SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
1


                          บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

วิสัยทัศน (Vision)
        การเปนผูใหบริการดานการสื่อสารครบวงจรและมุงตอบสนองตอลูกคาเปนหลัก อีกทั้งยังเปนผู
ใหบริการหนึ่งเดียวของประเทศที่ใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน ระบบสื่อสารไรสาย อินเทอรเน็ตความเร็วสูง
และผลิตภัณฑและบริการดานเนื้อหาตางๆอยางหลากหลาย
พันธะกิจ (Mission)
         แนวทางในการปฏิบัตหนาที่ ซึ่งประกอบดวย
                          ิ
เชื่อถือได
         -    เราซื่อตรงและใหเกียรติทุกคนและรวมกันทํางานเพื่อความสําเร็จรวมกัน
         -    เราสื่อสารอยางซื่อตรงและเนนถึงประโยชนของบริษัทเปนสําคัญ
         -    เราพยายามทําในสิ่งที่เหมาะที่ควรเพื่อลูกคาของเรา
         -    เราพรอมจะตัดสินใจและรับผิดชอบในการกระทําของเรา
สรางสรรค
         - เราพยายามเสาะหาแนวคิดใหมๆ และวิธการใหมๆ ซึ่งจะนํามาซึ่งผลิตภัณฑและบริการที่เปยม
                                                ี
           ดวยคุณภาพ
         - เราแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันเพือเสริมสรางความเขมแข็งในการทํางานรวมกัน
                                                   ่
         - เราทํางานดวยความทาทายซึงทําใหธรกิจของเราพัฒนาไปสูความกาวหนาเหนือผูอื่น
                                    ่       ุ
เอาใจใส
         - เราเชื่อมั่นวาพนักงานของเราคือสินทรัพยที่มีคายิ่งของบริษัท
         - เราตั้งใจจะทํางานรวมกันดวยความสามัคคีและมอบสิ่งที่ถูกที่ควรใหกบลูกคา เพื่อนรวมงาน
                                                                                 ั
           และคูคาของเรา
         - เราปฏิบัติตอผูอื่นในลักษณะเดียวกับที่เราอยากใหผูอื่นปฏิบัติตอเรา
         - เรายอมรับผลงานและยินดีในความสําเร็จของกันและกัน
         - เราสรางสัมพันธภาพที่ยั่งยืนกับคูคาของเรา
กลาคิดกลาทํา
         - เรามีความปรารถนาที่แนวแนเพื่อพัฒนาบริษัทของเราและเปนผูนําในตลาดการคา
         - เราปฏิบัติงานดวยความเด็ดเดี่ยว ประเมินความเสี่ยงอยางสุขุมและเรียนรูจากขอผิดพลาด
         - เราตระหนักดีวาโอกาสเกิดจากความรับผิดชอบและความรูสกเปนเจาของในงานนันๆ
                                                                     ึ                    ้
2


เปาหมาย (Goal)
        การเปนผูนํา Convergence lifestyle enabling ผานบริการทั้งหมดของกลุมซึ่งมีครบวงจร ไมวาจะ
เปน Wire line หรือ Wireless ตั้งแตโทรศัพทพื้นฐาน, WE PCT บรอดแบนด, อินเทอรเน็ต และรวมไปถึง
การใหบริการเคเบิ้ลทีวี บริการตางๆเหลานี้ เปนชองทางที่จะทําใหเราสามารถเติมเต็มชีวตของลูกคาทุกกลุม
                                                                                      ิ
ใหครบถวน รวมถึงการใหบริการโซลูชันทางธุรกิจ ทั้งแกลูกคาองคกรและลูกคา SME
ขอมูลทั่วไป
ที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร
เลขทะเบียนบริษัท 0107536000081             วันที่จดทะเบียน : 11 กุมภาพันธ 2536
www.truecorp.co.th                         โทรศัพท : 02-643-1111          โทรสาร : 02-643-1651
ชื่อ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)
กรรมการบริษัท 18 คน ดังนี้
1. นายธนินท          เจียรวนนท
2. นายสุเมธ           เจียรวนนท
3. นายโชติ            โภควนิช
4. นายเฉลียว          สุวรรณกิตติ
5. นายอาชว           เตาลานนท
6. นายโกศล            เพ็ชรสุวรรณ
7. นายชัชวาลย        เจียรวนนท
8. นายสุภกิต          เจียรวนนท
9. นายศุภชัย          เจียรวนนท
10. นายณรงค          ศรีสอาน
11. นายวิทยา          เวชชาชีวะ
12. นายอธึก           อัศวานันท
13. นายฮาราลด        ลิงค
14. นายวิเชาวน       รักพงษไพโรจน
15. นายอํารุง         สรรพสิทธิ์วงศ
16. นายลี             จี.แลม
17. นายเยนส         บี.เบสไซ
18. นายนอรเบิรต      ฟาย
ทุนจดทะเบียน : 47,515,194,180.00 บาท
ขอมูลจาก กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ณ วันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2550
3
4

          ทรูคือผูใหบริการสื่อสารครบวงจรหนึ่งเดียวของประเทศบริษัทกอตั้งขึ้นครั้งแรกในเดือน
พฤศจิกายน 2533 และในป 2536 ไดเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทมหาชน และเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย
แหงประเทศไทยในชื่อ บริษท เทเลคอมเอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2536 มีชื่อยอ
                               ั
หลักทรัพยวา “TA”ในเดือนเมษายน 2547 บริษัทไดมีการปรับเปลี่ยนภาพลักษณภายใตแบรนดทรู และได
เปลี่ยนชื่อบริษัทมาเปน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) มีชื่อยอหลักทรัพยวา “TRUE” โดยมีทุนจด
ทะเบียนที่เรียกชําระแลวทั้งสิ้น 45,015 ลานบาท ณ สิ้นป 2549 และปจจุบันทรูเปนหนึ่งในแบรนดที่
แข็งแกรงที่สุดวิสัยทัศนของกลุมทรู (Vision) คือการเปนผูนําทางดาน คอนเวอรเจนซ ไลฟสไตล
(Convergence Lifestyle) และมีพันธกิจ (Mission) คือการทําใหลูกคาสามารถสื่อสารถึงกันและกันและเขาถึง
คุณคา ความรู และสาระบันเทิงตางๆ พรอมๆ กับการสรางคุณคาใหกับองคกร พนักงานและผูถือหุน จาก   
วิสยทัศนการเปนผูนา คอนเวอรเจนซ ไลฟสไตล ทําใหกลุมทรูมีความแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น โดยมี
    ั                  ํ
การผสานบริการสื่อสารครบวงจร เขากับคอนเทนทที่หลากหลาย ตอบสนองทุกไลฟสไตล ของลูกคาภายใต
การสนับสนุนจากเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมธุรกิจดานการเกษตรครบวงจรที่ใหญที่สดในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งถือ
                                                                                    ุ
หุนทรูในสัดสวนประมาณรอยละ 30.4 (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549) บริษัทไดขยายธุรกิจมาตามลําดับ จากผู
ใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน จนปจจุบนเปนผูใหบริการสื่อสารครบวงจรที่ครอบคลุมทั้งบริการเสียง ขอมูล
                                      ั
และภาพ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาทุกกลุม ซึ่งประกอบดวย ลูกคาทั่วไป ลูกคาธุรกิจขนาดกลาง
และขนาดยอม และลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญ ในปจจุบันบริษัทและบริษัทยอยเปนผูใหบริการรายใหญ
ที่สุดสําหรับบริการอินเทอรเน็ต บริการบรอดแบนดสําหรับบุคคลทั่วไป และบริการโทรทัศนระบบบอกรับ
เปนสมาชิก รวมทั้งยังเปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญท่สุดในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ผู
                                                                  ี
ใหบริการเกมสออนไลนรายใหญ และเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับสามของประเทศ
ปจจุบันการดําเนินธุรกิจของกลุมทรูแบงเปน 5 ธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตชื่อ ทรูมูฟ
(ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) ธุรกิจออนไลน ภายใตชื่อ ทรูออนไลน (ซึ่งประกอบดวยบริการโทรศัพทพื้นฐานและ
บริการเสริม บริการโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ต และบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือบริการบ
รอดแบนด สําหรับบุคคลทั่วไป และบริการ WE PCT หรือบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่) ธุรกิจ
โทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก (ภายใตชื่อ ทรูวิชั่นส (ชื่อเดิมยูบีซ)) ธุรกิจดิจิตอลคอมเมิรซ ภายใตชื่อ ทรู
                                                                     ี
มันนี่ ธุรกิจดิจตอลคอนเทนท ภายใตชื่อ ทรูไลฟบริษัทใหบริการโทรศัพทพื้นฐานภายใตสัญญารวมการงาน
                ิ
และรวมลงทุนกับบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ตามเงื่อนไข Build-Transfer-Operate (BTO) เพื่อ
จัดหา ติดตั้ง และควบคุม ตลอดจนบํารุงรักษาอุปกรณในระบบ ในการขยายบริการโทรศัพทจานวน         ํ
2.6 ลานเลขหมายใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดเดือนตุลาคม พ.ศ. 2560
โดยบริษัทเริ่มมีรายไดจากการใหบริการโครงขายโทรศัพทพื้นฐานในเดือนพฤศจิกายน 2535นอกจากนียัง           ้
ไดรับอนุญาตใหเปดบริการเสริมตางๆ เชน บริการโทรศัพทสาธารณะและบริการอื่นๆ เพิ่มเติม ในป 2542
บริษัทไดเปดใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ PCT และในป 2544 บริษัทผานบริษัทยอยไดเปด
ใหบริการโครงขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซึ่งประกอบดวยบริการ ADSL และบริการ Cable Modem
นอกจากนั้นในป 2546 ไดเปดใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสายหรือบริการ Wi-Fi และในป
5

2549 กลุมบริษัทไดรับใบอนุญาตเพื่อประกอบกิจการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศในเดือนตุลาคม
2544 บริษัทไดเขาถือหุน ในบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) (ซึ่งเปนบริษัทแมที่ถือหุนใน
บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด) ในอัตรารอยละ 41.1 ซึ่งนับเปนการเริ่มเขาสูธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้ ทีเอ ออ
เรนจไดเปดใหบริการอยางเต็มที่ในเดือนมีนาคม 2545 และตอมา บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนในบริษัท
                                                                                                   
กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) มากขึ้นตามลําดับจนกระทั่งปจจุบัน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549)
บริษัทมีสัดสวนการถือหุนในบริษท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) คิดเปนรอยละ 93.4 ทรูไดเริ่ม
                                   ั
รับรูผลประกอบการของบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) และทีเอ ออเรนจ อยางเต็มที่
นับตั้งแตตนไตรมาส 4 ของป 2547 ทั้งนี้ ทีเอ ออเรนจไดเปลี่ยนชื่อเปนทรูมูฟ เมื่อตนป 2549 ทรูมูฟ
             
ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM (Global System for Mobile Communications) ที่ความถี่ 1800 MHz
ภายใตการไดรับอนุญาตจาก บมจ. กสท โทรคมนาคม (“กสท”) ตามเงื่อนไข Build-Transfer-Operate (BTO)
สิ้นสุดเดือนกันยายน ป พ.ศ. 2556ในระหวางป 2548 - 2549 กลุมบริษัททรูไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการ
กิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ สําหรับการใหบริการ อินเทอรเน็ต รวมบริการอินเทอรเน็ตผานโทรศัพท
(VoIP) บริการโทรศัพทสาธารณะ บริการโทรศัพทพื้นฐาน และบริการวงจรเชื่อมตออินเทอรเน็ตระหวาง
ประเทศในเดือนมกราคม 2549 บริษัทไดเขาซื้อหุน ยูบซี จาก MIH ทั้งหมด และตอมาไดดําเนินการเขาซื้อ
                                                       ี
หุนสามัญจากรายยอย (Tender Offer) ทําใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนทางออมใน ยูบีซี รอยละ 91.8
                                                                      
ภายหลังการเขาซื้อหุนจากผูถือหุนรายยอยเสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 2549 ทั้งนี้บริษัทไดรวมผลประกอบการ
                               
ของยูบีซีอยางเต็มที่ตั้งแตตนไตรมาสที่ 1 ป 2549 และ ยูบซี ไดเปลี่ยนชือเปนทรูวิช่นส เมื่อตนป 2550 ทรู
                                                         ี             ่           ั
วิชั่นสดําเนินงานภายใตสัญญาสัมปทานจากองคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย เปนระยะเวลา 25 ป
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน ป 2557 สําหรับการใหบริการผานดาวเทียม และสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562
สําหรับการใหบริการผานเคเบิลในป 2549 กลุมบริษัททรูมีรายไดรวมมากกวา 50,000 ลานบาท และมี
สินทรัพยทั้งหมดกวา 1 แสนลานบาท โดยมีจํานวนพนักงานประมาณ 10,000 คน
ที่มา : http://www.truecorp.co.th/tha/about/about_history_2006.jsp


วิเคราะหทัศนภาพ Scenario Analysis
การวิเคราะหสถานการณภายนอกที่สงผลกระทบตอองคกร
     1. การเมืองไทย
     ทามกลางอุณหภูมิการเมือง ที่ภาคประชาชนและเครือขายนักวิชาการ ตลอดจนกลุมพันธมิตรประชาชน
เพื่อประชาธิปไตย ยังเดินหนาประกาศจัดกิจกรรมและขึนเวทีชุมนุม เพื่อเรียกรองใหนายกฯทักษิณ "วางมือ
                                                          ้
การเมือง" โดยการขับเคลื่อนมีตอเนื่อง ในขณะทีพรรคไทยรักไทยและคนในรัฐบาล ตางยกเอา "การ
                                                  ่
เลือกตั้ง" และใหประชาชนเปนฝายตัดสินวาจะใหพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ทํางานการเมืองตอไปหรือไม แต
ตลอดชวงหลายเดือนที่ผานมา คนในไทยรักไทยตางอึดอัด ไมรูวาหัวหนาพรรคจะตัดสินใจอยางไร เพราะ
เมื่อถูกสื่อจี้ถามก็บอกวาแลวจะมีคําตอบเร็วๆ นี้ ซึ่งความไมชัดเจนก็สงผลสะเทือนกับแผนการหาเสียงของ
6

