJนผูที่เรียนรูและคนพบความรูดวยตนเอง และเพื่อสอดรับกับ 
เปkาหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรที่ตองการใหนักเรียนมีความเขาใจในหลักการทาง 
วิทยาศาสตร มีทักษะที่สำคัญในการศึกษาคนควาและคิดคนทางวิทยาศาสตร มีการพัฒนาทักษะ 
กระบวนการคิด จินตนาการ ความสามารถในการแกปYญหาและการจัดการ รวมทั้งความสามารถใน 
การตัดสินใจ และที่สำคัญเขาใจในเรื่องวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปใชประโยชนตอสังคมและการ 
ดำรงชีวิต และเกิดเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมในการใชวิทยาศาสตร 
และเทคโนโลยีอยางสรางสรรค 
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร เปJนสมรรถภาพที่จำเปJนตอการเรียนรูคณิตศาสตร 
(สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี,2546,หนา 18-19) ไดแก 
1. ทักษะกระบวนการ การแกปYญหา ทำความเขาใจกับปYญหา ระบุประเด็นปYญหา สราง 
ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร ตรวจสอบความเหมาะสมของตัวแบบ ตรวจสอบความถูกตอง และความ 
เปJนไปไดของการแกปYญหา ตรวจสอบขั้นตอนการแกปYญหา 
2. ทักษะกระบวนการ การใหเหตุผล รวบรวมความรูที่เกี่ยวของในกระบวนการการ 
แกปYญหา เลือกใชความรูเพื่อจัดลำดับขั้นตอน ตรวจสอบความถูกตองและความ 
สมเหตุสมผล (คณิตศาสตรไมใชความรักที่ไมตองการเหตุผล ) 
3. ทักษะกระบวนการ การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการ 
นำเสนอ เลือกรูปแบบของการสื่อสาร การสื่อความหมายและนำเสนอดวยวิธีการที่เหมาะสม ใช 
ขอความสมการ ศัพทที่เปJนสากล บันทึกผลงานทุกขั้นตอน สรุปสาระที่ไดจากการศึกษา เสนอความ 
คิดเห็นที่เหมาะสมกับปYญหา 
4. ทักษะกระบวนการ การเชื่อมโยง เปรียบเทียบความรูของแตละสาระ เชื่อมโยงคณิตศาสตรกับ 
ศาสตรอื่น สรุปสาระสำคัญ 
5. ทักษะกระบวนการ ความคิดริเริ่มสรางสรรค ใชความรูหรือมโนทัศนเพื่อสรางองคความรูใหม 
สรางสรรคตัวแบบทางคณิตศาสตรหรือชิ้นงานที่มีประโยชนตอการเรียนรู
บทที่ 3 
วิธีดำเนินการศึกษาค2นคว2า 
การดำเนินการศึกษาคนควาอิสระครั้งนี้ ผูศึกษาคนควา ไดดำเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 
1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 
2. เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 
3. วิธีดำเนินการสรางเครื่องมือในการศึกษาคนควา 
4. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 
ประชากรและกลุมตัวอยาง 
1. ประชากร 
ประชากรที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ไดแกนักเรียนที่รวมกิจกรรมวัน 
วิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัด 
ยโสธร มีนักเรียน 506 คน ภาคเรียนที่ 1 ปRการศึกษา 2557 
2. กลุมตัวอยาง 
กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ไดแก นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระ 
ญาณสังวร อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร ที่เขารวมกิจกรรม มีนักเรียน 95 คน ไดมาโดยการ 
สุมตัวอยาง 
เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 
เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ประกอบดวย ความพึงพอใจที่มีตอกิจกรรมวัน 
วิทยาศาสตร เปJนชนิดมาตราสวนประมาณคา ( Rating Scale ) 5 ระดับ จำนวน 10 ขอ 
วิธีดำเนินการสรางเครื่องมือในการศึกษาคนควา 
1. การสรางแบบวัดความพึงพอใจ 
ผู2ศึกษาค2นคว2าดำเนินการสร2างแบบวัดความพึงพอใจตามขั้นตอนดังนี้ 
1.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการสรางแบบวัดความพึงพอใจ 
ผูศึกษาคนควาไดศึกษาการสรางแบบวัดจากตำราวัดผลทางการศึกษาของ สมนึก ภัททิยธนี (2546 
: 37 – 43) โดยกำหนดคาคะแนนเปJน 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิรท (Likert’s Scale)
นำขอมูลที่ไดจากการประเมินมาวิเคราะหโดยกำหนดเกณฑในการคิดคะแนนเฉลี่ยของ 
แบบสอบถามตามเกณฑของ ศักดิ์ชัย เสรีรัฐ (2530) ดังนี้ 
ถาคะแนนเฉลี่ยมีคานอยกวา 1.55 แสดงวา มีความพึงพอใจนอยที่สุด 
ถาคะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.56 – 2.55 แสดงวา มีความพึงพอใจนอย 
ถาคะแนนเฉลี่ยระหวาง 2.56 – 3.55 แสดงวา มีความพึงพอใจปานกลาง 
ถาคะแนนเฉลี่ยระหวาง 3.56 – 4.55 แสดงวา มีความพึงพอใจมาก 
ถาคะแนนเฉลี่ยมากกวา 4.55 แสดงวามีความพึงพอใจมากที่สุด 
1.2 ศึกษาขอความที่แสดงถึงความพึงพอใจ และสรางแบบวัดความพึงพอใจเปJนแบบ 
ประเมินมาตราสวนประมาณคา(Rating Scale) จำนวน 10 ขอ โดยคำนึงถึงสิ่งตอไปนี้ 
1.2.1 ขอความควรเขียนในแงความรูสึก ความเชื่อ หรือความตั้งใจที่จะกระทำสิ่ง 
ใดสิ่งหนึ่งลงไป ไมใชเปJนขอเท็จจริง 
1.2.2 ขอความจะตองสั้น เขาใจงาย และชัดเจน 
1.3 นำแบบวัดความพึงพอใจเสนอผูเชี่ยวชาญเนื้อหาและวัดผล จำนวน 5 ทาน 
พิจารณาตรวจสอบ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา 
ผลการพิจารณาพบขอบกพรองดังนี้ การใชภาษาในการถามไมถูกตอง ขอคำถาม 
บางขอไมสามารถวัดไดจริงและควรปรับใหสั้นแตชัดเจน ผูศึกษาไดนำขอบกพรองมาแกไขโดย 
ปรับปรุงการใชสำนวนภาษาใหถูกตอง แกไขขอคำถามบางขอใหสามารถวัดไดจริงตามสภาพของ 
บทเรียนและปรับขอคำถามใหสั้นอานเขาใจงาย 
สถิติที่ใชในการศึกษาคนควา 
สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 
คาเฉลี่ย (Arithmetic Mean : X ) โดยใชสูตร ดังนี้ 
(บุญชม ศรีสะอาด. 2543 : 102) 
X = 
Σx 
N 
เมื่อ X แทน คะแนนเฉลี่ย 
Σx แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด 
N แทน จำนวนคนในกลุมตัวอยาง
บทที่ 4 
ผลการวิเคราะหข2อมูล 
ในการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาคนควาไดเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตามลำดับหัวขอ 
ดังตอไปนี้ 
1. สัญลักษณที่ใชในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล 
2. ลำดับขั้นที่ใชในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล 
3. ผลการวิเคราะหขอมูล 
สัญลักษณที่ใชในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล 
ผูศึกษาคนควาไดกำหนดความหมายของสัญลักษณ ในการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหเกิดความ 
เขาใจในการแปลความ และการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ดังตอไปนี้ 
N แทน จำนวนนักเรียน 
X แทน คาเฉลี่ย (Arithmetic Mean) 
ลำดับขั้นที่ใชในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล 
ผูศึกษาคนควาไดดำเนินการวิเคราะหขอมูลตามลำดับขั้นดังตอไปนี้ 
วิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระ 
ญาณสังวร อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปRการศึกษา 2555 ในวันที่ 16 สิงหาคม 
2556 
ผลการวิเคราะหขอมูล 
วิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระ 
ญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร
ผูศึกษาไดวิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โดยให 
นักเรียนทำแบบวัดความพึงพอใจ จำนวน 10 ขอ หลังจากนักเรียนเขารวมกิจกรรมคายทักษะ 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร แลว ซึ่งปรากฏผล ดังตาราง 
ขอ รายการประเมิน 
ระดับความพึงพอใจ 
คาเฉลี่ย ระดับ 
1 นักเรียนรวมกิจกรรมอยางมีความสุขและเต็มใจ 4.62 มากที่สุด 
2 นักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 4.48 มาก 
3 ระยะเวลาการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 4.05 มาก 
4 กิจกรรมวันวิทยาศาสตรเปJนกิจกรรมที่สงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรค 4.36 มาก 
5 กิจกรรมวันวิทยาศาสตรมีความหลากหลาย 4.24 มาก 
6 นักเรียนหรือวิทยากรประจำฐานมีความเหมาะสม 4.22 มาก 
7 ครูในกลุมสาระฯวิทยาศาสตรใหความสนใจเอาใจใส 4.38 มาก 
8 การประชาสัมพันธ ในการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 4.07 มาก 
9 นักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 3.72 มาก 
10 ความรูที่ไดรับจากกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 4.34 มาก 
เฉลี่ย 4.25 
แปลผล มีความพึงพอใจอยูในระดับ มาก 
จากตาราง พบวา นักเรียนมีความพึงพอใจตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียน 
สมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังหราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธรโดยรวมอยูในระดับ 
มาก มีคาเฉลี่ย ( X =4.25) เมื่อพิจารณาเปJนรายขอพบวา ความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด 
เรียงลำดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย สามอันดับแรก ดังนี้ 1. นักเรียนรวมกิจกรรมอยางมีความสุข 
และเต็มใจ 2. นักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 3. ครูในกลุมสาระฯวิทยาศาสตร 
ใหความสนใจเอาใจใส
บทที่ 5 
สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 
การศึกษาคนควาในครั้งนี้เพื่อศึกษาความพึงพอใจกิจกรรมวันวิทยาศาสตร วันที่ 29 
สิงหาคม 2557 มีขั้นตอนในการศึกษาคนควา ดังนี้ 
1. ความมุงหมายของการศึกษา 
2. สรุปผลการศึกษาคนควา 
3. อภิปรายผล 
4. ขอเสนอแนะ 
ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จ 
พระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปRการศึกษา 
2557 ที่จัดในวันที่ 29 สิงหาคม 2557 
สรุปผลการศึกษาคนควา 
นักเรียนมีความพึงพอใจตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ใน 
พระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร โดยรวมอยูในระดับ มาก ( X =4.25) 
อภิปรายผล 
นักเรียนมีความพึงพอใจตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ใน 
พระสังหราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธรโดยรวมอยูในระดับ มาก มีคาเฉลี่ย ( X 
=4.25) เมื่อพิจารณาเปJนรายขอพบวา ความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด เรียงลำดับคาเฉลี่ยจาก 
มากไปหานอย สามอันดับแรก ดังนี้ 1. นักเรียนรวมกิจกรรมอยางมีความสุขและเต็มใจ 2. 
นักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 3. ครูในกลุมสาระฯวิทยาศาสตรใหความสนใจเอา 
ใจใส 
ขอเสนอแนะ 
- เวลาไมเพียงพอ 
- สนุกมากๆและไดความรูมากมายหลายอยาง 
- อยากใหมีการจัดลักษณะนี้อีก
บรรณานุกรม 
ดาราวรรณ อานันทนสกุล.การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของ 
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา 
ศาสตรมหาบัณฑิต 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น).ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2547 
ทัศนภรณ์ แสงศรีเรือง.ผลของกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา 
ศาสตร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น).ขอนแก่น 
บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2548 
http://portal.in.th/general-sci/pages/11591/
ภาคผนวก
ภาพกิจกรรมสัปดาหวันวิทยาศาสตร ญสส.

