SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  43
การสื่อสารและโทรคมนาคม 
หัวข้อเรื่อง 
9.1 การสื่อสาร 
9.2 คลื่นเสียงและคลื่นวิทยุ 
9.3 สถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร 
9.4 หน่วยงานสื่อสารโทรคมนาคมภายในประเทศ 
9.5 โทรศัพท์ 
9.6 การสื่อสารทางวิทยุ 
9.7 โทรศัพท์เคลื่อนที่ 
9.8 สื่อสารไมโครเวฟ 
9.9 สื่อสารดาวเทียม 
9.10 สื่อสารเส้นใยแสง 
9.11 สื่อสารข้อมูล
การสื่อสารและโทรคมนาคม (Communication and Telecommunication) 
ในสมัยโบราณการสื่อสารทางไกลนิยมใช้ 
-สัญญาณควัน 
-ใช้กระจกสะท้อนแสงอาทิตย์ 
-ใช้การเป่าเขาสัตว์ 
-ใช้การตีเกาะหรือตีกลอง 
-ใช้นกพิราบส่งสาร 
-ใช้ม้าส่งสาร
9.1 การสื่อสาร 
ผู้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันทั้งสองฝ่ายต้องมีการตกลงในรูปแบบของ 
สัญญาณและความหมายที่ใช้ การกาหนดรูปแบบของสัญญาณแทน 
ข้อมูลต่างๆ เมื่อพิจารณาแล้วพบว่านั่นคือ รหัสข้อมูลที่ใช้ในการส่ง 
ข่าวสารนั่นเอง 
การใช้รหัส (Code) ในการส่งข่าวสารข้อมูลเป็นการช่วยเพิ่มประสิทธ 
ภาพของการสื่อสาร นอกจากนั้นการใช้รหัสในการส่งข่าวยังช่วยป้องกัน 
การรั่วไหลของข่าวสารได้ การแปลงรหัสออกมาเป็นข่าวสารข้อมูล 
จะต้องเป็นพวกที่เข้าใจรหัสเท่านั้น
9.1.1 ลักษณะและชนิดของระบบสื่อสาร 
-ระบบทางเดียว(Simplex System) 
-ระบบสองทางเต็มรูปแบบ(Full Duplex System) 
-ระบบสองทางครึ่งรูปแบบ (Half Duplex System) 
ระบบทางเดียว 
เป็นการส่งข้อมูลได้ในทิศทางเดียวจากปลายด้านหนึ่งไปยังที่อื่น โครงสร้าง 
ประกอบด้วย เครื่องส่งหนึ่งเครื่อง เครื่องรับหนึ่งเครื่อง 
ตัวอย่าง : ระบบเคเบิลทีวี(TV Cable System) โดยการส่งภาพไปยังจอโทรทัศน์ซึ่ง 
ถูกส่งมาจากห้องส่งของระบบ ส่งไปยังแต่ละบ้านผู้เช่าด้วยสายเคเบิล 
ตัวอย่าง : ระบบเสียงตามสาย (Public Address System)
ระบบสองทางเต็มรูปแบบ หรือเรียกสั้นๆว่าแบบ 2 ทาง (Duplex) 
เป็นการส่งข้อมูลเชื่อมต่อถึงกันได้ในสองทิศทางพร้อมๆ กันในแต่ละปลายทาง 
ประกอบด้วยเครื่องส่งและเครื่องรับและสามารถใช้งานได้พรอ้มกัน 
ตัวอย่าง: ระบบโทรศัพท์
ระบบสองทางครึ่งรูปแบบ 
ปลายทางแต่ละด้านสามารถส่งได้ แต่ต้องเป็นด้านใดด้านหนึ่งในเวลานั้น ทปี่ลาย 
ทั้งสองด้านสามารถส่งหรือรับข่าวสารได้เหมือนกัน โดยการเชื่อมต่อระหว่างปลาย 
ทั้งสองต้องแบ่งเวลากัน ไม่สามารถส่งพร้อมกันหรือรับพร้อมกันได้ในเวลา 
เดียวกัน การจะทาได้พร้อมกันโดยปลายด้านหนึ่งเป็นตัวส่ง ปลายอีกด้านหนึ่งต้อง 
เป็นตัวรับ มีสวิตซ์ตัดต่อการทางานช่วยทาหน้าที่ในการทางาน
9.1.2 โครงสร้างพื้นฐานของระบบสื่อสาร 
ผู้ส่งข่าวสาร(Sender) เป็นแหล่งกา เนิดข่าวสารต่างๆ เช่น สัญญาณภาพ 
สัญญาณเสียง และข้อมูลข่าวสาร ซึ่งผู้ใช้เป็นผู้ส่งข่าวสารออกไป 
ผู้รับข่าวสาร(Receiver) เป็นจุดหมายปลายทางของข่าวสารที่ส่ง 
การเข้ารหัส(Encoding) เป็นการแปลงข้อมูลข่าวสารที่จะส่งไปยังปลายทางให้อยู่ 
ในรูปของรหัสสัญญาณทางไฟฟ้าที่บรรจุข้อมูลข่าวสารทั้งหมดไว้เพื่อช่วยให้ผู้ส่ง 
ข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันและสามารถสื่อสารถึงกันได้
การถอดรหัส(Decoding) เป็นการแปลงรหัสสัญญาณทางไฟฟ้าให้กลับมาเป็น 
ข้อมูลข่าวสารทางด้านผู้รับข่าวสาร การถอดรหัสสัญญาณจะต้องตรงกับการ 
เข้ารหัสสัญญาณจึงสามารถสื่อสารกันได้ 
ตัวกลางในการส่ง (Transmission Medium) เป็นสื่อกลางที่ข่าวสารใช้ในการเดิน 
ทางผ่านไปจากต้นทางถึงปลายทาง สื่อกลางนี้มีหลายชนิด เช่น อากาศ สายนา 
สัญญาณ ตลอดไปจนถึงสื่อตัวนาต่างๆ เช่น โลหะ น้า และพื้นดินที่มีความชื้น เป็น 
ต้น ระยะในการสื่อสารขึ้นอยู่กับชนิดของตัวกลางในการส่ง 
สัญญาณรบกวน(Noise) เป็นสัญญาณที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมีอยู่ทั่วไป มักจะ 
รบกวนและลดทอนสัญญาณทางไฟฟ้าทสี่่งออกไป อาจเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่ง 
ข่าวสาร ผู้รับข่าวสารและตัวกลางในการส่งข่าวสาร
9.1.3 ข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร 
ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้ามีลักษณะสัญญาณไฟฟ้า 2 ลักษณะคือ 
สัญญาณอะนาล็อก(Analog Signal) และสัญญาณดิจิตอล(Digital Signal)
9.2 คลื่นเสียงและคลื่นวิทยุ 
คลื่นเสียง 
คลื่นเสียง เป็นคลื่นที่มีความถี่ต่า อยู่ในย่านความถี่20 ถึง 20,000 Hz คลนื่เสียงนี้ 
เป็นคลื่นที่มนุษย์ทุกคนรับฟังได้ ใช้ในการสื่อสารข่าวสารและข้อมูลซึ่งกันและกัน 
คลื่นเสียงเนื่องจากมีความถี่ต่าจึงไม่สามารถเดินทางไปได้ไกล 
คลื่นวิทยุ 
คลื่นวิทยุเป็นคลื่นที่มีความถี่สูงมากอยู่ในย่านความถี่ประมาณ 10 kHz(10,000 
Hz) ถึง 300 GHz (300,000,000,000 Hz) ความถี่ในย่านนี้หูมนุษย์ไม่สามารถรับฟัง 
ได้คลื่นวิทยุสามารถเดินทางไปได้ไกลมาก ด้วยความเร็วเท่ากับคลื่นแสงเดินทาง มี 
ความเร็วประมาณ 3x108 เมตรต่อวินาที(m/s) เพราะว่าคลื่นวิทยุเดินทางผ่านไปได้ 
ในทุกหนทุกแห่งโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลางพาคลื่นวิทยุไป ในสุญญากาศคลื่นวิทยุก็ 
สามารถเดินทางไปได้
9.3 สถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร 
9.3.1 สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ 
สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศหรือ ITU (International 
Telecommunication Union) เป็นหน่วยงานหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ มี 
หน้าที่หลักเกี่ยวกับการกาหนดมาตรฐานการสื่อสารโทรคมนาคม จัดสรรความถี่ทา 
ให้การสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างประเทศเกิดประโยชน์สูงสุด สานักงานใหญ่ 
ของ ITU ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ 
คลื่นความถี่วิทยุถือเป็นทรัพยากรธรรมชาติ มีประโยชน์มหาศาลต่อการใช้ 