พรรคดวย เพราะเสียงสะทอนจากคนชนบทตางสอบถามบรรดาอดีต ส.ส.ที่ลงพื้นที่ถึงทาทีชัดเจนวาตกลงจะ
เวนวรรคหรือจะเปนนายกฯตอไป นอกจากกระแส "ไมเอาทักษิณ" ที่ยงขยายตัวไปไมหยุดแลว ตัวแปร
                                                                     ั
ทางดานคดียุบพรรคก็ยังเปนสิ่งที่ฉุดความรูสึกคนในไทยรักไทย ใหเกิดหวั่นไหวในอนาคตดวย จึงไมใช
เรื่องแปลกที่จะมีคลื่นใตน้ําในไทยรักไทยจากบรรดากลุมมุงตางๆ ที่มการเตรียมหาทางหนีทีไล ทั้งการจัดตั้ง
                                                                   ี
พรรค "นอมิน" ไวรองรับเฉพาะกิจ อีกทั้งความพยายามจะหาตัวตายตัวแทน พ.ต.ท.ทักษิณ เพราะหากไมถึง
                  ี
ที่สุดก็ไมจําเปนตองสละพรรคทิ้ง เนื่องจากไทยรักไทยยังมีจุดสามารถขายได ทั้งนโยบายประชานิยมที่คน
ในชนบทยังใหความนิยมสูง สิ่งที่สะทอนใหเห็นถึงการพยายามผลักดัน นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ ขึ้นนั่ง
ตําแหนง "นายกฯนอมิน" เห็นไดจากการปลอยขาวออกมาอยางตอเนื่อง แมคนใกลชิดพวกสายตรงนายกฯ
                           ี
ทักษิณ จะออกมาเบรกและบอกเสมอวาหลังเลือกตั้งพ.ต.ท.ทักษิณ ถึงจะตัดสินใจอนาคตการเมืองของตัวเอง
ก็ตาม ประการหนึ่ง ที่กลุมมุงในพรรค อยากใหมการปรับเปลี่ยน ก็เพราะวิเคราะหแลววาหากพ.ต.ท.ทักษิณ
                                                  ี
ยังคงนั่งตําแหนงนายกฯตอไป การตอตานก็ไมหมดสิ้น และอาจทวีรุนแรงถึงขั้นแตกหัก สูใหเวนวรรคและ
ปลอยใหแกไขรัฐธรรมนูญปฏิรปการเมืองแลวคอยกลับมาก็จะเหมาะสมกวา แตทาทีของ พ.ต.ท.ทักษิณ
                                   ู
กลับนิ่งเฉย และดูเหมือนวาจะไมรับเงื่อนไขการเมืองแบบนี้ดวย ! สวนหนึ่งจะวาไปแลว เปนการคัดคานจาก
กลุมสายตรง "จันทรสองหลา" ที่เกรงวาหากนายสมคิดขึนสูตําแหนง อํานาจในไทยรักไทยจะเสียศูนยและ
                                                               ้
ถูกยึดกุมจากกลุมที่สนับสนุนนายสมคิด ทั้งนี้แหลงขาวในไทยรักไทย ระบุวา กลุมวังน้ํายมของนายสมศักดิ์
เทพสุทิน ที่มอดีตส.ส.อยูในกวนกวารอยคนใหการสนับสนุนนายสมคิดเต็มกําลัง และมีการพบปะกัน
                ี
บอยครั้ง ขณะที่นายสุริยะ จึงรุงเรืองกิจ เลขาฯพรรค ก็หนเอียงมาขางนี้ ดวยเหตุที่เกิดขัดแยงกับหัวหนา
                                                           ั
พรรคในหลายๆ เรื่อง โดยชนวนสําคัญแวววามาจากเรื่อง "สนามบินสุวรรณภูม" เปนหลัก และยิ่งแตกแยก
                                                                              ิ
เมื่อครั้งพ.ต.ท.ทักษิณ ถือหางขาง นายพงษศักดิ์ รักตพงศไพศาล หรือ "เฮียเพง" รองเลขาฯพรรค นั่ง
รักษาการ รมว.คมนาคม หนุนใหเฮียเพงไปดูแลเรื่องรถไฟฟาใตดิน 3 สาย หักหนานายสุริยะอยางเจ็บปวด
ยังไมนับรวมกลุมมุงอื่นๆ ที่เริ่มรวมตัวตังปอมกับกลุมสายตรงของพ.ต.ท.ทักษิณ ดังนั้นในไทยรักไทยจึงมี
                                           ้
อาการคลื่นใตน้ํา ลาสุด น.ต.ศิธา ทิวารี โฆษกพรรคไทยรักไทย ไดออกมายืนยันวา พ.ต.ท.ทักษิณยังลงเปน
ปารตี้ลิสต ลําดับที่ 1 และเปนหัวหนาพรรคตอไป ดังนั้นทุกนโยบายของพรรคตองขับเคลื่อนตอไป ใน
อนาคตการจะรับตําแหนงการเมืองใดๆ หรือไม เปนสิทธิสวนบุคคลของพ.ต.ท.ทักษิณที่จะตัดสินใจ สวน
ความชัดเจนในการลงรับสมัครเลือกตั้งเปนส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อของนายสมคิด ที่มขาววาจะไมลงสมัคร
                                                                                      ี
ซึ่งเทากับตัดสิทธิจะเปน "นายกฯนอมินี" เพราะการโหวตเลือกนายกฯตองเปนส.ส.เทานั้น ในเรื่องนี้
น.ต.ศิธา ตอบวา นายสมคิดยังเปนหนึ่งในประธานคณะกรรมการรณรงคการประชาสัมพันธเลือกตั้ง มีสวน
คิดแคมเปญการเลือกตั้ง ซึ่งมีความสําคัญกับพรรค ฉะนันเมื่อทํางานเลือกตั้งใหกับพรรคแลว คงไมมีเหตุผล
                                                         ้
อะไรที่ทานจะไมลงสมัคร "ณ ปจจุบนทานยังมีใจและยินดีที่จะรวมกับงานของพรรคไทยรักไทย อยางไรก็
                                       ั
ตามการตัดสินใจสุดทายตองขึ้นอยูที่ตัวของทาน" กระนันก็ดี ความเห็นจากฝายสายตรงของนายกฯทักษิณ
                                                             ้
อยาง น.พ.พรหมินทร เลิศสุริยเดช เลขาธิการนายกรัฐมนตรี พูดถึงกรณีที่มีแกนนําพรรคบางคนออกมา
สนับสนุนนายสมคิด ขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี หาก พ.ต.ท.ทักษิณ เวนวรรคทางการเมือง วา ทุกคนมี
สิทธิสนับสนุนกันได แตเชือวาจะไมทาใหประชาชนสับสน เพราะในกระบวนการประชาธิปไตย มีความ
                              ่          ํ
7

แตกตางเกิดขึนได "จุดนีก็เปนขอยืนยันอีกครั้งวา ความแตกตางอยางสรางสรรค ทํากันอยางไร เปนเรื่อง
             ้          ้
ธรรมดา ในตางประเทศโดยเฉพาะในประเทศที่เจริญแลว เวลาที่สงตัวแทนชิงตําแหนงประธานาธิบดีก็มีการ
                                                                
ตอสูกันภายในพรรค แตพอใครไดเปนแลวก็ชวยเหลือกัน ใหเกียรติกน" ทาทีเชนนี้ ไมตางอะไรเลย เปนการ
                                                                  ั
เฉไฉกลบเกลือนคลื่นใตน้ําในพรรค ที่กลุมมุงภายในรวมตัวสงสัญญาณขอเปลี่ยน "นายกฯคนใหม"
               ่                         
    ที่มา : http://www.bangkokbiznews.com/2006/09/06/news_21514945.php?news_id=21514945

     2. เศรษฐกิจ
          ขณะที่ผูใหบริการโทรศัพทมอถือคายเอกชน ทั้ง บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส หรือเอไอเอส
                                       ื
และบมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น หรือดีแทค ตางเรงออกแคมเปญมารับอนาคตการประกาศใชอัตรา
คาเชื่อมโครงขาย (อินเตอรคอนเน็คชั่น ชารจ หรือไอซี) ของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ
หรือ กทช. วานนี้ (5) เอไอเอสออกมาบอกวา กําลังเริ่มตนตอกย้ําแบรนดอีกครั้ง หลังผานสงครามราคาอัน
หนักหนวงชวงกลางๆ ปมาแลว ดวยการเลือกนักรองคายอารเอส "ลิเดีย-ศรัณยรัชต วิสุทธิธาดา" เปนพรีเซ็น
เตอรประจําแบรนดวน-ทู-คอล สะทอนภาพวัยรุน สดใส รักอิสระ กลาแสดงออกในสิ่งที่ถูกตอง ซึ่งการมี
                       ั                         
ตัวแทน หรือพรีเซ็นเตอรประจําแบรนด จะชวยใหลูกคาจําแบรนดไดดีขึ้น ในอดีต แบรนดวัน-ทู-คอล เคยใช
บริการ "ปาลมมี่" อีฟ ปานเจริญ เปนพรีเซ็นเตอรประจําแบรนด ซึ่งหลายๆ คนยังจําภาพโฆษณาของเธอ
ทามกลางฝูงโลมาได และเอไอเอสก็ยังคงสนับสนุนการออกคอนเสิรตของเธออยูเนืองๆ การเริ่มตนใหมกับ
การเลือกตัวแทนแบรนดวัน-ทู-คอล เอไอเอส ยังไมหยุดเพียงเทานี้ เพราะผูบริหารบอกอยางหนักแนนวา
วางแผนไวแลววาจะขยายการใชพรีเซ็นเตอรประจําแบรนดไปที่จเี อสเอ็ม แอดวานซ และสวัสดี ดวย แตตอง
คัดเลือกพรีเซ็นเตอรสะทอนแบรนดอกระยะ   ี
          ฝงดีแทค ก็ประกาศชูยทธศาสตรสนับสนุนใหแฮปปมีจดจําหนายมากที่สุดในอนาคต รับการ
                                 ุ                             ุ
ประกาศใชคาไอซีเชนกัน ดวยการเปด "เครือขายหนารานบนมือถือ" หรือแมสซีฟ เวอรชวล ดิสทริบิวชั่น
               
ของ “แฮปป ออนไลน” บริการเติมเงินผานมือถือ โดยอาศัยมือถือเปนหนาราน ไมใชขายผานรานขายมือถือ
ทําใหประหยัดตนทุนไปเยอะ แถมยังมีรานเติมเงินมือถือเพิ่มขึ้นมหาศาล เพราะผูใชบริการมือถือทุกราย
ลวนสามารถเปนผูใหบริการเติมเงินไดทั้งสิ้น พรอมกับเหตุผลวา ราคาจะไมใชปจจัยสําคัญของการแขงขัน
อีกตอไป หลังประกาศใชคาไอซี เพราะราคาจะเขามาใกลเคียงกัน ดังนัน ความสะดวกจึงเปนเรื่องสําคัญ การ
                                                                     ้
จําหนายผลิตภัณฑผานชองทางเล็กๆ นอยๆ จะมีพลังมหาศาล หันกลับไปมองหนวยงานดานสื่อสาร
โทรคมนาคมของรัฐ ทั้ง บมจ.ทีโอที และบมจ.กสท โทรคมนาคม ที่เคยเปนผูใหบริการโทรคมนาคมราย
ใหญของประเทศไทยกันบาง จนถึงวันนี้ ทิศทางจะไปทางไหนก็ยังไมแนชัด จะควบรวม หรือตางคนตางทํา
ธุรกิจ ลวนยังหาที่สิ้นสุดไมได แมตางฝาย ตางจะเรงกําหนดกลยุทธการทําธุรกิจ แตกแขนงไปสูบริการอื่นๆ
                                     
แตกยังไมแจมชัด ทิศทางธุรกิจของทั้งคู ยังคงตองรอการพิสูจน ขณะที่ผลการดําเนินงานซึ่งรายงานออกมา
     ็
ลาสุด ก็มยอดที่ลดลงๆ รายรับหลักๆ ยังอยูที่การพึ่งพาสวนแบงรายไดจากภาคเอกชน ที่ไดรับสัญญารวมการ
           ี
งานในยุคขยายบริการระบบสื่อสารโทรคมนาคมเฟองฟู รายงานผลประกอบการที่ออกมาแสดงใหเห็นอยาง
ชัดเจนวา หากไมมีรายรับสวนนี้ องคกรทั้งคูมีโอกาสรายไดติดลบอยางตอเนื่อง อีกทั้งภาพที่คนนอกมองเขา
8

ไปยังสององคกรนี้ ก็ดจะอาการหนักหนาสาหัส ยิ่งปลอยทิ้งไวก็มีแตจะถดถอย ดังนัน จึงตองเรงสรางความ
                          ู                                                  ้
เขมแข็ง และแข็งแกรงขององคกร จะควบรวมหรือไม จะกําหนดทิศทางธุรกิจอยางไรตองออกมาใหชด       ั
ไมใชซ้อเวลา จนกระทั่งวันสุดทายมาเยือนอยางรวดเร็วเกินคาด
        ื
          มรกต คนึงสุขเกษม morakot@nationgroup.com
          ที่มา : http://www.bangkokbiznews.com/2006/09/06/news_21514431.php?news_id=21514431

        3. สังคมและวัฒนธรรม
           ปจจุบันสภาพทางสังคมของไทยไดเปลี่ยนไปมากมีความเจริญกาวหนาทั้งทางดานเทคโนโลยีและ
สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ที่ทําใหผูคนสบายขึ้นทั้งในเรื่องของการทํางาน การใชชวิตประจําวัน การศึกษา
                                                                                 ี
การติดตอสื่อสาร เปนตนเมือมีสิ่งอํานวยความสะดวกเพิมมากขึ้นจึงทําใหวฒนธรรมการดํารงชีวตของคน
                                ่                      ่                 ั                ิ
ไทยเปลี่ยนไปทุกสิ่งที่ทาตองอาศัยและพึงพาเทคโนโลยีตางๆ ดังนั้นผูประกอบการที่ทําเกี่ยวกับสินคาทาง
                            ํ           ่                                                  ้
เทคโนโลยีจึงพัฒนาและผลิตสินคาตางๆเพื่อการตอบสนองที่เพียงพอตอความตองการเหลานั้น
           และสิ่งที่ใชอํานวยความสะดวกตางๆเปนตนวา โทรศัพทมือซึ่งตองอาศัยระบบสัญญาณในการ
ติดตอซึ่งเปลี่ยนมาจากการที่ติดตอดวยจดหมาย หรือการเดนทางไปพบดวยตนเอง คอมพิวเตอรและ
อินเตอรเน็ททีตองใชสัญญาณหรือระบบเชื่อมตอเชนกันซึ่งมาแทนทีการศึกษาหาความรูจากตําราที่ตองใช
                 ่                                                ่
เวลาในการคนควา การสื่อสารอีเมลที่สงขอมูลไดมากมายและรวดเร็วสงแลวไดรับทันทีการสนทนาผาน
ระบบอินเทอรเน็ทที่มีทั้งภาพและเสียงในเวลาเดียวกัน เปนตน นันทนาการและบันเทิงที่สงถึงบานหรือ
                                                                                     
ระบบสัญญาณโทรทัศนยูบซีที่แทนการชมภาพยนตรหรือสารคดีจากโรงภาพยนตรที่ปกติตองเชาจากรานเชา
                              ี
เปนตน