Contenu connexe

Similaire à รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57

รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...Dnavaroj Dnaka
 
สถาปนาโรงเรียน ผ้าป่า
สถาปนาโรงเรียน ผ้าป่าสถาปนาโรงเรียน ผ้าป่า
สถาปนาโรงเรียน ผ้าป่าkanidta vatanyoo
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดร
ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดรต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดร
ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดรkanidta vatanyoo
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57คมสัน คงเอี่ยม
 
กิจกรรมวันเข้าพรรษา 53
กิจกรรมวันเข้าพรรษา 53กิจกรรมวันเข้าพรรษา 53
กิจกรรมวันเข้าพรรษา 53kanidta vatanyoo
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯJaturapad Pratoom
 

Similaire à รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57 (20)

รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
 
V 302
V 302V 302
V 302
 
สถาปนาโรงเรียน ผ้าป่า
สถาปนาโรงเรียน ผ้าป่าสถาปนาโรงเรียน ผ้าป่า
สถาปนาโรงเรียน ผ้าป่า
 
V 282
V 282V 282
V 282
 
Binder1
Binder1Binder1
Binder1
 
Skillmapping
SkillmappingSkillmapping
Skillmapping
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดร
ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดรต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดร
ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดร
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
 
กิจกรรมวันเข้าพรรษา 53
กิจกรรมวันเข้าพรรษา 53กิจกรรมวันเข้าพรรษา 53
กิจกรรมวันเข้าพรรษา 53
 
V 304
V 304V 304
V 304
 
Port folio 1
Port folio 1Port folio 1
Port folio 1
 
V 274
V 274V 274
V 274
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
15 may 10 v 242
15 may 10 v 24215 may 10 v 242
15 may 10 v 242
 
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
V 278
V 278V 278
V 278
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Ed(1)
Ed(1)Ed(1)
Ed(1)
 

Plus de Dnavaroj Dnaka

ปัจจัยที่มีผลต่อการแตกหน่อของข่า
ปัจจัยที่มีผลต่อการแตกหน่อของข่าปัจจัยที่มีผลต่อการแตกหน่อของข่า
ปัจจัยที่มีผลต่อการแตกหน่อของข่าDnavaroj Dnaka
 
ข่าไล่แมลงวัน
ข่าไล่แมลงวันข่าไล่แมลงวัน
ข่าไล่แมลงวันDnavaroj Dnaka
 
น้ำสมุนไพรข่ารักษ์ภูมิปัญญาชุมชน
น้ำสมุนไพรข่ารักษ์ภูมิปัญญาชุมชน น้ำสมุนไพรข่ารักษ์ภูมิปัญญาชุมชน
น้ำสมุนไพรข่ารักษ์ภูมิปัญญาชุมชน Dnavaroj Dnaka
 
การปลูกข่า
การปลูกข่าการปลูกข่า
การปลูกข่าDnavaroj Dnaka
 
การปลูกข่า
การปลูกข่าการปลูกข่า
การปลูกข่าDnavaroj Dnaka
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557Dnavaroj Dnaka
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียวDnavaroj Dnaka
 

Plus de Dnavaroj Dnaka (8)

ปัจจัยที่มีผลต่อการแตกหน่อของข่า
ปัจจัยที่มีผลต่อการแตกหน่อของข่าปัจจัยที่มีผลต่อการแตกหน่อของข่า
ปัจจัยที่มีผลต่อการแตกหน่อของข่า
 
ข่าไล่แมลงวัน
ข่าไล่แมลงวันข่าไล่แมลงวัน
ข่าไล่แมลงวัน
 
น้ำสมุนไพรข่ารักษ์ภูมิปัญญาชุมชน
น้ำสมุนไพรข่ารักษ์ภูมิปัญญาชุมชน น้ำสมุนไพรข่ารักษ์ภูมิปัญญาชุมชน
น้ำสมุนไพรข่ารักษ์ภูมิปัญญาชุมชน
 
การปลูกข่า
การปลูกข่าการปลูกข่า
การปลูกข่า
 
การปลูกข่า
การปลูกข่าการปลูกข่า
การปลูกข่า
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
 

รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57

  • 1. รายงานผลการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ 29 สิงหาคม 2557 ปการศึกษา 2557 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ 29 สิงหาคม 2557 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
  • 2. การจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ 29 สิงหาคม 2557 ความเห็นของหัวหนากลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร …………………………………………….………………………………………………………… ………………………………….…………………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………….. (นางสาคร ทองเทพ) ………./…………………/…….. ความเห็นของรองผูอำนวยการฝ:ายวิชาการ …………………………………………….………………………………………………………… ………………………………….…………………………………………………………………… ………………………………………….…………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………….. (นายเชิดชัย สิงหคิบุตร) ………./…………………/…….. ความเห็นของผูอำนวยการโรงเรียน …………………………………………….………………………………………………………… ………………………………….…………………………………………………………………… ………………………………………….…………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………….. (นายชาติชาย สิงหพรหมสาร) ………./…………………/……..
  • 3. บทคัดยอ หัวข2อวิจัย การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร แหงชาติ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ผู2วิจัย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ปที่ทำการวิจัยเสร็จ พ.ศ. 2557 รายงานการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ จังหวัดยโสธร ครั้งนี้ มีความมุงหมาย เพื่อ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควา ไดแก นักเรียนที่รวมกิจกรรม ซึ่งไดกลุมทดลองจากการสุมอยางงาย (Simple Sampling) ซึ่ง แบงกลุมตัวอยางเปJนกลุมทดลอง จำนวน 83 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา ประกอบดวย แบบสอบถามความพึงพอใจที่ผูเรียนมีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร เปJนแบบมาตรา สวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ จำนวน 10 ขอ สถิติที่ใชในการวิเคราะห ขอมูล คือ คาเฉลี่ย ผลการศึกษาคนควาพบวา นักเรียนมีความพึงพอใจตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ใน พระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร โดยรวมอยูในระดับ มาก
  • 4. กิตติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้สำเร็จสมบูรณไดดวยความกรุณาและความชวยเหลืออยาง สูงยิ่ง จากนายชาติชาย สิงหพรหมสาร ผูอำนวยการโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูป ถัมภ จังหวัดยโสธร และนายเชิดชัย สิงหคิบุตร รองผูอำนวยการโรงเรียน ขอขอบคุณคณะครูอาจารยกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ทุกคนที่มีสวนรวม กิจกรรมวัน วิทยาศาสตร ในครั้งนี้ ขอขอบคุณ ครูอาจารยโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ทุกทานที่สละ เวลาในการจัดกิจกรรมและขอบใจนักเรียนทุกคนที่มีสวนรวมในการทำกิจกรรมและประเมินความพึง พอใจ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ปRการศึกษา 2557
  • 5. สารบัญ บทที่ หนา บทคัดยอ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค 1 บทนำ ............................................................................................................................. 1 ภูมิหลัง ..................................................................................................................... 1 ความสำคัญของศึกษาคนควา ................................................................................. 1 ขอบเขตของการศึกษาคนควา ................................................................................. 2 นิยามศัพทเฉพาะ ...................................................................................................... 2 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ....................................................................................... 3 ความพึงพอใจที่มีตอกิจกรรมคายทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร ............................. 3 3 วิธีดำเนินการศึกษาคนควา ............................................................................................. 14 ประชากรและกลุมตัวอยาง ....................................................................................... 14 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา ..................................................…………......... 14 วิธีดำเนินการสรางเครื่องมือในการศึกษาคนควา ....................................................... 15 สถิติที่ใชในการคนควา ............................................................................................. 16 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ................................................................................................... 18 สัญลักษณที่ใชในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ............................................... 18 ลำดับขั้นในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ....................................................... 18 ผลการวิเคราะหศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมคายฯ ……......... 19
  • 6. สารบัญ บทที่ หนา 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ......................................................................... 20 ความมุงหมายของการศึกษาคนควา .......................................................................... 20 สรุปผลการศึกษาคนควา .......................................................................................... 20 อภิปรายผล ................................................................................................................ 21 ขอเสนอแนะ ............................................................................................................. 16 บรรณานุกรม .................................................................................................................... 22 ภาคผนวก ........................................................................................................................ 23 แบบสอบวัดความพึงพอใจของนักเรียน .................................................................... รูปภาพบรรยากาศการจัดกิจกรรม................................................................................ โครงการกิจกรรมคายทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร……………………………………..
