SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
1 
 

                                  มองทิศทางธุรกิจป 2012
                                                                     ดนัย เทียนพุฒ กรรมการผูจัดการ

                                                                         บจก. ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท

                  ผูบริหารธุรกิจหลายๆ ทานทีไดเคยเจอกับผูเขียนมักจะถามวา ปหนา 2011 ธุรกิจจะเปน
                                             ่
อยางไร จะมีเครื่องมือใหมๆ หรือวิธการใหมๆ อะไรบาง ยิ่งในกรณีของประเทศไทยที่ การเมืองเปนสิ่งที่ผน
                                   ี                                                               ั
ผวนมากที่สุดหรือ เปนสถาบันดานการเมืองทีพฒนาลาหลังมาที่สุดของประเทศแตมีบทบาทในการฉุดรั้ง
                                         ่ ั
ประเทศใหเดินหนาหรือถอยหลังเขาคลองได ขณะที่ดานเศรษฐกิจกับดีขึ้นหรือมีแนวโนมปรับตัวในทิศทาง
                                               
ที่ดี หรือทางดานสังคมและวัฒนธรรมผูเขียนเห็นวามีรูปแบบพฤติกรรม และไลฟสไตลที่นกธุรกิจตองให
                                                                                 ั
ความสนใจ รวมถึงการรับเทคโนโลยีหรือใชเทคโนโลยีใหม ๆ ในบานเราทันสมัยไมแพใคร(แตคิดเองไมได)

                     แลวผูเ ขียนเห็นอะไร มีมุมมองอะไรทีจะแนะนําใหกบธุรกิจ เนื่องจากทําดานกลยุทธ พบ
                                                         ่           ั
กับธุรกิจหลายรูปแบบ หลากสัญชาติ

                  ผูเขียนเมื่อถูกถามดังนี้ จึงเกิดความคิดขึนมาวา
                                                            ้

                  “....จะไปรูทาไมป 2011 ทําไมไมมองไปป 2012 เสียเลยดีกวา ซึงบางทานบอกปเดียวไม
                               ํ                                               ่
แนนอนอยูแลว”

                  หากทานตองการเปนผูนาธุรกิจ ทานตองคิดแตกตางไปจากคนอืน ธุรกิจอื่น......นี่เปน
                                       ํ                                 ่
ประเด็นดานความคิดที่อยากฝากใหกับผูบริหารธุรกิจตองตระหนักคิดอยูเสมอ ๆๆ ครับ
                                    

                  ในการจัดทําแผนกลยุทธธุรกิจ ปจจุบันในทางทฤษฎีของกลยุทธเราจะทํากัน 3 ป ดังนัน
                                                                                              ้
การมองทิศทางธุรกิจป 2012 จึงสมเหตุสมผลเปนอยางยิ่งเพราะเปน จุดตรงกลางพอดีระหวางป 2011 กับ
ป 2013

                  สิ่งที่เปนมุมมองในประเด็นแรกที่ธุรกิจป 2012 (ตองเริ่มคิดตั้งแตปนี้) เห็นถึงความชัดเจน
ทีวา “ใครที่มฐานลูกคา (Customers base) คนนั้นเปนผูคุมความไดเปรียบในการแขงขัน”
            ี




ดร.ดนัย เทียนพุฒ                  Copyright 2010 บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท
2 
 

                 หลายคนอาจจะบอกวาเปนสิ่งที่รูอยูแลว แตมิตนี้ตางไปจากทีทานเคยรู
                                                               ิ             ่

                 อาทิ ในการแขงขันของธุรกิจธนาคารในบานเรามียักษใหญอยู 4 รายดวยกัน โดย
ประกอบดวยธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย (เรียงอันดับไว
แลว) ซึ่งทั้ง 4 รายนี้มีสวนแบงตลาดรวมกันประมาณ 70% ของตลาดการเงินทังประเทศ
                                                                    ้