งานในระบบสื่อสารโทรคมนาคม ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ITU ได้แบ่ง 
จาพวกของงานที่จะต้องมีการกาหนดย่านความถี่ของคลื่นในการใช้งานไว 4 พวก 
ใหญ่ๆ แบ่งออกได้ดังนี้
1. งานส่งกระจายเสียงทั่วไป (General Broadcasting) เป็นระบบวิทยุกระจายเสียง 
ภายในประเทศ 
2. งานวิทยุสมัครเล่น (Amateur Radio) เป็นระบบวิทยุสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับด้าน 
วิชาการเกี่ยวกับการทดลองเครื่องรับส่งวิทยุสื่อสาร 
3. งานบอกทางนาร่อง(Navigational Beacons) เป็นระบบวิทยุเพื่อการนาทาง ใช้ 
เพื่อความมุ่งหมายสาหรับการเดินเรือหรือการเดินอากาศ 
4. งานติดต่อสื่อสาร (Commercial Transportation Communication) เป็น 
ระบบสื่อสารใช้ติดต่อระหว่างรถยนต์ ระหว่างเรือ ระหว่างเครื่องบิน รวมถึงวิทยุ 
โทรศัพท์ด้วย
9.3.2 องค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ 
องค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ (International 
Telecommunication Satellite Organization) หรือ INTELSAT เป็นองค์กร 
ระหว่างประเทศที่บริหารงานด้านดาวเทียมสื่อสารเพื่อการพาณิชย์ โดยให้ประเทศ 
ต่างๆ ที่เป็นสมาชิกเข้าถือหุ้นร่วมกัน โดยองค์กรมีวัตถุประสงค์สาคัญทจี่ะทา ให้ 
ประเทศสมาชิกได้ร่วมกันวางแผน พัฒนา สร้างและดาเนินงานของดาวเทียม 
สื่อสาร สถานีภาคพื้นดินติดต่อผ่านดาวเทียมอินเทลแซตตั้งอยู่ที่ อ.ศรีราชา จ. 
ชลบุรี
9.4 หน่วยงานสื่อสารโทรคมนาคมภายในประเทศ 
9.4.1 กรมไปรษณีย์โทรเลข ทาหน้าที่ต่างๆ ดังนี้ 
- เป็นเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาตและควบคุมการใช้คลื่นวิทยุคมนาคม ในการมี 
การติดตั้งและการใช้งาน คลื่นความถี่วิทยุคมนาคม จะต้องได้รับอนุญาตจาก 
กรมไปรษณีย์โทรเลขก่อน 
- เป็นตัวแทนประสานงานการจดทะเบียน การมีการติดตั้ง และการใช้สถานี 
ดาวเทียมต่อหน่วยงานในต่างประเทศ 
- เป็นผู้ให้บริการด้านการสื่อสารคมนาคมทางดาวเทียมในประเทศแก่หน่วย 
ราชการและหน่วยงานสาคัญของรัฐ
9.4.2 บริษัท กสท. โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) 
- ดาเนินการเกี่ยวกับเครื่องใช้บริการให้ความสะดวกของกิจการไปรษณีย์และ 
โทรคมนาคม 
- กาหนดอัตราค่าธรรมเนียม ค่าเช่า ค่าดาเนินธุรกิจ และค่าบริการของกิจการ 
ไปรษณีย์และโทรคมนาคม และจัดระเบียบเกี่ยวกับวิธีชาระค่าบริการต่างๆ 
- จัดระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้บริการไปรษณีย์และโทรคมนาคม 
และความสะดวกต่างๆ ของกิจการไปรษณีย์และโทรคมนาคม 
- ให้บริการไปรษณีย์ในประเทศและระหว่างประเทศ 
- ให้บริการโทรคมนาคมในประเทศและระหว่างประเทศ เช่น โทรเลข เทเล็กซ์ 
โทรศัพท์ โทรคมนาคมผ่านดาวเทียม ผ่านเคเบิลใต้น้า และวิทยุ
9.4.3 บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) 
มีหน้าที่ให้บริการการสื่อสารโทรคมนาคมทางด้านโทรศัพท์ ทั้งโทรศัพท์มีสาย 
และวิทยุโทรศัพท์ โดยมีโครงการพัฒนาขยายข่ายสายบริการโทรศัพท์เพิ่มขึ้น 
ทั่วประเทศ และขยายชุมสายโทรศัพท์ระบบ SPC แบบดิจิตอล
9.5 โทรศัพท์ 
9.5.1 หลักการทางานของโทรศัพท์ 
โทรศัพท์เป็นระบบสื่อสารที่ใช้สัญญาณเสียงส่งออกไปจากด้านส่ง แปลง 
สัญญาณเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เดินทางไปตามสายส่งสัญญาณ ถึงด้านรับทาการ 
แปลงกลับจากสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นสัญญาณเสียงตามเดิม 
รูปที่ 9 วงจรโทรศัพท์เบื้องต้น
9.5.3 ชุมสายโทรศัพท์ 
ชุมสายโทรศัพท์ถือเป็นศูนย์กลางของระบบการสื่อสารด้วยโทรศัพท์ช่วยอานวย 
ความสะดวกในการเชื่อมเลขหมายถึงกัน แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 
ประเภทแรกชุมสายโทรศัพท์มีเครื่องโทรศัพท์แต่ละเลขหมายของผู้เช่าต่ออยู่เช่น 
ชุมสายท้องถิ่น ชุมสายตู้เป็นต้น ประเภททสี่องไม่มีเครื่องโทรศัพท์แต่ละเลข 
หมายของผู้เช่าต่ออยู่โดยตรง ใช้เป็นชุมสายต่อผ่านสัญญาณโทรศัพท์เช่น 
ชุมสายโทรศัพท์ต่อผ่านทางไกล
9.5.4 ชุมสายโทรศัพท์ชนิดใช้พนักงานต่อ 
เป็นชุมสายโทรศัพท์ที่การติดต่อถึงกันต้องใช้พนักงานเป็นผู้ต่อเลขหมายให้ 
การต่อเลขหมายปลายทางทา ได้โดยผู้ใช้โทรศัพท์ยกหูโทรศัพท์(Handset) ขึ้น 
จะเกิดสัญญาณแสดงขึ้นที่ตู้สลับสายโดยอัตโนมัติ พนักงานจะทราบทันทีว่า 
เลขหมายใดเรียกเข้ามา พนักงานใช้ปลั๊กตอบ
9.5.5 ชุมสายโทรศัพท์ชนิดอัตโนมัติ 
เป็นชุมสายโทรศัพท์ที่การติดต่อถึงกันสามารถทา ได้โดยอัตโนมัติการต่อเลข 
หมายปลายทางทา ได้โดยผู้ใช้โทรศัพท์ยกหูโทรศัพท์ขึ้นจะมีแรงดันไฟจ่ายเลี้ยง 
วงจรจากชุมสายโทรศัพท์ส่งมาพร้อมกับส่งสัญญาณเสียงพร้อมทา งาน(Dial Tone) 
กลับมาให้ผู้โทรบอกให้ทราบว่าโทรศัพท์พร้อมใช้งานแล้ว ผู้โทรสามารถกดปุ่ม 
เลขหมายโทรศัพท์ที่ต้องการติดต่อจนครบทุกตัว หากต่อเชื่อมเลขหมายปลายทาง 
ได้ ชุมสายโทรศัพท์จะส่งสัญญาณเสียงเรียกกลับ(Ringback Tone) กลับไปให้ผู้ 
โทร และจ่ายกระแสสัญญาณเรียก(Ringing Current) ไปทา ให้กระดิ่งผู้รับปลายทาง 
ดังขึ้น เมื่อผู้รับปลายทางยกหูโทรศัพท์ขึ้น ผู้โทรและผู้รับสามารถสนทนากันได้ 
หากเสร็จสิ้นการสนทนาวางหูโทรศัพท์ลงที่เครื่องโทรศัพท์ เป็นการตัดวงจร 
ทั้งหมดจากระบบโทรศัพท์
9.5.6 โทรศัพท์ระบบ SPC : Store Program Control 
เป็นระบบโทรศัพท์อัตโนมัติระบบหนึ่ง ที่นิยมใช้งานในปัจจุบัน โดยใช้ 
คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการควบคุมระบบ ทาให้สามารถออกแบบระบบควบคุม 
ได้ตามต้องการ และยังให้บริการพิเศษต่างๆ ได้อีกด้วย เช่นบริการเลขหมายด่วน 
บริการเรียกซ้า บริการโอนเลขหมาย บริการประชุมทางโทรศัพท์ บริการรอสายว่าง 
และบริการแจ้งเลขหมายผู้โทรต้นทาง เป็นต้น
9.6 การสื่อสารทางวิทยุ 
หลักการส่งข่าวสารข้อมูลทางคลื่นวิทยุ โดยการนาข่าวสารข้อมูลต่างๆ เช่น เสียง 
ภาพ ข้อมูล 
และสัญญาณไฟฟ้าต่างๆ ไปเข้าขบวนการผสมคลื่น(Modulation) กับสัญญาณ 
