SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
Session   หนา
รูปแบบการเรียนการสอนแบบรวมมือดวยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู           C1_6     123
Model of Collaborative Learning Using Learning Activity
Management System
ณมน จีรังสุวรรณ, ธนยศ สิรโชดก
                         ิ

การออกแบบเว็บไซตและบทเรียนอิเล็กทรอนิกสที่เหมาะสมสําหรับ               C1_7     131
อีเลิรนนิงในอาเซียน: กรอบวัฒนธรรมที่ควรคํานึงถึง
Proper Design of Website and Electronic Courseware for e-
Learning in ASEAN : Cultural framework for Consideration
จินตวีร คลายสังข

การพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลน เพื่อการเรียน    C1_8     140
การสอน สําหรับโครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอรไทย (Facebook)
Development of Web-based Training on Social Network for
Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project
ชนากานต ปนวิเศษ, ปณิตา วรรณพิรุณ, ณมน จีรังสุวรรณ

การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางไกลสําหรับนิสิตฝกประสบการณวิชาชีพ             C1_9     147
ธีรวดี ถังคบุตร

การใชกระบวนการเขียนบล็อกแบบรวมมือกันในวิชาภาษาอังกฤษ: พัฒนา            B2_1     152
ทัศนคติ คุณภาพ และ ปริมาณงานเขียน
Application of a Collaborative Blogging in EFL Classroom:
Improving Attitude, Quality and Quantity in Writing
ดารารัตน คําภูแสน

รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานสื่อสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวย    B2_2     161
โครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
Collaborative Learning Model through Social Media for
Supporting Communications Project-based Learning for
Postgraduate Students
ปณิตา วรรณพิรุณ, วีระ สุภะ

ผลการบูรณาการการเรียนรูดวยเครือขายสังคมกับ e-Learning                 B2_3     170
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning
ปรัชญนันท นิลสุข, ปณิตา วรรณพิรุณ
ผลการบูรณาการการเรียนรูดวยเครือขายสังคมใน e-Learning
           Effects of Integrated Learning using Social Media in e-Learning

                                                ปรัชญนันท นิลสุข 1, ปณิตา วรรณพิรุณ2
                                           1
                                             มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
                                        prachyanunn@kmutnb.ac.th , panita.w@hotmail.com



ABSTRACT                                                                         การเรียนดวยเครือขายสังคม ผานอีเลิรนนิ่ง ของนักศึกษาที่
                                                                                 เรี ย นวิ ช าภาษาและเทคโนโลยี สํา หรั บ ครู ในภาคเรี ย นที่
        This     study    investigated    the
integration of learning and teaching through                                     2/2554 จํ า นวน 25 คน ได จ ากการสุ ม แบบกลุ ม
social networks with e-learning courses for                                      โดยนักศึกษาเรียนเนื้อหาวิชาผานอีเลิรนนิ่งของมหาวิทยาลัย
Graduate Diploma students in Education,                                          จํานวน 4 หนวย และใหนักศึกษาไดบูรณาการการเรียนโดย
Graduate College at Muban Chombueng
Rajabhat University. Participants were                                           ฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารใช ง านเครื อ ข า ยสั ง คมร ว มกั บ อี เ ลิ ร น นิ่ ง
students who enrolled in Language and                                            ผลการวิ จั ย พบว า ประสิ ท ธิ ภ าพอี เ ลิ ร น นิ่ ง วิ ช าภาษาและ
Technology for teachers in Semester 2/2554.
There are 25 students who were randomly
                                                                                 เทคโนโลยีสําหรับครู มีประสิทธิภาพ 87.26 / 94.80 และ
with cluster sampling. Students learn with                                       นั ก ศึ ก ษามี ค วามคิ ด เห็ น ว า การบู ร ณาการการเรี ย นด ว ย
MCRU e-learning in 4 subjects and                                                เครื อ ข า ยสั ง คมร ว มกั บ การสอนผ า นอี เ ลิ ร น นิ่ ง มี ค วาม
integrated learning practices using social
networking with e-learning. The objective                                        เหมาะสมในระดับมาก
was to study the effective of e-learning and
the opinion of students when they                                                คําสําคัญ: การบูรณาการการเรียนรู , อีเลิรนนิ่ง, เครือขาย
integrated learning and teaching using
social networking with e-learning. The                                           สังคม
results show that the effective of e-learning
in language and technology for teacher
course had effective 87.26 / 94.80 and                                           1) บทนํา
Students commented that the integration of                                             การเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษามุงที่จะใหผูเรียน
learning and teaching through social
networks with e-learning is more
                                                                                 ไดเกิดทักษะและกระบวนการคิดขั้นสูง โดยเฉพาะนักศึกษา
appropriate level.                                                               ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพครูที่จบปริญญาตรีมาจากสาขา
                                                                                 ต า ง ๆ ที่ ไ ม ใ ช วิ ช าครู จะต อ งเรี ย นในวิ ช าภาษาและ
Keywords: integration of learning , e-Learning ,
Social Networking
                                                                                 เทคโนโลยี สํ า หรั บ ครู โดยศึ ก ษาและฝ ก ทั ก ษะการใช
                                                                                 คอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ
บทคัดยอ                                                                         เปนเครื่องมือสื่อสารและสืบคนทั้งภาษาไทยและตางประเทศ
                                                                                 ทั้งในดานการฟง การพูด การอานและการเขียน เพื่อการสื่อ
       การวิจัยครั้งนี้ไดศึกษาการบูรณาการการเรียนดวย                           ความหมาย โดยเนนกระบวนการ ทักษะสัมพันธทางภาษา
เครื อ ข า ยสั ง คมร ว มกั บ การสอนผ า นอี เ ลิ ร น นิ่ ง สํ า หรั บ         ตลอดจนศึกษาและฝกการตีความ การขยายความ การสรุป
นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ                                ความ การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล รวมทั้งการนําเสนอ
หมู บา นจอมบึง วัต ถุ ประสงค ก ารวิ จั ย เพื่ อสร างและหา                    งานทางวิชาการหัวขอที่จะเรียนกัน
ประสิทธิภาพอีเลิรนนิ่ง และความคิดเห็นการบูรณาการ                                        โดยจุดประสงค เมื่อผูเรียนศึกษาเนื้อหาและกิจกรรม
                                                                                 เสร็จสิ้นแลวจะมีพฤติกรรมและความสามารถคือ 1) อธิบาย
                                                                           170
ความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยี                                 ตอการบูรณาการเครือขายทางสังคมหรือไม เพราะความพึง
สารสนเทศเพื่อการเรียนรูสําหรับครูได 2) อธิบายและ                                 พอใจเปนอีกองคประกอบหนึ่งที่สําคัญ ความสัมพันธที่เกิด
ปฏิบัติการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร และอินเตอรเน็ต สําหรับ                             จากความชอบและพอใจในการใช เ ครื อ ข า ยสั ง คม เป น
ครูได 3) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสืบคน                                    องคประกอบสําคัญที่ทําใหเกิดคุณภาพความสัมพันธทําให
ขอมูลทางการศึกษาและเทคโนโลยีสาหรับครู            ํ                                ผูใชผูกพันในการติดตอสื่อสาร (ศิริลักษณ โรจนกิจอํานวย,
        ดังนั้นการพัฒนานักศึกษาที่จบปริญญาตรีมาจากตาง                             2555)
สาขากั น โดยไม เ คยเรี ย นวิ ช าครู ม ากอ นจึ ง ต อ งนํ า มา                             การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา มีการนํา
บูรณาการความรูตาง ๆ เพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน                                อี เ ลิ ร น นิ่ ง มาใช อ ย า งกว า งขวาง เมื่ อ ทํ า การเพิ่ ม ระบบ
โดยเฉพาะผูเรียนในปจจุบันที่เกิดมาในยุคดิจิตอล สิ่งที่                            เครือขายทางสังคม เพื่อใหผูเรียนไดบูรณาการการเรียนรู
พวกเขาเรียนรูและพู ดถึงมาจากอิ นเทอร เน็ตและสังคม                                อี เ ลิ ร น นิ่ ง ให ส อดคล อ งกั บ การสื่ อ สารผ า นเครื อ ข า ย
ออนไลน (Prensky, 2001) เครือขายสังคมออนไลนเปน                                  อิ น เทอร เ น็ ต ในชี วิ ต ประจํ า วั น ที่ ใ ช เ ครื อ ข า ยสั ง คมอยู
สิ่งที่มีผลตอผูเรียนอยางแนนอน เพราะผูเรียนเหลานี้โต                          ตลอดเวลา (Awodele and the others , 2009) การเรียนรูดวย
ขึ้ น มาจากสภาพแวดล อ มที่ อ ยู กั บ เกมส ค อมพิ ว เตอร                        สื่อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส อ ยา งอี เ ลิ รน นิ่ ง เป น การนํ า เสนอเนื้ อ หา
โทรศัพทมือถือ อินเทอรเน็ต และเครือขายสังคม (Mason                               ในขณะที่สิ่งที่เพิ่มขึ้นมากในยุคแนวคิดเว็บ 2.0 ก็คือเครือขาย
and Rennie, 2008) เชนเดียวกับเครือขายเด็กสากลให                                 ทางสังคม จึงเปนการดีที่โปรแกรมเครือข ายทางสังคมมา
ความสําคัญและสนับสนุนการฝกปฏิบัติสําหรับเยาวชน                                    ช ว ยผลั ก ดั น ระบบการจั ด การเรี ย นการสอนผ า นเว็ บ มี
ในการใช ง านอิ น เทอร เ น็ ต โดยเฉพาะการใช บ ริ ก าร                            ประสิทธิภาพมากขึ้น (Chatti, Jarke , and Frosch-Wilke,
เครือขายสังคม เนื่องจากเยาวชนในยุคปจจุบันเปนยุค                                 2007) คณะผูวิจัยจึงไดทําการศึกษาเพื่อเปนแนวทางในการ
ของดิ จิ เซ็ น หรื อ พลเมือ งยุค ดิ จิต อล ซึ่ง หมายถึง คํา ว า                   พัฒนาการสอนบูรณาการเครือขายสังคมตอไป
ดิจิตอล (Digital) กับคําวา พลเมือง (Citizen) มารวมกัน
เปนพลเมืองดิจตอล ซึ่งเปนชีวิตที่อยูกับอินเทอรเน็ตและ
                     ิ                                                             2) วัตถุประสงคการวิจัย
โลกออนไลนตลอดเวลา (Childnet International, 2012)                                      2.1) เพื่อสรางและหาประสิทธิภาพอีเลิรนนิ่งวิชาภาษา
        ก า ร วิ จั ย ใ น ค รั้ ง นี้ จึ ง เ ป น ก า ร ส ร า ง แ ล ะ ห า         และเทคโนโลยีสําหรับครูสําหรับนักศึกษาประกาศนียบัตร
ประสิทธิภาพอีเลิรนนิ่งวิชาภาษาและเทคโนโลยีสําหรับ                                 วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง
ครู โดยบูรณาการการเรียนดวยเครือขายทางสังคมไดแก                                     2.2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นการบูรณาการการเรียนดวย
Social Media ประกอบดวย Slide Share , Blogger,                                     เ ค รื อ ข า ย สั ง ค ม ร ว ม กั บ อี เ ลิ ร น นิ่ ง ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า
Google site , Youtube, facebook (social plugin) ,                                  ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอม
4shared , picasa web , Embed Script , Share link,Google                            บึง
Conference , Skype (facebook) Web Conference in
facebook , google document, google chat โดยผูเรียนจะ
ได ฝ กปฏิ บั ติ ต ามกิ จ กรรมในรายวิ ชา สวนเนื้ อหาการ                          3) ขอบเขตของการวิจัย
สอนจะสรางเอาไวใน e-Learning ประกอบดวย เนื้อหา 4                                    3.1) ประชากร เปนนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู
หนวยการเรียน บูรณาการเครือขายสังคม จัดใหมีระบบ                                  มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง ที่เรียนวิชาภาษาและ
การลงเวลาเรียน, การทําแบบฝกหัด, การสงการบาน, การ                                เทคโนโลยี สํ า หรั บ ครู ใ นภาคเรี ย นที่ 2/2554 จํ า นวน 4
ดาวนโหลดเอกสาร , การสงขอความ, การรายงานผล                                       หองเรียน
คะแนน, การทําขอสอบ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเว็บ                                      3.2) กลุมตัวอยาง เปนนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ
เมื่อบูรณาการเครือขายทางสังคมเขาไปภายในเว็บ และ                                  ครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง ที่เรียนวิชาภาษาและ
ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาเพื่อดู วามีความพึงพอใจ
                                                                             171
เทคโนโลยีสําหรับครูในภาคเรียนที่ 2/2554 รุนที่ 14 หมู               1.98 ติดตั้งในคอมพิวเตอรแมขายของสํานักวิทยบริการ และ
                                                                                                           