                 นี่คือ การมีฐานลูกคาที่มากถึง 70% ของธุรกิจ ดังนันเมือธนาคารผูนําทั้ง 4 รายขยับไป
                                                                   ้ ่
ทําอะไร เชน ธุรกิจประกันชีวตและประกันภัยยอมตองมีหมายความไดอยางแนนอนวาครอบคลุมฐาน
                            ิ
ลูกคาถึง 70% ขณะทีธุรกิจประกันชีวิตและธุรกิจประกันภัยที่ไมใชเครือของธนาคารทั้ง 4 รายยอมตกอยู
                   ่
ในฐานะที่แขงขันยากขึ้น หรือสูญเสียลูกคาเดิมไปใหธนาคารทั้ง 4 รายแนนอนและไมมีโอกาสดึงกลับคืน
มาไดไมวาจะเปนในระยะสั้น หรือ ระยะยาว ไมวาจะทําการสรางแบรนด ปรับแบรนดใหม ทํา CSR
                                             
(ธุรกิจที่รับผิดชอบตอสังคม) มี ธรรมาภิบาล โปรงใส ตรวจสอบได อีกสารพัดกลยุทธ ก็คงสูกับ 4 ธนาคาร
นั้นยาก

                 ประเด็นตอมา ผูชนะคือผูมทีชองทางครอบคลุมและเขาถึงฐานลูกคา
                                           ี่ 

                 นัยเรื่องของ “ชองทาง (Channel)” เปนสิ่งที่นกการตลาด ผูบริหารธุรกิอจเขาใจเรื่องนี้ดี
                                                              ั
อยูแลว แตในป 2012 ชองทางในความหมายใหมของผูเขียน มีอาทิ

                         ชองทางจําหนายทางกายภาพ (Physical Channel) ซึ่งสามารถครอบคลุมพื้นที่
ทั้งประเภทมีผลิตภัณฑหรือบริการอยูอยางครบถวนในชองทางนั้น
                         ลักษณะของชองทางจําหนายตองเปนไปตาม “Life Stage” (ชวงอายุของคน)
หรือ “สวนกําหนดตลาด (Segmentation)”
                         ชองทางในโลกไซเบอรหรือออนไลนหรืออนไลน (Cyber/Online Channel) โดยที่
ชองทางลักษณะนี้มกลุมลูกคาจํานวนมาก มีลักษณะของเครือขายทางสังคม (Social Network) มี
                 ี 
ลักษณะเปนพลวัตที่มการปรับตัวใหเกิดการเพิ่มสมาชิกหรือลูกคาเพิ่มขึนไดอยางตอเนื่อง
                   ี                                               ้
                 ตัวอยางเชน ชองทางดานคาปลีกที่มียกษใหญคาปลีกของโลกเปนผูสรางและควบคุม
                                                      ั
ชองทางอยู อาทิ Wal-Mart, Carrefour, Tesco ถาเปนในบานเรา เชน กลุม Central กลุมสยามฟวเจอร
                                                                     
กลุม TCC (กลุมไทยเบฟเวอรเรจ)



ดร.ดนัย เทียนพุฒ                Copyright 2010 บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท
3 
 

                 สิ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นดังเชนในกรณีของ เมืองไทยประกันชีวตจับมือกับกลุมเซ็นทรัล (ขาย
                                                                       ิ            
ประกันชีวิตผานทางคาปลีก) เนื่องจากกลุมเซ็นทรัลเปนผูที่มีฐานลูกคา (ทัง Centara, CPN, CRG เปนตน)
                                                                        ้
และเปนชองทางคาปลีกใน กลุมหางสรรพสินคาเซ็นทรัล โรบินสัน บิ๊กซี ทอปซูเปอรมารเก็ต B2S, Office
Depot
                 ประเด็นสุดทาย การเปน HUB ของโลกธุรกิจสมัยใหม
                 ในโลกธุรกิจแบบเดิมกลุมธุรกิจคอนซูเมอรหรือ FMCG (Fast Moving Consumer
Goods) เปนธุรกิจที่มีอทธิพลและครอบคลุมความเปนไปของคนในสังคมทั้งดานอุปโภค-บริโภคมาโดย
                       ิ
ตลอดตั้งแตศตวรรษที่19 จนกระทั่งถึงปจจุบัน และปกคลุมหอหุมทัวทั้งรางกายคนและชีวิตความเปนอยู
                                                              ่
รอบตัวของเราทุกคน
                 ปจจุบันนับตั้งแตป 2010 เริ่มมีความชัดเจนมากขึ้นของการกอตัวของ กลุมธุรกิจคอนซู
เมอรอิเลคทรอนิกส (Fast Moving Consumer Electronics: FMCE) ไดเขามามีบทบาทกับชีวตคนมาก
                                                                                  ิ
ขึ้นรวมถึงไลฟสไตลกับโลกของการทํางาน ชนิดที่แนบแนนเปนดังสายใยรอยรัดชีวิดของพวกเราทุกคน