คลื่นวิทยุ ส่งต่อไป 
ให้กับเครื่องส่งวิทยุส่งออกสายอากาศแพร่กระจายคลื่นออกไปในอากาศในรูปคลื่น 
แม่เหล็กไฟฟ้า 
ทางด้านรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าส่งผ่านเข้าสายอากาศ ส่งต่อไปให้เครื่องรับวิทยุรับ 
คลื่นสัญญาณเหล่านี้เข้ามา ผ่านไปเข้าขบวนการแยกคลื่น(Demodulation) แยกเอา 
เสียง ภาพ ข้อมูล และสัญญาณไฟฟ้าต่างๆ ส่งต่อไปปลายทางเพื่อใช้งาน
วิธีการผสมข่าวสารข้อมูลเข้ากับคลื่นพาหะในระบบสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ ที่นิยมใช้ 
งานมี 3 แบบ คือ 
1. การผสมคลื่นทางความสูงหรือแบบ AM(Amplitude Modulation) 
2. การผสมคลื่นทางความถี่หรือแบบ FM(Frequency Modulation) 
3. การผสมคลื่นทางเฟสหรือแบบ PM(Phase Modulation)
9.6.1 การผสมคลื่นทางความสูง (AM) 
คือ การนาสัญญาณข่าวสารข้อมูลไปผสมกับคลื่นพาหะ โดยสัญญาณข่าวสาร 
ข้อมูลจะไปควบคุมให้คลื่นพาหะมีระดับความสูงเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือ 
ลดลงตามระดับของสัญญาณข่าวสารข้อมูล โดยที่ความถี่ของคลื่นพาหะยังคง 
เดิมไม่เปลี่ยนแปลง
9.6.2 การผสมคลื่นทางความถี่ (FM) การผสมคลื่นทางความถี่หรือFM 
คือ การนาสัญญาณข่าวสารข้อมูลไปผสมกับคลื่นพาหะ โดยสัญญาณข่าวสาร 
ข้อมูลจะไปควบคุมให้คลื่นพาหะมีความถี่พาหะเปลี่ยนแปลงไปเพิ่มขึ้นหรือลดลง 
ตามระดับของสัญญาณข่าวสารข้อมูล โดยที่ระดับความสูงของคลื่นพาหะยังคงที่ 
ไม่เปลี่ยนแปลง
9.7 โทรศัพท์เคลื่อนที่ 
วิทยุโทรศัพท์เคลื่อนที่(Mobile Radiotelephone) เป็นวิทยุโทรศัพท์แบบหนึ่งที่ใช้ 
คลื่นวิทยุช่วยนาข่าวสารข้อมูลจากต้นทางไปยังที่ไกลๆ ปลายทางพร้อมกับสามารถ 
พกพาเครื่องวิทยุโทรศัพท์นาติดตัวไปด้วย ในขอบเขตพื้นที่ทาการที่คลื่นวิทยุ 
เดินทางไปได้ถึง 
ในปีพ.ศ. 2526 ระบบโทรศัพท์เซลลูลาร์ได้ถูกติดตั้งขึ้นและเปิดให้บริการ โดยพื้นที่ 
ให้บริการทั้งหมดจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนเล็กๆ เรียกว่า เซลล์(Cell) แต่ละเซลล์จะมี 
รัศมีและจัดสรรความถี่ใช้งานเฉพาะเซลล์ แต่ละเซลล์จะมีขนาดเล็กพ่วงต่อกันเป็น 
แบบรวงผึ้ง เนื่องจากพื้นที่ให้บริการมีขนาดเล็กจึงไม่จาเป็นต้องใช้เครื่องส่งที่กาลัง 
ส่งสูงๆ สามารถนาความถี่ซ้าๆ ไปใช้งานได้เพิ่มมากขึ้น
9.8 สื่อสารไมโครเวฟ 
ไมโครเวฟ (Microwave) เป็นคลื่นความถี่วิทยุชนิดหนึ่งที่มีความยาวคลนื่สั้นมาก 
มีความถี่ใช้งานอยู่ในช่วงระหว่าง 300 MHz ถึง 300 GHz ในการนาความถี่ 
ไมโครเวฟไปใช้งานในระบบสื่อสารนิยมใช้งานในช่วงความถี่ประมาณ 1 GHz ถึง 
40 GHz เพราะเป็นย่านความถี่ที่สามารถผลิตขึ้นมาใช้งานได้ด้วยอุปกรณ์ 
อิเล็กทรอนิกส์ การใช้คลื่นไมโครเวฟในการสื่อสารนับว่ามีความสาคัญ และจาเป็น 
ต่อการใช้งาน เพราะคลื่นไมโครเวฟมีข้อดีต่อการใช้งานในการสื่อสารหลายข้อดังนี้
ระบบดาวเทียม (Statellite System) เป็นระบบสื่อสารไมโครเวฟที่ใช้สถานีทวน 
สัญญาณลอยอยู่ในอวกาศสูงเหนือพื้นโลกกว่า 30,000 กิโลเมตร โดยใช้ดาวเทียมทา 
หน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณ ทาให้สามารถสื่อสารด้วยคลื่นไมโครเวฟได้ระยะ 
ทางไกลมากๆ นิยมใช้งานในระบบสื่อสารข้ามประเทศข้ามทวีป
ระบบเรดาร์(Radar System) เป็นการใช้คลื่นความถี่ไมโครเวฟช่วยในการ 
ตรวจจับและวัดระยะทางของวัตถุต่างๆ ที่อยู่ห่างไกล หลักการของเรดาร์คือ การ 
ส่งคลื่นไมโครเวฟออกไปจากสายอากาศในมุมแคบๆ เมื่อคลื่นไมโครเวฟกระทบ 
วัตถุจะสะท้อนกลับมาเข้าสายอากาศอีกครั้ง นาสัญญาณที่รับเทียบกับสัญญาณเดิม 
และแปรค่าออกมาเป็นข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการ
9.9 สื่อสารดาวเทียม 
การสื่อสารไมโครเวฟเป็นการสื่อสารที่ได้ระยะทางในการเชื่อมต่อระบบถึงกันสั้น 
มากอยู่ในช่วงไม่เกิน 50-80 กิโลเมตรเท่านั้น การสื่อสารที่มรีะยะทางไกลกว่านั้น 
จะต้องต่อเพิ่มสถานีทวนสัญญาณเข้าไปทุกๆ ระยะทาง 50-80 กิโลเมตรเสมอ ซึ่ง 
ถ้าการสื่อสารมีระยะทางไกลมาก ๆ ก็ต้องสิ้นเปลืองสถานีทวนสัญญาณเป็นจานวน 
มาก การต่อสถานีทวนสัญญาณยิ่งมากขึ้น ความผิดเพี้ยนของสัญญาณสื่อสารก็ยิ่ง 
มากขึ้นตามไปด้วย นอกจากนั้นในบางช่วงอาจเกิดปัญหาในการตดิตั้งสถานีทวน 
สัญญาณ เช่น เป็นพื้นน้า เป็นป่ารกทึบ หรือเป็นภูเขาสูงชัน เป็นต้น ปัญหาต่างๆ 
เหล่านี้ทา ให้เกิดแนวความคิดทจี่ะติดตั้งสถานีทวนสัญญาณไว้ในที่สูงๆ เพอื่ให้ 
สามารถเพิ่มระยะทางการติดต่อสื่อสารได้ไกลเพิ่มขึ้น ใช้สถานีทวนสัญญาณ 
น้อยลง
ดาวเทียมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่าโลกหมุน 
เป็นดาวเทียมที่โคจรรอบโลกในแนวเส้นศูนย์สูตร ด้วยความเร็วในการเคลื่อนที่ 
เท่ากับโลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้เสมือนว่าดาวเทียมลอยนิ่งอยู่กับที่ ดาวเทียม 
ชนิดนี้จึงเหมาะสมสาหรับเป็นสถานีทวนสัญญาณสาหรับการสื่อสาร 
โทรคมนาคมและถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ได้เป็นอย่างดี ระยะความสูงของ 
ตัวดาวเทียมจากพื้นโลกมีค่าประมาณ 38,000 กิโลเมตร ในระยะความสูงของ 
ดาวเทียมขนาดนี้สามารถถ่ายทอดสัญญาณลงสู่พื้นโลกครอบคลุมพื้นที่บนโลก 
ได้ประมาณ 1 ใน 3 ส่วน ดังนั้นหากต้องการให้สามารถสื่อสารกันได้รอบโลก 
จะต้องใช้ดาวเทียม 3 ดวง 
ดาวเทียมโคจรรอบโลกในลักษณะนี้อาจเรียกว่า ดาวเทียมค้างฟ้า 
(Geostationary Satellite)
ดาวเทียมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่าโลกหมุน 
เป็นดาวเทียมทโี่คจรรอบโลกในแนวทแยงจากขั้วโลกเหนือไปข้วัโลกใต้ ด้วย 
ความเร็วในการเคลื่อนที่ไม่เท่ากับโลกหมุนรอบตัวเอง การโคจรจะเป็นวงรี 
ดาวเทียม ชนิดนี้เหมาะสาหรับเป็นดาวเทียมสารวจ เช่น สารวจสภาพภูมิอากาศ 
ภูมิประเทศ และแหล่งทรัพยากรธรณี เป็นต้น และใช้ในงานด้านยุทธวิธีทาง 
การทหาร เพราะดาวเทียมสามารถผ่านพื้นที่ต่างๆของโลกได้
9.9.2 การใช้งานดาวเทียม 