4 ไดจากการสุมแบบกลุม (Cluster Sampling) จํานวน 25                  เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง
คน                                                                    เปนสวนหนึ่งของประเภทวิชาบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร
     3.3) ตัวแปรที่ศึกษา ไดแก                                       ภายใน URL : http://202.29.37.38/elearnning/ นักศึกษา
          ตัวแปรตน ไดแก เว็บไซตอีเลิรนนิ่งวิชา ภาษา              สามารถเขาใชงานไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยเขาสูระบบได
และเทคโนโลยีสําหรับครู                                                จากทุ ก ที่ ทุ ก เวลา ทั้ ง จากภายในและภายนอกของ
          ตัวแปรตาม ไดแก ประสิทธิภาพของเว็บอีเลิรน                 มหาวิทยาลัย เว็บอีเลิรนิ่งประกอบดวยเนื้อหา 4 หนวย โดย
นิ่งและความคิดเห็นของนักศึกษาจากการบูรณาการการ                        จัดทําเครื่องมือในการเรียนประกอบดวย การลงเวลาเรียน,
เรียนรูดวยเครือขายสังคม                                            แบบฝกหัด, การสงการบาน, การดาวนโหลดเอกสาร , การ
    3.4) เนื้อหาที่ใชในการวิจัย เปนเนื้อหาวิชาภาษาและ               สงขอความ, การรายงานผลคะแนน, การทําขอสอบ
เทคโนโลยีสําหรับครู นําเสนอหาจากหนังสือเทคโนโลยี                             การบู ร ณาการเครื อ ข า ยสั ง คมเข า ไปไว ใ นเนื้ อ หา
สารสนเทศทางการศึกษา (ปรัชญนันท นิลสุข, 2555) มา                      บทเรียน ไดแก การใส plug-in social media ของ facebook
สรางในรายวิชาผานเว็บ e-Learning ของมหาวิทยาลัย                      เพื่อใหผูเรียนสามารถติดตอผูสอนผานเครือขายสังคม การ
จํานวน 4 หนวย ไดแก                                                 ใสวีดิทัศนในลักษณะที่เปนการนําสคริปต Embed Script
      หน วยที่ 1       เทคโนโลยี พื้ น ฐานเพื่ อ การศึ ก ษา          ของ Youtube มาใสในเนื้อหาวิชาเพื่อใหผูเรียนไดดูวีดิโอจาก
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรูสําหรับครู                           e-Learning ได โดยไมตองไปยัง Youtube โดยตรง การ
      หนวยที่ 2 คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา                             ใส Slide Share ที่เปนสไลดคําบรรยายประกอบเขาไปใน
      หนวยที่ 3 อินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษาและสืบคน                   เนื้อหา สามารถเปดอานและทําความเขาใจไดจากหนาเว็บ
      หนวยที่ 4 เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการสื่อสาร                    การเชื่อมโยงอัลบั้มรูปภาพตาง ๆ ดวย Picasa Web ของ
และสืบคนขอมูล                                                       google เพื่ อ ให เ ข า ถึ ง รู ป ภาพที่ ต อ งการได ทั น ที จ าก e-
      หน ว ยที่ 5 เป น การฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารใช เ ทคโนโลยี         Learning
สารสนเทศเพื่ อ การสื่ อ สารและสื บ ค น ข อ มู ล โดย
คณะผูวิจัยไดจัดใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติ แบบบูรณาการ
เครือขายสังคม(Social Networking) รวมกับ e-Learning
ไดแก Social Media ประกอบดวย Slide Share , Blogger,
Google site , Youtube , facebook (social plugin) ,
4shared , picasa web , Embed Script , Share link, Google
Conference , Skype (facebook) Web Conference in
facebook , google document, google chat