  • 7. บทที่ 1 บทนำ ภูมิหลัง (กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ: 2546) วิทยาศาสตร คณิตศาสตร มีบทบาทสำคัญยิ่งใน สังคมโลกปYจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวของกับชีวิตของทุกคน ทั้งในการดำรงชีวิต ประจำวันและในงานอาชีพตางๆ เครื่องมือเครื่องใชเพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและในการทำงาน ลวนเปJนผลของความรูวิทยาศาสตร ผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอื่นๆ ความรู วิทยาศาสตรชวยใหเกิดองคความรูและความเขาใจในปรากฏการณธรรมชาติมากมายมีผลใหเกิดผล การพัฒนาทางเทคโนโลยีอยางมาก ในทางกลับกันเทคโนโลยีที่มีสวนสำคัญมากที่จะใหมีการศึกษา คนควาความรูทางวิทยาศาสตรตอไปอยางไมหยุดยั้ง ผลการทดสอบระดับชาติ(o-net) วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ตั้งแต ปR 2552 – 2555 ผลสัมฤทธิ์ทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ระดับโรงเรียนมีระดับคะแนนต่ำกวาระดับประเทศ จำเปJนตองมีการปรับปรุงและพัฒนานักเรียนใหมีคุณภาพสูงขึ้นอยางเรงดวน จากหลักการดังกลาวขางตน กระบวนการเรียนการสอนของครูตองมีการพัฒนาและ ปรับปรุงใหมีคุณภาพและมาตรฐานมากขึ้นกวาเดิม เปลี่ยนวิธีการเรียนปรับกระบวนการสอนของครู เนนใหนักเรียนมีสื่อการเรียนรูที่หลากหลายมีกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อกระตุนใหนักเรียนเกิดการ เรียนรู และมีการจัดกิจกรรมที่ใหนักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของวิทยาศาสตรและสามารถ นำไปใชในชีวิตประจำวันได ดังนั้นกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ จึงเปJนกิจกรรมหนึ่งที่จะสงผลใหนักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นและนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร ความมุงหมายของการศึกษาค2นคว2า เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ จังหวัดยโสธร วันที่ 16 กรกฎาคม 2556 ขอบเขตของการศึกษาคนควา กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ไดแก นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร นักเรียน 95 คนที่รวมกิจกรรมในครั้งนี้ ภาคเรียนที่ 1 ปRการศึกษา 2557 ไดมาโดยสุมตัวอยาง
  • 8. นิยามศัพทเฉพาะ ความพึงพอใจที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร ปRการศึกษา 2557 หมายถึง ความรูสึกชอบ หรือไมชอบที่นักเรียนมีตอการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร จำนวน 10 ขอ ที่ผูศึกษาคนควา พัฒนาขึ้น
  • 9. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข2อง การศึกษาความพึงพอใจที่มีตอการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระ ญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปRการศึกษา 2557 วันที่ 29 สิงหาคม 2557 มีเอกสารที่เกี่ยวของ ดังนี้ ความพึงพอใจที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร การจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ ความพึงพอใจที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูป ถัมภ จังหวัดยโสธร 1. ความหมายของความพึงพอใจ มีนักการศึกษาทั้งในและตางประเทศไดให ความหมายเกี่ยวกับความพึงพอใจในการเรียนรูไว ดังนี้ มอรส (สังคม ไชยเมืองสง 2547 : 43 อางอิงจาก Morse. 1955 : 27 ) ไดใหความหมายไววา ความพึงพอใจหมายถึงทุกสิ่งทุกอยางที่สามารถถอดความเครียดของผูที่ทำงาน ใหลดนอยลง ถาเกิดความเครียดมากจะทำใหเกิดความไมพอใจในการทำงาน และความเครียดนี้มี ผลจากความตองการของมนุษย เมื่อมนุษยมีความตองการมากจะเกิดปฏิกิริยาเรียกรองหาวิธี ตอบสนอง ความเครียดก็จะลดนอยลง สเตราส และเซเลส (สังคม ไชยเมืองสง 2547 : 43 อางอิงจาก Strarss and Saylcs. 1960 : 5-6) ไดใหความเห็นวา ความพึงพอใจเปJนความรูสึกพอใจในงานที่ทำ เต็มใจที่ จะปฏิบัติงานนั้นใหสำเร็จตามวัตถุประสงค กูiด (สังคม ไชยเมืองสง 2547 : 43 อางอิงจาก Good. 1973 : 161) ไดให ความหมายไววา ความพึงพอใจหมายถึงสภาพหรือระดับความพึงพอใจที่เปJนผลมาจากความสนใจ และเจตคติของบุคคลที่มีตองาน จากความหมายของ ความพึงพอใจ ที่มีผูใหความหมายไวขางตน ผูศึกษาคนควา พอจะสรุปไดวา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกนึกคิดที่ดีของบุคคลที่มีตอการทำงานหรือการ ปฏิบัติกิจกรรมในเชิงบวก ความรูสึกพอใจ ชอบใจในการรวมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน 2. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับความพึงพอใจ สกiอตต (สังคม ไชยสงเมือง 2547 : 44 อางอิงจาก Scott. 1970 : 124) ได เสนอความคิดในเรื่องการจูงใจใหเกิดความ พึงพอใจตอการทำงานที่จะใหผลในเชิงปฏิบัติ มีลักษณะดังนี้ 1. งานควรมีสวนสัมพันธกับความปรารถนาสวนตัว และมีความหมาย สำหรับผูทำงานนั้นตองมีการวางแผนและวัดความสำเร็จได โดยใชระบบการทำงาน และการควบคุม ที่มีประสิทธิภาพ
  • 10. 2. เพื่อใหไดผลในการสรางสิ่งจูงใจภายในเปkาหมายของงาน จะตองมีลักษณะ ดังนี้ 2.1 คนทำงานมีสวนในการตั้งเปkาหมาย 2.2 ผูปฏิบัติไดรับทราบผลสำเร็จในการทำงานโดยตรง 2.3 งานนั้นสามารถทำใหสำเร็จได เมื่อนำแนวคิดนี้มาประยุกตใชกับการจัดกิจกรรมเรียนการสอน นักเรียนมีสวนเลือก เรียนตามความสนใจ และมีโอกาสรวมกันตั้งจุดประสงคหรือความมุงหมายในการทำกิจกรรมไดเลือก วิธีแสวงหาความรูดวยวิธีที่ผูเรียนถนัดและสามารถคนหาคำตอบได แคทซ (อรพิน จิรวัฒนศิริ. 2541 : Web Site ; อางอิงมาจาก katz. 1983 : 163) ไดกลาวถึง ทฤษฎีการใชประโยชน และความพึงพอใจจากสื่อ เปJนทฤษฏีที่ใหความสำคัญกับผูบริโภค (Consumer) หรือผูรับสาร (Reciver) โดยผูรับสารจะอยูในฐานะเปJนผูกระทำการเลือกใชสื่อ (Active Selector of Media Communication) ซึ่งนับไดวา เปJนมุมมองที่แตกตางไปจากทฤษฎีเดิมที่ไมใหความสำคัญกับผูรับ สารเพราะแตเดิมผูรับสารถูกมองวาเปJนเปJนผูถูกกระทำ ดังนั้น สมมุติฐานของทฤษฎีการใช ประโยชนและความพึงพอใจในการสื่อสาร ผูสงสารจึงไมอาจคาดหมายความสัมพันธระหวางขาวสาร กับประสิทธิผลของการสื่อสาร ผูสงสารจึงไมอาจคาดหมายความสัมพันธระหวางขาวสารกับ ประสิทธิผลของการสื่อการ เพราะทามกลางความสัมพันธของตัวแปรทั้งสอง มีปYจจัยดานการใชสื่อ ของผูรับสารเขามาเปJนตัวแปรแทรกซอนของกระบวนการสื่อสาร แคทซ ไดทำการศึกษาและอธิบาย เรื่องการใชประโยชนและการไดรับความพึงพอใจจากสื่อ ดังภาพประกอบ 4 สภาวะทางจิตใจ และสังคม (ซึงก่อให้เกิด) ภาพประกอบ 1 การใชประโยชนและการไดรับความพึงพอใจจากสื่อ สภาวะทางจิตใจ และสังคม (ซึงก่อให้เกิด) ทั้งนี้ ปYจจัยที่เขามาเกี่ยวของกับผูรับสารซึ่งแคทซและคณะใหความสนใจ คือ 1. สภาพทางสังคมและลักษณะทางจิตวิทยาของผูรับสาร (The Social and Psychological Origins) 2. ความตองการ และความคาดหวังในการใชสื่อของผูรับสาร (Need, Ex-pectation of the Mass Media) ความคาดหวัง จากสือ มวลชนหรือ แหล่งข่าวสารอืน ๆ เปิดรับสือมวลชนสือหรือแหล่ง ข่าวสารรูปแบบต่าง ๆ (อันก่อให้ผล คือ) การได้รับความพึงพอใจ ตามทีต้องการ ผลอืน ๆ ทีตามมา(ทีไม่ได้ มุ่งหวังได้)ตามทีต้องการ