การใช้งานดาวเทียมแบ่งออกได้เป็นลักษณะงานที่สาคัญ 3 ประเภท คือ ดาวเทียม 
สื่อสาร ดาวเทียมสารวจ และดาวเทียมยุทธวิธี 
ดาวเทียมสื่อสาร เป็นดาวเทียมใช้ในการสื่อสารโทรคมนาคมทั้งในประเทศและข้าม 
ประเทศ และใช้ในกถ่ายทอดโทรทัศน์ข้ามทวีป มีดาวเทียมที่สาคัญคือดาวเทียมอิน 
เทลแซต ใช้ในการสื่อสารระหว่างประเทศ แต่ละรุ่นมี 3ดวงเชื่อมโยงติดต่อกันได้ 
รอบโลก โดยส่งดาวเทียมขึ้นโคจรอยู่เหนือมหาสมุทรอินเดีย เหนือมหาสมุทร 
แปซิฟิก และเหนือมหาสมุทรแอตแลนติก ในประเทศไทยมีดาวเทียมใช้สาหรับ 
สื่อสารภายในประเทศชื่อว่า ไทยคม(Thaicom)
ดาวเทียมสารวจ เป็นดาวเทียมใช้ในการสารวจทรัพยากรทางธรรมชาติ เช่นพื้นที่ 
เพาะปลูก แหล่งพันธ์ุไม้ บริเวณที่เกิดอุทกภัย บริเวณที่แห้งแล้ง บริเวณทเี่กิดไฟป่า 
เป็นต้น นอกจากนี้ยังให้ข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยา เช่น เกิดพายุฟ้าคะนอง ติดตาม 
การเคลื่อนตัวและความแรงของพายุ หาอุณหภูมิแต่ละระดับความสูง และหาข้อมูล 
อุตุนิยมวิทยาในบริเวณที่ไม่มีสถานีตรวจอากาศ เป็นต้น ได้แก่ ดาวเทียม GMS 
ของญี่ปุ่น และดาวเทียม NOAA ของสหรัฐอเมริกา
ดาวเทียมยุทธวิธี เป็นดาวเทียมที่มีหลายรูปแบบ แล้วแต่ความต้องการทางด้าน 
กิจการทหาร การโคจรของดาวเทียมมทีั้งประเภทเคลอื่นที่ด้วยความเร็วเท่ากับโลก 
หมุนรอบตัวเองและเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่าโลกหมุนรอบตัวเอง แต่ส่วนมาก 
เป็นแบบเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่ากับโลกหมุนรอบตัวเองเพื่อให้ดาวเทียมโคจร 
เข้าใกล้โลก สามารถถ่ายภาพและส่งข้อมูลกลับมายังสถานีภาคพื้นดินได้ เช่น ใน 
สงครามอิรักกับสหประชาชาติ
9.9.3 พื้นฐานของระบบการสื่อสารดาวเทียม 
การใช้งานดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร เป็นการใช้ดาวเทียมทาหน้าที่เป็นสถานีทวน 
สัญญาณ โดยการส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลกลอยอยู่ในอวกาศ ติดตั้งอุปกรณ์ 
รับส่งคลื่นวิทยุไว้เพื่อใช้รับและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุลงมายังพื้นโลก พลังงาน 
ไฟฟ้าใช้ในตัวดาวเทียมได้มาจากเซลล์แสงอาทิตย์(Solar Cell) ที่รับพลังงาน 
แสงอาทิตย์มาเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า
9.10 สื่อสารเส้นใยแสง 
9.10.1 ย่านความถี่ที่ใช้ในการสื่อสาร 
คลื่นแสงถือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นเดียวกับคลื่นวิทยุ แต่มีความถี่และความ 
ยาวคลื่นแตกต่างกัน โดยมีความเร็วในการเคลื่อนที่เท่ากัน ความเร็วในการเคลื่อนที่ 
ในอากาศหรือสุญญากาศประมาณ 3x108 เมตร/วินาที (m/s) 
แสงถูกกาเนิดขึ้นมาใช้งานจากแหล่งกาเนิดแสงหลายชนิดด้วยกัน เช่น 
หลอดไฟมีใส้ หลอดนีออน หลอดฟลูออเรสเซนต์ จากดวงอาทิตย์ จากปฏิกิริยาเคมี 
และอุปกรณ์สารกึ่งตัวนา เป็นต้น 
แสงที่กาเนิดขึ้นมาแยกออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือแสงธรรมดา(Light) และแสง 
เลเซอร์(LAZER)
ธรรมดาไปผ่านแท่งปริซึมจะเกิดการกระจายออกเป็นสีต่างๆ ที่ตามนุษย์มองเห็น 
ได้แก่ แดง, ส้ม, เหลือง, เขียว, น้าเงิน, คราม, และม่วง แสงธรรมดาเป็นแสงที่เกิด 
จากความร้อนในสสาร ทา ให้อะตอมของสสารนั้นสั่นไม่เป็นระเบียบ จึงไม่สามารถ 
นาไปใช้งานในระบบสื่อสารได้ 
แสงเลเซอร์ แสงที่กาเนิดขึ้นมามีความยาวคลื่นค่าเดียวคงที่ มีเฟสสัญญาณที่ 
แน่นอน ลักษณะลา แสงพุ่งไปในทิศทางเดียวกัน แหล่งกา เนิดแสงไม่ต้องอาศัย 
ความร้อน สามารถใช้งานได้ในระบบสื่อสาร
เส้นใยแสง(Optical Fiber Or Fiber Optics) หรือเส้นใยแก้ว คือ เส้นใยขนาดเล็กที่ 
ผลิตขึ้นมาจากแก้วหรือไฟเบอร์ ทาให้ได้เส้นใยแสงที่มีขนาดเล็กและมีความยาวมากๆ 
เช่นเดียวกับสายไฟฟ้า ประโยชน์ของเส้นใยแสงใช้เป็นสายนาแสงให้เดินทางไปได้ 
ไกลๆ ในทิศทางที่ต้องการใช้งานในระบบสื่อสารและโทรคมนาคมทางแสง มี 
ความสาคัญไม่น้อยไปกว่าสื่อสารไมโครเวฟ และการสื่อสารดาวเทียม เหตุที่เส้นใยแสง 
เริ่มเข้ามามีบทบาทในการสื่อสาร เพราะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการ 
สื่อสารด้วยสายไฟ หรือด้วยคลื่นวิทยุได้เป็นอย่างดี
9.11 สื่อสารข้อมูล 
การสื่อสารข้อมูล(Data Communication) คือการรับส่งข่าวสารต่างๆ ที่จาเป็นจาก 
ที่ห่างไกลได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ถือเป็นส่วนสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ 
ผลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสารและคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดการ 
เปลี่ยนแปลงอย่างมากมายในวิธีและระบบการสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการใช้ 
คอมพิวเตอร์เข้ามาร่วมในการสื่อสารข้อมูล ส่วนมากมักจะต้องการผลการประมวล 
ทันทีหลังจากป้อนข้อมูลเข้าไปแล้ว และส่งกลับไปให้ผู้ใช้
โมเด็มจะทาหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์ที่ส่งมา ให้กลายเป็น 
สัญญาณอนาลอกส่งออกไปตามสายส่ง เมื่อถึงปลายทางโมเด็มจะทาหน้าที่เปลี่ยน 
สัญญาณอนาลอกกลับมาเป็นสัญญาณดิจิตอลตามเดิม ส่งต่อไปให้คอมพิวเตอร์ 
การส่งสัญญาณดังกล่าวใช้ข่ายสายโทรศัพท์ที่ช่องสัญญาณที่แถบความถี่จากัดรูปที่ 
35 การเชื่อมต่อกับโมเด็ม(Modem) 
โมเด็ม มาจากคาเต็ม 2 คาว่า modulation หรือการผสมคลื่นและ Demodulation 
หรือการแยกคลนื่ โดยนาอักษรส่วนหน้าของคาทั้งสองมารวมกันเป็นคาใหม่
ระบบเครือข่าย LAN คือระบบที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นข่ายงาน โดย 
จากัดงานในวงพื้นที่ส่วนหนึ่งเช่นภายในสถานที่ทางาน และภายในโรงงาน 
อุตสาหกรรมเดียวกัน เป็นต้น เพื่อใช้งานทรัพยากรบางส่วนร่วมกัน เรียกข้อมูล 
บางอย่างมาใช้งานร่วมกัน ตลอดจนเก็บข้อมูลรวมกันไว้ในแหล่งข้อมูลเดียวกัน 
สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ได้ เช่น ใช้ฮาร์ดดิสค์ร่วมกัน ใช้ 
เครื่องพิมพ์ร่วมกัน