4) การสรางเครื่องมือวิจัย
                                                                      รูปที่ 1 แสดงหนาวิชาภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู
     4.1) เครื่องมือวิจัย ประกอบดวย เว็บอีเลิรนนิ่งวิชา
ภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู แบบทดสอบวัดผลการ
เรียนรูระหวางเรียนและหลังเรียนจากเว็บอีเลิรนนิ่ง และ
แบบสอบถามความคิ ด การบู ร ณาการการเรี ย นรู ด ว ย
เครือขายสังคม
     4.2) เว็บอีเลิรนนิ่งวิชาภาษาและเทคโนโลยีสําหรับ
ครู จัดทําขึ้นดวยโปรแกรม Moodle e-Learning version
                                                                172
กิจกรรมที่ 4         การสืบคนขอมูล
รูปที่ 2 แสดงการบูรณาการการเรียนดวยเครือขายสังคม                    กิจกรรมที่ 5         การทําแบบฝกหัด
                                                                      กิจกรรมที่ 6         การสงการบาน
     4.3) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรูระหวางเรียนและ                     กิจกรรมที่ 7         การสงขอความ
หลังเรียนจากเว็บอีเลิรนนิง เปนแบบทดสอบจํานวน 4
                          ่                                           กิจกรรมที่ 8         การสรางแบบทดสอบ
ตอน ๆ ละ 15 ขอ ใชสําหรับวัดผลการเรียนรูระหวาง                     กิจกรรมที่ 9         การเชื่อมโยงเครือขายสังคม
เรียน และแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 60 ขอ                              กิจกรรมที่ 10        การทําขอสอบ
     4.4) แบบสอบถามความคิดการบูรณาการการเรียนรู                              5.3) การเก็บรวบรวมขอมูลวิจัย เมื่อนักศึกษาเรียน
ดวยเครือขายสังคม จํานวน 20 ขอ                                      จากอีเลิรนนิ่งในแตละหนวยก็จะมีแบบฝกหัดระหวางเรียน
                                                                      ใหทําทุกหนวย โดยเก็บคะแนนเพื่อนํามาหาประสิทธิภาพ
5) ขั้นตอนการวิจัย                                                    ของเว็บ สําหรับกิจกรรมที่เรียนผานอีเลิรนนิ่งก็จะใหเปน
     คณะผู วิ จั ย ได เ ข า ไปเป น ผู ส อนวิ ช าภาษาแ ละ         คะแนนเก็ บ สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาเช น การส ง การบ า น การส ง
เทคโนโลยีสําหรับครูในภาคเรียนที่ 2/2554 โดยทําการ                     รายงานการสืบคนขอมูล การเชื่อมโยงเครือขายสังคม โดย
สอนเฉพาะในส ว นของเนื้ อ หาทางด า นเทคโนโลยี                        ผูเรียนจะไดรับมอบหมายงานในทุกสัปดาห ทั้งจากการฝก
เนื่องจากวิชานี้จะแบงเนื้อหาออกเปนภาษาไทย 5 หนวย                   ปฏิบัติในหองคอมพิวเตอรและการเรียนรูเนื้อหาดวยตนเอง
ภาษาอังกฤษ 5 หนวยและเทคโนโลยี 5 หนวย ทําการ                         จากอีเลิรนนิ่ง เมื่อเรียนครบทุกหนวยแลว สัปดาหท่ี 5 จัด
สอนเปนเวลา 5 สัปดาห                                                 ใหมีการสอบปลายภาคเรียน โดยใหนักศึกษาทําแบบทดสอบ
     5.1) การสอนปฏิบัติ แบงการสอนออกเปนการฝก                       จํานวน 60 ขอ นําผลคะแนนที่ไดมาเปนคะแนนทดสอบ
ปฏิบัติเครือขายทางสังคมแบงเปนกิจกรรมตาง ๆ ไดแก                  หลังเรียน จากนั้นใหนักศึกษาทําแบบสอบถามความคิดเห็น
กิจกรรมที่ 1           e-mail /e-mail group                           การบูรณาการการเรียนดวยเครือขายทางสังคม จํานวน 19 ขอ
กิจกรรมที่ 2           Chat / MSN / Skype                                    5.4) การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย เปน
กิจกรรมที่ 3           Web Conference                                 การหาประสิท ธิภาพอี เ ลิร น นิ่ง ตามเกณฑ 80/80 โดยให
กิจกรรมที่ 4           การสรางเว็บไซต (Google Site)                 ความหมายว า 80 ตั วแรก เปน คา เฉลี่ย ผลการเรีย นรู ข อง
กิจกรรมที่ 5           Social Networking (facebook)                   นักศึกษาระหวางเรียนจากเว็บอีเลิรนนิ่ง และ 80 ตัวหลัง
กิจกรรมที่ 6           การแชรลิงก (Share link facebook)             เปนคาเฉลี่ยผลการเรียนรูของนักศึกษาหลังเรียน จากเว็บอี
กิจกรรมที่ 7           การสรางเว็บบล็อก (Blogger)                    เลิรนนิ่ง สวนความคิดเห็นของนักศึกษาจากการบูรณาการ
กิจกรรมที่ 8           การเชื่อมโยง /การลิงก (Link)                  เครือขายสังคมในอีเลิรนนิ่ง จะใชคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบน
กิจกรรมที่ 9           การสรางรายวิชา                                มาตรฐาน
กิจกรรมที่ 10          การสร า งแบบทดสอบและแบบ
ประเมิน (Google document)                                             6) ผลการวิจัย
กิจกรรมที่ 11          การสรางสไลดแชร                                   คณะผูวิจัยไดสรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงคการวิจัย
กิจกรรมที่ 12          การสราง plug-in facebook                      การสร า งและหาประสิ ท ธิ ภ าพอี เ ลิ ร น นิ่ ง วิ ช าภาษาและ
        5.2) การเรียนรูดวยตนเองสวนที่เปนเนื้อหาจะให              เทคโนโลยี สํ า หรั บ ครู สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาประกาศนี ย บั ต ร
นัก ศึ ก ษาเรี ย นผ าน e-Learning ของมหาวิ ท ยาลั ย โดย              วิ ช าชี พ ครู มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ หมู บ า นจอมบึ ง แสดงใน
กําหนดกิจกรรมใหนักศึกษาไดดําเนินการไดแก                           ตารางที่ 1
กิจกรรมที่ 1           การลงเวลาเรียน                                 ตารางที่ 1 คาคะแนนระหวางเรียนและหลังเรียนของ
กิจกรรมที่ 2           การศึกษาเนื้อหา                                               นักศึกษาทีเ่ รียนจากเว็บอีเลิรนนิ่ง
                                                                                                                      
กิจกรรมที่ 3           การดาวนโหลดเอกสาร                                         คะแนน                 คะแนน (60)            รอยละ
                                                                173
ระหวางเรียน                                52.35        87.26               ออนไลน
หลังเรียน                                   56.88        94.80               คาเฉลี่ย                        4.44 0.43               มาก
      ความคิดเห็นการบูรณาการการเรี ยนดวยเครือขา ย                          คาเฉลี่ยรวม                     4.32 0.38               มาก
สั ง คมร ว มกับ อี เ ลิ ร น นิ่ ง ของนั ก ศึ ก ษาประกาศนี ย บั ต ร              สรุปผลการวิจัยจากตารางแสดงผลไดดงนี้          ั
วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง แสดงใน                                 6.1) ผลการสร า งและหาประสิ ท ธิ ภ าพอี เ ลิ ร น นิ่ ง วิ ช า
ตารางที่ 2                                                                   ภ า ษ า แ ล ะ เ ท ค โ น โ ลยี สํ าห รั บ ค รู สํ าห รั บ นั ก ศึ กษ า
ตารางที่ 2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความ                              ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอม
              คิดเห็นการบูรณาการการเรียนดวยเครือขาย                        บึ ง พบว า คะแนนระหว า งเรี ย นจากเว็ บ อี เ ลิ ร น นิ่ ง มี ค า
              ทางสังคม                                                       โดยรวมอยูที่ 52.35 คิดเปนรอยละ 87.26 คะแนนหลัง
                                                                             เรียนจากเว็บอีเลิรนนิ่งมีคาเฉลี่ยโดยรวมอยูที่ 56.88 คิดเปน
 การบูรณาการการเรียน               x        S.D.     ความคิดเห็น             ร อ ยละ 94.80 แสดงว า เว็ บ อี เ ลิ ร น นิ่ ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
 ดวยเครือขายทางสังคม                                                       87.26/94.80 สูงกวาเกณฑ 80/80
google chat                       4.24 0.62              มาก                      6.2) ผลการศึกษาความคิดเห็นการบูรณาการการเรียน
google document                   4.38 0.67              มาก                 ด ว ยเครื อ ข า ยสั ง คมร ว มกั บ อี เ ลิ ร น นิ่ งของนั ก ศึ ก ษา
facebook                          4.14 0.85              มาก                 ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอม
Skype Web                                                                    บึง พบวา นักศึกษามีความคิดเห็นการบูรณาการการเรียนดวย
Conference ใน                                                                เครือขายทางสังคมรวมกับอีเลิรนนิ่ง โดยรวมเห็นดวยอยูใน
facebook
                                  4.14 0.73              มาก                 ระดับมาก ( x = 4.32) โดยการบูรณาการการเรียนดวย
Google                            4.43 0.51              มาก                 เครือขายทางสังคม นักศึกษาเห็นดวยอยูในระดับมาก ( x =
Conference
                                                                             4.21) และการบูรณาการการเรียนในอีเลิรนนิ่งเห็นดวยอยูใน
google site                      4.24      0.62          มาก
                                                                             ระดับมาก ( x = 4.44) เชนกัน
social plug-in ใน                3.81      0.81          มาก
facebook
Slide Share                      4.33      0.58         มาก                  7) อภิปรายผล
Blogger                          4.62      0.50       มากที่สุด                  คณะผูวิจัยไดทําการสรางและหาประสิทธิภาพอีเลิรนนิ่ง
picasa web                       4.00      0.71         มาก                  วิชาภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู และศึกษาความคิดเห็น
Youtube                          4.10      0.77         มาก                  ตอการบูรณาการการเรียนดวยเครือขายสังคมรวมกับอีเลิร
4shared                          4.10      0.70         มาก                  นนิ่งของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัย
                                 4.21      0.42         มาก                  ราชภัฏหมูบานจอมบึง จึงขออภิปรายผลและใหขอเสนอแนะ
กิจกรรมการลงเวลาเรียน            4.62      0.59       มากที่สุด              ดังตอไปนี้
กิจกรรมแบบฝกหัด                 4.52      0.60       มากที่สุด                   ประสิทธิภาพอีเลิรนนิ่งวิชาภาษาและเทคโนโลยีสําหรับ
กิจกรรมการสงการบาน             4.38      0.74         มาก                  ครู สํ าหรั บนั ก ศึ ก ษ าปร ะกาศนี ย บั ต ร วิ ช าชี พ ค รู มี
กิจกรรมการดาวนโหลด              4.24      0.62         มาก                  ประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ ที่กําหนด โดยมี คะแนนระหวา ง
เอกสาร                                                                       เรียนและคะแนนหลังเรียนสูงกวาเกณฑ 80/80 นักศึกษาไม
กิจกรรมการสงขอความ             4.33      0.58         มาก                  เคยเรียนจากเว็บอีเลิรนนิ่งมากอน ทั้งหมดเปนครูประจําการ
กิจกรรมการรายงานผล               4.52      0.51       มากที่สุด              ในโรงเรียนเอกชนที่มาเรียนเพื่อขอใบประกาศนียบัตรวิชาครู
คะแนน                                                                        ในการประกอบอาชีพครูอันเปนเงื่อนไขของคุรุสภา ทําให
กิจกรรมการทําขอสอบ              4.43      0.60          มาก                 ตื่นเตนและสนใจที่จะเรียนรู มีการเขาเรียนสม่ําเสมอ ทํา