          4.เทคโนโลยี
          ในชวงปที่ผานมากระแสเกียวกับการใชงานระบบโทรศัพทผานระบบอินเตอรเน็ตนั้นไดเขามามี
                                   ่
บทบาทในการดําเนินงานของธุรกิจหรือองคกร ในชื่อตางๆกัน เชน Internet Telephony, IP Telephony,
VoIP ( Voice over IP ) , VoWLAN ( Voice over Wireless LAN ) , VoBB ( Voice over Broadband ) และ IP
PBX แตมีลักษณะการทํางานและมาตรฐานที่แตกตางกัน โดยวัตถุประสงคหลักคือใชงานโทรศัพทผานทาง
โครงขายอินเทอรเน็ตหรือเน็ตเวิรคที่ใชงานอยูในปจจุบันผานโปรโตคอล TCP / IP เพื่อลดคาใชจายและ
ตนทุนในการใชงานโทรศัพท ไมวาจะเปนการโทรทางไกลในตางจังหวัด ระหวางสาขา ระหวางประเทศ
โทรศัพทผานคอมพิวเตอรกบคอมพิวเตอร หรือระหวางคอมพิวเตอรกบโทรศัพทพื้นฐานธรรมดา เพื่อสราง
                            ั                                         ั
มูลคาเพิ่มใหกบการใชงานโครงหลักหรือโครงขายเดิมที่มีอยู
               ั
          การใชงานโทรศัพทผานระบบอินเทอรเน็ตในปจจุบันเปนที่รจักกันดีในชื่อของ VoIP หรือ Voice
                                                                    ู
over IP ซึ่งรองรับทั้งการใชงานในลักษณะที่เปนเสียงพูดธรรมดาและการใชงานในลักษณะของโทรสาร ซึ่ง
ทั้งหมดนี้อยูในพื้นฐานของเทคโนโลยีที่เรียกวา IP Telepony ซึ่งเปนแนวคิดเกียวกับการนําเอาขอมูลของ
                                                                            ่
เสียงพูด โทรสารหรือขอมูลอื่นที่เดิมเคยใชงานผานทางระบบโครขายโทรศัพทสาธารณะหรือที่เราเรียกวา
9

PSTN ( Public Switched Telephone Network ) โดยใชเทคโนโลยีของวงจรสวิทชแบบเดิม ( Circuit
Switching ) ซึ่งในปจจุบันไดลาสมัยลงและมีตนทุนตอการใชงานที่สูงรวมถึงมีขอจํากัดดานการใชงานสื่อ (
Media) ในลักษณะที่ไมสามารถแชรใชรวมกันได โดยมาแปลงใหอยูในรูปแบบของขอมูลที่เปนแพคเก็ต
                                           
Packet เพื่อใหสามารถสงผานไปในระบบอินเทอรเน็ตซึงเปนเน็ตเวิรคที่ใชเทคโนโลยีของแพคเกตสวิทช
                                                        ่
(Packet Switching) และการสวิทชขอมูล (Data Switching) และแชรการใชงานสื่อโดยอาศัยพืนฐานของ
                                                                                           ้
อินเตอรเน็ตโปรโตคอลหรือ TCP / IP ได ทําใหขอจํากัดเรื่องการเชื่อมตอระหวางโครงขาย ตนทุนการใช
งานและการดูแลรักษาลดลง เพราะตนทุนของการใชงานโครงขายอินเทอรเน็ตในปจจุบันมีราคาคอนขางต่ํา
และเปนคาใชจายที่คงที่และเชื่อมตอถึงกันทั่วโลกโดยไมจําเปนตองเสียคาใชจายเพิ่มเติม
         การพยายามลดตนทุนดานการใชงานโทรศัพทผานทางเครือขาย PSTN โดยนําโครงขายอินเตอรเน็ต
มาใชงานใหเปนประโยชนจะเห็นไดจากการเริ่มใชงานโปรแกรมประเภทหองสนทนาหรือ Chat Room เชน
Talk, IRC ( Internet Relay Chat) หรือโปรแกรมประเภทกระดานขาวอิเล็คทรอนิคสหรือ Webboard จนไป
ถึงโปรแกรมประเภทสงขอความสวนบุคคลประเภท Instant Messenger เชน ICQ, AOL Intstant Messenger,
MSN, Qnext, Yahoo! Messenger, Jabber ซึ่งเริ่มแรกสามารถรับสงไดเฉพาะขอความ รูปภาพ และ
ไฟลขอมูล และมีการพยายามพัฒนาใหสามารถสงเสียงในลักษณะของ Digital voice ไดแตยังคงมีขอจํากัด 
ดาน Banwidth โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมผูใชตามบานซึ่งใชงานอินเทอรเน็ตประเภท Dial-up อีกทั้งเทคโนโลยี
การสงขอมูลเสียงยังไมดพอจึงไมสามารถรองรับการสนทนาแบบโตตอบในทันที ( real time) ที่ตองการ
                          ี
Bandwidth ที่สูงได
         เมื่อโครงขายอินเทอรเน็ตไดขยายตัวขึ้นและมีการใหบริการอินเตอรความเร็วสูงกันอยางแพรหลาย
ก็ไดมีการพัฒนาโปรแกรมประเภท IM ใหมความสามารถทางดานเสียงและมีการพัฒนาเพื่อใหสามารถ
                                               ี
สนทนาโตตอบในทันทีไดขนมา ซึ่งโปรแกรมตัวที่เปนที่รูจักดีและมีชื่อเสียงไดแก Skype ที่นิยมกันอยาง
                             ึ้
รวดเร็วเพราะเปนฟรีแวรและสามารถใชงานไดเปนอยางดี จุดนีเ้ องเปนจุดเริ่มตนของการใชงานและพัฒนา
ระบบ VoIP แบบสวนบุคคล ซึ่งสงผลใหมีการพัฒนาซอฟแวรในลักษณะเดียวกันตัวอื่นขึ้นมา เชน Google
Talk, MSN และ Yahoo! Messenger
         ในดานการใชงานในเชิงธุรกิจเดิมเทคโนโลยีดาน VoIP ไดถูกพัฒนาภายใตมาตรฐานของ Video
Conference ซึ่งจะรองรับทั้งการใชงาน เสียง ภาพเคลื่อนไหว และขอมูล โดยกลุมประชุมของ Video
Conference Forum มีบริษัทใหญเชน Cisco, VocalTec, 3COM และ Netspeak เขารวมอยูดวยโดยไดสราง
มาตรฐาน H.323 ขึ้นเพื่อรองรับการสงขอมูลเสียงและวีดโอโดยใช IP และองคการโทรคมนาคมแหงชาติ
                                                          ี
สหรัฐหรือ ITU (International Telecommunication Union) ไดประกาศรับรองใหเปนมาตรฐานของระบบ
การประชุมผานวิดีโอ (Video Conference) โดยการใชงานนั้นจะตองใช Real-time Protocol (RTP) เพื่อชวย
ใหการสงขอมูลเสียงนั้นสามารถควบคุมเวลาใหไปถึงตรงตามความเปนจริงซึ่งเปนเรืองที่คอนขางยากที่จะ
                                                                                      ่
รับประกันคุณภาพของการสงขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ตไดจึงตองมีการกําหนดคุณภาพของการ
ใหบริการบนระบบเครือขาย หรือ QoS ( Quality of Service ) ขึ้นเพื่อปองกันปญหาเสียงติดขัดหรือชากวา
ความเปนจริงได ซึ่งนี่เองเปนสิ่งที่ยากที่สดในการจัดการระบบ Video Conference เพราะในระหวางทางที่จะ
                                             ุ
10

สงขอมูลเสียงไปนั้นอาจมีบางจุดที่ไมสามารถควบคุมคุณภาพของการสงขอมูลได ดังนั้นปจจุบนจึงมีผู
                                                                                          ั
ใหบริการเครือขายเฉพาะเพือรองรับการใชโทรศัพทผานระบบอินเทอรเน็ตเรียกวา ITSP ( Internet
                            ่
Telephony Service Provider ) เพื่อใหบริการสงขอมูลที่ควบคุมคุณภาพการใหบริการไดตั้งแตตนทางจนถึง
                                                                                            
ปลายทางเลยทีเดียว
         ที่มา : http://www.ksc.net/item.aspx?channel=3&item=1214&page=16

วิเคราะหสถานการณภายในองคกร
    1. สถานการณทางดานการตลาด

           ทรูมูฟเปดแผยไตรมาส 4 เนนรักษาฐานลูกคา และทําตลาดแบบไลฟสไตลตามนโยบายคอนเวอร
เจนท ดวยการการออกแคมเปญชิงเงิน 100 ลานบาท หวังใชเปนแมเหล็กดึงดูดใจลูกคา หลังไตรมาส 3 ลูกคา
ใหมไหลเขาสูงถึง 2.65 ลานราย
       นายสุภกิจ วรรธนะดิษฐ ผูอํานวยการดานการตลาดและการบริหารความสัมพันธกับลูกคา กลุมบริษัท
ทรู คอรปอเรชั่น กลาวถึงผลประกอบการไตรมาส 3 ปนี้วา ทรูมูฟมียอดผูใชบริการสูงกวา 2 ไตรมาสที่ผาน
มารวมกัน โดยมีลูกคาเพิ่มสูงสุด 1.4 ลานราย หรือประมาณ 1 ใน 3 ของยอดลูกคาใหมทั้งหมด ทํามีฐาน
ลูกคากวา 6.8 ลานราย สูงกวาเปาที่ตั้งไวภายในปนี้ 5.7 ลานราย และมีรายไดจากคาบริการสิ้นสุดไตรมาส 3
อยูที่ 5,715 ลานบาท หรือโตขึ้น 30% เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปทผานมา นอกจากนี้ ยังมีบริการนอน
                                                                        ่ี
วอยซที่มยอดผูใชบริการเสียงรอสายหรือคัลเลอรริงโทน 1.3 ลานราย จีพีอารเอส 1.3 ลานราย ซึ่งบริการนอน
            ี
วอยซหากคิดเปนรายไดถือวาโตมากคือจบไรมาส 3 โตถึง 70% หรือมีมูลคาประมาณ 586 ลานบาท คิดเปน
รายได 10% ของรายไดทั้งหมด
           สวนตลาดโดยรวมสิ้นสุดไตรมาส 3 มียอดผูใชมือถือทั้งหมด 36.7 ลานราย หรือคิดเปน 56% ของ
ประชากร และมีโอกาสเพิ่มขึ้นเปน 80% เพราะตลาดตางจังหวัดยังมีโอกาสโตอีกมาก สวนลูกคาใหมที่
เพิ่มขึ้นสุทธิในไตรมาสนี้ 2.65 ลานราย สําหรับสวนแบงตลาดเอไอเอส 49% ดีแทค 31% ทรูมูฟ 18%
           ดานเครือขายทรูมูฟใชงบในปนี้ 7,000 ลานบาท ทําใหขณะนี้มพื้นที่ครอบคลุมกวา 92% คือผูใช
                                                                           ี
100 คน ใชได 92 คน ถือวาใกลเคียงกับคูแขง ซึ่งจะใชเรืองของเครือขายเปนจุดขายทีจะสรางราคาสูงกวา
                                                           ่                         ่
ตลาดอีกตอไปไมไดแลว
           จากความสําเร็จของทรูมฟเมื่อชวงไตรมาส 3 ผูบริหารกลุมทรูกลาวย้ําวา มีสาเหตุมาจากหลายปจจัย
                                   ู
ไมวาจะเปนกลยุทธคอนเวอรเจนท ไลฟสไตล และการทํา โปรโมชันที่รวมบริการที่มีความโดดเดนตางๆ
     
ในกลุมทรูเขาดวยกัน ขณะเดียวกันก็สะทอนใหเห็นแนวทางการเติบโตอยาตอเนื่องของทรูมูฟในตลาดได
เปนอยางดี ดวยการคิดคนรูปแบบแคมเปญการตลาดที่แปลกและแตกตาง จึงทําใหมการตอบรับจากตลาด
                                                                                    ี
เปนอยางดี เชน แคมเปญยูบซเี อเอฟ 3 และการเปดแคมเปญทรูไลฟพลัส มิติใหมของนวัตกรรมการบริหาร
                              ี
ดวยยูบีซทรูมฟ ฟรีวว
           ี ู         ิ
11

          นายอริยะ พนมยงค รองผูอํานวยการฝายการตลาด ทรูมูฟ กลาวถึงแผนงานชวงไตรมาส 4 วา ทรูมูฟ
จะเนนการรักษาฐานลูกคา และทําตลาดแบบไลฟสไตลเปนหลัก สําหรับการรักษาฐานลูกคาจะมีการออก
แคมเปญใหลกคาทั้งโพสตเพดและพรีเพดรวมชิงเงิน 100 ลานบาท ทั้งนี้ หากเปนโพสตเพด 1 บิลคิดเปน 1
              ู
สิทธิ์ หรือการเติมเงิน 1 ครั้งถือเปน 1 สิทธิ์ ในการรวมชิงรางวัล นอกจากนี้ ยังเปดใหซื้อซีดีอัลบั๊ม Love to
Share ในราคาพิเศษ รวมถึงการทํา True Transfer ที่โอนทั้งเงิน แอรไทม และวันได
          สวนเรื่องไลฟสไตล เร็วๆ นี้ทรูมฟมีแผนจะออกซูเปอรซิม ซึ่งเปนซิมที่ใหประโยชนมากกวาซิมที่มี
                                           ู
อยูในทองตลาด ขณะเดียวกันก็จะมีการทํากิจกรรมเกียวกับดาวรุงลูกทุงที่มีการเปดตัวไปกอนหนานี้ และจะ
                                                       ่              
มีการทําแพกเกจเอสเอ็มเอสราคาถูกสําหรับกลุมที่ชอบสงขอความ เปนตน
          2. สถานการณเทคโนโลยี
          ทรู ปกธงผูนําอินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร ของไทย ขยายศูนยดาตา เซ็นเตอร ครบวงจรแหงใหม ณ
เมืองทองธานี เพิ่มศักยภาพศูนยขอมูลอัจฉริยะ พรอมคุณภาพระดับโลก ISO 20000 เล็งเจาะกลุมลูกคา
องคกรขนาดกลาง - ใหญกรุงเทพฯ 18 กันยายน 2550 - บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด ตอกย้ํา
ผูนาดาน อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอรครบวงจร ประกาศเปดศูนยอินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร (IDC) แหงที่
    ํ
2 ศูนยเมืองทองธานี ดวยคุณภาพมาตรฐาน ISO 20000 ระดับโลก พรอมนําเสนอบริการใหม หลากหลาย
กวาเดิม ตอบโจทยความตองการบริการแบบ Total ICT Solutions ของลูกคาองคกรขนาดกลางและใหญ ชู
จุดเดนศูนยไอดีซครบวงจรแหงเดียวในไทยที่มีระบบสํารองการทํางานของระบบโครงขายหลัก (Redundant
                   ี
Core Network) เพิ่มความมันใจและปลอดภัยสูงสุด
                             ่

         นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย ผูอํานวยการบริหารดาน Corporate Solutions, Wholesales & Data
บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา “จากความตองการของลูกคาองคกรที่ใชบริการ
อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องมาตลอด 3 ป ทรูไดขยายศูนยอินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร
เปนแหงที่ 2 เพื่อใหบริการอินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอรแบบครบวงจร รองรับระบบเครือขายและ ขอมูลของ
ลูกคา รวมทั้งเปนระบบสํารอง ซึ่งสามารถทํางานทั้งรวมกัน และทดแทนกันไดอยางสมบูรณแบบ โดยหาก
ระบบในศูนยใดมีปญหา ระบบในอีกศูนยก็สามารถรองรับการทํางานไดทันที ทรู ไอดีซี จึงเปนศูนยไอดีซี
แหงเดียวในไทยที่มีระบบสํารอง (Redundant Core Network) เพิ่มความมั่นใจใหลูกคาที่ใชบริการของทรู
รวมทั้งบริษัทในเครือ นอกจากนี้ ทรู ไอดีซี ยังไดมาตรฐานรับรอง ISO 20000 ซึ่งเปน
เครื่องหมาย รับประกันคุณภาพการบริการดานไอทีที่ไดมาตรฐานสากล ลูกคาทรูไอดีซี จึงมั่นใจไดถึง
คุณภาพในการบริการ การเปดศูนยดาตา เซ็นเตอร ครั้งนี้จึงเปนความกาวหนาอีกขันที่จะยกระดับบริการ
                                                                                  ้
ของทรู และตอกย้ําวิสยทัศนคอนเวอรเจนซของกลุมทรู โดยเฉพาะในดาน Network Convergence
                        ั


        นายเจนวิทย คราประยูร ผูจัดการทัวไป บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด กลาววา ทรู
                                           ่
อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร ศูนยเมืองทองธานี ตั้งอยูที่ชน 8 อาคารเจนีวา เมืองทองธานี มีพื้นที่รวม 2,600
                                                           ั้
12

ตารางเมตร เปนพื้นที่เฉพาะหองดาตาเซ็นเตอร 3 หอง พื้นที่รวมประมาณ 1,200 ตารางเมตร ระบโครงสราง
พื้นฐานมีการออกแบบและวางระบบเปนอยางดี พรอมติดตั้งอุปกรณที่ทํางานทดแทนในจํานวนที่เหนือกวา
มาตรฐานศูนยไอดีซีท่วไป ลูกคาจึงไววางใจไดวาระบบและอุปกรณสําคัญจะอยูสภาพแวดลอมและการดูแล
                      ั
ที่สมบูรณแบบที่สุด นอกจากนี้ยงมีศกยภาพพรอมรองรับบริการใหมๆ หลากหลายรูปแบบมากยิ่งขึ้น อาทิ
                              ั ั

      บริการศูนยสํารองและกูคืนขอมูล (Disaster Recovery (DR) Solution Service)
      ระบบบริการพื้นที่เก็บขอมูลออนไลน (Online Backup/ Online Storage Service)
      ระบบบริการเพื่อการจัดเก็บและเรียกใชไฟลขอมูลบนเว็บ (NetDisk by True)
      ระบบใหบริการการประชุมทางไกลแบบครบวงจร (Managed VDO Conference)

     ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร มีบริการครบวงจร รองรับความตองการของลูกคาองคกรอยางเต็มที่
อาทิ บริการรับฝากเครื่องเซิรฟเวอร และอุปกรณ (Co-location) บริการจัดการเครื่องเซิรฟเวอรใหเชา
(Dedicated Server Service) บริการ Web Hosting บริการพื้นที่เก็บขอมูลสวนตัวขององคกร และบริการ
ปองกันความปลอดภัยขอมูล (Security & Firewall) รวมถึงบริการจัดโซลูชั่นตามความตองการของลูกคา
เฉพาะราย (IDC Solution Service) เปนตน
ที่มา:ผูจัดการออนไลด; http://www.thaimobilecenter.com/promotion/promotion_news_detail.asp?nid=70

       3. ผลประกอบการ

        ทรูมฟโชวสุดยอดผลประกอบการไตรมาส 2 ป 2550 ยอดผูใชเพิ่มขึ้นเปน 9.1 ลานราย รายไดเติบโต
            ู
กวา 75%กรุงเทพฯ 22 สิงหาคม 2550 --ทรูมูฟ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในกลุมทรู คอรปอเรชั่น โชว
ผลการดําเนินงานในไตรมาส 2 ประจําป 2550 มียอดลูกคาใหมเพิ่มขึ้นถึง 953,000 ราย ดันยอดลูกคารวม
ทะยานถึง 9.1 ลานราย ซึ่งเพิ่มขึ้น 68% จากปลายไตรมาสที่ 2 ป 2549 และทําใหสวนแบงตลาดเพิ่มเปน
ประมาณ 20% ของจํานวนผูใชบริการในตลาดรวมทั้งหมด ประกาศรายไดรวมจากคาบริการจํานวน 8.73
พันลานบาทเพิ่มขึ้นกวา 75% จากไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมา เผยบทพิสูจนความสําเร็จกลยุทธคอนเวอร
เจนซ ไลฟสไตล และโครงขายสัญญาณครอบคลุมกวา 92% ของประชากรทั่วประเทศ พรอมการเติบโต
อยาง กาวกระโดดของบริการ Non-Voice จากกลยุทธการตลาดเชิงไลฟสไตล คาดยอดลูกคาพุง ตอเนื่อง
ตลอดถึงสิ้นป

        นายสุภกิจ วรรธนะดิษฐ ผูอํานวยการดานการตลาดและการบริหารความสัมพันธกับลูกคา กลุม
บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กลาววา “จากผลการประกอบการของทรูมูฟในไตรมาส 2 ป 2550
ฐานลูกคาทรูมูฟเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมียอดลูกคาใหมเพิ่มขึ้น 953,000 ราย จากไตรมาสที่ผานมา
558,000 ราย สงผลใหมียอดรวมลูกคาทั้งสิ้น 9.1 ลานราย และมีรายไดรวมทั้งสิ้น 8,737 ลานบาท (รวมคา
เชื่อมโยงเครือขาย) เพิ่มขึ้น 75.6% จากไตรมาสเดียวกันของป 2549 นอกจากนี้ บริการเสริมตางๆ และ Non-
13

Voice นับเปนบริการที่สรางรายไดใหทรูมูฟอยางแข็งแกรง โดยรายไดจาก non-voice เติบโตอยางกาว
กระโดดเปน 635 ลานบาท เติบโต 35.5% เมื่อเทียบกับปที่ผานมา ทั้งนี้ กําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ย
ภาษี คาเสื่อมราคา และคาใชจายตัดจาย (EBITDA) เพิ่มขึ้นกวาเทาตัวคือ 105.5% จากไตรมาสเดียวกันของป
ที่แลว เนื่องจากรายไดเพิ่มขึ้น รวมทั้งคาเชื่อมโยงโครงขายลดลง

ผลประกอบการในครั้งนี้ ถือเปนความสําเร็จจากการพัฒนาบริการอยางตอเนื่อง ประกอบดวย

       การตลาดเชิงไลฟสไตล ตอบโจทยทุกไลฟสไตลของลูกคาทุกกลุม โดยเฉพาะการนําเสนอ
        Exclusive Content เติมเต็มวิสัยทัศนคอนเวอรเจนซ ไลฟสไตลของทรู
       การผสมผสานบริการและผลิตภัณฑตางๆ ภายในกลุมทรู ทําใหทรูมูฟสามารถนําเสนอบริการที่
        แตกตางจากผูใหบริการรายอื่น และเพิ่มความสะดวกสบายสูงสุดใหลูกคา
                      
       กิจกรรมการตลาดตรงสูกลุมลูกคาทุกกลุมอยางตอเนื่อง
       ความเชื่อมั่นในคุณภาพและความครอบคลุมของเครือขายทรูมูฟ โดยที่มีการลงทุนพัฒนาศักยภาพ
        ของสัญญานอยางตอเนื่องใหเทียบเทากับผูใหบริการรายอื่น โดยปจจุบันเครือขาย ทรูมูฟครอบคลุม
        92% ของประชากรทั่วประเทศ

“อยางไรก็ตาม“ในป 2550 ทรูมูฟยังคงมุงมันที่จะนําเสนอกลยุทธการตลาดที่เนนไลฟสไตลของลูกคาเปน
                                               ่
สําคัญ โดยมีเราแผนนําเสนอแคมเปญหลากหลายตอบสนองทุกไลฟสไตลที่แตกตางกันของกลุมลูกคา
รวมทั้งมุงสรางสรรคนวัตกรรมบริการแบบคอนเวอรเจนซ Convergence ระหวางบริการตางๆ ในกลุมทรู ซึ่ง
ถือวาเปนจุดเดนที่เหนือกวาคูแขง ทั้งนี้ ทรูมูฟสวนแบงตลาดในยอดผูใชบริการรายใหมของไตรมาส 2
                               
เพิ่มขึ้นจากไตรมาสกอนหนา เปน 26% และสําหรับสวนแบงตลาดผูใชบริการโดยรวมในปนี้คาดวาจะ
เติบโตขึ้นเปนกวา 20% จาก 19.3% ณ ปลายปที่แลว ในภาพรวมแลว ทรูมูฟและตั้งเปาขยายฐานลูกคาใหม
เพิ่มขึ้น 1 ใน 3 ของการเติบโตของตลาดโดยรวม” นายสุภกิจกลาวทิ้งทาย

ที่มา: http://www.truecorp.co.th/eng/news/news_detail.jsp?id=361
14

    4. รายชื่อผูถือหุน

                               บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)
                                           ผูถือหุนรายใหญ
                                      ณ วันที่ 26 มิถุนายน 2550
                           (วันปดสมุดทะเบียนผูถอหุนลาสุดของป 2550)
                                                     ื


                                                                          จํานวนหุน         รอยละของหุน
                             ชื่อผูถือหุน
                                                                          (ลานหุน)            ทั้งหมด1
1. กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด2                                      1,351.64                30.02
2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด                                                 379.17                  8.42
3. กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว3                                     357.99                  7.95
4. KREDITANSTALT FÜR WIEDERAUFBAU (“KfW”)                                        341.36                  7.58
5. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR
                                                                                 179.99                   4.00
LONDON
6. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR
                                                                                 147.81                   3.28
AUSTRALIA
7. HSBC (SINGAPORE) NOMINESS PTE LTD.                                            141.75                   3.15
8. CHASE C.S. CENTRAL NOMINEES LIMITED                                           124.49                   2.77
9. LBPB NOMINEES LIMITED                                                         101.63                   2.26
10. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY                                           93.12                   2.07


1
  รวมหุนสามัญและหุนบุรมสิทธิ
                             ิ
2
 ประกอบดวย 1) บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด และผูที่รายงานในกลุมเดียวกัน ซึ่งไดแก 2) บริษัท
กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด 3) บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) 4) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส
จํากัด (มหาชน) 5) บริษัท กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร จํากัด (มหาชน) 6) บริษัท เจริญโภคภัณฑ
อีสาน จํากัด (มหาชน) 7) บริษัท เกษตรภัณฑอุตสาหกรรม จํากัด 8) บริษัท เจริญโภคภัณฑอน-เอ็กซ จํากัด 9)
                                                                                               ิ
บริษัท ยูนีคเน็ตเวิรค จํากัด 10) บริษัท ไวด บรอด คาสท จํากัด 11) บริษัท ซี.พี.อินเตอรฟูด (ไทยแลนด) จํากัด
12) บริษัทสตารมารเก็ตติ้ง จํากัด 13) บริษัท แอดวานซฟารมา จํากัด และ 14) Golden Tower Trading Ltd.
3
  ถือหุนเพื่อ KfW
15

บทวิเคราะหธุรกิจ
ในธุรกิจนีนําทฤษฏี 3C มาใชในการวิเคราะห ดังนี้
            ้
Competitors การแขงขัน
          การแขงขันเมือผูที่จะเขาแขงขันนั้นมีความพรอมจึงเปนผูที่ไดเปรียบกวาคูแขงดวยเหตุน้ทรูจงเปน
                       ่                                                                             ี ึ
องคการในระบบสื่อสารที่มีความมั่นคงกวาระบบอื่นๆ ถึงแมจะเปนการกาวเขามาแขงขันชากวา เพราะวาทรู
มีระบบที่ใหการบริการมากมายหลายอยางที่คูแขงไมมี
          จึงเปนอีกเหตุผลหนึ่งที่ลูกคาสวนใหญเปลี่ยนการใชบริการจากระบบอื่น เพราะเมือลูกคาใชบริการ
                                                                                                ่
ระบบอยางใดอยางหนึ่งสามารถที่จะรับสิทธิพิเศษที่จะรับบริการเพิ่มเติมในระบบ
          ถาดูจากการแขงขันแลวมีเพียงบางสวนทียงสูกับระบบอื่นยังไมไดกจะเปนการใหบริการถึงลูกคาใน
                                                    ่ั                          ็
สวนภูมภาคซึ่งเปนกลุมลูกคาสําคัญเชนกัน
        ิ

Customers กลุมลูกคา
         เมื่อทรูเปดระบบเขาสูตลาดการแขงขันอยางเต็มตัวจึงมีลกคาทุกกลุม คือ สามารถครอบคลุมทุกกลุม
                                                                ู
ทุกวัยเพราะการบริการที่หลากหลายทําใหผูที่ใชบริการสามารถลือกรับการบริการสวนใดสวนหนึ่งหรือรับ
การใหบริการทุกรูปแบบได
         เพราะจะไดระบบผลประโยชนที่เกียวเนื่องกัน จึงเปนอีกกลยุทธหนึงที่ทําใหทรูสามรถเพิ่มปริมาณ
                                           ่                                 ่
กลุมลูกคาไดอยางรวดเร็วและรักษาเอาไวได

Cost ตนทุนต่า ํ
         ทรูใชระบบทีพฒนาจากระบบสื่อสารพื้นฐานหรือการสือสารใชสายเดิมแลวเพิ่มการใหบริการสวน
                       ่ ั                                         ่
อื่นเขาไปอีกทีหนึ่ง
         จึงเปนระบบสือสารที่ลงทุนอยูในเกณฑทพอเหมาะ และคุมคาเพราะการลงทุนเพียงครั้งเดียวแต
                         ่                        ี่
สามารถใหบริการไดหลายรูปแบบได จึงถือไดวาเปนการลงทุนที่คุมและใหผลการตอบแทนที่รวดเร็วและ
มากกวาการสื่อสารเพียงระบบเดียว
ขอเสนอแนะ
         ในการสื่อสารที่จะสามารถรักษาและเพิ่มจํานวนกลุมลูกคาไดคือ ตองมีการใหบริการที่ครอบคลุม
และใหบริการตามความตองการของลูกคา ทรูจึงเปนทางเลือกที่ไดรบความพึงพอใจสูงจากกลุมผูรับบริการ
                                                                      ั
         แตยังมีบางสวนที่ยังเขาไปใหบริการยังไมทั่วถึง จึงจําเปนอยางยิ่งที่ทางทรูตองเรงเขาติดตั้งและขยาย
ระบบใหทวถึงตอไป
            ั่