Contenu connexe

Tendances

คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403Supanut Maiyos
 
ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศสุเมธ แก้วระดี
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Aekk Aphat
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13mook_suju411
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์Settapong Malisuwan
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive test
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive testพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive test
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive testSettapong Malisuwan
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟPeerapas Trungtreechut
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ผู้ใช้บริการดชื่อมต่ออินเตอรืเน็ต
ผู้ใช้บริการดชื่อมต่ออินเตอรืเน็ตผู้ใช้บริการดชื่อมต่ออินเตอรืเน็ต
ผู้ใช้บริการดชื่อมต่ออินเตอรืเน็ตSupitcha Kietkittinan
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
การสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูลการสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูลตอ ต้น
 
Jt.305 บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
Jt.305   บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคมJt.305   บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
Jt.305 บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคมTor Jt
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารGreenteaICY
 
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406Phratsuda Somsuk
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์Somporn Laothongsarn
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8niramon_gam
 

Tendances (20)

True
TrueTrue
True
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
 
ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13Mindmap เลขที่ 13
Mindmap เลขที่ 13
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ อินเตอร์เน็ต แนวรบแห่งใหม่บนโลกไซเบอร์
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive test
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive testพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive test
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ การ Drive test
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
 
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชรใบความรู้ที่ 5 เพชร
ใบความรู้ที่ 5 เพชร
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ผู้ใช้บริการดชื่อมต่ออินเตอรืเน็ต
ผู้ใช้บริการดชื่อมต่ออินเตอรืเน็ตผู้ใช้บริการดชื่อมต่ออินเตอรืเน็ต
ผู้ใช้บริการดชื่อมต่ออินเตอรืเน็ต
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
การสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูลการสื่ออสารข้อมูล
การสื่ออสารข้อมูล
 
Jt.305 บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
Jt.305   บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคมJt.305   บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
Jt.305 บทที่ 6 เทคโนโลยีโทรคมนาคม
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 

Similaire à การสื่อสาร

เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่นฏกร หะรังศรี
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404Wanz Buranakanonda
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Aqilla Madaka
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารAqilla Madaka
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8ratiporn555
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(สิทธิณัฐ+กลวัชร)403
โทรศัพท์เคลื่อนที่(สิทธิณัฐ+กลวัชร)403โทรศัพท์เคลื่อนที่(สิทธิณัฐ+กลวัชร)403
โทรศัพท์เคลื่อนที่(สิทธิณัฐ+กลวัชร)403Net Librorum-Prohibitorum
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชนิสรา+นรมน)401
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชนิสรา+นรมน)401โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชนิสรา+นรมน)401
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชนิสรา+นรมน)401Tanyapaun Wong
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลAqilla Madaka
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Siratcha Wongkom
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 

Similaire à การสื่อสาร (20)

เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
Truecorporation
TruecorporationTruecorporation
Truecorporation
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(สิทธิณัฐ+กลวัชร)403
โทรศัพท์เคลื่อนที่(สิทธิณัฐ+กลวัชร)403โทรศัพท์เคลื่อนที่(สิทธิณัฐ+กลวัชร)403
โทรศัพท์เคลื่อนที่(สิทธิณัฐ+กลวัชร)403
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชนิสรา+นรมน)401
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชนิสรา+นรมน)401โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชนิสรา+นรมน)401
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชนิสรา+นรมน)401
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 

การสื่อสาร

  • 1. การสื่อสารและโทรคมนาคม หัวข้อเรื่อง 9.1 การสื่อสาร 9.2 คลื่นเสียงและคลื่นวิทยุ 9.3 สถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร 9.4 หน่วยงานสื่อสารโทรคมนาคมภายในประเทศ 9.5 โทรศัพท์ 9.6 การสื่อสารทางวิทยุ 9.7 โทรศัพท์เคลื่อนที่ 9.8 สื่อสารไมโครเวฟ 9.9 สื่อสารดาวเทียม 9.10 สื่อสารเส้นใยแสง 9.11 สื่อสารข้อมูล
  • 2. การสื่อสารและโทรคมนาคม (Communication and Telecommunication) ในสมัยโบราณการสื่อสารทางไกลนิยมใช้ -สัญญาณควัน -ใช้กระจกสะท้อนแสงอาทิตย์ -ใช้การเป่าเขาสัตว์ -ใช้การตีเกาะหรือตีกลอง -ใช้นกพิราบส่งสาร -ใช้ม้าส่งสาร
  • 3. 9.1 การสื่อสาร ผู้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันทั้งสองฝ่ายต้องมีการตกลงในรูปแบบของ สัญญาณและความหมายที่ใช้ การกาหนดรูปแบบของสัญญาณแทน ข้อมูลต่างๆ เมื่อพิจารณาแล้วพบว่านั่นคือ รหัสข้อมูลที่ใช้ในการส่ง ข่าวสารนั่นเอง การใช้รหัส (Code) ในการส่งข่าวสารข้อมูลเป็นการช่วยเพิ่มประสิทธ ภาพของการสื่อสาร นอกจากนั้นการใช้รหัสในการส่งข่าวยังช่วยป้องกัน การรั่วไหลของข่าวสารได้ การแปลงรหัสออกมาเป็นข่าวสารข้อมูล จะต้องเป็นพวกที่เข้าใจรหัสเท่านั้น
  • 4. 9.1.1 ลักษณะและชนิดของระบบสื่อสาร -ระบบทางเดียว(Simplex System) -ระบบสองทางเต็มรูปแบบ(Full Duplex System) -ระบบสองทางครึ่งรูปแบบ (Half Duplex System) ระบบทางเดียว เป็นการส่งข้อมูลได้ในทิศทางเดียวจากปลายด้านหนึ่งไปยังที่อื่น โครงสร้าง ประกอบด้วย เครื่องส่งหนึ่งเครื่อง เครื่องรับหนึ่งเครื่อง ตัวอย่าง : ระบบเคเบิลทีวี(TV Cable System) โดยการส่งภาพไปยังจอโทรทัศน์ซึ่ง ถูกส่งมาจากห้องส่งของระบบ ส่งไปยังแต่ละบ้านผู้เช่าด้วยสายเคเบิล ตัวอย่าง : ระบบเสียงตามสาย (Public Address System)
  • 5. ระบบสองทางเต็มรูปแบบ หรือเรียกสั้นๆว่าแบบ 2 ทาง (Duplex) เป็นการส่งข้อมูลเชื่อมต่อถึงกันได้ในสองทิศทางพร้อมๆ กันในแต่ละปลายทาง ประกอบด้วยเครื่องส่งและเครื่องรับและสามารถใช้งานได้พรอ้มกัน ตัวอย่าง: ระบบโทรศัพท์
  • 6. ระบบสองทางครึ่งรูปแบบ ปลายทางแต่ละด้านสามารถส่งได้ แต่ต้องเป็นด้านใดด้านหนึ่งในเวลานั้น ทปี่ลาย ทั้งสองด้านสามารถส่งหรือรับข่าวสารได้เหมือนกัน โดยการเชื่อมต่อระหว่างปลาย ทั้งสองต้องแบ่งเวลากัน ไม่สามารถส่งพร้อมกันหรือรับพร้อมกันได้ในเวลา เดียวกัน การจะทาได้พร้อมกันโดยปลายด้านหนึ่งเป็นตัวส่ง ปลายอีกด้านหนึ่งต้อง เป็นตัวรับ มีสวิตซ์ตัดต่อการทางานช่วยทาหน้าที่ในการทางาน
  • 7. 9.1.2 โครงสร้างพื้นฐานของระบบสื่อสาร ผู้ส่งข่าวสาร(Sender) เป็นแหล่งกา เนิดข่าวสารต่างๆ เช่น สัญญาณภาพ สัญญาณเสียง และข้อมูลข่าวสาร ซึ่งผู้ใช้เป็นผู้ส่งข่าวสารออกไป ผู้รับข่าวสาร(Receiver) เป็นจุดหมายปลายทางของข่าวสารที่ส่ง การเข้ารหัส(Encoding) เป็นการแปลงข้อมูลข่าวสารที่จะส่งไปยังปลายทางให้อยู่ ในรูปของรหัสสัญญาณทางไฟฟ้าที่บรรจุข้อมูลข่าวสารทั้งหมดไว้เพื่อช่วยให้ผู้ส่ง ข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันและสามารถสื่อสารถึงกันได้
  • 8. การถอดรหัส(Decoding) เป็นการแปลงรหัสสัญญาณทางไฟฟ้าให้กลับมาเป็น ข้อมูลข่าวสารทางด้านผู้รับข่าวสาร การถอดรหัสสัญญาณจะต้องตรงกับการ เข้ารหัสสัญญาณจึงสามารถสื่อสารกันได้ ตัวกลางในการส่ง (Transmission Medium) เป็นสื่อกลางที่ข่าวสารใช้ในการเดิน ทางผ่านไปจากต้นทางถึงปลายทาง สื่อกลางนี้มีหลายชนิด เช่น อากาศ สายนา สัญญาณ ตลอดไปจนถึงสื่อตัวนาต่างๆ เช่น โลหะ น้า และพื้นดินที่มีความชื้น เป็น ต้น ระยะในการสื่อสารขึ้นอยู่กับชนิดของตัวกลางในการส่ง สัญญาณรบกวน(Noise) เป็นสัญญาณที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมีอยู่ทั่วไป มักจะ รบกวนและลดทอนสัญญาณทางไฟฟ้าทสี่่งออกไป อาจเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่ง ข่าวสาร ผู้รับข่าวสารและตัวกลางในการส่งข่าวสาร
  • 10. 9.2 คลื่นเสียงและคลื่นวิทยุ คลื่นเสียง คลื่นเสียง เป็นคลื่นที่มีความถี่ต่า อยู่ในย่านความถี่20 ถึง 20,000 Hz คลนื่เสียงนี้ เป็นคลื่นที่มนุษย์ทุกคนรับฟังได้ ใช้ในการสื่อสารข่าวสารและข้อมูลซึ่งกันและกัน คลื่นเสียงเนื่องจากมีความถี่ต่าจึงไม่สามารถเดินทางไปได้ไกล คลื่นวิทยุ คลื่นวิทยุเป็นคลื่นที่มีความถี่สูงมากอยู่ในย่านความถี่ประมาณ 10 kHz(10,000 Hz) ถึง 300 GHz (300,000,000,000 Hz) ความถี่ในย่านนี้หูมนุษย์ไม่สามารถรับฟัง ได้คลื่นวิทยุสามารถเดินทางไปได้ไกลมาก ด้วยความเร็วเท่ากับคลื่นแสงเดินทาง มี ความเร็วประมาณ 3x108 เมตรต่อวินาที(m/s) เพราะว่าคลื่นวิทยุเดินทางผ่านไปได้ ในทุกหนทุกแห่งโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลางพาคลื่นวิทยุไป ในสุญญากาศคลื่นวิทยุก็ สามารถเดินทางไปได้
  • 11. 9.3 สถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร 9.3.1 สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศหรือ ITU (International Telecommunication Union) เป็นหน่วยงานหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ มี หน้าที่หลักเกี่ยวกับการกาหนดมาตรฐานการสื่อสารโทรคมนาคม จัดสรรความถี่ทา ให้การสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างประเทศเกิดประโยชน์สูงสุด สานักงานใหญ่ ของ ITU ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ คลื่นความถี่วิทยุถือเป็นทรัพยากรธรรมชาติ มีประโยชน์มหาศาลต่อการใช้ งานในระบบสื่อสารโทรคมนาคม ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ITU ได้แบ่ง จาพวกของงานที่จะต้องมีการกาหนดย่านความถี่ของคลื่นในการใช้งานไว 4 พวก ใหญ่ๆ แบ่งออกได้ดังนี้
  • 12. 1. งานส่งกระจายเสียงทั่วไป (General Broadcasting) เป็นระบบวิทยุกระจายเสียง ภายในประเทศ 2. งานวิทยุสมัครเล่น (Amateur Radio) เป็นระบบวิทยุสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับด้าน วิชาการเกี่ยวกับการทดลองเครื่องรับส่งวิทยุสื่อสาร 3. งานบอกทางนาร่อง(Navigational Beacons) เป็นระบบวิทยุเพื่อการนาทาง ใช้ เพื่อความมุ่งหมายสาหรับการเดินเรือหรือการเดินอากาศ 4. งานติดต่อสื่อสาร (Commercial Transportation Communication) เป็น ระบบสื่อสารใช้ติดต่อระหว่างรถยนต์ ระหว่างเรือ ระหว่างเครื่องบิน รวมถึงวิทยุ โทรศัพท์ด้วย
  • 13. 9.3.2 องค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ องค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ (International Telecommunication Satellite Organization) หรือ INTELSAT เป็นองค์กร ระหว่างประเทศที่บริหารงานด้านดาวเทียมสื่อสารเพื่อการพาณิชย์ โดยให้ประเทศ ต่างๆ ที่เป็นสมาชิกเข้าถือหุ้นร่วมกัน โดยองค์กรมีวัตถุประสงค์สาคัญทจี่ะทา ให้ ประเทศสมาชิกได้ร่วมกันวางแผน พัฒนา สร้างและดาเนินงานของดาวเทียม สื่อสาร สถานีภาคพื้นดินติดต่อผ่านดาวเทียมอินเทลแซตตั้งอยู่ที่ อ.ศรีราชา จ. ชลบุรี
  • 14. 9.4 หน่วยงานสื่อสารโทรคมนาคมภายในประเทศ 9.4.1 กรมไปรษณีย์โทรเลข ทาหน้าที่ต่างๆ ดังนี้ - เป็นเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาตและควบคุมการใช้คลื่นวิทยุคมนาคม ในการมี การติดตั้งและการใช้งาน คลื่นความถี่วิทยุคมนาคม จะต้องได้รับอนุญาตจาก กรมไปรษณีย์โทรเลขก่อน - เป็นตัวแทนประสานงานการจดทะเบียน การมีการติดตั้ง และการใช้สถานี ดาวเทียมต่อหน่วยงานในต่างประเทศ - เป็นผู้ให้บริการด้านการสื่อสารคมนาคมทางดาวเทียมในประเทศแก่หน่วย ราชการและหน่วยงานสาคัญของรัฐ