                                                                       174
กิ จ กรรมต า ง ๆ ตามที่ กํา หนด เมื่ อ มี ก ารทดสอบด ว ย                           หวังการใชงาน ผูเรียนอาจจะมีลักษณะไมเหมือนกับที่พบ
แบบทดสอบทายบทเรียนก็จะตั้งใจทําใหไดคะแนนสูง ๆ                                     ในหองเรียน พฤติกรรมและการใชภาษาอาจไมเปนแบบที่
ขณะเดียวกันคณะผูวิจัยบูรณาการเครือขายทางสั งคมเขา                                 ผูสอนคาดหวัง ผูสอนสามารถใชสื่อสังคมหลากหลายใน
ไปในเว็ บ อี เ ลิ ร น นิ่ง ทํ า ให ผู เ รี ย นติ ด ต อ สื่ อ สารกั น ได         หองเรียนเพื่อเปนแนวทางใหมในการเรียนการสอนทั้งใน
อยางรวดเร็วดวยเครื่องมือที่ติดตั้งอยู เชน เมื่อมีปญหา                           หองเรียนและในโลกไซเบอร (Pornphisud, 2012) การนํา
ดาวนโหลดไฟลไมไดก็จะโพสทใน facebook ซักถาม                                       เครือขายทางสังคมบูรณาการเขารวมกับการจัดการเรียนการ
เพื่อน แมจะไมไดรับคําตอบในทันที ก็จะมีเพื่อน ๆ เขา                               สอนผานอีเลิรนนิ่ง ยอมเหมาะสมกับยุคของผูเรียนและไม
มาชวยในการแกปญหาตลอดเวลา รวมทั้งสามารถเปด                                        ทําใหอีเลิรนนิ่งมีแตเนื้อหาที่นิ่งเฉย รอการเขามาอานเทานั้น
Skype โดยทํา Conference กับผูวิจัยเพื่อซักถามไดโดยตรง
ผลคะแนนระหวางเรียนจึงอยูในเกณฑสูงแมจะตองศึกษา                                   8) บทสรุป
ดวยตนเอง สอดคลองกับ ผลการใชเครือขา ยสังคมใน                                            การจั ด การเรี ย นการสอนผ า นเว็ บ เป น การเรี ย นรู ด ว ย
ระดับอุดมศึกษาพบวา เปนเครื่องมือที่ชวยในการอภิปราย                                ตนเองของผูเรียน ถาจะทําใหเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนขอมูลข าวสาร ผลการวิจัย                                   ควรบูรณาการเครือขายทางสังคมเขามาชวยในการจัดการ
แสดงว า เครื อ ข า ยทางสั ง คมเข า มาช ว ยเป น เครื่ อ งมื อ                    เรี ย นการสอนผ า นเว็ บ เพื่ อ ให ผู เ รี ย นได ใ ช เ ครื่ อ งมื อ
สํ า หรั บ การเรี ย นรู ท างไกลได เ ป น อย า งดี (Brady,                         ติดตอสื่อสารเชื่อมโยงกับชีวิตจริง และชวยใหสะดวกใน
Holcomb and Smith, 2010)                                                             การนําขอมูลความรูมากมายเขามาสูอีเลิรนนิ่ง อันจะทําให
       ผลการวิ จั ย แสดงให เ ห็ น ว า นั ก ศึ ก ษาเห็ น ด ว ยกั บ                 การจัดการเรียนการสอนมีคุณภาพ สอดคลองกับยุคสมัยของ
การบูรณาการเครือขายสังคม ควรที่นักการศึกษาจะบูรณา                                   ผูเรียน
การเครือขายทางสังคมมาใชในการสอน (Ridwan, 2009)
เพราะจะทํ า ให นั ก ศึ ก ษามี ส ว นร ว มในการสอนของ                               9) กิตติกรรมประกาศ
อาจารยและในดานการเรียนรูของพวกเขาเองก็จะสราง
สภาพแวดลอมใหม ๆ ในการเรียนที่แตกตางไปจากเดิม                                           คณะผูวิจัยขอขอบคุณบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราช
ที่สําคัญคือ เครือขายสังคมออนไลนฟรี งายตอการใชงาน                               ภัฏหมูบานจอมบึง อนุเคราะหใหนักศึกษาไดเขารวมในการ
เปนเครื่องมือที่มีพลังอยางยิ่งในการติดตอสื่อสาร สราง                             วิจัย รวมทั้ งสํานัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประสบการณใหมภายนอกหองเรียนและเสริมการเรียนใน                                      เอื้อเฟอระบบอีเลิรนนิ่งในการวิจัยครั้งนี้
หองเรียนดวย (Rodriguez, 2011) ประโยชนและการใช
งานงายรวมทั้งเขาถึงไดสะดวกของเครือขายสังคม จึง                                   10) เอกสารอางอิง
เห็นไดวาเครือขายทางสังคมสามารถนํามาเปนเครื่องมือ
ทางการศึ ก ษาได เ ป น อย า งดี มี ค วามเป น ส ว นตั ว ได                       ปรัชญนันท นิลสุข (2555) เทคโนโลยีสารสนเทศทาง
เชื่ อ มโยงความสั ม พั น ธ ได ติ ด ต อ สื่ อ สารระหว า งกั น                             การศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนยผลิตตําราเรียน
ตลอดเวลา ชวยใหการจัดการศึกษามีความยืดหยุนและ                                              มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.
นับวันเครือขายสังคมจะเขามามีอิทธิพลทางการศึกษามาก                                  ศิริลักษณ โรจนกิจอํานวย (2555) องคประกอบคุณภาพ
ขึ้น (Ashraf and Yousef , 2012)                                                              ความสัมพันธของเครือขายสังคม. วารสาร
      ขอเสนอแนะของคณะผูวิจัยไดพบวา เครือขายสังคม                                        บริหารธุรกิจ ปที่ 35 ฉบับที่ 133 มกราคม-มีนาคม
เปน สิ่งที่ งายตอการเขาใชง าน สื่อ สัง คมไมสามารถจะ                                    2555 หนา 9-18.
ควบคุมได ผูสอนทําหนาที่ไดเพียงเปนผูรวมในเครือขาย
                                                                                     Ashraf Jalal and Yousef Zaidieh (2012) The Use of
สังคมแมวาผูสอนจะเปนผูนําเมื่ออยูในหองเรียน แตเมื่อ                               Social Networking in Education : Challenges and
ใชเครือขายสังคมออนไลนจําเปนที่ผูสอนจะตองระมัดระ
                                                                               175
Opportunities. World of Computer Science and
     Information Technology Journal (WCSIT)
     Vol. 2, No. 1, 18-21, 2012
Awodele,O. and the others (2009) University
     Enhancement System using a Social
     Networking Approach: Extending E-learning.
     Issues in Informing Science and Information
     Technology .Volume 6, 2009. page 269-283.
Brady, K.P., Holcomb, L.B., and Smith , B.V.
     (2010) The Use of Alternative Social
     Networking Sites in Higher Educational
     Settings: A Case Study of the E-Learning
     Benefits of Ning in Education.
     Journal of Interactive Online Learning. p. 151-
     170 ; Volume 9, Number 2, Summer 2010
Chatti, M.A., Jarke, M. and Frosch-Wilke, D. (2007)
     ‘The future of e-learning: a shift to knowledge
        networking and social software.
        International Journal of Knowledge and
        Learning, Vol. 3, Nos. 4/5, pp.404–420.
Childnet International (2012) Young People and
     Social Networking Services : A Childnet
     International Research Report. United
     Kingdom ;
     http://old.digizen.org/downloads/fullReport.pdf
Mason, R. and Rennie, F. (2008) e-Learning and
     Social Networking Handbook : Resource for
     Higher Education. New York : Routledge.
Pornphisud Mongkhonvanit (2012) Conducting
     Effective e-learning in Social Media Era.
     International Journal of the Computer, the
     Internet and Management . Vol.20 No.1
     (January-April, 2012) page 63-67.
Prensky, M. (2001) Digital Natives, Digital
       Immigrants. On the Horizon. MCB University
       Press, Vol. 9 No. 5, October 2001.
Ridwan Sanjaya (2009) Collaboration of Blog and
      Social Networking for eLearning : A Case
      Study of the eLearning Facility in the SME
      Blog at PPUMKM.COM .The Sixth
      International Conference on eLearning for
      Knowledge-Based Society, 17-18 December
      2009,Thailand.
Rodriguez, J. E. (2011) Social Media Use in
       Higher Education: Key Areas to Consider for
       Educators. MERLOT Journal of Online
       Learning and Teaching. Vol. 7, No. 4,
      December 2011, page 539-550.