Contenu connexe

Tendances

เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555ครู กรุณา
 
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยกรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยChatchamon Uthaikao
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์Kruple Ratchanon
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 

Tendances (20)

เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
เครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอนเครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอน
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
 
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยกรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 

Similaire à บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด

ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1Tn' Nam
 
True move
True moveTrue move
True moveTn' Nam
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plansiriporn pongvinyoo
 
นายรัฐนันท์ พรมไหม ม
นายรัฐนันท์  พรมไหม  มนายรัฐนันท์  พรมไหม  ม
นายรัฐนันท์ พรมไหม มFolk Wannarat
 
ชื่อ นาย สุรเกียรติ ใจอาษา ม
ชื่อ นาย สุรเกียรติ ใจอาษา มชื่อ นาย สุรเกียรติ ใจอาษา ม
ชื่อ นาย สุรเกียรติ ใจอาษา มOLiang Srk
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2Oat Vsm
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2Oat Vsm
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 

Similaire à บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด (20)

ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1
 
True move
True moveTrue move
True move
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
7 eleven
7 eleven7 eleven
7 eleven
 
D T A C
D T A CD T A C
D T A C
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
 
นายรัฐนันท์ พรมไหม ม
นายรัฐนันท์  พรมไหม  มนายรัฐนันท์  พรมไหม  ม
นายรัฐนันท์ พรมไหม ม
 
ชื่อ นาย สุรเกียรติ ใจอาษา ม
ชื่อ นาย สุรเกียรติ ใจอาษา มชื่อ นาย สุรเกียรติ ใจอาษา ม
ชื่อ นาย สุรเกียรติ ใจอาษา ม
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตTOT
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตTOTผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตTOT
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตTOT
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
 
Post
PostPost
Post
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
True 1
True 1True 1
True 1
 