  • 11. สองปYจจัยนำไปสูพฤติกรรมการเป}ดรับของผูรับของผูรับสารที่แตกตางกัน อันเปJนผลมาจาก ความพึงพอใจที่แตกตางกัน และเนื่องจากทฤษฎีใหความสนใจกับบทบาทของผูรับสารวาเปJนผู เลือกใชสื่อ ไดมีการศึกษาถึงปYจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับผูรับสาร ( เชน รายได การศึกษา ) โดย ทั้งสองปYจจัยนี้ ไดรับพิจารณาวา นำมาซึ่งเวลาวางในการเป}ดรับสื่อ ( Free Time of Media Use )ขณะเดียวกันสภาวะทางสังคม และจิตใจที่ตางกัน กอใหมนุษยมีความตองการแตกตางกันไป ความตองการที่แตกตางกันนี้ทำใหแตละคนคาดคะเนสื่อแตละประเภทเพื่อสนองตอบความพึงพอใจ ไดแตกตางกันไปดวย เฮอรเบอรก (สังคม ไชยสงเมือง 2547 : 45-46 อางอิงจาก Herberg. 1959 : 113-115) ไดทำการศึกษาคนควาทฤษฎีที่เปJนมูลเติมที่ทำใหเกิดความพึงพอใจ เรียก The Motivation Hygiene Theory ทฤษฎีนี้ไดกลาวถึงปYจจัยที่ทำใหเกิดความพึงพอใจในการทำงาน 2 ปYจจัย คือ 1. ปYจจัยกระตุน (Motivation Fact) เปJนปYจจัยที่เกี่ยวกับการงาน ซึ่งมีผล กอใหเกิดความพึงพอใจในการทำงาน 2. ปYจจัยค้ำจุน (Hygien Factors) เปJนปYจจัยที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในการทำงาน และมีหนาที่ใหบุคคลเกิดความพึงพอใจในการทำงาน ในการดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ความ พึงพอใจเปJนสิ่งสำคัญที่จะกระตุนใหผูทำงานที่ไดรับมอบหมาย หรือตองการปฏิบัติใหบรรลุผลตาม วัตถุประสงค ครูผูสอนซึ่งในสภาพปYจจุบันเปJนเพียงผูอำนวยความสะดวก หรือใหคำแนะนำปรึกษา ถึงความพึงพอใจในการเรียนรู การทำใหผูเรียนเกิดความพึงพอใจในการเรียนรู หรือการปฏิบัติงานมี แนวคิดพื้นฐานที่ตางกัน 2 ลักษณะ คือ 2.1 ความพึงพอใจนำไปสูการปฏิบัติงาน การตอบสนองความตองการผูปฏิบัติงานจนเกิดความพึงพอใจ จะทำใหเกิด แรงจูงใจในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานที่สูงกวาผูไมไดรับการตอบสนอง ทัศนะตามแนวคิด ดังกลาว สามารถแสดงดังภาพประกอบ 5 (สมยศ นาวีการ. 2525 : 155) ความพึงพอใจของ ผู้ปฏิบัติงาน แรงจูงใจ การปฏิบัติงานทีมี ภาพประกอบ 5 ความพึงพอใจนำไปสูการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ ผลตอบแทนที ได้รับ ประสิทธิภาพ จากแนวคิดดังกลาว ครูผูสอนที่ตองการใหกิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปJนสำคัญบรรลุ ผลสำเร็จ จึงตองคำนึงถึงการจัดบรรยากาศ และสถานการณรวมทั้งสื่อ อุปกรณการเรียนการสอน ที่เอื้ออำนวยตอการเรียนการสอน เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของผูเรียนใหมีแรงจูงใจในการทำ กิจกรรมจนบรรลุตามวัตถุประสงคของหลักสูตร 2.2 ผลการปฏิบัติงานนำไปสูความพึงพอใจ ความสัมพันธระหวางความพึงพอใจ และผลการปฏิบัติงานจะถูกเชื่อมโยง ดวยปYจจัยอื่น ๆ ผลการปฏิบัติที่ดีจะนำไปสูผลตอบแทนที่เหมาะสมซึ่งในที่สุดจะนำไปสูการตอบ สนองความพึงพอใจ ผลการปฏิบัติงานยอมไดรับการตอบสนองในรูปของรางวัล หรือผลตอบแทน
  • 12. โดยผานการรับรูเกี่ยวกับความยุติธรรมของผลการตอบแทน ซึ่งเปJนตัวบงชี้ปริมาณของผลตอบแทน ที่ผูปฏิบัติงานไดรับ นั่นคือ ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานจะถูกกำหนดโดยความแตกตางระหวาง ผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง และการรับรูเรื่องเกี่ยวกับความยุติธรรมของผลตอบแทนที่รับรูแลว ความพึงพอใจจึงเกิดขึ้น (สมยศ นาวีการ. 2521 : 119) จากแนวคิดพื้นฐานดังกลาว เมื่อนำมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลตอบแทน ภายในหรือรางวัลภายในเปJนผลดานความรูสึกของผูเรียนที่เกิดขึ้นแกตัวผูเรียนเอง เชน ความรูสึก ตอ ความสำเร็จที่เกิดขึ้นเมื่อสามารถเอาชนะความยุงยากตางๆ และสามารถดำเนินงานภายใตความ ยุงยากทั้งหลายไดสำเร็จ ทำใหเกิดความภาคภูมิใจ ความเชื่อมั่น ตลอดจนไดรับการยกยองจาก บุคคลอื่น สวนผลตอบแทนภายนอก เปJนรางวัลที่ผูอื่นจัดหาใหมากกวาที่ตนเองใหตนเอง เชน การไดรับคำ ยกยองชมเชยจากครูผูสอน พอแม ผูปกครอง หรือแมแตการไดรับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในระดับที่นาพอใจ สรุปไดวา ความพึงพอใจในกิจกรรม และผลการเรียนจะมีความสัมพันธกันในทางบวก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ กิจกรรมที่ผูเรียนไดปฏิบัตินั้น ทำใหผูเรียนไดรับการตอบสนองความตองการดาน รางกายและจิตใจ ซึ่งเปJนสวนที่จะทำใหเกิดความสมบูรณของชีวิตมากนอยเพียงใด นั่นคือ สิ่งที่ ครูผูสอนจะคำนึงถึงองคประกอบตางๆ ในการเสริมสรางความพึงพอใจในการเรียนรูใหกับผูเรียน การจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ เป9นการจัดกรรมลักษณะเหมือนคายวิทยาศษ สตร คือ มีการจัดกิจกรรมเป9นฐาน ดังนั้นจึงนำทฤษฎี และหลักการของคายมาใช2ในการจัด กิจกรรม ดังนี้ คายวิทยาศาสตรคืออะไร คายวิทยาศาสตร เปJนการจัดกิจกรรมใหแกผูเรียนที่มีความสนใจทางดานวิทยาศาสตรได มีโอกาสเขารวมกิจกรรม ณ ที่ใดที่หนึ่ง ตามหลักสูตรและเวลาที่กำหนด ซึ่งกิจกรรมที่จัดใหผูเรียน ชวยเพิ่มพูนความรู ประสบการณ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และเจตคติทางวิทยาศาสตรใน สภาพแวดลอมจริง ซึ่งอาจอยูในลักษณะคายพักแรม (ดาราวรรณ อานันทนสกุล,2547) กิจกรรมคายวิทยาศาสตร หมายถึง กิจกรรมการเรียนรูทางวิทยาศาสตรที่จัดขึ้นเพื่อที่จะ ชวยเพิ่มพูนความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเจตคติทางวิทยาศาสตรในสภาพแวดลอม จริงหรืออาจพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่เพื่อรับประสบการณตรงซึ่งประสบการณบางอยางไม สามารถจัดในหองเรียนได นักเรียนที่มารวมกิจกรรมมีการพักแรมรวมกัน ณ ที่ใดที่หนึ่งเพื่อใหเกิด ปฏิสัมพันธที่ดีตอกัน (ทัศนภรณ แสงศรีเรือง,2548) จากแนวคิดขางตน ผูเขียนสรุปไดวา คายวิทยาศาสตรก็คือการสรางประสบการณ ทางการเรียนรูที่ใหเกิดขึ้นกับผูเรียน โดยจัดใหมีการอยูคายรวมกันของนักเรียน เพื่อรวมกันเรียนรูและ สรางประสบการณที่ดีไมวาจะเปJนดานทักษะ ดานกระบวนการและเจตคติที่ดีทางวิทยาศาสตร นักเรียนจะได2อะไรจากคายวิทยาศาสตร การเขาคายวิทยาศาสตรนั้นหลาย ๆ คน คิดวาก็คงเหมือนเขาคายพักแรม แตหากมองดี ๆ แลวก็จะพบวาคายวิทยาศาสตรก็แตกตางจากคายพักแรมอยูไมนอย ทั้งความรูและประสบการณที่
  • 13. ในหองเรียนครูคงจัดใหไมได กิจกรรมที่ผูเรียนมีบทบาทตอการเรียนรู หรือคิดแกปYญหาและหาคำตอบ ดวยตนเอง สิ่งหนึ่งที่ผูคิดคาดวาผูเรียนจะไดรับจากคายวิทยาศาสตรมีดังจะกลาวตอไปนี้ คิดเป9น ทำเป9น คายวิทยาศาสตรเปJนเสมือนหองเรียน หองหนึ่งแตไมใชหองสี่เหลี่ยมที่ แสนจะนาเบื่อหนายของนักเรียน คายวิทยาศาสตรนั้นนักเรียนจะไดปฏิบัติ ลงมือทำและคิดเอง เชน มี โจทยวา มีอุปกรณอยูหนึ่งกลอง ใหประดิษฐสิ่งของและมีทฤษฎีทางวิทยาศาสตรที่สามารถอธิบายได นักเรียนจะตองคิดวาจะทำอะไรดี ทำอยางไร และการทำงานที่ดีนักเรียนจะตองรูจักการวางแผน ซึ่ง ในโลกความเปJน จริงสิ่งเหลานี้นักเรียนคงยากที่จะหลีกเลี่ยง และสิ่งหนึ่งที่ผูเรียนจะไดเรียนรูคือ สิ่งที่ อยูรอบ ๆ ตัวของนักเรียนนั้นไมมีความครบถวนสมบูรณเสมอไป ฉะนั้นจำเปJนที่จะตองรูจักคิด และทำ เพื่อสรางสรรคใหสิ่งที่ตนตองการนั้นเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงประโยชนและคุณคาที่จะไดรับเปJนหลัก ความคิดริเริ่ม สร2างสรรค ซึ่งเปJนการคิดระดับสูง และสำคัญยิ่งตอการเรียนรู วิทยาศาสตร แตการสรางสรรคนั้นก็ตองเปJนการสรางสรรคในสิ่งที่มีคุณคา ในคายวิทยาศาสตรมักจะ ใหนักเรียนไดริเริ่มทำเอง ซึ่งบอยครั้งที่นักเรียนตองคิดหาแนวทางในการแกปYญหาที่พบ ซึ่งการคิด ริเริ่มสรางสรรคจะเกิดไดดีในสภาพที่นักเรียนพรอมและสนุกที่จะเรียนรูในสิ่งที่นักเรียนเองมีความ สนใจ คิดอยางเป9นระบบ ในแตละครั้งที่มีการทำงาน ก็ตองมีการวางแผน หากแผนที่วางไว อยางเปJนระบบดีแลวก็ยอมที่จะดำเนินกิจกรรมไดอยางราบรื่นและรวดเร็ว ผลก็จะทำใหการแกปYญหา นั้นคลี่คลายไปดวยดี การรู2จักใช2เหตุ ใช2ผล โดยธรรมชาติของวิทยาศาสตรแลวจะหลอหลอมใหคนมีเหตุผล ฉะนั้นคายวิทยาศาสตรก็จะสามารถหลอหลอมใหนักเรียนรูจักใชเหตุและผลในการตัดสินใจ โดยการ ตัดสินใจนั้นก็ตองอยูบนความเปJนไปไดตามขอมูลหรือสถานการณในขณะนั้นที่นักเรียนกำลังประสบ ได2รับความรู2และเกิดการบูรณาการความรู2 กิจกรรมในคายนอกจากนักเรียนจะได เรียนรูแลว นักเรียนยังจะตองนำความรูแขนงตาง ๆ มาปรับใชและเชื่อมโยงเขาดวยกัน เพื่อที่จะ แกปYญหาเหลานั้น หรือเพื่อใชในการเรียนรูในสิ่งใหม รู2จักการใช2ชีวิตและทำงานรวมกับผู2อื่น สิ่งหนึ่งที่ผูเรียนจะไดรับบทบาทหนาที่ที่จะ ไดรับเมื่อมีการทำงานรวมกับผูอื่น ซึ่งจะเปJนฝ‚กนักเรียนไดวาการที่เราเขามามีบทบาท สิ่งหนึ่งที่จะ ตามมาดวยคือความรับผิดชอบ ในการทำงานรวมกับผูอื่นนั้นจะสรางความเปJนผูนำและผูตามให เกิดขึ้น และที่สำคัญระเบียบวินัย หรือกฏเกณฑจะถูกสรางขึ้นเมื่อมนุษยมาอยูรวมกันอยางเปJนปกติ สุข ในการอยูคายนั้นจะสอนใหนักเรียนรูวาการรักษาระเบียบวินัยถือเปJนเรื่องสำคัญยิ่งในการอยู รวมกับผูอื่น ความสนุกสนาน เปJนความสุขและความประทับใจที่จะหาไดจากชีวิต คายวิทยาศาสตร จำเปJนตองสรางความสนุกสนานใหเกิดเพื่อที่จะเปJนแรงจูงใจและกระตุนใหนักเรียนเกิดการเรียนรู วัตถุประสงคของการจัดคายวิทยาศาสตร ไมวาจะจัดการเรียนการสอนแบบไหน สิ่งที่หนึ่งที่ครูจำเปJนตองคำนึงถึงเสมอคือ เรา จัดการเรียนการสอนแบบนั้นเพื่ออะไร นอกจะเราจะไดเปkาหมายในการจัดการเรียนการสอนแลว ครู ยังไดแนวคิดในการจัดกิจกรรมดี ๆ ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร เพื่อใหนักเรียนไดสนุกกับสิ่งที่ นักเรียนไดเรียนรู ซึ่งคายวิทยาศาสตรเองก็ไดมี สำหรับวัตถุประสงคในการจัดคายวิทยาศาสตร ก็ไดมี ผูนำเสนอไวหลายประเด็น ดังจะนำเสนอตอไปนี้