                                                       176

Contenu connexe

Tendances

กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆกิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆwariety
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textChangnoi Etc
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Surapon Boonlue
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera Supa CPC
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนชิตชัย โพธิ์ประภา
 

Tendances (11)

กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆกิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
 
Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21Management technology in classroom for 21
Management technology in classroom for 21
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
บทความ5
บทความ5บทความ5
บทความ5
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

En vedette

รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การสร้าง e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ผ่าน Social Media และ Google Apps for Educa...
การสร้าง e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ผ่าน Social Media และ Google Apps for Educa...การสร้าง e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ผ่าน Social Media และ Google Apps for Educa...
การสร้าง e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ผ่าน Social Media และ Google Apps for Educa...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Working process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st centuryWorking process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st centuryPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationPanita Wannapiroon Kmutnb
 
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...
Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...
Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
O banqueiro anarquista
O banqueiro anarquistaO banqueiro anarquista
O banqueiro anarquistamiguepb
 
Couleurs de la vie
Couleurs de la vieCouleurs de la vie
Couleurs de la viemoi8454
 

En vedette (20)

รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 
การสร้าง e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ผ่าน Social Media และ Google Apps for Educa...
การสร้าง e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ผ่าน Social Media และ Google Apps for Educa...การสร้าง e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ผ่าน Social Media และ Google Apps for Educa...
การสร้าง e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ผ่าน Social Media และ Google Apps for Educa...
 
Working process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st centuryWorking process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st century
 
Week3 key information_management
Week3 key information_managementWeek3 key information_management
Week3 key information_management
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...
Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...
Interactive innovation การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ M...
 
O banqueiro anarquista
O banqueiro anarquistaO banqueiro anarquista
O banqueiro anarquista
 
125
125125
125
 
Couleurs de la vie
Couleurs de la vieCouleurs de la vie
Couleurs de la vie
 
manash exp
manash expmanash exp
manash exp
 

Similaire à Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]

Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนKrookhuean Moonwan
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 

Similaire à Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012] (20)

Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Focus 6-55
Focus 6-55Focus 6-55
Focus 6-55
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Plus de Panita Wannapiroon Kmutnb

Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGPanita Wannapiroon Kmutnb
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutionsStudy of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutionsPanita Wannapiroon Kmutnb
 

Plus de Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
 
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
 
The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...
 
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutionsStudy of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
 

Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]

  • 1.
  • 2. Session หนา รูปแบบการเรียนการสอนแบบรวมมือดวยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู C1_6 123 Model of Collaborative Learning Using Learning Activity Management System ณมน จีรังสุวรรณ, ธนยศ สิรโชดก ิ การออกแบบเว็บไซตและบทเรียนอิเล็กทรอนิกสที่เหมาะสมสําหรับ C1_7 131 อีเลิรนนิงในอาเซียน: กรอบวัฒนธรรมที่ควรคํานึงถึง Proper Design of Website and Electronic Courseware for e- Learning in ASEAN : Cultural framework for Consideration จินตวีร คลายสังข การพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลน เพื่อการเรียน C1_8 140 การสอน สําหรับโครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอรไทย (Facebook) Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project ชนากานต ปนวิเศษ, ปณิตา วรรณพิรุณ, ณมน จีรังสุวรรณ การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางไกลสําหรับนิสิตฝกประสบการณวิชาชีพ C1_9 147 ธีรวดี ถังคบุตร การใชกระบวนการเขียนบล็อกแบบรวมมือกันในวิชาภาษาอังกฤษ: พัฒนา B2_1 152 ทัศนคติ คุณภาพ และ ปริมาณงานเขียน Application of a Collaborative Blogging in EFL Classroom: Improving Attitude, Quality and Quantity in Writing ดารารัตน คําภูแสน รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานสื่อสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวย B2_2 161 โครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students ปณิตา วรรณพิรุณ, วีระ สุภะ ผลการบูรณาการการเรียนรูดวยเครือขายสังคมกับ e-Learning B2_3 170 Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning ปรัชญนันท นิลสุข, ปณิตา วรรณพิรุณ
  • 3. ผลการบูรณาการการเรียนรูดวยเครือขายสังคมใน e-Learning Effects of Integrated Learning using Social Media in e-Learning ปรัชญนันท นิลสุข 1, ปณิตา วรรณพิรุณ2 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ prachyanunn@kmutnb.ac.th , panita.w@hotmail.com ABSTRACT การเรียนดวยเครือขายสังคม ผานอีเลิรนนิ่ง ของนักศึกษาที่ เรี ย นวิ ช าภาษาและเทคโนโลยี สํา หรั บ ครู ในภาคเรี ย นที่ This study investigated the integration of learning and teaching through 2/2554 จํ า นวน 25 คน ได จ ากการสุ ม แบบกลุ ม social networks with e-learning courses for โดยนักศึกษาเรียนเนื้อหาวิชาผานอีเลิรนนิ่งของมหาวิทยาลัย Graduate Diploma students in Education, จํานวน 4 หนวย และใหนักศึกษาไดบูรณาการการเรียนโดย Graduate College at Muban Chombueng Rajabhat University. Participants were ฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารใช ง านเครื อ ข า ยสั ง คมร ว มกั บ อี เ ลิ ร น นิ่ ง students who enrolled in Language and ผลการวิ จั ย พบว า ประสิ ท ธิ ภ าพอี เ ลิ ร น นิ่ ง วิ ช าภาษาและ Technology for teachers in Semester 2/2554. There are 25 students who were randomly เทคโนโลยีสําหรับครู มีประสิทธิภาพ 87.26 / 94.80 และ with cluster sampling. Students learn with นั ก ศึ ก ษามี ค วามคิ ด เห็ น ว า การบู ร ณาการการเรี ย นด ว ย MCRU e-learning in 4 subjects and เครื อ ข า ยสั ง คมร ว มกั บ การสอนผ า นอี เ ลิ ร น นิ่ ง มี ค วาม integrated learning practices using social networking with e-learning. The objective เหมาะสมในระดับมาก was to study the effective of e-learning and the opinion of students when they คําสําคัญ: การบูรณาการการเรียนรู , อีเลิรนนิ่ง, เครือขาย integrated learning and teaching using social networking with e-learning. The สังคม results show that the effective of e-learning in language and technology for teacher course had effective 87.26 / 94.80 and 1) บทนํา Students commented that the integration of การเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษามุงที่จะใหผูเรียน learning and teaching through social networks with e-learning is more ไดเกิดทักษะและกระบวนการคิดขั้นสูง โดยเฉพาะนักศึกษา appropriate level. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพครูที่จบปริญญาตรีมาจากสาขา ต า ง ๆ ที่ ไ ม ใ ช วิ ช าครู จะต อ งเรี ย นในวิ ช าภาษาและ Keywords: integration of learning , e-Learning , Social Networking เทคโนโลยี สํ า หรั บ ครู โดยศึ ก ษาและฝ ก ทั ก ษะการใช คอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ บทคัดยอ เปนเครื่องมือสื่อสารและสืบคนทั้งภาษาไทยและตางประเทศ ทั้งในดานการฟง การพูด การอานและการเขียน เพื่อการสื่อ การวิจัยครั้งนี้ไดศึกษาการบูรณาการการเรียนดวย ความหมาย โดยเนนกระบวนการ ทักษะสัมพันธทางภาษา เครื อ ข า ยสั ง คมร ว มกั บ การสอนผ า นอี เ ลิ ร น นิ่ ง สํ า หรั บ ตลอดจนศึกษาและฝกการตีความ การขยายความ การสรุป นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ ความ การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล รวมทั้งการนําเสนอ หมู บา นจอมบึง วัต ถุ ประสงค ก ารวิ จั ย เพื่ อสร างและหา งานทางวิชาการหัวขอที่จะเรียนกัน ประสิทธิภาพอีเลิรนนิ่ง และความคิดเห็นการบูรณาการ โดยจุดประสงค เมื่อผูเรียนศึกษาเนื้อหาและกิจกรรม เสร็จสิ้นแลวจะมีพฤติกรรมและความสามารถคือ 1) อธิบาย 170
  • 4. ความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยี ตอการบูรณาการเครือขายทางสังคมหรือไม เพราะความพึง สารสนเทศเพื่อการเรียนรูสําหรับครูได 2) อธิบายและ พอใจเปนอีกองคประกอบหนึ่งที่สําคัญ ความสัมพันธที่เกิด ปฏิบัติการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร และอินเตอรเน็ต สําหรับ จากความชอบและพอใจในการใช เ ครื อ ข า ยสั ง คม เป น ครูได 3) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสืบคน องคประกอบสําคัญที่ทําใหเกิดคุณภาพความสัมพันธทําให ขอมูลทางการศึกษาและเทคโนโลยีสาหรับครู ํ ผูใชผูกพันในการติดตอสื่อสาร (ศิริลักษณ โรจนกิจอํานวย, ดังนั้นการพัฒนานักศึกษาที่จบปริญญาตรีมาจากตาง 2555) สาขากั น โดยไม เ คยเรี ย นวิ ช าครู ม ากอ นจึ ง ต อ งนํ า มา การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา มีการนํา บูรณาการความรูตาง ๆ เพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน อี เ ลิ ร น นิ่ ง มาใช อ ย า งกว า งขวาง เมื่ อ ทํ า การเพิ่ ม ระบบ โดยเฉพาะผูเรียนในปจจุบันที่เกิดมาในยุคดิจิตอล สิ่งที่ เครือขายทางสังคม เพื่อใหผูเรียนไดบูรณาการการเรียนรู พวกเขาเรียนรูและพู ดถึงมาจากอิ นเทอร เน็ตและสังคม อี เ ลิ ร น นิ่ ง ให ส อดคล อ งกั บ การสื่ อ สารผ า นเครื อ ข า ย ออนไลน (Prensky, 2001) เครือขายสังคมออนไลนเปน อิ น เทอร เ น็ ต ในชี วิ ต ประจํ า วั น ที่ ใ ช เ ครื อ ข า ยสั ง คมอยู สิ่งที่มีผลตอผูเรียนอยางแนนอน เพราะผูเรียนเหลานี้โต ตลอดเวลา (Awodele and the others , 2009) การเรียนรูดวย ขึ้ น มาจากสภาพแวดล อ มที่ อ ยู กั บ เกมส ค อมพิ ว เตอร สื่อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส อ ยา งอี เ ลิ รน นิ่ ง เป น การนํ า เสนอเนื้ อ หา โทรศัพทมือถือ อินเทอรเน็ต และเครือขายสังคม (Mason ในขณะที่สิ่งที่เพิ่มขึ้นมากในยุคแนวคิดเว็บ 2.0 ก็คือเครือขาย and Rennie, 2008) เชนเดียวกับเครือขายเด็กสากลให ทางสังคม จึงเปนการดีที่โปรแกรมเครือข ายทางสังคมมา ความสําคัญและสนับสนุนการฝกปฏิบัติสําหรับเยาวชน ช ว ยผลั ก ดั น ระบบการจั ด การเรี ย นการสอนผ า นเว็ บ มี ในการใช ง านอิ น เทอร เ น็ ต โดยเฉพาะการใช บ ริ ก าร ประสิทธิภาพมากขึ้น (Chatti, Jarke , and Frosch-Wilke, เครือขายสังคม เนื่องจากเยาวชนในยุคปจจุบันเปนยุค 2007) คณะผูวิจัยจึงไดทําการศึกษาเพื่อเปนแนวทางในการ ของดิ จิ เซ็ น หรื อ พลเมือ งยุค ดิ จิต อล ซึ่ง หมายถึง คํา ว า พัฒนาการสอนบูรณาการเครือขายสังคมตอไป ดิจิตอล (Digital) กับคําวา พลเมือง (Citizen) มารวมกัน เปนพลเมืองดิจตอล ซึ่งเปนชีวิตที่อยูกับอินเทอรเน็ตและ ิ 2) วัตถุประสงคการวิจัย โลกออนไลนตลอดเวลา (Childnet International, 2012) 2.1) เพื่อสรางและหาประสิทธิภาพอีเลิรนนิ่งวิชาภาษา ก า ร วิ จั ย ใ น ค รั้ ง นี้ จึ ง เ ป น ก า ร ส ร า ง แ ล ะ ห า และเทคโนโลยีสําหรับครูสําหรับนักศึกษาประกาศนียบัตร ประสิทธิภาพอีเลิรนนิ่งวิชาภาษาและเทคโนโลยีสําหรับ วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง ครู โดยบูรณาการการเรียนดวยเครือขายทางสังคมไดแก 2.2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นการบูรณาการการเรียนดวย Social Media ประกอบดวย Slide Share , Blogger, เ ค รื อ ข า ย สั ง ค ม ร ว ม กั บ อี เ ลิ ร น นิ่ ง ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า Google site , Youtube, facebook (social plugin) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอม 4shared , picasa web , Embed Script , Share link,Google บึง Conference , Skype (facebook) Web Conference in facebook , google document, google chat โดยผูเรียนจะ ได ฝ กปฏิ บั ติ ต ามกิ จ กรรมในรายวิ ชา สวนเนื้ อหาการ 3) ขอบเขตของการวิจัย สอนจะสรางเอาไวใน e-Learning ประกอบดวย เนื้อหา 4 3.1) ประชากร เปนนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู หนวยการเรียน บูรณาการเครือขายสังคม จัดใหมีระบบ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง ที่เรียนวิชาภาษาและ การลงเวลาเรียน, การทําแบบฝกหัด, การสงการบาน, การ เทคโนโลยี สํ า หรั บ ครู ใ นภาคเรี ย นที่ 2/2554 จํ า นวน 4 ดาวนโหลดเอกสาร , การสงขอความ, การรายงานผล หองเรียน คะแนน, การทําขอสอบ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเว็บ 3.2) กลุมตัวอยาง เปนนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ เมื่อบูรณาการเครือขายทางสังคมเขาไปภายในเว็บ และ ครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง ที่เรียนวิชาภาษาและ ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาเพื่อดู วามีความพึงพอใจ 171