Resource2
Resource2Resource2
Resource2
 
Group5
Group5Group5
Group5
 

Plus de DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

Plus de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด

  • 1. 1 บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) วิสัยทัศน (Vision) การเปนผูใหบริการดานการสื่อสารครบวงจรและมุงตอบสนองตอลูกคาเปนหลัก อีกทั้งยังเปนผู ใหบริการหนึ่งเดียวของประเทศที่ใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน ระบบสื่อสารไรสาย อินเทอรเน็ตความเร็วสูง และผลิตภัณฑและบริการดานเนื้อหาตางๆอยางหลากหลาย พันธะกิจ (Mission) แนวทางในการปฏิบัตหนาที่ ซึ่งประกอบดวย ิ เชื่อถือได - เราซื่อตรงและใหเกียรติทุกคนและรวมกันทํางานเพื่อความสําเร็จรวมกัน - เราสื่อสารอยางซื่อตรงและเนนถึงประโยชนของบริษัทเปนสําคัญ - เราพยายามทําในสิ่งที่เหมาะที่ควรเพื่อลูกคาของเรา - เราพรอมจะตัดสินใจและรับผิดชอบในการกระทําของเรา สรางสรรค - เราพยายามเสาะหาแนวคิดใหมๆ และวิธการใหมๆ ซึ่งจะนํามาซึ่งผลิตภัณฑและบริการที่เปยม ี ดวยคุณภาพ - เราแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันเพือเสริมสรางความเขมแข็งในการทํางานรวมกัน ่ - เราทํางานดวยความทาทายซึงทําใหธรกิจของเราพัฒนาไปสูความกาวหนาเหนือผูอื่น ่ ุ เอาใจใส - เราเชื่อมั่นวาพนักงานของเราคือสินทรัพยที่มีคายิ่งของบริษัท - เราตั้งใจจะทํางานรวมกันดวยความสามัคคีและมอบสิ่งที่ถูกที่ควรใหกบลูกคา เพื่อนรวมงาน ั และคูคาของเรา - เราปฏิบัติตอผูอื่นในลักษณะเดียวกับที่เราอยากใหผูอื่นปฏิบัติตอเรา - เรายอมรับผลงานและยินดีในความสําเร็จของกันและกัน - เราสรางสัมพันธภาพที่ยั่งยืนกับคูคาของเรา กลาคิดกลาทํา - เรามีความปรารถนาที่แนวแนเพื่อพัฒนาบริษัทของเราและเปนผูนําในตลาดการคา - เราปฏิบัติงานดวยความเด็ดเดี่ยว ประเมินความเสี่ยงอยางสุขุมและเรียนรูจากขอผิดพลาด - เราตระหนักดีวาโอกาสเกิดจากความรับผิดชอบและความรูสกเปนเจาของในงานนันๆ ึ ้
  • 2. 2 เปาหมาย (Goal) การเปนผูนํา Convergence lifestyle enabling ผานบริการทั้งหมดของกลุมซึ่งมีครบวงจร ไมวาจะ เปน Wire line หรือ Wireless ตั้งแตโทรศัพทพื้นฐาน, WE PCT บรอดแบนด, อินเทอรเน็ต และรวมไปถึง การใหบริการเคเบิ้ลทีวี บริการตางๆเหลานี้ เปนชองทางที่จะทําใหเราสามารถเติมเต็มชีวตของลูกคาทุกกลุม ิ ใหครบถวน รวมถึงการใหบริการโซลูชันทางธุรกิจ ทั้งแกลูกคาองคกรและลูกคา SME ขอมูลทั่วไป ที่ตั้งสํานักงาน : เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร เลขทะเบียนบริษัท 0107536000081 วันที่จดทะเบียน : 11 กุมภาพันธ 2536 www.truecorp.co.th โทรศัพท : 02-643-1111 โทรสาร : 02-643-1651 ชื่อ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กรรมการบริษัท 18 คน ดังนี้ 1. นายธนินท เจียรวนนท 2. นายสุเมธ เจียรวนนท 3. นายโชติ โภควนิช 4. นายเฉลียว สุวรรณกิตติ 5. นายอาชว เตาลานนท 6. นายโกศล เพ็ชรสุวรรณ 7. นายชัชวาลย เจียรวนนท 8. นายสุภกิต เจียรวนนท 9. นายศุภชัย เจียรวนนท 10. นายณรงค ศรีสอาน 11. นายวิทยา เวชชาชีวะ 12. นายอธึก อัศวานันท 13. นายฮาราลด ลิงค 14. นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน 15. นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ 16. นายลี จี.แลม 17. นายเยนส บี.เบสไซ 18. นายนอรเบิรต ฟาย ทุนจดทะเบียน : 47,515,194,180.00 บาท ขอมูลจาก กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ณ วันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2550
  • 3. 3
  • 4. 4 ทรูคือผูใหบริการสื่อสารครบวงจรหนึ่งเดียวของประเทศบริษัทกอตั้งขึ้นครั้งแรกในเดือน พฤศจิกายน 2533 และในป 2536 ไดเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทมหาชน และเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยในชื่อ บริษท เทเลคอมเอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2536 มีชื่อยอ ั หลักทรัพยวา “TA”ในเดือนเมษายน 2547 บริษัทไดมีการปรับเปลี่ยนภาพลักษณภายใตแบรนดทรู และได เปลี่ยนชื่อบริษัทมาเปน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) มีชื่อยอหลักทรัพยวา “TRUE” โดยมีทุนจด ทะเบียนที่เรียกชําระแลวทั้งสิ้น 45,015 ลานบาท ณ สิ้นป 2549 และปจจุบันทรูเปนหนึ่งในแบรนดที่ แข็งแกรงที่สุดวิสัยทัศนของกลุมทรู (Vision) คือการเปนผูนําทางดาน คอนเวอรเจนซ ไลฟสไตล (Convergence Lifestyle) และมีพันธกิจ (Mission) คือการทําใหลูกคาสามารถสื่อสารถึงกันและกันและเขาถึง คุณคา ความรู และสาระบันเทิงตางๆ พรอมๆ กับการสรางคุณคาใหกับองคกร พนักงานและผูถือหุน จาก  วิสยทัศนการเปนผูนา คอนเวอรเจนซ ไลฟสไตล ทําใหกลุมทรูมีความแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น โดยมี ั ํ การผสานบริการสื่อสารครบวงจร เขากับคอนเทนทที่หลากหลาย ตอบสนองทุกไลฟสไตล ของลูกคาภายใต การสนับสนุนจากเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมธุรกิจดานการเกษตรครบวงจรที่ใหญที่สดในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งถือ ุ หุนทรูในสัดสวนประมาณรอยละ 30.4 (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549) บริษัทไดขยายธุรกิจมาตามลําดับ จากผู ใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน จนปจจุบนเปนผูใหบริการสื่อสารครบวงจรที่ครอบคลุมทั้งบริการเสียง ขอมูล ั และภาพ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาทุกกลุม ซึ่งประกอบดวย ลูกคาทั่วไป ลูกคาธุรกิจขนาดกลาง และขนาดยอม และลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญ ในปจจุบันบริษัทและบริษัทยอยเปนผูใหบริการรายใหญ ที่สุดสําหรับบริการอินเทอรเน็ต บริการบรอดแบนดสําหรับบุคคลทั่วไป และบริการโทรทัศนระบบบอกรับ เปนสมาชิก รวมทั้งยังเปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญท่สุดในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ผู ี ใหบริการเกมสออนไลนรายใหญ และเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับสามของประเทศ ปจจุบันการดําเนินธุรกิจของกลุมทรูแบงเปน 5 ธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตชื่อ ทรูมูฟ (ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) ธุรกิจออนไลน ภายใตชื่อ ทรูออนไลน (ซึ่งประกอบดวยบริการโทรศัพทพื้นฐานและ บริการเสริม บริการโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ต และบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือบริการบ รอดแบนด สําหรับบุคคลทั่วไป และบริการ WE PCT หรือบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่) ธุรกิจ โทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก (ภายใตชื่อ ทรูวิชั่นส (ชื่อเดิมยูบีซ)) ธุรกิจดิจิตอลคอมเมิรซ ภายใตชื่อ ทรู ี มันนี่ ธุรกิจดิจตอลคอนเทนท ภายใตชื่อ ทรูไลฟบริษัทใหบริการโทรศัพทพื้นฐานภายใตสัญญารวมการงาน ิ และรวมลงทุนกับบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ตามเงื่อนไข Build-Transfer-Operate (BTO) เพื่อ จัดหา ติดตั้ง และควบคุม ตลอดจนบํารุงรักษาอุปกรณในระบบ ในการขยายบริการโทรศัพทจานวน ํ 2.6 ลานเลขหมายใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดเดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 โดยบริษัทเริ่มมีรายไดจากการใหบริการโครงขายโทรศัพทพื้นฐานในเดือนพฤศจิกายน 2535นอกจากนียัง ้ ไดรับอนุญาตใหเปดบริการเสริมตางๆ เชน บริการโทรศัพทสาธารณะและบริการอื่นๆ เพิ่มเติม ในป 2542 บริษัทไดเปดใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ PCT และในป 2544 บริษัทผานบริษัทยอยไดเปด ใหบริการโครงขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซึ่งประกอบดวยบริการ ADSL และบริการ Cable Modem นอกจากนั้นในป 2546 ไดเปดใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสายหรือบริการ Wi-Fi และในป
  • 5. 5 2549 กลุมบริษัทไดรับใบอนุญาตเพื่อประกอบกิจการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศในเดือนตุลาคม 2544 บริษัทไดเขาถือหุน ในบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) (ซึ่งเปนบริษัทแมที่ถือหุนใน บริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด) ในอัตรารอยละ 41.1 ซึ่งนับเปนการเริ่มเขาสูธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้ ทีเอ ออ เรนจไดเปดใหบริการอยางเต็มที่ในเดือนมีนาคม 2545 และตอมา บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนในบริษัท  กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) มากขึ้นตามลําดับจนกระทั่งปจจุบัน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549) บริษัทมีสัดสวนการถือหุนในบริษท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) คิดเปนรอยละ 93.4 ทรูไดเริ่ม ั รับรูผลประกอบการของบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) และทีเอ ออเรนจ อยางเต็มที่ นับตั้งแตตนไตรมาส 4 ของป 2547 ทั้งนี้ ทีเอ ออเรนจไดเปลี่ยนชื่อเปนทรูมูฟ เมื่อตนป 2549 ทรูมูฟ  ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM (Global System for Mobile Communications) ที่ความถี่ 1800 MHz ภายใตการไดรับอนุญาตจาก บมจ. กสท โทรคมนาคม (“กสท”) ตามเงื่อนไข Build-Transfer-Operate (BTO) สิ้นสุดเดือนกันยายน ป พ.ศ. 2556ในระหวางป 2548 - 2549 กลุมบริษัททรูไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการ กิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ สําหรับการใหบริการ อินเทอรเน็ต รวมบริการอินเทอรเน็ตผานโทรศัพท (VoIP) บริการโทรศัพทสาธารณะ บริการโทรศัพทพื้นฐาน และบริการวงจรเชื่อมตออินเทอรเน็ตระหวาง ประเทศในเดือนมกราคม 2549 บริษัทไดเขาซื้อหุน ยูบซี จาก MIH ทั้งหมด และตอมาไดดําเนินการเขาซื้อ ี หุนสามัญจากรายยอย (Tender Offer) ทําใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนทางออมใน ยูบีซี รอยละ 91.8  ภายหลังการเขาซื้อหุนจากผูถือหุนรายยอยเสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 2549 ทั้งนี้บริษัทไดรวมผลประกอบการ  ของยูบีซีอยางเต็มที่ตั้งแตตนไตรมาสที่ 1 ป 2549 และ ยูบซี ไดเปลี่ยนชือเปนทรูวิช่นส เมื่อตนป 2550 ทรู  ี ่ ั วิชั่นสดําเนินงานภายใตสัญญาสัมปทานจากองคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย เปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน ป 2557 สําหรับการใหบริการผานดาวเทียม และสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2562 สําหรับการใหบริการผานเคเบิลในป 2549 กลุมบริษัททรูมีรายไดรวมมากกวา 50,000 ลานบาท และมี สินทรัพยทั้งหมดกวา 1 แสนลานบาท โดยมีจํานวนพนักงานประมาณ 10,000 คน ที่มา : http://www.truecorp.co.th/tha/about/about_history_2006.jsp วิเคราะหทัศนภาพ Scenario Analysis การวิเคราะหสถานการณภายนอกที่สงผลกระทบตอองคกร 1. การเมืองไทย ทามกลางอุณหภูมิการเมือง ที่ภาคประชาชนและเครือขายนักวิชาการ ตลอดจนกลุมพันธมิตรประชาชน เพื่อประชาธิปไตย ยังเดินหนาประกาศจัดกิจกรรมและขึนเวทีชุมนุม เพื่อเรียกรองใหนายกฯทักษิณ "วางมือ ้ การเมือง" โดยการขับเคลื่อนมีตอเนื่อง ในขณะทีพรรคไทยรักไทยและคนในรัฐบาล ตางยกเอา "การ ่ เลือกตั้ง" และใหประชาชนเปนฝายตัดสินวาจะใหพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ทํางานการเมืองตอไปหรือไม แต ตลอดชวงหลายเดือนที่ผานมา คนในไทยรักไทยตางอึดอัด ไมรูวาหัวหนาพรรคจะตัดสินใจอยางไร เพราะ เมื่อถูกสื่อจี้ถามก็บอกวาแลวจะมีคําตอบเร็วๆ นี้ ซึ่งความไมชัดเจนก็สงผลสะเทือนกับแผนการหาเสียงของ
  • 6. 6 พรรคดวย เพราะเสียงสะทอนจากคนชนบทตางสอบถามบรรดาอดีต ส.ส.ที่ลงพื้นที่ถึงทาทีชัดเจนวาตกลงจะ เวนวรรคหรือจะเปนนายกฯตอไป นอกจากกระแส "ไมเอาทักษิณ" ที่ยงขยายตัวไปไมหยุดแลว ตัวแปร ั ทางดานคดียุบพรรคก็ยังเปนสิ่งที่ฉุดความรูสึกคนในไทยรักไทย ใหเกิดหวั่นไหวในอนาคตดวย จึงไมใช เรื่องแปลกที่จะมีคลื่นใตน้ําในไทยรักไทยจากบรรดากลุมมุงตางๆ ที่มการเตรียมหาทางหนีทีไล ทั้งการจัดตั้ง ี พรรค "นอมิน" ไวรองรับเฉพาะกิจ อีกทั้งความพยายามจะหาตัวตายตัวแทน พ.ต.ท.ทักษิณ เพราะหากไมถึง ี ที่สุดก็ไมจําเปนตองสละพรรคทิ้ง เนื่องจากไทยรักไทยยังมีจุดสามารถขายได ทั้งนโยบายประชานิยมที่คน ในชนบทยังใหความนิยมสูง สิ่งที่สะทอนใหเห็นถึงการพยายามผลักดัน นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ ขึ้นนั่ง ตําแหนง "นายกฯนอมิน" เห็นไดจากการปลอยขาวออกมาอยางตอเนื่อง แมคนใกลชิดพวกสายตรงนายกฯ ี ทักษิณ จะออกมาเบรกและบอกเสมอวาหลังเลือกตั้งพ.ต.ท.ทักษิณ ถึงจะตัดสินใจอนาคตการเมืองของตัวเอง ก็ตาม ประการหนึ่ง ที่กลุมมุงในพรรค อยากใหมการปรับเปลี่ยน ก็เพราะวิเคราะหแลววาหากพ.ต.ท.ทักษิณ  ี ยังคงนั่งตําแหนงนายกฯตอไป การตอตานก็ไมหมดสิ้น และอาจทวีรุนแรงถึงขั้นแตกหัก สูใหเวนวรรคและ ปลอยใหแกไขรัฐธรรมนูญปฏิรปการเมืองแลวคอยกลับมาก็จะเหมาะสมกวา แตทาทีของ พ.ต.ท.ทักษิณ ู กลับนิ่งเฉย และดูเหมือนวาจะไมรับเงื่อนไขการเมืองแบบนี้ดวย ! สวนหนึ่งจะวาไปแลว เปนการคัดคานจาก กลุมสายตรง "จันทรสองหลา" ที่เกรงวาหากนายสมคิดขึนสูตําแหนง อํานาจในไทยรักไทยจะเสียศูนยและ ้ ถูกยึดกุมจากกลุมที่สนับสนุนนายสมคิด ทั้งนี้แหลงขาวในไทยรักไทย ระบุวา กลุมวังน้ํายมของนายสมศักดิ์ เทพสุทิน ที่มอดีตส.ส.อยูในกวนกวารอยคนใหการสนับสนุนนายสมคิดเต็มกําลัง และมีการพบปะกัน ี บอยครั้ง ขณะที่นายสุริยะ จึงรุงเรืองกิจ เลขาฯพรรค ก็หนเอียงมาขางนี้ ดวยเหตุที่เกิดขัดแยงกับหัวหนา ั พรรคในหลายๆ เรื่อง โดยชนวนสําคัญแวววามาจากเรื่อง "สนามบินสุวรรณภูม" เปนหลัก และยิ่งแตกแยก ิ เมื่อครั้งพ.ต.ท.ทักษิณ ถือหางขาง นายพงษศักดิ์ รักตพงศไพศาล หรือ "เฮียเพง" รองเลขาฯพรรค นั่ง รักษาการ รมว.คมนาคม หนุนใหเฮียเพงไปดูแลเรื่องรถไฟฟาใตดิน 3 สาย หักหนานายสุริยะอยางเจ็บปวด ยังไมนับรวมกลุมมุงอื่นๆ ที่เริ่มรวมตัวตังปอมกับกลุมสายตรงของพ.ต.ท.ทักษิณ ดังนั้นในไทยรักไทยจึงมี ้ อาการคลื่นใตน้ํา ลาสุด น.ต.ศิธา ทิวารี โฆษกพรรคไทยรักไทย ไดออกมายืนยันวา พ.ต.ท.ทักษิณยังลงเปน ปารตี้ลิสต ลําดับที่ 1 และเปนหัวหนาพรรคตอไป ดังนั้นทุกนโยบายของพรรคตองขับเคลื่อนตอไป ใน อนาคตการจะรับตําแหนงการเมืองใดๆ หรือไม เปนสิทธิสวนบุคคลของพ.ต.ท.ทักษิณที่จะตัดสินใจ สวน ความชัดเจนในการลงรับสมัครเลือกตั้งเปนส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อของนายสมคิด ที่มขาววาจะไมลงสมัคร ี ซึ่งเทากับตัดสิทธิจะเปน "นายกฯนอมินี" เพราะการโหวตเลือกนายกฯตองเปนส.ส.เทานั้น ในเรื่องนี้ น.ต.ศิธา ตอบวา นายสมคิดยังเปนหนึ่งในประธานคณะกรรมการรณรงคการประชาสัมพันธเลือกตั้ง มีสวน คิดแคมเปญการเลือกตั้ง ซึ่งมีความสําคัญกับพรรค ฉะนันเมื่อทํางานเลือกตั้งใหกับพรรคแลว คงไมมีเหตุผล ้ อะไรที่ทานจะไมลงสมัคร "ณ ปจจุบนทานยังมีใจและยินดีที่จะรวมกับงานของพรรคไทยรักไทย อยางไรก็ ั ตามการตัดสินใจสุดทายตองขึ้นอยูที่ตัวของทาน" กระนันก็ดี ความเห็นจากฝายสายตรงของนายกฯทักษิณ ้ อยาง น.พ.พรหมินทร เลิศสุริยเดช เลขาธิการนายกรัฐมนตรี พูดถึงกรณีที่มีแกนนําพรรคบางคนออกมา สนับสนุนนายสมคิด ขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี หาก พ.ต.ท.ทักษิณ เวนวรรคทางการเมือง วา ทุกคนมี สิทธิสนับสนุนกันได แตเชือวาจะไมทาใหประชาชนสับสน เพราะในกระบวนการประชาธิปไตย มีความ ่ ํ
  • 7. 7 แตกตางเกิดขึนได "จุดนีก็เปนขอยืนยันอีกครั้งวา ความแตกตางอยางสรางสรรค ทํากันอยางไร เปนเรื่อง ้ ้ ธรรมดา ในตางประเทศโดยเฉพาะในประเทศที่เจริญแลว เวลาที่สงตัวแทนชิงตําแหนงประธานาธิบดีก็มีการ  ตอสูกันภายในพรรค แตพอใครไดเปนแลวก็ชวยเหลือกัน ใหเกียรติกน" ทาทีเชนนี้ ไมตางอะไรเลย เปนการ  ั เฉไฉกลบเกลือนคลื่นใตน้ําในพรรค ที่กลุมมุงภายในรวมตัวสงสัญญาณขอเปลี่ยน "นายกฯคนใหม" ่  ที่มา : http://www.bangkokbiznews.com/2006/09/06/news_21514945.php?news_id=21514945 2. เศรษฐกิจ ขณะที่ผูใหบริการโทรศัพทมอถือคายเอกชน ทั้ง บมจ.แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส หรือเอไอเอส ื และบมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น หรือดีแทค ตางเรงออกแคมเปญมารับอนาคตการประกาศใชอัตรา คาเชื่อมโครงขาย (อินเตอรคอนเน็คชั่น ชารจ หรือไอซี) ของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือ กทช. วานนี้ (5) เอไอเอสออกมาบอกวา กําลังเริ่มตนตอกย้ําแบรนดอีกครั้ง หลังผานสงครามราคาอัน หนักหนวงชวงกลางๆ ปมาแลว ดวยการเลือกนักรองคายอารเอส "ลิเดีย-ศรัณยรัชต วิสุทธิธาดา" เปนพรีเซ็น เตอรประจําแบรนดวน-ทู-คอล สะทอนภาพวัยรุน สดใส รักอิสระ กลาแสดงออกในสิ่งที่ถูกตอง ซึ่งการมี ั  ตัวแทน หรือพรีเซ็นเตอรประจําแบรนด จะชวยใหลูกคาจําแบรนดไดดีขึ้น ในอดีต แบรนดวัน-ทู-คอล เคยใช บริการ "ปาลมมี่" อีฟ ปานเจริญ เปนพรีเซ็นเตอรประจําแบรนด ซึ่งหลายๆ คนยังจําภาพโฆษณาของเธอ ทามกลางฝูงโลมาได และเอไอเอสก็ยังคงสนับสนุนการออกคอนเสิรตของเธออยูเนืองๆ การเริ่มตนใหมกับ การเลือกตัวแทนแบรนดวัน-ทู-คอล เอไอเอส ยังไมหยุดเพียงเทานี้ เพราะผูบริหารบอกอยางหนักแนนวา วางแผนไวแลววาจะขยายการใชพรีเซ็นเตอรประจําแบรนดไปที่จเี อสเอ็ม แอดวานซ และสวัสดี ดวย แตตอง คัดเลือกพรีเซ็นเตอรสะทอนแบรนดอกระยะ ี ฝงดีแทค ก็ประกาศชูยทธศาสตรสนับสนุนใหแฮปปมีจดจําหนายมากที่สุดในอนาคต รับการ ุ ุ ประกาศใชคาไอซีเชนกัน ดวยการเปด "เครือขายหนารานบนมือถือ" หรือแมสซีฟ เวอรชวล ดิสทริบิวชั่น  ของ “แฮปป ออนไลน” บริการเติมเงินผานมือถือ โดยอาศัยมือถือเปนหนาราน ไมใชขายผานรานขายมือถือ ทําใหประหยัดตนทุนไปเยอะ แถมยังมีรานเติมเงินมือถือเพิ่มขึ้นมหาศาล เพราะผูใชบริการมือถือทุกราย ลวนสามารถเปนผูใหบริการเติมเงินไดทั้งสิ้น พรอมกับเหตุผลวา ราคาจะไมใชปจจัยสําคัญของการแขงขัน อีกตอไป หลังประกาศใชคาไอซี เพราะราคาจะเขามาใกลเคียงกัน ดังนัน ความสะดวกจึงเปนเรื่องสําคัญ การ ้ จําหนายผลิตภัณฑผานชองทางเล็กๆ นอยๆ จะมีพลังมหาศาล หันกลับไปมองหนวยงานดานสื่อสาร โทรคมนาคมของรัฐ ทั้ง บมจ.ทีโอที และบมจ.กสท โทรคมนาคม ที่เคยเปนผูใหบริการโทรคมนาคมราย ใหญของประเทศไทยกันบาง จนถึงวันนี้ ทิศทางจะไปทางไหนก็ยังไมแนชัด จะควบรวม หรือตางคนตางทํา ธุรกิจ ลวนยังหาที่สิ้นสุดไมได แมตางฝาย ตางจะเรงกําหนดกลยุทธการทําธุรกิจ แตกแขนงไปสูบริการอื่นๆ  แตกยังไมแจมชัด ทิศทางธุรกิจของทั้งคู ยังคงตองรอการพิสูจน ขณะที่ผลการดําเนินงานซึ่งรายงานออกมา ็ ลาสุด ก็มยอดที่ลดลงๆ รายรับหลักๆ ยังอยูที่การพึ่งพาสวนแบงรายไดจากภาคเอกชน ที่ไดรับสัญญารวมการ ี งานในยุคขยายบริการระบบสื่อสารโทรคมนาคมเฟองฟู รายงานผลประกอบการที่ออกมาแสดงใหเห็นอยาง ชัดเจนวา หากไมมีรายรับสวนนี้ องคกรทั้งคูมีโอกาสรายไดติดลบอยางตอเนื่อง อีกทั้งภาพที่คนนอกมองเขา
  • 8. 8 ไปยังสององคกรนี้ ก็ดจะอาการหนักหนาสาหัส ยิ่งปลอยทิ้งไวก็มีแตจะถดถอย ดังนัน จึงตองเรงสรางความ ู ้ เขมแข็ง และแข็งแกรงขององคกร จะควบรวมหรือไม จะกําหนดทิศทางธุรกิจอยางไรตองออกมาใหชด ั ไมใชซ้อเวลา จนกระทั่งวันสุดทายมาเยือนอยางรวดเร็วเกินคาด ื มรกต คนึงสุขเกษม morakot@nationgroup.com ที่มา : http://www.bangkokbiznews.com/2006/09/06/news_21514431.php?news_id=21514431 3. สังคมและวัฒนธรรม ปจจุบันสภาพทางสังคมของไทยไดเปลี่ยนไปมากมีความเจริญกาวหนาทั้งทางดานเทคโนโลยีและ สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ที่ทําใหผูคนสบายขึ้นทั้งในเรื่องของการทํางาน การใชชวิตประจําวัน การศึกษา ี การติดตอสื่อสาร เปนตนเมือมีสิ่งอํานวยความสะดวกเพิมมากขึ้นจึงทําใหวฒนธรรมการดํารงชีวตของคน ่ ่ ั ิ ไทยเปลี่ยนไปทุกสิ่งที่ทาตองอาศัยและพึงพาเทคโนโลยีตางๆ ดังนั้นผูประกอบการที่ทําเกี่ยวกับสินคาทาง ํ ่  ้ เทคโนโลยีจึงพัฒนาและผลิตสินคาตางๆเพื่อการตอบสนองที่เพียงพอตอความตองการเหลานั้น และสิ่งที่ใชอํานวยความสะดวกตางๆเปนตนวา โทรศัพทมือซึ่งตองอาศัยระบบสัญญาณในการ ติดตอซึ่งเปลี่ยนมาจากการที่ติดตอดวยจดหมาย หรือการเดนทางไปพบดวยตนเอง คอมพิวเตอรและ อินเตอรเน็ททีตองใชสัญญาณหรือระบบเชื่อมตอเชนกันซึ่งมาแทนทีการศึกษาหาความรูจากตําราที่ตองใช ่ ่ เวลาในการคนควา การสื่อสารอีเมลที่สงขอมูลไดมากมายและรวดเร็วสงแลวไดรับทันทีการสนทนาผาน ระบบอินเทอรเน็ทที่มีทั้งภาพและเสียงในเวลาเดียวกัน เปนตน นันทนาการและบันเทิงที่สงถึงบานหรือ  ระบบสัญญาณโทรทัศนยูบซีที่แทนการชมภาพยนตรหรือสารคดีจากโรงภาพยนตรที่ปกติตองเชาจากรานเชา ี เปนตน 4.เทคโนโลยี ในชวงปที่ผานมากระแสเกียวกับการใชงานระบบโทรศัพทผานระบบอินเตอรเน็ตนั้นไดเขามามี ่ บทบาทในการดําเนินงานของธุรกิจหรือองคกร ในชื่อตางๆกัน เชน Internet Telephony, IP Telephony, VoIP ( Voice over IP ) , VoWLAN ( Voice over Wireless LAN ) , VoBB ( Voice over Broadband ) และ IP PBX แตมีลักษณะการทํางานและมาตรฐานที่แตกตางกัน โดยวัตถุประสงคหลักคือใชงานโทรศัพทผานทาง โครงขายอินเทอรเน็ตหรือเน็ตเวิรคที่ใชงานอยูในปจจุบันผานโปรโตคอล TCP / IP เพื่อลดคาใชจายและ ตนทุนในการใชงานโทรศัพท ไมวาจะเปนการโทรทางไกลในตางจังหวัด ระหวางสาขา ระหวางประเทศ โทรศัพทผานคอมพิวเตอรกบคอมพิวเตอร หรือระหวางคอมพิวเตอรกบโทรศัพทพื้นฐานธรรมดา เพื่อสราง ั ั มูลคาเพิ่มใหกบการใชงานโครงหลักหรือโครงขายเดิมที่มีอยู ั การใชงานโทรศัพทผานระบบอินเทอรเน็ตในปจจุบันเปนที่รจักกันดีในชื่อของ VoIP หรือ Voice ู over IP ซึ่งรองรับทั้งการใชงานในลักษณะที่เปนเสียงพูดธรรมดาและการใชงานในลักษณะของโทรสาร ซึ่ง ทั้งหมดนี้อยูในพื้นฐานของเทคโนโลยีที่เรียกวา IP Telepony ซึ่งเปนแนวคิดเกียวกับการนําเอาขอมูลของ ่ เสียงพูด โทรสารหรือขอมูลอื่นที่เดิมเคยใชงานผานทางระบบโครขายโทรศัพทสาธารณะหรือที่เราเรียกวา
  • 9. 9 PSTN ( Public Switched Telephone Network ) โดยใชเทคโนโลยีของวงจรสวิทชแบบเดิม ( Circuit Switching ) ซึ่งในปจจุบันไดลาสมัยลงและมีตนทุนตอการใชงานที่สูงรวมถึงมีขอจํากัดดานการใชงานสื่อ ( Media) ในลักษณะที่ไมสามารถแชรใชรวมกันได โดยมาแปลงใหอยูในรูปแบบของขอมูลที่เปนแพคเก็ต  Packet เพื่อใหสามารถสงผานไปในระบบอินเทอรเน็ตซึงเปนเน็ตเวิรคที่ใชเทคโนโลยีของแพคเกตสวิทช ่ (Packet Switching) และการสวิทชขอมูล (Data Switching) และแชรการใชงานสื่อโดยอาศัยพืนฐานของ ้ อินเตอรเน็ตโปรโตคอลหรือ TCP / IP ได ทําใหขอจํากัดเรื่องการเชื่อมตอระหวางโครงขาย ตนทุนการใช งานและการดูแลรักษาลดลง เพราะตนทุนของการใชงานโครงขายอินเทอรเน็ตในปจจุบันมีราคาคอนขางต่ํา และเปนคาใชจายที่คงที่และเชื่อมตอถึงกันทั่วโลกโดยไมจําเปนตองเสียคาใชจายเพิ่มเติม การพยายามลดตนทุนดานการใชงานโทรศัพทผานทางเครือขาย PSTN โดยนําโครงขายอินเตอรเน็ต มาใชงานใหเปนประโยชนจะเห็นไดจากการเริ่มใชงานโปรแกรมประเภทหองสนทนาหรือ Chat Room เชน Talk, IRC ( Internet Relay Chat) หรือโปรแกรมประเภทกระดานขาวอิเล็คทรอนิคสหรือ Webboard จนไป ถึงโปรแกรมประเภทสงขอความสวนบุคคลประเภท Instant Messenger เชน ICQ, AOL Intstant Messenger, MSN, Qnext, Yahoo! Messenger, Jabber ซึ่งเริ่มแรกสามารถรับสงไดเฉพาะขอความ รูปภาพ และ ไฟลขอมูล และมีการพยายามพัฒนาใหสามารถสงเสียงในลักษณะของ Digital voice ไดแตยังคงมีขอจํากัด  ดาน Banwidth โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมผูใชตามบานซึ่งใชงานอินเทอรเน็ตประเภท Dial-up อีกทั้งเทคโนโลยี การสงขอมูลเสียงยังไมดพอจึงไมสามารถรองรับการสนทนาแบบโตตอบในทันที ( real time) ที่ตองการ ี Bandwidth ที่สูงได เมื่อโครงขายอินเทอรเน็ตไดขยายตัวขึ้นและมีการใหบริการอินเตอรความเร็วสูงกันอยางแพรหลาย ก็ไดมีการพัฒนาโปรแกรมประเภท IM ใหมความสามารถทางดานเสียงและมีการพัฒนาเพื่อใหสามารถ ี สนทนาโตตอบในทันทีไดขนมา ซึ่งโปรแกรมตัวที่เปนที่รูจักดีและมีชื่อเสียงไดแก Skype ที่นิยมกันอยาง ึ้ รวดเร็วเพราะเปนฟรีแวรและสามารถใชงานไดเปนอยางดี จุดนีเ้ องเปนจุดเริ่มตนของการใชงานและพัฒนา ระบบ VoIP แบบสวนบุคคล ซึ่งสงผลใหมีการพัฒนาซอฟแวรในลักษณะเดียวกันตัวอื่นขึ้นมา เชน Google Talk, MSN และ Yahoo! Messenger ในดานการใชงานในเชิงธุรกิจเดิมเทคโนโลยีดาน VoIP ไดถูกพัฒนาภายใตมาตรฐานของ Video Conference ซึ่งจะรองรับทั้งการใชงาน เสียง ภาพเคลื่อนไหว และขอมูล โดยกลุมประชุมของ Video Conference Forum มีบริษัทใหญเชน Cisco, VocalTec, 3COM และ Netspeak เขารวมอยูดวยโดยไดสราง มาตรฐาน H.323 ขึ้นเพื่อรองรับการสงขอมูลเสียงและวีดโอโดยใช IP และองคการโทรคมนาคมแหงชาติ ี สหรัฐหรือ ITU (International Telecommunication Union) ไดประกาศรับรองใหเปนมาตรฐานของระบบ การประชุมผานวิดีโอ (Video Conference) โดยการใชงานนั้นจะตองใช Real-time Protocol (RTP) เพื่อชวย ใหการสงขอมูลเสียงนั้นสามารถควบคุมเวลาใหไปถึงตรงตามความเปนจริงซึ่งเปนเรืองที่คอนขางยากที่จะ ่ รับประกันคุณภาพของการสงขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ตไดจึงตองมีการกําหนดคุณภาพของการ ใหบริการบนระบบเครือขาย หรือ QoS ( Quality of Service ) ขึ้นเพื่อปองกันปญหาเสียงติดขัดหรือชากวา ความเปนจริงได ซึ่งนี่เองเปนสิ่งที่ยากที่สดในการจัดการระบบ Video Conference เพราะในระหวางทางที่จะ ุ
  • 10. 10 สงขอมูลเสียงไปนั้นอาจมีบางจุดที่ไมสามารถควบคุมคุณภาพของการสงขอมูลได ดังนั้นปจจุบนจึงมีผู ั ใหบริการเครือขายเฉพาะเพือรองรับการใชโทรศัพทผานระบบอินเทอรเน็ตเรียกวา ITSP ( Internet ่ Telephony Service Provider ) เพื่อใหบริการสงขอมูลที่ควบคุมคุณภาพการใหบริการไดตั้งแตตนทางจนถึง  ปลายทางเลยทีเดียว ที่มา : http://www.ksc.net/item.aspx?channel=3&item=1214&page=16 วิเคราะหสถานการณภายในองคกร 1. สถานการณทางดานการตลาด ทรูมูฟเปดแผยไตรมาส 4 เนนรักษาฐานลูกคา และทําตลาดแบบไลฟสไตลตามนโยบายคอนเวอร เจนท ดวยการการออกแคมเปญชิงเงิน 100 ลานบาท หวังใชเปนแมเหล็กดึงดูดใจลูกคา หลังไตรมาส 3 ลูกคา ใหมไหลเขาสูงถึง 2.65 ลานราย นายสุภกิจ วรรธนะดิษฐ ผูอํานวยการดานการตลาดและการบริหารความสัมพันธกับลูกคา กลุมบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น กลาวถึงผลประกอบการไตรมาส 3 ปนี้วา ทรูมูฟมียอดผูใชบริการสูงกวา 2 ไตรมาสที่ผาน มารวมกัน โดยมีลูกคาเพิ่มสูงสุด 1.4 ลานราย หรือประมาณ 1 ใน 3 ของยอดลูกคาใหมทั้งหมด ทํามีฐาน ลูกคากวา 6.8 ลานราย สูงกวาเปาที่ตั้งไวภายในปนี้ 5.7 ลานราย และมีรายไดจากคาบริการสิ้นสุดไตรมาส 3 อยูที่ 5,715 ลานบาท หรือโตขึ้น 30% เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปทผานมา นอกจากนี้ ยังมีบริการนอน ่ี วอยซที่มยอดผูใชบริการเสียงรอสายหรือคัลเลอรริงโทน 1.3 ลานราย จีพีอารเอส 1.3 ลานราย ซึ่งบริการนอน ี วอยซหากคิดเปนรายไดถือวาโตมากคือจบไรมาส 3 โตถึง 70% หรือมีมูลคาประมาณ 586 ลานบาท คิดเปน รายได 10% ของรายไดทั้งหมด สวนตลาดโดยรวมสิ้นสุดไตรมาส 3 มียอดผูใชมือถือทั้งหมด 36.7 ลานราย หรือคิดเปน 56% ของ ประชากร และมีโอกาสเพิ่มขึ้นเปน 80% เพราะตลาดตางจังหวัดยังมีโอกาสโตอีกมาก สวนลูกคาใหมที่ เพิ่มขึ้นสุทธิในไตรมาสนี้ 2.65 ลานราย สําหรับสวนแบงตลาดเอไอเอส 49% ดีแทค 31% ทรูมูฟ 18% ดานเครือขายทรูมูฟใชงบในปนี้ 7,000 ลานบาท ทําใหขณะนี้มพื้นที่ครอบคลุมกวา 92% คือผูใช ี 100 คน ใชได 92 คน ถือวาใกลเคียงกับคูแขง ซึ่งจะใชเรืองของเครือขายเปนจุดขายทีจะสรางราคาสูงกวา  ่ ่ ตลาดอีกตอไปไมไดแลว จากความสําเร็จของทรูมฟเมื่อชวงไตรมาส 3 ผูบริหารกลุมทรูกลาวย้ําวา มีสาเหตุมาจากหลายปจจัย ู ไมวาจะเปนกลยุทธคอนเวอรเจนท ไลฟสไตล และการทํา โปรโมชันที่รวมบริการที่มีความโดดเดนตางๆ  ในกลุมทรูเขาดวยกัน ขณะเดียวกันก็สะทอนใหเห็นแนวทางการเติบโตอยาตอเนื่องของทรูมูฟในตลาดได เปนอยางดี ดวยการคิดคนรูปแบบแคมเปญการตลาดที่แปลกและแตกตาง จึงทําใหมการตอบรับจากตลาด ี เปนอยางดี เชน แคมเปญยูบซเี อเอฟ 3 และการเปดแคมเปญทรูไลฟพลัส มิติใหมของนวัตกรรมการบริหาร ี ดวยยูบีซทรูมฟ ฟรีวว ี ู ิ