  • 14. 1. เพื่อเป}ดโอกาสใหผูเรียนไดสัมผัส เรียนรูดวยประสบการณตรงที่เปJนสถานการณจริง จากแหลงเรียนรูในที่อยูในสภาพแวดลอมจริง และที่สำคัญทำใหผูเรียนไดมีโอกาสในการทำ กิจกรรมที่หลากหลาย 2. เพื่อสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนากระบวนการคิดระดับสูง ไดแก กระบวนการคิด แกปYญหา กระบวนการคิดสังเคราะห กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ และมี ความสามารถในการตัดสินใจ 3. เพื่อสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะการสื่อสารมีปฏิสัมพันธกับผูอื่น ตลอดจน ความสามารถในการรวมมือ รูจักการปรับตัวใหเขากับผูอื่น การชวยเหลือซึ่งกันและกันการ รวมมือรวมใจในการเรียนรูและทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค 4. เพื่อสงเสริมความเปJนผูนำและเปJนสมาชิกที่ดี มีความสามารถในการตัดสินใจอยาง ถูกตองและมีความสมเหตุสมผล 5. เพื่อสงเสริมและพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร พัฒนาความรูและการประยุกต ความรูทางวิทยาศาสตรในทางที่สรางสรรค และเหมาะสม 6. เพื่อปลูกฝYงความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่ เปJนไทยพรอมที่จะมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน 7. สรางเจตคติที่ดีและตระหนักถึงความสำคัญของวิทยาศาสตร ซึ่งเปJนสิ่งสำคัญมาก 8. เพื่อใหผูเรียนรูจักการใชเวลาวางในทางที่เหมาะสม และเกิดประโยชน 9. เพื่อใหผูเรียนไดจักความเสียสละ ตรงตอเวลา รับผิดชอบตอผูอื่น คายที่จัดจะออกมาในลักษณะใด ทั้งนี้และทั้งนั้นก็ตองเปJนไปตามวัตถุประสงคของการ จัดคายเปJนสำคัญ เพราะนอกจะไดแนวทางในการจัดแลว วัตถุประสงคก็ยังสามารถชวยใหผูจัดคาย สามารถวางแผนดานงบประมาณ การจัดกิจกรรมและทีมงานไดเปJนอยางดี รูปแบบการจัดคายวิทยาศาสตร รูปแบบและลักษณะคายวิทยาศาสตรก็มีความหลากหลายดวยกัน และไมมีรูปแบบที่ แนนอนตายตัว ซึ่งจากระบบการเรียนการสอนที่เนนใหเด็กไดลงมือทำ และเรียนรูดวยตนเอง จำเปJนที่ จะตองมีการจัดกิจกรรมที่นักเรียนไดทำจริง การจัดคายนั้นก็จำเปJนจะตองคำนึงถึงจำนวนนักเรียนที่ เขารวมดวย ทั้งนี้ก็เพื่อใหการจัดกิจกรรมเปJนไปอยางทั่วถึง นักเรียนทุกคนมีโอกาสในการเรียนรูโดย เทาเทียมกัน ในการจัดกิจกรรมที่เนนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติก็เชนกิจกรรมการทดลอง หากตองการ ใหนักเรียนพิสูจนกฎทางวิทยาศาสตร ก็จะตองใหนักเรียนตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง เก็บ ขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปผลการทดลอง และที่สำคัญตองการนำเสนอในสิ่งที่ตนเองไดเรียนรู หาก รูปแบบคายวิทยาศาสตรเปJนในลักษณะนี้ ก็จะทำใหนักเรียนไดเรียนรูวิธีการในการแกปYญหา ฝ‚ก กระบวนการทำงานอยางเปJนระบบ และฝ‚กทักษะทางวิทยาศาสตรไดเปJนอยางดี ตัวอยางก็เชน คาย โครงงานวิทยาศาสตร แตหากเปJนการจัดคายแบบสำรวจ หรือศึกษาระบบนิเวศ ก็คงตองพานักเรียนเขาไป เรียนรูในแหลงการเรียนรูจริง หรือจัดสภาพแวดลอมขึ้นใหคลายคลึงกับสภาพจริง ซึ่งก็จะเปลี่ยน บรรยากาศการเรียนรูไดเปJนอยางดี เพราะนักเรียนจะไดเห็นของจริง เขาใจในระบบนิเวศ และ มองเห็นความสัมพันธและกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบนั้น ๆ อีกทั้งการจัดคายในลักษณะนี้ หากมีผูเชี่ยวชาญ หรือปราชญในดานนั้นมาเปJนผูนำศึกษาแลว ก็จะทำใหบรรยากาศการเรียนรูตื่นเตน และสนุกมากยิ่งขึ้น เนื่องปราชญยอมมีความรูและเชี่ยวชาญในเรื่องที่สอนเปJนอยางดี และรูวาสิ่งที่
  • 15. นักเรียนนาจะเรียนรูคืออะไร ตัวอยางก็เชน คายวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมรุนเยาว คายดูนก คายดูดาว (คายดาราศาสตร) คายศึกษาแมลง จากที่กลาวมานั้นรูปแบบคายที่จัดขึ้นอาจจะมีการพักแรม หรือไมก็ได ทั้งนี้ก็ขึ้นกับ วัตถุประสงคในการจัดคายนั้น ๆ ระยะเวลา และที่สำคัญคืองบประมาณที่ใชในการจัดกิจกรรม ประการสำคัญที่จะกำหนดลักษณะคายก็คือเปkาหมายหรือวัตถุประสงคในการจัดคายแตละครั้ง ฉะนั้น สำหรับผูที่จะจัดคายวิทยาศาสตรก็คงจะตองมองในประเด็นเหลานี้ เพื่อเปJนแนวทางในการจัดสินใจ แนวทางในการจัดคายวิทยาศาสตร แนวทางในการจัดคายวิทยาศาสตรนั้น ก็ขึ้นอยูกับความสามารถและประสบการณใน การจัดการของผูจัดคายเอง แตแนวทางที่โดยทั่วไปก็จะประกอบดวยขั้นตอนโดยคราว ๆ ดังจะกลาว ตอไปนี้ ขั้นการเตรียมการ นับวาการวางแผนที่ดีจะนำพาไปสูความสำเร็จไดกวาครึ่ง และก็ตอง ไดรับความรวมมือจากบุคคลและหนวยงานหลายฝ:าย เพื่อกำหนดวัตถุประสงค วางแผนกำหนดการ แตงตั้งคณะดำเนินงานฝ:ายตาง ๆ เพื่อรวมกันกำหนดสถานที่ เวลาและกำหนด Theme ของคาย ขั้นดำเนินกิจกรรม ในการดำเนินงานจำเปJนตองมีความยึดหยุนตามความเหมาะสม เพราะหากมีปYญหาเกิดเหตุการณไมคาดฝYนขึ้นจะสงผลใหการดำเนินงานตองหยุดชะงัก หรือติดขัด และหลาย ๆ ฝ:ายก็จำเปJนตองรับผิดชอบตามที่ตนนั้นไดรับความไววางใจใหปฎิบัติงานในสวนของ ตนเอง ขั้นประเมินผล การที่จะทราบวาผลการจัดคายนั้น เรียบรอย และตรงตามจุดประสงคก็ ควรที่จะมีการประเมินผล ประการแรกที่ควรทำการประเมิน คือ การประเมินความพึงพอใจใน กิจกรรมคายวิทยาศาสตร เพราะนั่นคือสิ่งที่ทำใหผูเรียนที่รวมกิจกรรมเกิดความประทับใจและมี ความสุขในการรวมกิจกรรมในโอกาสตอ ๆ ไป ซึ่งก็นับวาเปJนจุดเริ่มตนที่ดีที่จะทำใหผูเรียนรักการ เรียนรู และที่จะลืมไมไดคือการประเมินผลการเรียนรูและประสบการณมี่นักเรียนไดรับ ทั้งนี้ผลที่ได จากการประเมินก็เปJนประโยชนสำหรับการปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมในโอกาสตอ ๆ ไป กิจกรรมที่จัดขึ้นในคาย สำหรับกิจกรรมที่จะจัดขึ้นในคายก็สามารถแบงไดเปJน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ กิจกรรม วิชาการ และกิจกรรมสันทนาการ เพราะการเขาคายนั้นนอกจากสาระแลวนักเรียนควรมีความสุขดวย ไมเชนนั้นบรรยากาศมันคงไมแตกตางจากเรียนในหองเสียเทาไหร คงไมนักเรียนคนไหนอยากมีเขา คายที่ตองมานั่งฟYงบรรยายทั้งภาคเชาและบายคราวละ 3 ชั่วโมง สำหรับกิจกรรมดานวิชาการนั้น ก็ควรคำนึงถึงสิ่งตอไปนี้  กิจกรรมที่จัดขึ้นนั้นมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคของการจัดคายหรือไม  กิจกรรมที่จัดขึ้นนั้น มีสิ่งที่แปลกใหมจากที่เคยจัดในหองเรียนหรือไม ทั้งนี้ก็เพื่อสรางใหม ประสบการณแกนักเรียน  กิจกรรมนั้นนักเรียนมีบทบาทสำคัญในการเรียนรูดวยตนเองหรือไม  กิจกรรมนั้นมีความสนุก กระตุนใหนักเรียนเกิดการเรียนรูที่ดีหรือไม  กิจกรรมวิชาการที่จัดนั้น ก็สามารถแบงไดเปJนหลากหลายรูปแบบ ดังจะไดกลาว ตอไปนี้ กิจกรรมที่ลงมือปฏิบัติหรือการแก2ปAญหาที่ประสบจากชีวิตจริง โดย กิจกรรมที่มีนั้นควรพิจารณาถึงความเหมาะสมในหลาย ๆ ดาน ไมวาจะเปJนความปลอดภัย เปJนเหตุการณที่มีโอกาสประสบไดจริงในชีวิตประจำวัน เพื่อที่จะทำใหนักเรียนไดรับ