                 ปจจุบันมีผนําตลาดดาน FMCE ที่ผูเขียนขอยกเปนตัวอยางโดยเฉพาะกลุมสมารทโฟน
                            ู
ที่มีลักษณะดังทีกลาวไวขางตน
                ่

                          ตารางที่ 1 แนวโนมของ HUB จากกลุม Smart Phone

     Top Global Mobile Handset                OS (ระบบปฏิบัติการ)                     HUB

Nokia
                                                    Symbian
                                                                                    OVI Store
Samsung
                                                    Android                      Android Market

LG
                                                    Android                       LG App. Store

RIM
                                                  Black Berry
                                                                              Black Berry App World
Sony Ericsson
                                                    Android                      Android Market
Apple (iPhone)                                        iOS                           iTunes


ดร.ดนัย เทียนพุฒ                  Copyright 2010 บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท
4 
 



                 ถาพิจารณาใหดี Apple นาจะถือเปนผูบกเบิกเรื่องการเปน HUB รายแรก เพราะ
                                                       ุ
ความสําเร็จของ iTunes หรือ App Store ที่อยูในโลกออนไลนที่เปลี่ยนใหทงนักการตลาด นักพัฒนา
                                                                      ั้
แอพพลิเคชัน และผูบริโภคตองมีชีวิตผาน iTunes ตลอดเวลาเมื่อซื้อสินคาของ Apple (iPod, iPhone,
          ่
iPad) ไมวาจะเปน การดูหนัง ฟงเพลง เลนเกมส อานหนังสือ ฯลฯ และโดยเฉพาะอยางยิง Apple เพิ่ง
                                                                               ่
ประกาศทางเวบไซทวา วันที่ 6 ม.ค. 54 จะเปดตัว Mac App Store เพื่อทําทุกอยางเหมือนหรือ คลาย ๆ
                 
กับ iTunes โดย Apple ขอเก็บรายได 30% จากนักพัฒนา App (ตั้งราคาสินคาเทาไหรก็ได)
                 ดังนันผูนาตลาดมือถือระดับโลกทัง 6 รายคือ Nokia, Samsung, LG, RIM, Sony
                      ้ ํ                       ้
Ericsson และ Apple จึงกําลังและพยายามสราง HUB ของตนเองผานระบบปฏิบัติการดังตารางที่ 1 เพื่อ
แยงชิงความเปนผูนาใน HUB ดังกลาว (ยังไมมีใครแพชนะ)
                   ํ
                 สรุปในประเด็นนี้คือ ทุกคายตองการคุมโลกธุรกิจ โดยเฉพาะโลกออนไลนที่เขามาเปนสวน
หนึงของชีวิตคนแบบแยกกันไมออก เปนสายใยแกวดิจิตอลที่บงการชีวตผูคนไดอยางสมบูรณแบบในโลก
   ่                                                          ิ
ธุรกิจ ป 2012 อยางแนนอน
                 กลุมธุรกิจคอนซูเมอรอเลคทรอนิกสจงเปนอาณาจักรธุรกิจยุคใหมของคนรุน Gen Y และ
                                       ิ           ึ
Gen Net/Gen C
                 ธุรกิจตาง ๆ ไมวาเล็กหรือ ใหญ ไมวาเกิดใหมหรืออยูมาแตยุคไหน ธุรกิจทันสมัยไฮเทค
                                                                       
หรือไมก็ตาม ไมมี่ที่ทจะยืนหรือ หนีไมพนที่ตองสราง HUB ขึ้นมาเองหรือไมก็ใช HUB ของผูนําธุรกิจ
                       ี่               
FMCE ทัง 5-6 รายเพื่อทําธุรกิจขายสินคาและบริการ หากไมมี App ของบริษัทใน HUB ดังกลาวธุรกิจ
       ้
อาจจะแขงขันยากหรือแขงไมไดเลย