  • 11. 11 นายอริยะ พนมยงค รองผูอํานวยการฝายการตลาด ทรูมูฟ กลาวถึงแผนงานชวงไตรมาส 4 วา ทรูมูฟ จะเนนการรักษาฐานลูกคา และทําตลาดแบบไลฟสไตลเปนหลัก สําหรับการรักษาฐานลูกคาจะมีการออก แคมเปญใหลกคาทั้งโพสตเพดและพรีเพดรวมชิงเงิน 100 ลานบาท ทั้งนี้ หากเปนโพสตเพด 1 บิลคิดเปน 1 ู สิทธิ์ หรือการเติมเงิน 1 ครั้งถือเปน 1 สิทธิ์ ในการรวมชิงรางวัล นอกจากนี้ ยังเปดใหซื้อซีดีอัลบั๊ม Love to Share ในราคาพิเศษ รวมถึงการทํา True Transfer ที่โอนทั้งเงิน แอรไทม และวันได สวนเรื่องไลฟสไตล เร็วๆ นี้ทรูมฟมีแผนจะออกซูเปอรซิม ซึ่งเปนซิมที่ใหประโยชนมากกวาซิมที่มี ู อยูในทองตลาด ขณะเดียวกันก็จะมีการทํากิจกรรมเกียวกับดาวรุงลูกทุงที่มีการเปดตัวไปกอนหนานี้ และจะ ่  มีการทําแพกเกจเอสเอ็มเอสราคาถูกสําหรับกลุมที่ชอบสงขอความ เปนตน 2. สถานการณเทคโนโลยี ทรู ปกธงผูนําอินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร ของไทย ขยายศูนยดาตา เซ็นเตอร ครบวงจรแหงใหม ณ เมืองทองธานี เพิ่มศักยภาพศูนยขอมูลอัจฉริยะ พรอมคุณภาพระดับโลก ISO 20000 เล็งเจาะกลุมลูกคา องคกรขนาดกลาง - ใหญกรุงเทพฯ 18 กันยายน 2550 - บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด ตอกย้ํา ผูนาดาน อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอรครบวงจร ประกาศเปดศูนยอินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร (IDC) แหงที่ ํ 2 ศูนยเมืองทองธานี ดวยคุณภาพมาตรฐาน ISO 20000 ระดับโลก พรอมนําเสนอบริการใหม หลากหลาย กวาเดิม ตอบโจทยความตองการบริการแบบ Total ICT Solutions ของลูกคาองคกรขนาดกลางและใหญ ชู จุดเดนศูนยไอดีซครบวงจรแหงเดียวในไทยที่มีระบบสํารองการทํางานของระบบโครงขายหลัก (Redundant ี Core Network) เพิ่มความมันใจและปลอดภัยสูงสุด ่ นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย ผูอํานวยการบริหารดาน Corporate Solutions, Wholesales & Data บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา “จากความตองการของลูกคาองคกรที่ใชบริการ อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องมาตลอด 3 ป ทรูไดขยายศูนยอินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร เปนแหงที่ 2 เพื่อใหบริการอินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอรแบบครบวงจร รองรับระบบเครือขายและ ขอมูลของ ลูกคา รวมทั้งเปนระบบสํารอง ซึ่งสามารถทํางานทั้งรวมกัน และทดแทนกันไดอยางสมบูรณแบบ โดยหาก ระบบในศูนยใดมีปญหา ระบบในอีกศูนยก็สามารถรองรับการทํางานไดทันที ทรู ไอดีซี จึงเปนศูนยไอดีซี แหงเดียวในไทยที่มีระบบสํารอง (Redundant Core Network) เพิ่มความมั่นใจใหลูกคาที่ใชบริการของทรู รวมทั้งบริษัทในเครือ นอกจากนี้ ทรู ไอดีซี ยังไดมาตรฐานรับรอง ISO 20000 ซึ่งเปน เครื่องหมาย รับประกันคุณภาพการบริการดานไอทีที่ไดมาตรฐานสากล ลูกคาทรูไอดีซี จึงมั่นใจไดถึง คุณภาพในการบริการ การเปดศูนยดาตา เซ็นเตอร ครั้งนี้จึงเปนความกาวหนาอีกขันที่จะยกระดับบริการ ้ ของทรู และตอกย้ําวิสยทัศนคอนเวอรเจนซของกลุมทรู โดยเฉพาะในดาน Network Convergence ั นายเจนวิทย คราประยูร ผูจัดการทัวไป บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด กลาววา ทรู ่ อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร ศูนยเมืองทองธานี ตั้งอยูที่ชน 8 อาคารเจนีวา เมืองทองธานี มีพื้นที่รวม 2,600 ั้
  • 12. 12 ตารางเมตร เปนพื้นที่เฉพาะหองดาตาเซ็นเตอร 3 หอง พื้นที่รวมประมาณ 1,200 ตารางเมตร ระบโครงสราง พื้นฐานมีการออกแบบและวางระบบเปนอยางดี พรอมติดตั้งอุปกรณที่ทํางานทดแทนในจํานวนที่เหนือกวา มาตรฐานศูนยไอดีซีท่วไป ลูกคาจึงไววางใจไดวาระบบและอุปกรณสําคัญจะอยูสภาพแวดลอมและการดูแล ั ที่สมบูรณแบบที่สุด นอกจากนี้ยงมีศกยภาพพรอมรองรับบริการใหมๆ หลากหลายรูปแบบมากยิ่งขึ้น อาทิ ั ั  บริการศูนยสํารองและกูคืนขอมูล (Disaster Recovery (DR) Solution Service)  ระบบบริการพื้นที่เก็บขอมูลออนไลน (Online Backup/ Online Storage Service)  ระบบบริการเพื่อการจัดเก็บและเรียกใชไฟลขอมูลบนเว็บ (NetDisk by True)  ระบบใหบริการการประชุมทางไกลแบบครบวงจร (Managed VDO Conference) ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร มีบริการครบวงจร รองรับความตองการของลูกคาองคกรอยางเต็มที่ อาทิ บริการรับฝากเครื่องเซิรฟเวอร และอุปกรณ (Co-location) บริการจัดการเครื่องเซิรฟเวอรใหเชา (Dedicated Server Service) บริการ Web Hosting บริการพื้นที่เก็บขอมูลสวนตัวขององคกร และบริการ ปองกันความปลอดภัยขอมูล (Security & Firewall) รวมถึงบริการจัดโซลูชั่นตามความตองการของลูกคา เฉพาะราย (IDC Solution Service) เปนตน ที่มา:ผูจัดการออนไลด; http://www.thaimobilecenter.com/promotion/promotion_news_detail.asp?nid=70 3. ผลประกอบการ ทรูมฟโชวสุดยอดผลประกอบการไตรมาส 2 ป 2550 ยอดผูใชเพิ่มขึ้นเปน 9.1 ลานราย รายไดเติบโต ู กวา 75%กรุงเทพฯ 22 สิงหาคม 2550 --ทรูมูฟ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในกลุมทรู คอรปอเรชั่น โชว ผลการดําเนินงานในไตรมาส 2 ประจําป 2550 มียอดลูกคาใหมเพิ่มขึ้นถึง 953,000 ราย ดันยอดลูกคารวม ทะยานถึง 9.1 ลานราย ซึ่งเพิ่มขึ้น 68% จากปลายไตรมาสที่ 2 ป 2549 และทําใหสวนแบงตลาดเพิ่มเปน ประมาณ 20% ของจํานวนผูใชบริการในตลาดรวมทั้งหมด ประกาศรายไดรวมจากคาบริการจํานวน 8.73 พันลานบาทเพิ่มขึ้นกวา 75% จากไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมา เผยบทพิสูจนความสําเร็จกลยุทธคอนเวอร เจนซ ไลฟสไตล และโครงขายสัญญาณครอบคลุมกวา 92% ของประชากรทั่วประเทศ พรอมการเติบโต อยาง กาวกระโดดของบริการ Non-Voice จากกลยุทธการตลาดเชิงไลฟสไตล คาดยอดลูกคาพุง ตอเนื่อง ตลอดถึงสิ้นป นายสุภกิจ วรรธนะดิษฐ ผูอํานวยการดานการตลาดและการบริหารความสัมพันธกับลูกคา กลุม บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กลาววา “จากผลการประกอบการของทรูมูฟในไตรมาส 2 ป 2550 ฐานลูกคาทรูมูฟเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมียอดลูกคาใหมเพิ่มขึ้น 953,000 ราย จากไตรมาสที่ผานมา 558,000 ราย สงผลใหมียอดรวมลูกคาทั้งสิ้น 9.1 ลานราย และมีรายไดรวมทั้งสิ้น 8,737 ลานบาท (รวมคา เชื่อมโยงเครือขาย) เพิ่มขึ้น 75.6% จากไตรมาสเดียวกันของป 2549 นอกจากนี้ บริการเสริมตางๆ และ Non-
  • 13. 13 Voice นับเปนบริการที่สรางรายไดใหทรูมูฟอยางแข็งแกรง โดยรายไดจาก non-voice เติบโตอยางกาว กระโดดเปน 635 ลานบาท เติบโต 35.5% เมื่อเทียบกับปที่ผานมา ทั้งนี้ กําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาใชจายตัดจาย (EBITDA) เพิ่มขึ้นกวาเทาตัวคือ 105.5% จากไตรมาสเดียวกันของป ที่แลว เนื่องจากรายไดเพิ่มขึ้น รวมทั้งคาเชื่อมโยงโครงขายลดลง ผลประกอบการในครั้งนี้ ถือเปนความสําเร็จจากการพัฒนาบริการอยางตอเนื่อง ประกอบดวย  การตลาดเชิงไลฟสไตล ตอบโจทยทุกไลฟสไตลของลูกคาทุกกลุม โดยเฉพาะการนําเสนอ Exclusive Content เติมเต็มวิสัยทัศนคอนเวอรเจนซ ไลฟสไตลของทรู  การผสมผสานบริการและผลิตภัณฑตางๆ ภายในกลุมทรู ทําใหทรูมูฟสามารถนําเสนอบริการที่ แตกตางจากผูใหบริการรายอื่น และเพิ่มความสะดวกสบายสูงสุดใหลูกคา   กิจกรรมการตลาดตรงสูกลุมลูกคาทุกกลุมอยางตอเนื่อง  ความเชื่อมั่นในคุณภาพและความครอบคลุมของเครือขายทรูมูฟ โดยที่มีการลงทุนพัฒนาศักยภาพ ของสัญญานอยางตอเนื่องใหเทียบเทากับผูใหบริการรายอื่น โดยปจจุบันเครือขาย ทรูมูฟครอบคลุม 92% ของประชากรทั่วประเทศ “อยางไรก็ตาม“ในป 2550 ทรูมูฟยังคงมุงมันที่จะนําเสนอกลยุทธการตลาดที่เนนไลฟสไตลของลูกคาเปน ่ สําคัญ โดยมีเราแผนนําเสนอแคมเปญหลากหลายตอบสนองทุกไลฟสไตลที่แตกตางกันของกลุมลูกคา รวมทั้งมุงสรางสรรคนวัตกรรมบริการแบบคอนเวอรเจนซ Convergence ระหวางบริการตางๆ ในกลุมทรู ซึ่ง ถือวาเปนจุดเดนที่เหนือกวาคูแขง ทั้งนี้ ทรูมูฟสวนแบงตลาดในยอดผูใชบริการรายใหมของไตรมาส 2  เพิ่มขึ้นจากไตรมาสกอนหนา เปน 26% และสําหรับสวนแบงตลาดผูใชบริการโดยรวมในปนี้คาดวาจะ เติบโตขึ้นเปนกวา 20% จาก 19.3% ณ ปลายปที่แลว ในภาพรวมแลว ทรูมูฟและตั้งเปาขยายฐานลูกคาใหม เพิ่มขึ้น 1 ใน 3 ของการเติบโตของตลาดโดยรวม” นายสุภกิจกลาวทิ้งทาย ที่มา: http://www.truecorp.co.th/eng/news/news_detail.jsp?id=361
  • 14. 14 4. รายชื่อผูถือหุน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ผูถือหุนรายใหญ ณ วันที่ 26 มิถุนายน 2550 (วันปดสมุดทะเบียนผูถอหุนลาสุดของป 2550) ื จํานวนหุน รอยละของหุน ชื่อผูถือหุน (ลานหุน) ทั้งหมด1 1. กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด2 1,351.64 30.02 2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 379.17 8.42 3. กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว3 357.99 7.95 4. KREDITANSTALT FÜR WIEDERAUFBAU (“KfW”) 341.36 7.58 5. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR 179.99 4.00 LONDON 6. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR 147.81 3.28 AUSTRALIA 7. HSBC (SINGAPORE) NOMINESS PTE LTD. 141.75 3.15 8. CHASE C.S. CENTRAL NOMINEES LIMITED 124.49 2.77 9. LBPB NOMINEES LIMITED 101.63 2.26 10. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 93.12 2.07 1 รวมหุนสามัญและหุนบุรมสิทธิ ิ 2 ประกอบดวย 1) บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด และผูที่รายงานในกลุมเดียวกัน ซึ่งไดแก 2) บริษัท กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด 3) บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) 4) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จํากัด (มหาชน) 5) บริษัท กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร จํากัด (มหาชน) 6) บริษัท เจริญโภคภัณฑ อีสาน จํากัด (มหาชน) 7) บริษัท เกษตรภัณฑอุตสาหกรรม จํากัด 8) บริษัท เจริญโภคภัณฑอน-เอ็กซ จํากัด 9) ิ บริษัท ยูนีคเน็ตเวิรค จํากัด 10) บริษัท ไวด บรอด คาสท จํากัด 11) บริษัท ซี.พี.อินเตอรฟูด (ไทยแลนด) จํากัด 12) บริษัทสตารมารเก็ตติ้ง จํากัด 13) บริษัท แอดวานซฟารมา จํากัด และ 14) Golden Tower Trading Ltd. 3 ถือหุนเพื่อ KfW
  • 15. 15 บทวิเคราะหธุรกิจ ในธุรกิจนีนําทฤษฏี 3C มาใชในการวิเคราะห ดังนี้ ้ Competitors การแขงขัน การแขงขันเมือผูที่จะเขาแขงขันนั้นมีความพรอมจึงเปนผูที่ไดเปรียบกวาคูแขงดวยเหตุน้ทรูจงเปน ่ ี ึ องคการในระบบสื่อสารที่มีความมั่นคงกวาระบบอื่นๆ ถึงแมจะเปนการกาวเขามาแขงขันชากวา เพราะวาทรู มีระบบที่ใหการบริการมากมายหลายอยางที่คูแขงไมมี จึงเปนอีกเหตุผลหนึ่งที่ลูกคาสวนใหญเปลี่ยนการใชบริการจากระบบอื่น เพราะเมือลูกคาใชบริการ ่ ระบบอยางใดอยางหนึ่งสามารถที่จะรับสิทธิพิเศษที่จะรับบริการเพิ่มเติมในระบบ ถาดูจากการแขงขันแลวมีเพียงบางสวนทียงสูกับระบบอื่นยังไมไดกจะเปนการใหบริการถึงลูกคาใน ่ั ็ สวนภูมภาคซึ่งเปนกลุมลูกคาสําคัญเชนกัน ิ Customers กลุมลูกคา เมื่อทรูเปดระบบเขาสูตลาดการแขงขันอยางเต็มตัวจึงมีลกคาทุกกลุม คือ สามารถครอบคลุมทุกกลุม ู ทุกวัยเพราะการบริการที่หลากหลายทําใหผูที่ใชบริการสามารถลือกรับการบริการสวนใดสวนหนึ่งหรือรับ การใหบริการทุกรูปแบบได เพราะจะไดระบบผลประโยชนที่เกียวเนื่องกัน จึงเปนอีกกลยุทธหนึงที่ทําใหทรูสามรถเพิ่มปริมาณ ่ ่ กลุมลูกคาไดอยางรวดเร็วและรักษาเอาไวได Cost ตนทุนต่า ํ ทรูใชระบบทีพฒนาจากระบบสื่อสารพื้นฐานหรือการสือสารใชสายเดิมแลวเพิ่มการใหบริการสวน ่ ั ่ อื่นเขาไปอีกทีหนึ่ง จึงเปนระบบสือสารที่ลงทุนอยูในเกณฑทพอเหมาะ และคุมคาเพราะการลงทุนเพียงครั้งเดียวแต ่ ี่ สามารถใหบริการไดหลายรูปแบบได จึงถือไดวาเปนการลงทุนที่คุมและใหผลการตอบแทนที่รวดเร็วและ มากกวาการสื่อสารเพียงระบบเดียว ขอเสนอแนะ ในการสื่อสารที่จะสามารถรักษาและเพิ่มจํานวนกลุมลูกคาไดคือ ตองมีการใหบริการที่ครอบคลุม และใหบริการตามความตองการของลูกคา ทรูจึงเปนทางเลือกที่ไดรบความพึงพอใจสูงจากกลุมผูรับบริการ ั แตยังมีบางสวนที่ยังเขาไปใหบริการยังไมทั่วถึง จึงจําเปนอยางยิ่งที่ทางทรูตองเรงเขาติดตั้งและขยาย ระบบใหทวถึงตอไป ั่