  • 16. ประสบการณอันเปJนประโยชนที่สามารถนำไปประยุกตใชในการดำรงชีวิตของตน ได กิจกรรมประเภทที่ใช2พัฒนาความคิดในระดับสูง ซึ่งจะเปJนกิจกรรมที่ นักเรียนจะไดมีสวนรวมอยางเต็มที่ในการชวยกันคิดหาทางในการแกปYญหาตามสถานการณ จำลองที่ครูไดจัเตรียมไว หรือเหตุการณเฉพาะหนาที่นักเรียนเองอาจจะประสบในระหวางทำ กิจกรรมโดยกิจกรรมนี้จะเนนใหเห็นถึงกระบวนการทำงานกลุมไดเปJนอยางดี และสมาชิก ภายในกลุมก็ตองชวยกันวางแผนในการแกไขปYญหา กิจกรรมที่มีการสร2างสรรคผลงาน ซึ่งกิจกรรมนี้จะฝ‚กใหนักเรียนมีความคิด สรางสรรค ซึ่งปYจจุบนการพัฒนาใหนักเรียนมีกระบวนการคิดนั้นสำคัญมาก และหลาย ๆ หนวยงานก็พยายามที่เขามามีสวนรวมในการพัฒนาใหเด็กไทยเปJนผูที่คิดเปJน แตกิจกรรมที่ใชใน การพัฒนากระบวนการคิดสรางสรรคของนักเรียนนั้นตองเปJนกิจกรรมที่เกิดประโยชนและ สามารถใชไดจริงดวย  กิจกรรมนั้นตองมีการสรางและปลูกฝYงเจตคติที่ดี และเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร และเกิดความภาคภูมิใจในทองถิ่นของตน  สำคัญที่สุด คือ กิจกรรมตองมีความปลอดภัยทั้งตอนักเรียนและผูที่เกี่ยวของ ในสวนของกิจกรรมสันทนาการนั้น เปJนกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อควาสนุกสนาน คลายเครียด สงเสริมความกลาแสดงออก ความสามัคคีและความเปJนผูนำ กิจกรรมสันทนาการที่นำมาใชนั้นควร เปJนกิจกรรมที่สรางความสัมพันธอันดีระหวางสมาชิกในคาย และมีความสรางสรรค กิจกรรมที่ใชใน การสันทนาการก็เชน การรองเพลง การเลนเกมส โดยในการเลนเกมสนั้นก็มีสวนในการฝ‚กทักษะ หลาย ๆ ดานใหกับนักเรียน เชน ทักษะทางประสาทสัมผัส ทักษะการสังเกต ทักษะการฟYง ไหวพริบ หรือแมกระทั่งเชาวปYญญา ซึ่งในการเลือกเกมสมาเลนนั้น ก็ตองคำนึงชวงวัยของนักเรียนเพื่อ ความสำเร็จของการเลนนั้น การเลนกีฬา ก็ถือวาเปJนกิจกรรมสันทนาการไดเชนกัน สำหรับกีฬาที่ใช นั้นก็ไมควรมีกฏเกณฑยุงยากมาก และทุกคนมีสวนรวม ทั้งนี้ก็เพื่อใหนักเรียนไดผอนคลาย ความเครียดทางกิจกรรมและเปJนการออกกำลังสงเสริมสุขภาพ และประการสุดทายคือการแสดงละคร ก็สามารถทำไดเชนกัน อาจจะเปJนกิจกรรมรอบกองไฟ หรือละครสั้น ๆ โดยการแสดงนั้นจะฝ‚ก ความคิดสรางสรรค และความกลาแสดงออกไดเปJนอยางดี ตัวอยางการแสดงก็เชน การแสดงนิทาน ดวงดาว การแสดงละครที่ใหแงคิดตาง ๆ หรือการแสดงละครแนวสืบสวนสอบสวน (วิทยาศาสตร) เปJนตน ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับประเภทของคาย หรือเปkาหมายที่ครูผูจัดตองใหการใหนักเรียนไดแสดงออก สำหรับเวลาที่ใชในการจัดกิจกรรมสันทนาการนั้น ก็ขึ้นอยูกับความเหมาะและกำหนดการของคาย โดยสวนใหญก็จะประมาณ 5-10 นาที กอนหรือหลังการจัดกิจรรม คั่นระหวางการเปลี่ยนชวงกิจกรรม หรืออาจจัดไวเปJนกิจกรรมตอนเย็นหลังรับประทานอาหารเย็นก็ได เชน กิจกรรมการแสดงละคร เปJน ตน การทำคายวิทยาศาสตรที่ไดนำเสนอไปนั้น ก็เปJนอีกรูปแบบหนึ่งในการจัดการเรียนการ สอนที่เนนผูเรียนเปJนศูนยกลาง มีกิจกรรมที่หลากหลาย นักเรียนไดคิดเอง ทำเอง และได ประสบการณที่ในหองเรียนจะเกิดขึนไดยาก วัตถุประสงคหลักที่ตองมีการจัดคายก็คือการที่ตองการให นักเรียนไดประสบการณและไดเรียนรูสิ่งใหม นอกเหนือจากหองเรียน ฉะนั้นรูปแบบการจัดคาย วิทยาศาสตรก็จะไมมีรูปแบบที่เฉพาะเจาะจงมาก แตจะขึ้นอยูกับวัตถุประสงคหรือเปkาหมายของคาย นั้น ๆ
  • 17. สิ่งสำคัญอยางนึกที่ตองคำนึงถึงเสมอหากตองมีการจัดคายวิทยาศาสตรคือ งบประมาณ ทั้งนี้ก็เพื่อใหเกิดการวางแผนในการดำเนินกิจกรรม หรือแนวทางในการจัดกิจกรรมภายในคาย และ การระหวางการดำเนินคายนั้น ปYญหาหรืออุปสรรคตางเกิดขึ้นไดเสมอ ฉะนั้นการรวมมือ และ ประสานงานที่ดีระหวางฝ:ายของคณะครูที่จัดคายและผูที่เกี่ยวของจะทำใหปYญหานั้นสามารถคลี่คลาย ไปในทางที่ดีได บทบาทของนักเรียนและครูภายในคายนั้นแลดูจะแตกตางจากในหองเรียนคอนขาง เดนชัด ซึ่งถือเปJนโอกาสที่ดีที่ครูจะไดเรียนรูพฤติกรรมของนักเรียนวานักเรียนนั้นเกิดการเรียนรูไดดวย วิธีใด และอยางไร พรอมทั้งอุปนิสัยใจคอ ทั้งนี้ก็เพื่อที่ครูจะไดปรับปรุงการเรียนการสอนในหองเรียน ใหเหมาะสมกับความตองการและความสามารถของนักเรียน เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูอยางเต็ม ศักยภาพของตนเอง จากที่ผูเขียนกลาวมาทั้งหมดนี้ ก็เพื่อเสนอแนะแนวทาง หรือ ทางเลือกหนึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหแกนักเรียน โดยหวังวานักเรียนนั้นจะมีความสุขและ เรียนรูไดอยางเต็มที่โดยที่นักเรียนเองเปJนผูที่เรียนรูและคนพบความรูดวยตนเอง และเพื่อสอดรับกับ เปkาหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรที่ตองการใหนักเรียนมีความเขาใจในหลักการทาง วิทยาศาสตร มีทักษะที่สำคัญในการศึกษาคนควาและคิดคนทางวิทยาศาสตร มีการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด จินตนาการ ความสามารถในการแกปYญหาและการจัดการ รวมทั้งความสามารถใน การตัดสินใจ และที่สำคัญเขาใจในเรื่องวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปใชประโยชนตอสังคมและการ ดำรงชีวิต และเกิดเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมในการใชวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีอยางสรางสรรค ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร เปJนสมรรถภาพที่จำเปJนตอการเรียนรูคณิตศาสตร (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี,2546,หนา 18-19) ไดแก 1. ทักษะกระบวนการ การแกปYญหา ทำความเขาใจกับปYญหา ระบุประเด็นปYญหา สราง ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร ตรวจสอบความเหมาะสมของตัวแบบ ตรวจสอบความถูกตอง และความ เปJนไปไดของการแกปYญหา ตรวจสอบขั้นตอนการแกปYญหา 2. ทักษะกระบวนการ การใหเหตุผล รวบรวมความรูที่เกี่ยวของในกระบวนการการ แกปYญหา เลือกใชความรูเพื่อจัดลำดับขั้นตอน ตรวจสอบความถูกตองและความ สมเหตุสมผล (คณิตศาสตรไมใชความรักที่ไมตองการเหตุผล ) 3. ทักษะกระบวนการ การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการ นำเสนอ เลือกรูปแบบของการสื่อสาร การสื่อความหมายและนำเสนอดวยวิธีการที่เหมาะสม ใช ขอความสมการ ศัพทที่เปJนสากล บันทึกผลงานทุกขั้นตอน สรุปสาระที่ไดจากการศึกษา เสนอความ คิดเห็นที่เหมาะสมกับปYญหา 4. ทักษะกระบวนการ การเชื่อมโยง เปรียบเทียบความรูของแตละสาระ เชื่อมโยงคณิตศาสตรกับ ศาสตรอื่น สรุปสาระสำคัญ 5. ทักษะกระบวนการ ความคิดริเริ่มสรางสรรค ใชความรูหรือมโนทัศนเพื่อสรางองคความรูใหม สรางสรรคตัวแบบทางคณิตศาสตรหรือชิ้นงานที่มีประโยชนตอการเรียนรู
  • 18. บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษาค2นคว2า การดำเนินการศึกษาคนควาอิสระครั้งนี้ ผูศึกษาคนควา ไดดำเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 3. วิธีดำเนินการสรางเครื่องมือในการศึกษาคนควา 4. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ไดแกนักเรียนที่รวมกิจกรรมวัน วิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัด ยโสธร มีนักเรียน 506 คน ภาคเรียนที่ 1 ปRการศึกษา 2557 2. กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ไดแก นักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระ ญาณสังวร อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร ที่เขารวมกิจกรรม มีนักเรียน 95 คน ไดมาโดยการ สุมตัวอยาง เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ประกอบดวย ความพึงพอใจที่มีตอกิจกรรมวัน วิทยาศาสตร เปJนชนิดมาตราสวนประมาณคา ( Rating Scale ) 5 ระดับ จำนวน 10 ขอ วิธีดำเนินการสรางเครื่องมือในการศึกษาคนควา 1. การสรางแบบวัดความพึงพอใจ ผู2ศึกษาค2นคว2าดำเนินการสร2างแบบวัดความพึงพอใจตามขั้นตอนดังนี้ 1.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการสรางแบบวัดความพึงพอใจ ผูศึกษาคนควาไดศึกษาการสรางแบบวัดจากตำราวัดผลทางการศึกษาของ สมนึก ภัททิยธนี (2546 : 37 – 43) โดยกำหนดคาคะแนนเปJน 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิรท (Likert’s Scale)