                 ผูเขียนไดจําลองใหเห็นถึงสิ่งที่เปนการเปลี่ยนแปลงของธรกิจในป 2012 ดังภาพที่ 1 ตามที่
กลาวมาทั้งหมด




ดร.ดนัย เทียนพุฒ                Copyright 2010 บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท
5 
 




                          ภาพที่ 1 สิ่งที่เปนการเปลียนแปลงธุรกิจในป 2012
                                                     ่




        สิ่งทีนากังวลของประเทศไทยเพราะทังรัฐบาลและนักธุรกิจภาคอุตสาหกรรมตางสนใจคือ การเปน
              ่                          ้
ตลาดเดียวของอาเซียนในป 2015 (AEC Blueprint) ก็คงไมวากัน แตผเขียนวิเคราะหวาธุรกิจที่จะกระทบ
                                                                ู
คงเปนรายใหญและระดับกลางอยางแนนอน แตรายเล็กๆ ไม ซึงสวนใหญที่ออกมาใหความเห็นใน
                                                       ่
สาธารณะเปนการสะทอนภาพจากมุมมองนักอุตสาหกรรมในบานเราไมคอยมีธุรกิจคลื่นลูกใหม หรือ
มุมมองดังที่ผูเขียนวิเคราะหใหเห็น ผูเขียนจึงอยากใหผบริหารธุรกิจ และนักการตลาดสําหรับธุรกิจใน
                                                        ู
ประเทศไทยไดมองโลกธุรกิจในสายตาทีเ่ ปดกวางขึ้นและเรียนรูจาก ผูนาธุรกิจจากกลุม FMCE ใหมากขึ้น
                                                                   ํ




ดร.ดนัย เทียนพุฒ              Copyright 2010 บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท

Contenu connexe

Similaire à ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012

ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนDrDanai Thienphut
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2DrDanai Thienphut
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1praphol
 
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารInterview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotler
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotlerดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotler
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ KotlerDrDanai Thienphut
 
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด201221 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012HIPO_Training
 
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
 ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาดDrDanai Thienphut
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community societySirirat Yimthanom
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกarm_smiley
 
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์SadatSeidu1
 
โรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรมโรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรมDr.Suradet Chawadet
 
การตลาดออนไลน์ เพิ่มยอดขายทางการท่องเที่ยว
การตลาดออนไลน์ เพิ่มยอดขายทางการท่องเที่ยวการตลาดออนไลน์ เพิ่มยอดขายทางการท่องเที่ยว
การตลาดออนไลน์ เพิ่มยอดขายทางการท่องเที่ยวnattatira
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIMC Institute
 

Similaire à ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012 (20)

Social media trends in 2012
Social media trends in 2012Social media trends in 2012
Social media trends in 2012
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
Social CRM
Social CRMSocial CRM
Social CRM
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
 
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
ทัศนภาพธุรกิจอนาคต2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Smart industry vol32
Smart industry vol32 Smart industry vol32
Smart industry vol32
 
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารInterview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotler
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotlerดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotler
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotler
 
Bb in seoul
Bb in seoulBb in seoul
Bb in seoul
 
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด201221 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
 
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
 ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์
 
โรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรมโรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรม
 
การตลาดออนไลน์ เพิ่มยอดขายทางการท่องเที่ยว
การตลาดออนไลน์ เพิ่มยอดขายทางการท่องเที่ยวการตลาดออนไลน์ เพิ่มยอดขายทางการท่องเที่ยว
การตลาดออนไลน์ เพิ่มยอดขายทางการท่องเที่ยว
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
 