  • 15. 9.4.2 บริษัท กสท. โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) - ดาเนินการเกี่ยวกับเครื่องใช้บริการให้ความสะดวกของกิจการไปรษณีย์และ โทรคมนาคม - กาหนดอัตราค่าธรรมเนียม ค่าเช่า ค่าดาเนินธุรกิจ และค่าบริการของกิจการ ไปรษณีย์และโทรคมนาคม และจัดระเบียบเกี่ยวกับวิธีชาระค่าบริการต่างๆ - จัดระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้บริการไปรษณีย์และโทรคมนาคม และความสะดวกต่างๆ ของกิจการไปรษณีย์และโทรคมนาคม - ให้บริการไปรษณีย์ในประเทศและระหว่างประเทศ - ให้บริการโทรคมนาคมในประเทศและระหว่างประเทศ เช่น โทรเลข เทเล็กซ์ โทรศัพท์ โทรคมนาคมผ่านดาวเทียม ผ่านเคเบิลใต้น้า และวิทยุ
  • 16. 9.4.3 บริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) มีหน้าที่ให้บริการการสื่อสารโทรคมนาคมทางด้านโทรศัพท์ ทั้งโทรศัพท์มีสาย และวิทยุโทรศัพท์ โดยมีโครงการพัฒนาขยายข่ายสายบริการโทรศัพท์เพิ่มขึ้น ทั่วประเทศ และขยายชุมสายโทรศัพท์ระบบ SPC แบบดิจิตอล
  • 17. 9.5 โทรศัพท์ 9.5.1 หลักการทางานของโทรศัพท์ โทรศัพท์เป็นระบบสื่อสารที่ใช้สัญญาณเสียงส่งออกไปจากด้านส่ง แปลง สัญญาณเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เดินทางไปตามสายส่งสัญญาณ ถึงด้านรับทาการ แปลงกลับจากสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นสัญญาณเสียงตามเดิม รูปที่ 9 วงจรโทรศัพท์เบื้องต้น
  • 18. 9.5.3 ชุมสายโทรศัพท์ ชุมสายโทรศัพท์ถือเป็นศูนย์กลางของระบบการสื่อสารด้วยโทรศัพท์ช่วยอานวย ความสะดวกในการเชื่อมเลขหมายถึงกัน แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ประเภทแรกชุมสายโทรศัพท์มีเครื่องโทรศัพท์แต่ละเลขหมายของผู้เช่าต่ออยู่เช่น ชุมสายท้องถิ่น ชุมสายตู้เป็นต้น ประเภททสี่องไม่มีเครื่องโทรศัพท์แต่ละเลข หมายของผู้เช่าต่ออยู่โดยตรง ใช้เป็นชุมสายต่อผ่านสัญญาณโทรศัพท์เช่น ชุมสายโทรศัพท์ต่อผ่านทางไกล
  • 19. 9.5.4 ชุมสายโทรศัพท์ชนิดใช้พนักงานต่อ เป็นชุมสายโทรศัพท์ที่การติดต่อถึงกันต้องใช้พนักงานเป็นผู้ต่อเลขหมายให้ การต่อเลขหมายปลายทางทา ได้โดยผู้ใช้โทรศัพท์ยกหูโทรศัพท์(Handset) ขึ้น จะเกิดสัญญาณแสดงขึ้นที่ตู้สลับสายโดยอัตโนมัติ พนักงานจะทราบทันทีว่า เลขหมายใดเรียกเข้ามา พนักงานใช้ปลั๊กตอบ
  • 20. 9.5.5 ชุมสายโทรศัพท์ชนิดอัตโนมัติ เป็นชุมสายโทรศัพท์ที่การติดต่อถึงกันสามารถทา ได้โดยอัตโนมัติการต่อเลข หมายปลายทางทา ได้โดยผู้ใช้โทรศัพท์ยกหูโทรศัพท์ขึ้นจะมีแรงดันไฟจ่ายเลี้ยง วงจรจากชุมสายโทรศัพท์ส่งมาพร้อมกับส่งสัญญาณเสียงพร้อมทา งาน(Dial Tone) กลับมาให้ผู้โทรบอกให้ทราบว่าโทรศัพท์พร้อมใช้งานแล้ว ผู้โทรสามารถกดปุ่ม เลขหมายโทรศัพท์ที่ต้องการติดต่อจนครบทุกตัว หากต่อเชื่อมเลขหมายปลายทาง ได้ ชุมสายโทรศัพท์จะส่งสัญญาณเสียงเรียกกลับ(Ringback Tone) กลับไปให้ผู้ โทร และจ่ายกระแสสัญญาณเรียก(Ringing Current) ไปทา ให้กระดิ่งผู้รับปลายทาง ดังขึ้น เมื่อผู้รับปลายทางยกหูโทรศัพท์ขึ้น ผู้โทรและผู้รับสามารถสนทนากันได้ หากเสร็จสิ้นการสนทนาวางหูโทรศัพท์ลงที่เครื่องโทรศัพท์ เป็นการตัดวงจร ทั้งหมดจากระบบโทรศัพท์
  • 21. 9.5.6 โทรศัพท์ระบบ SPC : Store Program Control เป็นระบบโทรศัพท์อัตโนมัติระบบหนึ่ง ที่นิยมใช้งานในปัจจุบัน โดยใช้ คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการควบคุมระบบ ทาให้สามารถออกแบบระบบควบคุม ได้ตามต้องการ และยังให้บริการพิเศษต่างๆ ได้อีกด้วย เช่นบริการเลขหมายด่วน บริการเรียกซ้า บริการโอนเลขหมาย บริการประชุมทางโทรศัพท์ บริการรอสายว่าง และบริการแจ้งเลขหมายผู้โทรต้นทาง เป็นต้น
  • 22. 9.6 การสื่อสารทางวิทยุ หลักการส่งข่าวสารข้อมูลทางคลื่นวิทยุ โดยการนาข่าวสารข้อมูลต่างๆ เช่น เสียง ภาพ ข้อมูล และสัญญาณไฟฟ้าต่างๆ ไปเข้าขบวนการผสมคลื่น(Modulation) กับสัญญาณ คลื่นวิทยุ ส่งต่อไป ให้กับเครื่องส่งวิทยุส่งออกสายอากาศแพร่กระจายคลื่นออกไปในอากาศในรูปคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า ทางด้านรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าส่งผ่านเข้าสายอากาศ ส่งต่อไปให้เครื่องรับวิทยุรับ คลื่นสัญญาณเหล่านี้เข้ามา ผ่านไปเข้าขบวนการแยกคลื่น(Demodulation) แยกเอา เสียง ภาพ ข้อมูล และสัญญาณไฟฟ้าต่างๆ ส่งต่อไปปลายทางเพื่อใช้งาน
  • 23. วิธีการผสมข่าวสารข้อมูลเข้ากับคลื่นพาหะในระบบสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ ที่นิยมใช้ งานมี 3 แบบ คือ 1. การผสมคลื่นทางความสูงหรือแบบ AM(Amplitude Modulation) 2. การผสมคลื่นทางความถี่หรือแบบ FM(Frequency Modulation) 3. การผสมคลื่นทางเฟสหรือแบบ PM(Phase Modulation)
  • 24. 9.6.1 การผสมคลื่นทางความสูง (AM) คือ การนาสัญญาณข่าวสารข้อมูลไปผสมกับคลื่นพาหะ โดยสัญญาณข่าวสาร ข้อมูลจะไปควบคุมให้คลื่นพาหะมีระดับความสูงเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงตามระดับของสัญญาณข่าวสารข้อมูล โดยที่ความถี่ของคลื่นพาหะยังคง เดิมไม่เปลี่ยนแปลง
  • 25. 9.6.2 การผสมคลื่นทางความถี่ (FM) การผสมคลื่นทางความถี่หรือFM คือ การนาสัญญาณข่าวสารข้อมูลไปผสมกับคลื่นพาหะ โดยสัญญาณข่าวสาร ข้อมูลจะไปควบคุมให้คลื่นพาหะมีความถี่พาหะเปลี่ยนแปลงไปเพิ่มขึ้นหรือลดลง ตามระดับของสัญญาณข่าวสารข้อมูล โดยที่ระดับความสูงของคลื่นพาหะยังคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง
  • 26. 9.7 โทรศัพท์เคลื่อนที่ วิทยุโทรศัพท์เคลื่อนที่(Mobile Radiotelephone) เป็นวิทยุโทรศัพท์แบบหนึ่งที่ใช้ คลื่นวิทยุช่วยนาข่าวสารข้อมูลจากต้นทางไปยังที่ไกลๆ ปลายทางพร้อมกับสามารถ พกพาเครื่องวิทยุโทรศัพท์นาติดตัวไปด้วย ในขอบเขตพื้นที่ทาการที่คลื่นวิทยุ เดินทางไปได้ถึง ในปีพ.ศ. 2526 ระบบโทรศัพท์เซลลูลาร์ได้ถูกติดตั้งขึ้นและเปิดให้บริการ โดยพื้นที่ ให้บริการทั้งหมดจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนเล็กๆ เรียกว่า เซลล์(Cell) แต่ละเซลล์จะมี รัศมีและจัดสรรความถี่ใช้งานเฉพาะเซลล์ แต่ละเซลล์จะมีขนาดเล็กพ่วงต่อกันเป็น แบบรวงผึ้ง เนื่องจากพื้นที่ให้บริการมีขนาดเล็กจึงไม่จาเป็นต้องใช้เครื่องส่งที่กาลัง ส่งสูงๆ สามารถนาความถี่ซ้าๆ ไปใช้งานได้เพิ่มมากขึ้น
  • 27. 9.8 สื่อสารไมโครเวฟ ไมโครเวฟ (Microwave) เป็นคลื่นความถี่วิทยุชนิดหนึ่งที่มีความยาวคลนื่สั้นมาก มีความถี่ใช้งานอยู่ในช่วงระหว่าง 300 MHz ถึง 300 GHz ในการนาความถี่ ไมโครเวฟไปใช้งานในระบบสื่อสารนิยมใช้งานในช่วงความถี่ประมาณ 1 GHz ถึง 40 GHz เพราะเป็นย่านความถี่ที่สามารถผลิตขึ้นมาใช้งานได้ด้วยอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ การใช้คลื่นไมโครเวฟในการสื่อสารนับว่ามีความสาคัญ และจาเป็น ต่อการใช้งาน เพราะคลื่นไมโครเวฟมีข้อดีต่อการใช้งานในการสื่อสารหลายข้อดังนี้
  • 28. ระบบดาวเทียม (Statellite System) เป็นระบบสื่อสารไมโครเวฟที่ใช้สถานีทวน สัญญาณลอยอยู่ในอวกาศสูงเหนือพื้นโลกกว่า 30,000 กิโลเมตร โดยใช้ดาวเทียมทา หน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณ ทาให้สามารถสื่อสารด้วยคลื่นไมโครเวฟได้ระยะ ทางไกลมากๆ นิยมใช้งานในระบบสื่อสารข้ามประเทศข้ามทวีป
  • 29. ระบบเรดาร์(Radar System) เป็นการใช้คลื่นความถี่ไมโครเวฟช่วยในการ ตรวจจับและวัดระยะทางของวัตถุต่างๆ ที่อยู่ห่างไกล หลักการของเรดาร์คือ การ ส่งคลื่นไมโครเวฟออกไปจากสายอากาศในมุมแคบๆ เมื่อคลื่นไมโครเวฟกระทบ วัตถุจะสะท้อนกลับมาเข้าสายอากาศอีกครั้ง นาสัญญาณที่รับเทียบกับสัญญาณเดิม และแปรค่าออกมาเป็นข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการ
  • 30. 9.9 สื่อสารดาวเทียม การสื่อสารไมโครเวฟเป็นการสื่อสารที่ได้ระยะทางในการเชื่อมต่อระบบถึงกันสั้น มากอยู่ในช่วงไม่เกิน 50-80 กิโลเมตรเท่านั้น การสื่อสารที่มรีะยะทางไกลกว่านั้น จะต้องต่อเพิ่มสถานีทวนสัญญาณเข้าไปทุกๆ ระยะทาง 50-80 กิโลเมตรเสมอ ซึ่ง ถ้าการสื่อสารมีระยะทางไกลมาก ๆ ก็ต้องสิ้นเปลืองสถานีทวนสัญญาณเป็นจานวน มาก การต่อสถานีทวนสัญญาณยิ่งมากขึ้น ความผิดเพี้ยนของสัญญาณสื่อสารก็ยิ่ง มากขึ้นตามไปด้วย นอกจากนั้นในบางช่วงอาจเกิดปัญหาในการตดิตั้งสถานีทวน สัญญาณ เช่น เป็นพื้นน้า เป็นป่ารกทึบ หรือเป็นภูเขาสูงชัน เป็นต้น ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ทา ให้เกิดแนวความคิดทจี่ะติดตั้งสถานีทวนสัญญาณไว้ในที่สูงๆ เพอื่ให้ สามารถเพิ่มระยะทางการติดต่อสื่อสารได้ไกลเพิ่มขึ้น ใช้สถานีทวนสัญญาณ น้อยลง
  • 31. ดาวเทียมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่าโลกหมุน เป็นดาวเทียมที่โคจรรอบโลกในแนวเส้นศูนย์สูตร ด้วยความเร็วในการเคลื่อนที่ เท่ากับโลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้เสมือนว่าดาวเทียมลอยนิ่งอยู่กับที่ ดาวเทียม ชนิดนี้จึงเหมาะสมสาหรับเป็นสถานีทวนสัญญาณสาหรับการสื่อสาร โทรคมนาคมและถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ได้เป็นอย่างดี ระยะความสูงของ ตัวดาวเทียมจากพื้นโลกมีค่าประมาณ 38,000 กิโลเมตร ในระยะความสูงของ ดาวเทียมขนาดนี้สามารถถ่ายทอดสัญญาณลงสู่พื้นโลกครอบคลุมพื้นที่บนโลก ได้ประมาณ 1 ใน 3 ส่วน ดังนั้นหากต้องการให้สามารถสื่อสารกันได้รอบโลก จะต้องใช้ดาวเทียม 3 ดวง ดาวเทียมโคจรรอบโลกในลักษณะนี้อาจเรียกว่า ดาวเทียมค้างฟ้า (Geostationary Satellite)
  • 32. ดาวเทียมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่าโลกหมุน เป็นดาวเทียมทโี่คจรรอบโลกในแนวทแยงจากขั้วโลกเหนือไปข้วัโลกใต้ ด้วย ความเร็วในการเคลื่อนที่ไม่เท่ากับโลกหมุนรอบตัวเอง การโคจรจะเป็นวงรี ดาวเทียม ชนิดนี้เหมาะสาหรับเป็นดาวเทียมสารวจ เช่น สารวจสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และแหล่งทรัพยากรธรณี เป็นต้น และใช้ในงานด้านยุทธวิธีทาง การทหาร เพราะดาวเทียมสามารถผ่านพื้นที่ต่างๆของโลกได้
  • 33. 9.9.2 การใช้งานดาวเทียม การใช้งานดาวเทียมแบ่งออกได้เป็นลักษณะงานที่สาคัญ 3 ประเภท คือ ดาวเทียม สื่อสาร ดาวเทียมสารวจ และดาวเทียมยุทธวิธี ดาวเทียมสื่อสาร เป็นดาวเทียมใช้ในการสื่อสารโทรคมนาคมทั้งในประเทศและข้าม ประเทศ และใช้ในกถ่ายทอดโทรทัศน์ข้ามทวีป มีดาวเทียมที่สาคัญคือดาวเทียมอิน เทลแซต ใช้ในการสื่อสารระหว่างประเทศ แต่ละรุ่นมี 3ดวงเชื่อมโยงติดต่อกันได้ รอบโลก โดยส่งดาวเทียมขึ้นโคจรอยู่เหนือมหาสมุทรอินเดีย เหนือมหาสมุทร แปซิฟิก และเหนือมหาสมุทรแอตแลนติก ในประเทศไทยมีดาวเทียมใช้สาหรับ สื่อสารภายในประเทศชื่อว่า ไทยคม(Thaicom)
  • 34.
  • 35. ดาวเทียมสารวจ เป็นดาวเทียมใช้ในการสารวจทรัพยากรทางธรรมชาติ เช่นพื้นที่ เพาะปลูก แหล่งพันธ์ุไม้ บริเวณที่เกิดอุทกภัย บริเวณที่แห้งแล้ง บริเวณทเี่กิดไฟป่า เป็นต้น นอกจากนี้ยังให้ข้อมูลด้านอุตุนิยมวิทยา เช่น เกิดพายุฟ้าคะนอง ติดตาม การเคลื่อนตัวและความแรงของพายุ หาอุณหภูมิแต่ละระดับความสูง และหาข้อมูล อุตุนิยมวิทยาในบริเวณที่ไม่มีสถานีตรวจอากาศ เป็นต้น ได้แก่ ดาวเทียม GMS ของญี่ปุ่น และดาวเทียม NOAA ของสหรัฐอเมริกา
  • 36. ดาวเทียมยุทธวิธี เป็นดาวเทียมที่มีหลายรูปแบบ แล้วแต่ความต้องการทางด้าน กิจการทหาร การโคจรของดาวเทียมมทีั้งประเภทเคลอื่นที่ด้วยความเร็วเท่ากับโลก หมุนรอบตัวเองและเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่าโลกหมุนรอบตัวเอง แต่ส่วนมาก เป็นแบบเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่ากับโลกหมุนรอบตัวเองเพื่อให้ดาวเทียมโคจร เข้าใกล้โลก สามารถถ่ายภาพและส่งข้อมูลกลับมายังสถานีภาคพื้นดินได้ เช่น ใน สงครามอิรักกับสหประชาชาติ
  • 37. 9.9.3 พื้นฐานของระบบการสื่อสารดาวเทียม การใช้งานดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร เป็นการใช้ดาวเทียมทาหน้าที่เป็นสถานีทวน สัญญาณ โดยการส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลกลอยอยู่ในอวกาศ ติดตั้งอุปกรณ์ รับส่งคลื่นวิทยุไว้เพื่อใช้รับและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุลงมายังพื้นโลก พลังงาน ไฟฟ้าใช้ในตัวดาวเทียมได้มาจากเซลล์แสงอาทิตย์(Solar Cell) ที่รับพลังงาน แสงอาทิตย์มาเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า
  • 38. 9.10 สื่อสารเส้นใยแสง 9.10.1 ย่านความถี่ที่ใช้ในการสื่อสาร คลื่นแสงถือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นเดียวกับคลื่นวิทยุ แต่มีความถี่และความ ยาวคลื่นแตกต่างกัน โดยมีความเร็วในการเคลื่อนที่เท่ากัน ความเร็วในการเคลื่อนที่ ในอากาศหรือสุญญากาศประมาณ 3x108 เมตร/วินาที (m/s) แสงถูกกาเนิดขึ้นมาใช้งานจากแหล่งกาเนิดแสงหลายชนิดด้วยกัน เช่น หลอดไฟมีใส้ หลอดนีออน หลอดฟลูออเรสเซนต์ จากดวงอาทิตย์ จากปฏิกิริยาเคมี และอุปกรณ์สารกึ่งตัวนา เป็นต้น แสงที่กาเนิดขึ้นมาแยกออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือแสงธรรมดา(Light) และแสง เลเซอร์(LAZER)
  • 39. ธรรมดาไปผ่านแท่งปริซึมจะเกิดการกระจายออกเป็นสีต่างๆ ที่ตามนุษย์มองเห็น ได้แก่ แดง, ส้ม, เหลือง, เขียว, น้าเงิน, คราม, และม่วง แสงธรรมดาเป็นแสงที่เกิด จากความร้อนในสสาร ทา ให้อะตอมของสสารนั้นสั่นไม่เป็นระเบียบ จึงไม่สามารถ นาไปใช้งานในระบบสื่อสารได้ แสงเลเซอร์ แสงที่กาเนิดขึ้นมามีความยาวคลื่นค่าเดียวคงที่ มีเฟสสัญญาณที่ แน่นอน ลักษณะลา แสงพุ่งไปในทิศทางเดียวกัน แหล่งกา เนิดแสงไม่ต้องอาศัย ความร้อน สามารถใช้งานได้ในระบบสื่อสาร
  • 40. เส้นใยแสง(Optical Fiber Or Fiber Optics) หรือเส้นใยแก้ว คือ เส้นใยขนาดเล็กที่ ผลิตขึ้นมาจากแก้วหรือไฟเบอร์ ทาให้ได้เส้นใยแสงที่มีขนาดเล็กและมีความยาวมากๆ เช่นเดียวกับสายไฟฟ้า ประโยชน์ของเส้นใยแสงใช้เป็นสายนาแสงให้เดินทางไปได้ ไกลๆ ในทิศทางที่ต้องการใช้งานในระบบสื่อสารและโทรคมนาคมทางแสง มี ความสาคัญไม่น้อยไปกว่าสื่อสารไมโครเวฟ และการสื่อสารดาวเทียม เหตุที่เส้นใยแสง เริ่มเข้ามามีบทบาทในการสื่อสาร เพราะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการ สื่อสารด้วยสายไฟ หรือด้วยคลื่นวิทยุได้เป็นอย่างดี
  • 41. 9.11 สื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล(Data Communication) คือการรับส่งข่าวสารต่างๆ ที่จาเป็นจาก ที่ห่างไกลได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ถือเป็นส่วนสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ ผลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสารและคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างมากมายในวิธีและระบบการสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการใช้ คอมพิวเตอร์เข้ามาร่วมในการสื่อสารข้อมูล ส่วนมากมักจะต้องการผลการประมวล ทันทีหลังจากป้อนข้อมูลเข้าไปแล้ว และส่งกลับไปให้ผู้ใช้
  • 42. โมเด็มจะทาหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์ที่ส่งมา ให้กลายเป็น สัญญาณอนาลอกส่งออกไปตามสายส่ง เมื่อถึงปลายทางโมเด็มจะทาหน้าที่เปลี่ยน สัญญาณอนาลอกกลับมาเป็นสัญญาณดิจิตอลตามเดิม ส่งต่อไปให้คอมพิวเตอร์ การส่งสัญญาณดังกล่าวใช้ข่ายสายโทรศัพท์ที่ช่องสัญญาณที่แถบความถี่จากัดรูปที่ 35 การเชื่อมต่อกับโมเด็ม(Modem) โมเด็ม มาจากคาเต็ม 2 คาว่า modulation หรือการผสมคลื่นและ Demodulation หรือการแยกคลนื่ โดยนาอักษรส่วนหน้าของคาทั้งสองมารวมกันเป็นคาใหม่
  • 43. ระบบเครือข่าย LAN คือระบบที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นข่ายงาน โดย จากัดงานในวงพื้นที่ส่วนหนึ่งเช่นภายในสถานที่ทางาน และภายในโรงงาน อุตสาหกรรมเดียวกัน เป็นต้น เพื่อใช้งานทรัพยากรบางส่วนร่วมกัน เรียกข้อมูล บางอย่างมาใช้งานร่วมกัน ตลอดจนเก็บข้อมูลรวมกันไว้ในแหล่งข้อมูลเดียวกัน สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ได้ เช่น ใช้ฮาร์ดดิสค์ร่วมกัน ใช้ เครื่องพิมพ์ร่วมกัน