  • 5. เทคโนโลยีสําหรับครูในภาคเรียนที่ 2/2554 รุนที่ 14 หมู 1.98 ติดตั้งในคอมพิวเตอรแมขายของสํานักวิทยบริการ และ  4 ไดจากการสุมแบบกลุม (Cluster Sampling) จํานวน 25 เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง คน เปนสวนหนึ่งของประเภทวิชาบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร 3.3) ตัวแปรที่ศึกษา ไดแก ภายใน URL : http://202.29.37.38/elearnning/ นักศึกษา ตัวแปรตน ไดแก เว็บไซตอีเลิรนนิ่งวิชา ภาษา สามารถเขาใชงานไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยเขาสูระบบได และเทคโนโลยีสําหรับครู จากทุ ก ที่ ทุ ก เวลา ทั้ ง จากภายในและภายนอกของ ตัวแปรตาม ไดแก ประสิทธิภาพของเว็บอีเลิรน มหาวิทยาลัย เว็บอีเลิรนิ่งประกอบดวยเนื้อหา 4 หนวย โดย นิ่งและความคิดเห็นของนักศึกษาจากการบูรณาการการ จัดทําเครื่องมือในการเรียนประกอบดวย การลงเวลาเรียน, เรียนรูดวยเครือขายสังคม แบบฝกหัด, การสงการบาน, การดาวนโหลดเอกสาร , การ 3.4) เนื้อหาที่ใชในการวิจัย เปนเนื้อหาวิชาภาษาและ สงขอความ, การรายงานผลคะแนน, การทําขอสอบ เทคโนโลยีสําหรับครู นําเสนอหาจากหนังสือเทคโนโลยี การบู ร ณาการเครื อ ข า ยสั ง คมเข า ไปไว ใ นเนื้ อ หา สารสนเทศทางการศึกษา (ปรัชญนันท นิลสุข, 2555) มา บทเรียน ไดแก การใส plug-in social media ของ facebook สรางในรายวิชาผานเว็บ e-Learning ของมหาวิทยาลัย เพื่อใหผูเรียนสามารถติดตอผูสอนผานเครือขายสังคม การ จํานวน 4 หนวย ไดแก ใสวีดิทัศนในลักษณะที่เปนการนําสคริปต Embed Script หน วยที่ 1 เทคโนโลยี พื้ น ฐานเพื่ อ การศึ ก ษา ของ Youtube มาใสในเนื้อหาวิชาเพื่อใหผูเรียนไดดูวีดิโอจาก เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรูสําหรับครู e-Learning ได โดยไมตองไปยัง Youtube โดยตรง การ หนวยที่ 2 คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา ใส Slide Share ที่เปนสไลดคําบรรยายประกอบเขาไปใน หนวยที่ 3 อินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษาและสืบคน เนื้อหา สามารถเปดอานและทําความเขาใจไดจากหนาเว็บ หนวยที่ 4 เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการสื่อสาร การเชื่อมโยงอัลบั้มรูปภาพตาง ๆ ดวย Picasa Web ของ และสืบคนขอมูล google เพื่ อ ให เ ข า ถึ ง รู ป ภาพที่ ต อ งการได ทั น ที จ าก e- หน ว ยที่ 5 เป น การฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารใช เ ทคโนโลยี Learning สารสนเทศเพื่ อ การสื่ อ สารและสื บ ค น ข อ มู ล โดย คณะผูวิจัยไดจัดใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติ แบบบูรณาการ เครือขายสังคม(Social Networking) รวมกับ e-Learning ไดแก Social Media ประกอบดวย Slide Share , Blogger, Google site , Youtube , facebook (social plugin) , 4shared , picasa web , Embed Script , Share link, Google Conference , Skype (facebook) Web Conference in facebook , google document, google chat 4) การสรางเครื่องมือวิจัย รูปที่ 1 แสดงหนาวิชาภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู 4.1) เครื่องมือวิจัย ประกอบดวย เว็บอีเลิรนนิ่งวิชา ภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู แบบทดสอบวัดผลการ เรียนรูระหวางเรียนและหลังเรียนจากเว็บอีเลิรนนิ่ง และ แบบสอบถามความคิ ด การบู ร ณาการการเรี ย นรู ด ว ย เครือขายสังคม 4.2) เว็บอีเลิรนนิ่งวิชาภาษาและเทคโนโลยีสําหรับ ครู จัดทําขึ้นดวยโปรแกรม Moodle e-Learning version 172
  • 6. กิจกรรมที่ 4 การสืบคนขอมูล รูปที่ 2 แสดงการบูรณาการการเรียนดวยเครือขายสังคม กิจกรรมที่ 5 การทําแบบฝกหัด กิจกรรมที่ 6 การสงการบาน 4.3) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรูระหวางเรียนและ กิจกรรมที่ 7 การสงขอความ หลังเรียนจากเว็บอีเลิรนนิง เปนแบบทดสอบจํานวน 4 ่ กิจกรรมที่ 8 การสรางแบบทดสอบ ตอน ๆ ละ 15 ขอ ใชสําหรับวัดผลการเรียนรูระหวาง กิจกรรมที่ 9 การเชื่อมโยงเครือขายสังคม เรียน และแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 60 ขอ กิจกรรมที่ 10 การทําขอสอบ 4.4) แบบสอบถามความคิดการบูรณาการการเรียนรู 5.3) การเก็บรวบรวมขอมูลวิจัย เมื่อนักศึกษาเรียน ดวยเครือขายสังคม จํานวน 20 ขอ จากอีเลิรนนิ่งในแตละหนวยก็จะมีแบบฝกหัดระหวางเรียน ใหทําทุกหนวย โดยเก็บคะแนนเพื่อนํามาหาประสิทธิภาพ 5) ขั้นตอนการวิจัย ของเว็บ สําหรับกิจกรรมที่เรียนผานอีเลิรนนิ่งก็จะใหเปน คณะผู วิ จั ย ได เ ข า ไปเป น ผู ส อนวิ ช าภาษาแ ละ คะแนนเก็ บ สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาเช น การส ง การบ า น การส ง เทคโนโลยีสําหรับครูในภาคเรียนที่ 2/2554 โดยทําการ รายงานการสืบคนขอมูล การเชื่อมโยงเครือขายสังคม โดย สอนเฉพาะในส ว นของเนื้ อ หาทางด า นเทคโนโลยี ผูเรียนจะไดรับมอบหมายงานในทุกสัปดาห ทั้งจากการฝก เนื่องจากวิชานี้จะแบงเนื้อหาออกเปนภาษาไทย 5 หนวย ปฏิบัติในหองคอมพิวเตอรและการเรียนรูเนื้อหาดวยตนเอง ภาษาอังกฤษ 5 หนวยและเทคโนโลยี 5 หนวย ทําการ จากอีเลิรนนิ่ง เมื่อเรียนครบทุกหนวยแลว สัปดาหท่ี 5 จัด สอนเปนเวลา 5 สัปดาห ใหมีการสอบปลายภาคเรียน โดยใหนักศึกษาทําแบบทดสอบ 5.1) การสอนปฏิบัติ แบงการสอนออกเปนการฝก จํานวน 60 ขอ นําผลคะแนนที่ไดมาเปนคะแนนทดสอบ ปฏิบัติเครือขายทางสังคมแบงเปนกิจกรรมตาง ๆ ไดแก หลังเรียน จากนั้นใหนักศึกษาทําแบบสอบถามความคิดเห็น กิจกรรมที่ 1 e-mail /e-mail group การบูรณาการการเรียนดวยเครือขายทางสังคม จํานวน 19 ขอ กิจกรรมที่ 2 Chat / MSN / Skype 5.4) การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิจัย เปน กิจกรรมที่ 3 Web Conference การหาประสิท ธิภาพอี เ ลิร น นิ่ง ตามเกณฑ 80/80 โดยให กิจกรรมที่ 4 การสรางเว็บไซต (Google Site) ความหมายว า 80 ตั วแรก เปน คา เฉลี่ย ผลการเรีย นรู ข อง กิจกรรมที่ 5 Social Networking (facebook) นักศึกษาระหวางเรียนจากเว็บอีเลิรนนิ่ง และ 80 ตัวหลัง กิจกรรมที่ 6 การแชรลิงก (Share link facebook) เปนคาเฉลี่ยผลการเรียนรูของนักศึกษาหลังเรียน จากเว็บอี กิจกรรมที่ 7 การสรางเว็บบล็อก (Blogger) เลิรนนิ่ง สวนความคิดเห็นของนักศึกษาจากการบูรณาการ กิจกรรมที่ 8 การเชื่อมโยง /การลิงก (Link) เครือขายสังคมในอีเลิรนนิ่ง จะใชคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบน กิจกรรมที่ 9 การสรางรายวิชา มาตรฐาน กิจกรรมที่ 10 การสร า งแบบทดสอบและแบบ ประเมิน (Google document) 6) ผลการวิจัย กิจกรรมที่ 11 การสรางสไลดแชร คณะผูวิจัยไดสรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงคการวิจัย กิจกรรมที่ 12 การสราง plug-in facebook การสร า งและหาประสิ ท ธิ ภ าพอี เ ลิ ร น นิ่ ง วิ ช าภาษาและ 5.2) การเรียนรูดวยตนเองสวนที่เปนเนื้อหาจะให เทคโนโลยี สํ า หรั บ ครู สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาประกาศนี ย บั ต ร นัก ศึ ก ษาเรี ย นผ าน e-Learning ของมหาวิ ท ยาลั ย โดย วิ ช าชี พ ครู มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ หมู บ า นจอมบึ ง แสดงใน กําหนดกิจกรรมใหนักศึกษาไดดําเนินการไดแก ตารางที่ 1 กิจกรรมที่ 1 การลงเวลาเรียน ตารางที่ 1 คาคะแนนระหวางเรียนและหลังเรียนของ กิจกรรมที่ 2 การศึกษาเนื้อหา นักศึกษาทีเ่ รียนจากเว็บอีเลิรนนิ่ง  กิจกรรมที่ 3 การดาวนโหลดเอกสาร คะแนน คะแนน (60) รอยละ 173
  • 7. ระหวางเรียน 52.35 87.26 ออนไลน หลังเรียน 56.88 94.80 คาเฉลี่ย 4.44 0.43 มาก ความคิดเห็นการบูรณาการการเรี ยนดวยเครือขา ย คาเฉลี่ยรวม 4.32 0.38 มาก สั ง คมร ว มกับ อี เ ลิ ร น นิ่ ง ของนั ก ศึ ก ษาประกาศนี ย บั ต ร สรุปผลการวิจัยจากตารางแสดงผลไดดงนี้ ั วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึง แสดงใน 6.1) ผลการสร า งและหาประสิ ท ธิ ภ าพอี เ ลิ ร น นิ่ ง วิ ช า ตารางที่ 2 ภ า ษ า แ ล ะ เ ท ค โ น โ ลยี สํ าห รั บ ค รู สํ าห รั บ นั ก ศึ กษ า ตารางที่ 2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความ ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอม คิดเห็นการบูรณาการการเรียนดวยเครือขาย บึ ง พบว า คะแนนระหว า งเรี ย นจากเว็ บ อี เ ลิ ร น นิ่ ง มี ค า ทางสังคม โดยรวมอยูที่ 52.35 คิดเปนรอยละ 87.26 คะแนนหลัง เรียนจากเว็บอีเลิรนนิ่งมีคาเฉลี่ยโดยรวมอยูที่ 56.88 คิดเปน การบูรณาการการเรียน x S.D. ความคิดเห็น ร อ ยละ 94.80 แสดงว า เว็ บ อี เ ลิ ร น นิ่ ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ดวยเครือขายทางสังคม 87.26/94.80 สูงกวาเกณฑ 80/80 google chat 4.24 0.62 มาก 6.2) ผลการศึกษาความคิดเห็นการบูรณาการการเรียน google document 4.38 0.67 มาก ด ว ยเครื อ ข า ยสั ง คมร ว มกั บ อี เ ลิ ร น นิ่ งของนั ก ศึ ก ษา facebook 4.14 0.85 มาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอม Skype Web บึง พบวา นักศึกษามีความคิดเห็นการบูรณาการการเรียนดวย Conference ใน เครือขายทางสังคมรวมกับอีเลิรนนิ่ง โดยรวมเห็นดวยอยูใน facebook 4.14 0.73 มาก ระดับมาก ( x = 4.32) โดยการบูรณาการการเรียนดวย Google 4.43 0.51 มาก เครือขายทางสังคม นักศึกษาเห็นดวยอยูในระดับมาก ( x = Conference 4.21) และการบูรณาการการเรียนในอีเลิรนนิ่งเห็นดวยอยูใน google site 4.24 0.62 มาก ระดับมาก ( x = 4.44) เชนกัน social plug-in ใน 3.81 0.81 มาก facebook Slide Share 4.33 0.58 มาก 7) อภิปรายผล Blogger 4.62 0.50 มากที่สุด คณะผูวิจัยไดทําการสรางและหาประสิทธิภาพอีเลิรนนิ่ง picasa web 4.00 0.71 มาก วิชาภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู และศึกษาความคิดเห็น Youtube 4.10 0.77 มาก ตอการบูรณาการการเรียนดวยเครือขายสังคมรวมกับอีเลิร 4shared 4.10 0.70 มาก นนิ่งของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัย 4.21 0.42 มาก ราชภัฏหมูบานจอมบึง จึงขออภิปรายผลและใหขอเสนอแนะ กิจกรรมการลงเวลาเรียน 4.62 0.59 มากที่สุด ดังตอไปนี้ กิจกรรมแบบฝกหัด 4.52 0.60 มากที่สุด ประสิทธิภาพอีเลิรนนิ่งวิชาภาษาและเทคโนโลยีสําหรับ กิจกรรมการสงการบาน 4.38 0.74 มาก ครู สํ าหรั บนั ก ศึ ก ษ าปร ะกาศนี ย บั ต ร วิ ช าชี พ ค รู มี กิจกรรมการดาวนโหลด 4.24 0.62 มาก ประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ ที่กําหนด โดยมี คะแนนระหวา ง เอกสาร เรียนและคะแนนหลังเรียนสูงกวาเกณฑ 80/80 นักศึกษาไม กิจกรรมการสงขอความ 4.33 0.58 มาก เคยเรียนจากเว็บอีเลิรนนิ่งมากอน ทั้งหมดเปนครูประจําการ กิจกรรมการรายงานผล 4.52 0.51 มากที่สุด ในโรงเรียนเอกชนที่มาเรียนเพื่อขอใบประกาศนียบัตรวิชาครู คะแนน ในการประกอบอาชีพครูอันเปนเงื่อนไขของคุรุสภา ทําให กิจกรรมการทําขอสอบ 4.43 0.60 มาก ตื่นเตนและสนใจที่จะเรียนรู มีการเขาเรียนสม่ําเสมอ ทํา 174
  • 8. กิ จ กรรมต า ง ๆ ตามที่ กํา หนด เมื่ อ มี ก ารทดสอบด ว ย หวังการใชงาน ผูเรียนอาจจะมีลักษณะไมเหมือนกับที่พบ แบบทดสอบทายบทเรียนก็จะตั้งใจทําใหไดคะแนนสูง ๆ ในหองเรียน พฤติกรรมและการใชภาษาอาจไมเปนแบบที่ ขณะเดียวกันคณะผูวิจัยบูรณาการเครือขายทางสั งคมเขา ผูสอนคาดหวัง ผูสอนสามารถใชสื่อสังคมหลากหลายใน ไปในเว็ บ อี เ ลิ ร น นิ่ง ทํ า ให ผู เ รี ย นติ ด ต อ สื่ อ สารกั น ได หองเรียนเพื่อเปนแนวทางใหมในการเรียนการสอนทั้งใน อยางรวดเร็วดวยเครื่องมือที่ติดตั้งอยู เชน เมื่อมีปญหา หองเรียนและในโลกไซเบอร (Pornphisud, 2012) การนํา ดาวนโหลดไฟลไมไดก็จะโพสทใน facebook ซักถาม เครือขายทางสังคมบูรณาการเขารวมกับการจัดการเรียนการ เพื่อน แมจะไมไดรับคําตอบในทันที ก็จะมีเพื่อน ๆ เขา สอนผานอีเลิรนนิ่ง ยอมเหมาะสมกับยุคของผูเรียนและไม มาชวยในการแกปญหาตลอดเวลา รวมทั้งสามารถเปด ทําใหอีเลิรนนิ่งมีแตเนื้อหาที่นิ่งเฉย รอการเขามาอานเทานั้น Skype โดยทํา Conference กับผูวิจัยเพื่อซักถามไดโดยตรง ผลคะแนนระหวางเรียนจึงอยูในเกณฑสูงแมจะตองศึกษา 8) บทสรุป ดวยตนเอง สอดคลองกับ ผลการใชเครือขา ยสังคมใน การจั ด การเรี ย นการสอนผ า นเว็ บ เป น การเรี ย นรู ด ว ย ระดับอุดมศึกษาพบวา เปนเครื่องมือที่ชวยในการอภิปราย ตนเองของผูเรียน ถาจะทําใหเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนขอมูลข าวสาร ผลการวิจัย ควรบูรณาการเครือขายทางสังคมเขามาชวยในการจัดการ แสดงว า เครื อ ข า ยทางสั ง คมเข า มาช ว ยเป น เครื่ อ งมื อ เรี ย นการสอนผ า นเว็ บ เพื่ อ ให ผู เ รี ย นได ใ ช เ ครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ การเรี ย นรู ท างไกลได เ ป น อย า งดี (Brady, ติดตอสื่อสารเชื่อมโยงกับชีวิตจริง และชวยใหสะดวกใน Holcomb and Smith, 2010) การนําขอมูลความรูมากมายเขามาสูอีเลิรนนิ่ง อันจะทําให ผลการวิ จั ย แสดงให เ ห็ น ว า นั ก ศึ ก ษาเห็ น ด ว ยกั บ การจัดการเรียนการสอนมีคุณภาพ สอดคลองกับยุคสมัยของ การบูรณาการเครือขายสังคม ควรที่นักการศึกษาจะบูรณา ผูเรียน การเครือขายทางสังคมมาใชในการสอน (Ridwan, 2009) เพราะจะทํ า ให นั ก ศึ ก ษามี ส ว นร ว มในการสอนของ 9) กิตติกรรมประกาศ อาจารยและในดานการเรียนรูของพวกเขาเองก็จะสราง สภาพแวดลอมใหม ๆ ในการเรียนที่แตกตางไปจากเดิม คณะผูวิจัยขอขอบคุณบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราช ที่สําคัญคือ เครือขายสังคมออนไลนฟรี งายตอการใชงาน ภัฏหมูบานจอมบึง อนุเคราะหใหนักศึกษาไดเขารวมในการ เปนเครื่องมือที่มีพลังอยางยิ่งในการติดตอสื่อสาร สราง วิจัย รวมทั้ งสํานัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ประสบการณใหมภายนอกหองเรียนและเสริมการเรียนใน เอื้อเฟอระบบอีเลิรนนิ่งในการวิจัยครั้งนี้ หองเรียนดวย (Rodriguez, 2011) ประโยชนและการใช งานงายรวมทั้งเขาถึงไดสะดวกของเครือขายสังคม จึง 10) เอกสารอางอิง เห็นไดวาเครือขายทางสังคมสามารถนํามาเปนเครื่องมือ ทางการศึ ก ษาได เ ป น อย า งดี มี ค วามเป น ส ว นตั ว ได ปรัชญนันท นิลสุข (2555) เทคโนโลยีสารสนเทศทาง เชื่ อ มโยงความสั ม พั น ธ ได ติ ด ต อ สื่ อ สารระหว า งกั น การศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนยผลิตตําราเรียน ตลอดเวลา ชวยใหการจัดการศึกษามีความยืดหยุนและ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. นับวันเครือขายสังคมจะเขามามีอิทธิพลทางการศึกษามาก ศิริลักษณ โรจนกิจอํานวย (2555) องคประกอบคุณภาพ ขึ้น (Ashraf and Yousef , 2012) ความสัมพันธของเครือขายสังคม. วารสาร ขอเสนอแนะของคณะผูวิจัยไดพบวา เครือขายสังคม บริหารธุรกิจ ปที่ 35 ฉบับที่ 133 มกราคม-มีนาคม เปน สิ่งที่ งายตอการเขาใชง าน สื่อ สัง คมไมสามารถจะ 2555 หนา 9-18. ควบคุมได ผูสอนทําหนาที่ไดเพียงเปนผูรวมในเครือขาย Ashraf Jalal and Yousef Zaidieh (2012) The Use of สังคมแมวาผูสอนจะเปนผูนําเมื่ออยูในหองเรียน แตเมื่อ Social Networking in Education : Challenges and ใชเครือขายสังคมออนไลนจําเปนที่ผูสอนจะตองระมัดระ 175
  • 9. Opportunities. World of Computer Science and Information Technology Journal (WCSIT) Vol. 2, No. 1, 18-21, 2012 Awodele,O. and the others (2009) University Enhancement System using a Social Networking Approach: Extending E-learning. Issues in Informing Science and Information Technology .Volume 6, 2009. page 269-283. Brady, K.P., Holcomb, L.B., and Smith , B.V. (2010) The Use of Alternative Social Networking Sites in Higher Educational Settings: A Case Study of the E-Learning Benefits of Ning in Education. Journal of Interactive Online Learning. p. 151- 170 ; Volume 9, Number 2, Summer 2010 Chatti, M.A., Jarke, M. and Frosch-Wilke, D. (2007) ‘The future of e-learning: a shift to knowledge networking and social software. International Journal of Knowledge and Learning, Vol. 3, Nos. 4/5, pp.404–420. Childnet International (2012) Young People and Social Networking Services : A Childnet International Research Report. United Kingdom ; http://old.digizen.org/downloads/fullReport.pdf Mason, R. and Rennie, F. (2008) e-Learning and Social Networking Handbook : Resource for Higher Education. New York : Routledge. Pornphisud Mongkhonvanit (2012) Conducting Effective e-learning in Social Media Era. International Journal of the Computer, the Internet and Management . Vol.20 No.1 (January-April, 2012) page 63-67. Prensky, M. (2001) Digital Natives, Digital Immigrants. On the Horizon. MCB University Press, Vol. 9 No. 5, October 2001. Ridwan Sanjaya (2009) Collaboration of Blog and Social Networking for eLearning : A Case Study of the eLearning Facility in the SME Blog at PPUMKM.COM .The Sixth International Conference on eLearning for Knowledge-Based Society, 17-18 December 2009,Thailand. Rodriguez, J. E. (2011) Social Media Use in Higher Education: Key Areas to Consider for Educators. MERLOT Journal of Online Learning and Teaching. Vol. 7, No. 4, December 2011, page 539-550. 176