  • 19. นำขอมูลที่ไดจากการประเมินมาวิเคราะหโดยกำหนดเกณฑในการคิดคะแนนเฉลี่ยของ แบบสอบถามตามเกณฑของ ศักดิ์ชัย เสรีรัฐ (2530) ดังนี้ ถาคะแนนเฉลี่ยมีคานอยกวา 1.55 แสดงวา มีความพึงพอใจนอยที่สุด ถาคะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.56 – 2.55 แสดงวา มีความพึงพอใจนอย ถาคะแนนเฉลี่ยระหวาง 2.56 – 3.55 แสดงวา มีความพึงพอใจปานกลาง ถาคะแนนเฉลี่ยระหวาง 3.56 – 4.55 แสดงวา มีความพึงพอใจมาก ถาคะแนนเฉลี่ยมากกวา 4.55 แสดงวามีความพึงพอใจมากที่สุด 1.2 ศึกษาขอความที่แสดงถึงความพึงพอใจ และสรางแบบวัดความพึงพอใจเปJนแบบ ประเมินมาตราสวนประมาณคา(Rating Scale) จำนวน 10 ขอ โดยคำนึงถึงสิ่งตอไปนี้ 1.2.1 ขอความควรเขียนในแงความรูสึก ความเชื่อ หรือความตั้งใจที่จะกระทำสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งลงไป ไมใชเปJนขอเท็จจริง 1.2.2 ขอความจะตองสั้น เขาใจงาย และชัดเจน 1.3 นำแบบวัดความพึงพอใจเสนอผูเชี่ยวชาญเนื้อหาและวัดผล จำนวน 5 ทาน พิจารณาตรวจสอบ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ผลการพิจารณาพบขอบกพรองดังนี้ การใชภาษาในการถามไมถูกตอง ขอคำถาม บางขอไมสามารถวัดไดจริงและควรปรับใหสั้นแตชัดเจน ผูศึกษาไดนำขอบกพรองมาแกไขโดย ปรับปรุงการใชสำนวนภาษาใหถูกตอง แกไขขอคำถามบางขอใหสามารถวัดไดจริงตามสภาพของ บทเรียนและปรับขอคำถามใหสั้นอานเขาใจงาย สถิติที่ใชในการศึกษาคนควา สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คาเฉลี่ย (Arithmetic Mean : X ) โดยใชสูตร ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2543 : 102) X = Σx N เมื่อ X แทน คะแนนเฉลี่ย Σx แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จำนวนคนในกลุมตัวอยาง
  • 20. บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข2อมูล ในการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาคนควาไดเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตามลำดับหัวขอ ดังตอไปนี้ 1. สัญลักษณที่ใชในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล 2. ลำดับขั้นที่ใชในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล 3. ผลการวิเคราะหขอมูล สัญลักษณที่ใชในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาคนควาไดกำหนดความหมายของสัญลักษณ ในการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหเกิดความ เขาใจในการแปลความ และการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ดังตอไปนี้ N แทน จำนวนนักเรียน X แทน คาเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ลำดับขั้นที่ใชในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาคนควาไดดำเนินการวิเคราะหขอมูลตามลำดับขั้นดังตอไปนี้ วิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระ ญาณสังวร อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปRการศึกษา 2555 ในวันที่ 16 สิงหาคม 2556 ผลการวิเคราะหขอมูล วิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระ ญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร
  • 21. ผูศึกษาไดวิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โดยให นักเรียนทำแบบวัดความพึงพอใจ จำนวน 10 ขอ หลังจากนักเรียนเขารวมกิจกรรมคายทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร แลว ซึ่งปรากฏผล ดังตาราง ขอ รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ คาเฉลี่ย ระดับ 1 นักเรียนรวมกิจกรรมอยางมีความสุขและเต็มใจ 4.62 มากที่สุด 2 นักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 4.48 มาก 3 ระยะเวลาการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 4.05 มาก 4 กิจกรรมวันวิทยาศาสตรเปJนกิจกรรมที่สงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรค 4.36 มาก 5 กิจกรรมวันวิทยาศาสตรมีความหลากหลาย 4.24 มาก 6 นักเรียนหรือวิทยากรประจำฐานมีความเหมาะสม 4.22 มาก 7 ครูในกลุมสาระฯวิทยาศาสตรใหความสนใจเอาใจใส 4.38 มาก 8 การประชาสัมพันธ ในการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 4.07 มาก 9 นักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 3.72 มาก 10 ความรูที่ไดรับจากกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 4.34 มาก เฉลี่ย 4.25 แปลผล มีความพึงพอใจอยูในระดับ มาก จากตาราง พบวา นักเรียนมีความพึงพอใจตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียน สมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังหราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธรโดยรวมอยูในระดับ มาก มีคาเฉลี่ย ( X =4.25) เมื่อพิจารณาเปJนรายขอพบวา ความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด เรียงลำดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย สามอันดับแรก ดังนี้ 1. นักเรียนรวมกิจกรรมอยางมีความสุข และเต็มใจ 2. นักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 3. ครูในกลุมสาระฯวิทยาศาสตร ใหความสนใจเอาใจใส
  • 22. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การศึกษาคนควาในครั้งนี้เพื่อศึกษาความพึงพอใจกิจกรรมวันวิทยาศาสตร วันที่ 29 สิงหาคม 2557 มีขั้นตอนในการศึกษาคนควา ดังนี้ 1. ความมุงหมายของการศึกษา 2. สรุปผลการศึกษาคนควา 3. อภิปรายผล 4. ขอเสนอแนะ ความมุงหมายของการศึกษาคนควา เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จ พระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร ภาคเรียนที่ 1 ปRการศึกษา 2557 ที่จัดในวันที่ 29 สิงหาคม 2557 สรุปผลการศึกษาคนควา นักเรียนมีความพึงพอใจตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ใน พระสังฆราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธร โดยรวมอยูในระดับ มาก ( X =4.25) อภิปรายผล นักเรียนมีความพึงพอใจตอกิจกรรมวันวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ใน พระสังหราชูปถัมภ อำเภอคำเขื่อนแกว จังหวัดยโสธรโดยรวมอยูในระดับ มาก มีคาเฉลี่ย ( X =4.25) เมื่อพิจารณาเปJนรายขอพบวา ความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด เรียงลำดับคาเฉลี่ยจาก มากไปหานอย สามอันดับแรก ดังนี้ 1. นักเรียนรวมกิจกรรมอยางมีความสุขและเต็มใจ 2. นักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมวันวิทยาศาสตร 3. ครูในกลุมสาระฯวิทยาศาสตรใหความสนใจเอา ใจใส ขอเสนอแนะ - เวลาไมเพียงพอ - สนุกมากๆและไดความรูมากมายหลายอยาง - อยากใหมีการจัดลักษณะนี้อีก
  • 23. บรรณานุกรม ดาราวรรณ อานันทนสกุล.การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น).ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2547 ทัศนภรณ์ แสงศรีเรือง.ผลของกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา ศาสตร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น).ขอนแก่น บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2548 http://portal.in.th/general-sci/pages/11591/