Plus de DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

Plus de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012

  • 1. 1    มองทิศทางธุรกิจป 2012 ดนัย เทียนพุฒ กรรมการผูจัดการ บจก. ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท ผูบริหารธุรกิจหลายๆ ทานทีไดเคยเจอกับผูเขียนมักจะถามวา ปหนา 2011 ธุรกิจจะเปน ่ อยางไร จะมีเครื่องมือใหมๆ หรือวิธการใหมๆ อะไรบาง ยิ่งในกรณีของประเทศไทยที่ การเมืองเปนสิ่งที่ผน ี ั ผวนมากที่สุดหรือ เปนสถาบันดานการเมืองทีพฒนาลาหลังมาที่สุดของประเทศแตมีบทบาทในการฉุดรั้ง ่ ั ประเทศใหเดินหนาหรือถอยหลังเขาคลองได ขณะที่ดานเศรษฐกิจกับดีขึ้นหรือมีแนวโนมปรับตัวในทิศทาง  ที่ดี หรือทางดานสังคมและวัฒนธรรมผูเขียนเห็นวามีรูปแบบพฤติกรรม และไลฟสไตลที่นกธุรกิจตองให ั ความสนใจ รวมถึงการรับเทคโนโลยีหรือใชเทคโนโลยีใหม ๆ ในบานเราทันสมัยไมแพใคร(แตคิดเองไมได) แลวผูเ ขียนเห็นอะไร มีมุมมองอะไรทีจะแนะนําใหกบธุรกิจ เนื่องจากทําดานกลยุทธ พบ ่ ั กับธุรกิจหลายรูปแบบ หลากสัญชาติ ผูเขียนเมื่อถูกถามดังนี้ จึงเกิดความคิดขึนมาวา ้ “....จะไปรูทาไมป 2011 ทําไมไมมองไปป 2012 เสียเลยดีกวา ซึงบางทานบอกปเดียวไม ํ ่ แนนอนอยูแลว” หากทานตองการเปนผูนาธุรกิจ ทานตองคิดแตกตางไปจากคนอืน ธุรกิจอื่น......นี่เปน  ํ ่ ประเด็นดานความคิดที่อยากฝากใหกับผูบริหารธุรกิจตองตระหนักคิดอยูเสมอ ๆๆ ครับ  ในการจัดทําแผนกลยุทธธุรกิจ ปจจุบันในทางทฤษฎีของกลยุทธเราจะทํากัน 3 ป ดังนัน ้ การมองทิศทางธุรกิจป 2012 จึงสมเหตุสมผลเปนอยางยิ่งเพราะเปน จุดตรงกลางพอดีระหวางป 2011 กับ ป 2013 สิ่งที่เปนมุมมองในประเด็นแรกที่ธุรกิจป 2012 (ตองเริ่มคิดตั้งแตปนี้) เห็นถึงความชัดเจน ทีวา “ใครที่มฐานลูกคา (Customers base) คนนั้นเปนผูคุมความไดเปรียบในการแขงขัน”  ี ดร.ดนัย เทียนพุฒ   Copyright 2010 บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท
  • 2. 2    หลายคนอาจจะบอกวาเปนสิ่งที่รูอยูแลว แตมิตนี้ตางไปจากทีทานเคยรู ิ ่ อาทิ ในการแขงขันของธุรกิจธนาคารในบานเรามียักษใหญอยู 4 รายดวยกัน โดย ประกอบดวยธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย (เรียงอันดับไว แลว) ซึ่งทั้ง 4 รายนี้มีสวนแบงตลาดรวมกันประมาณ 70% ของตลาดการเงินทังประเทศ  ้ นี่คือ การมีฐานลูกคาที่มากถึง 70% ของธุรกิจ ดังนันเมือธนาคารผูนําทั้ง 4 รายขยับไป ้ ่ ทําอะไร เชน ธุรกิจประกันชีวตและประกันภัยยอมตองมีหมายความไดอยางแนนอนวาครอบคลุมฐาน ิ ลูกคาถึง 70% ขณะทีธุรกิจประกันชีวิตและธุรกิจประกันภัยที่ไมใชเครือของธนาคารทั้ง 4 รายยอมตกอยู ่ ในฐานะที่แขงขันยากขึ้น หรือสูญเสียลูกคาเดิมไปใหธนาคารทั้ง 4 รายแนนอนและไมมีโอกาสดึงกลับคืน มาไดไมวาจะเปนในระยะสั้น หรือ ระยะยาว ไมวาจะทําการสรางแบรนด ปรับแบรนดใหม ทํา CSR  (ธุรกิจที่รับผิดชอบตอสังคม) มี ธรรมาภิบาล โปรงใส ตรวจสอบได อีกสารพัดกลยุทธ ก็คงสูกับ 4 ธนาคาร นั้นยาก ประเด็นตอมา ผูชนะคือผูมทีชองทางครอบคลุมและเขาถึงฐานลูกคา ี่  นัยเรื่องของ “ชองทาง (Channel)” เปนสิ่งที่นกการตลาด ผูบริหารธุรกิอจเขาใจเรื่องนี้ดี ั อยูแลว แตในป 2012 ชองทางในความหมายใหมของผูเขียน มีอาทิ ชองทางจําหนายทางกายภาพ (Physical Channel) ซึ่งสามารถครอบคลุมพื้นที่ ทั้งประเภทมีผลิตภัณฑหรือบริการอยูอยางครบถวนในชองทางนั้น ลักษณะของชองทางจําหนายตองเปนไปตาม “Life Stage” (ชวงอายุของคน) หรือ “สวนกําหนดตลาด (Segmentation)” ชองทางในโลกไซเบอรหรือออนไลนหรืออนไลน (Cyber/Online Channel) โดยที่ ชองทางลักษณะนี้มกลุมลูกคาจํานวนมาก มีลักษณะของเครือขายทางสังคม (Social Network) มี ี  ลักษณะเปนพลวัตที่มการปรับตัวใหเกิดการเพิ่มสมาชิกหรือลูกคาเพิ่มขึนไดอยางตอเนื่อง ี ้ ตัวอยางเชน ชองทางดานคาปลีกที่มียกษใหญคาปลีกของโลกเปนผูสรางและควบคุม ั ชองทางอยู อาทิ Wal-Mart, Carrefour, Tesco ถาเปนในบานเรา เชน กลุม Central กลุมสยามฟวเจอร  กลุม TCC (กลุมไทยเบฟเวอรเรจ) ดร.ดนัย เทียนพุฒ   Copyright 2010 บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท
  • 3. 3    สิ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นดังเชนในกรณีของ เมืองไทยประกันชีวตจับมือกับกลุมเซ็นทรัล (ขาย ิ  ประกันชีวิตผานทางคาปลีก) เนื่องจากกลุมเซ็นทรัลเปนผูที่มีฐานลูกคา (ทัง Centara, CPN, CRG เปนตน)  ้ และเปนชองทางคาปลีกใน กลุมหางสรรพสินคาเซ็นทรัล โรบินสัน บิ๊กซี ทอปซูเปอรมารเก็ต B2S, Office Depot ประเด็นสุดทาย การเปน HUB ของโลกธุรกิจสมัยใหม ในโลกธุรกิจแบบเดิมกลุมธุรกิจคอนซูเมอรหรือ FMCG (Fast Moving Consumer Goods) เปนธุรกิจที่มีอทธิพลและครอบคลุมความเปนไปของคนในสังคมทั้งดานอุปโภค-บริโภคมาโดย ิ ตลอดตั้งแตศตวรรษที่19 จนกระทั่งถึงปจจุบัน และปกคลุมหอหุมทัวทั้งรางกายคนและชีวิตความเปนอยู ่ รอบตัวของเราทุกคน ปจจุบันนับตั้งแตป 2010 เริ่มมีความชัดเจนมากขึ้นของการกอตัวของ กลุมธุรกิจคอนซู เมอรอิเลคทรอนิกส (Fast Moving Consumer Electronics: FMCE) ไดเขามามีบทบาทกับชีวตคนมาก ิ ขึ้นรวมถึงไลฟสไตลกับโลกของการทํางาน ชนิดที่แนบแนนเปนดังสายใยรอยรัดชีวิดของพวกเราทุกคน ปจจุบันมีผนําตลาดดาน FMCE ที่ผูเขียนขอยกเปนตัวอยางโดยเฉพาะกลุมสมารทโฟน ู ที่มีลักษณะดังทีกลาวไวขางตน ่ ตารางที่ 1 แนวโนมของ HUB จากกลุม Smart Phone Top Global Mobile Handset OS (ระบบปฏิบัติการ) HUB Nokia Symbian OVI Store Samsung Android Android Market LG Android LG App. Store RIM Black Berry Black Berry App World Sony Ericsson Android Android Market Apple (iPhone) iOS iTunes ดร.ดนัย เทียนพุฒ   Copyright 2010 บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท
  • 4. 4    ถาพิจารณาใหดี Apple นาจะถือเปนผูบกเบิกเรื่องการเปน HUB รายแรก เพราะ ุ ความสําเร็จของ iTunes หรือ App Store ที่อยูในโลกออนไลนที่เปลี่ยนใหทงนักการตลาด นักพัฒนา ั้ แอพพลิเคชัน และผูบริโภคตองมีชีวิตผาน iTunes ตลอดเวลาเมื่อซื้อสินคาของ Apple (iPod, iPhone, ่ iPad) ไมวาจะเปน การดูหนัง ฟงเพลง เลนเกมส อานหนังสือ ฯลฯ และโดยเฉพาะอยางยิง Apple เพิ่ง  ่ ประกาศทางเวบไซทวา วันที่ 6 ม.ค. 54 จะเปดตัว Mac App Store เพื่อทําทุกอยางเหมือนหรือ คลาย ๆ  กับ iTunes โดย Apple ขอเก็บรายได 30% จากนักพัฒนา App (ตั้งราคาสินคาเทาไหรก็ได) ดังนันผูนาตลาดมือถือระดับโลกทัง 6 รายคือ Nokia, Samsung, LG, RIM, Sony ้ ํ ้ Ericsson และ Apple จึงกําลังและพยายามสราง HUB ของตนเองผานระบบปฏิบัติการดังตารางที่ 1 เพื่อ แยงชิงความเปนผูนาใน HUB ดังกลาว (ยังไมมีใครแพชนะ) ํ สรุปในประเด็นนี้คือ ทุกคายตองการคุมโลกธุรกิจ โดยเฉพาะโลกออนไลนที่เขามาเปนสวน หนึงของชีวิตคนแบบแยกกันไมออก เปนสายใยแกวดิจิตอลที่บงการชีวตผูคนไดอยางสมบูรณแบบในโลก ่ ิ ธุรกิจ ป 2012 อยางแนนอน กลุมธุรกิจคอนซูเมอรอเลคทรอนิกสจงเปนอาณาจักรธุรกิจยุคใหมของคนรุน Gen Y และ ิ ึ Gen Net/Gen C ธุรกิจตาง ๆ ไมวาเล็กหรือ ใหญ ไมวาเกิดใหมหรืออยูมาแตยุคไหน ธุรกิจทันสมัยไฮเทค  หรือไมก็ตาม ไมมี่ที่ทจะยืนหรือ หนีไมพนที่ตองสราง HUB ขึ้นมาเองหรือไมก็ใช HUB ของผูนําธุรกิจ ี่  FMCE ทัง 5-6 รายเพื่อทําธุรกิจขายสินคาและบริการ หากไมมี App ของบริษัทใน HUB ดังกลาวธุรกิจ ้ อาจจะแขงขันยากหรือแขงไมไดเลย ผูเขียนไดจําลองใหเห็นถึงสิ่งที่เปนการเปลี่ยนแปลงของธรกิจในป 2012 ดังภาพที่ 1 ตามที่ กลาวมาทั้งหมด ดร.ดนัย เทียนพุฒ   Copyright 2010 บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท
  • 5. 5    ภาพที่ 1 สิ่งที่เปนการเปลียนแปลงธุรกิจในป 2012 ่ สิ่งทีนากังวลของประเทศไทยเพราะทังรัฐบาลและนักธุรกิจภาคอุตสาหกรรมตางสนใจคือ การเปน ่ ้ ตลาดเดียวของอาเซียนในป 2015 (AEC Blueprint) ก็คงไมวากัน แตผเขียนวิเคราะหวาธุรกิจที่จะกระทบ ู คงเปนรายใหญและระดับกลางอยางแนนอน แตรายเล็กๆ ไม ซึงสวนใหญที่ออกมาใหความเห็นใน ่ สาธารณะเปนการสะทอนภาพจากมุมมองนักอุตสาหกรรมในบานเราไมคอยมีธุรกิจคลื่นลูกใหม หรือ มุมมองดังที่ผูเขียนวิเคราะหใหเห็น ผูเขียนจึงอยากใหผบริหารธุรกิจ และนักการตลาดสําหรับธุรกิจใน ู ประเทศไทยไดมองโลกธุรกิจในสายตาทีเ่ ปดกวางขึ้นและเรียนรูจาก ผูนาธุรกิจจากกลุม FMCE ใหมากขึ้น ํ ดร.ดนัย เทียนพุฒ   Copyright 2010 บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท