SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  169
Télécharger pour lire hors ligne
แคลคูลัส 1




      รองศาสตราจารยธีรวัฒน นาคะบุตร
            มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
คํานํา

       แคลคูลัส 1 เลมนี้เขียนเพื่อใชในการเรียนการสอนรายวิชา แคลคูลัส 1 ตามหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เนื้อหาสวนใหญกลาวถึง เรขาคณิตวิเคราะห
และแคลคูลัส ในสวนของ เสนตรง วงกลม วงรี พาราโบลา ไฮเปอรโบลา ฟงกชันตอเนื่อง
การหาอนุพนธ และการประยุกตของอนุพันธ ซึ่งเหมาะกับการเรียนการสอนในหนึ่งภาคการศึกษา
          ั

        ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวา แคลคูลัส 1 เลมนี้ คงเปนประโยชนกับนักศึกษาและผูสนใจ
หากมีขอเสนอแนะอันเปนประโยชนตอการปรับปรุง แคลคูลัส 1 เลมนี้ ในครั้งตอไป ผูเขียน
                                       
ขอนอมรับและขอขอบคุณลวงหนา




                                         (รองศาสตราจารยธรวัฒน นาคะบุตร)
                                                         ี
                                                20 พฤษภาคม 2549
สารบัญ
                                                      หนา
บทที่ 1 เสนตรง                                       1
        โปรเจกชัน                                     1
        ระยะระหวางจุดสองจุด                          2
        การแบงสวนของเสนตรง                         6
        ความชันของเสนตรง                             9
        เสนขนานและเสนตั้งฉาก                        13
        สมการของเสนตรง                               17
        สมการของเสนตรงแบบจุดสองจุด                   18
        สมการของเสนตรงแบบความชันและจุดตัดแกน         18
        สมการของเสนตรงแบบจุดตัดแกน                   19
        สมการของเสนตรงแบบนอรมัล                     23
        ระยะระหวางจุดและเสนตรง                      27
        ระบบของเสนตรง                                30
บทที่ 2 วงกลม                                         33
บทที่ 3 ภาคตัดกรวย                                    39
        พาราโบลา                                      41
        วงรี                                          50
        ไฮเปอรโบลา                                   61
บทที่ 4 ลิมิตของฟงกชนั                              75
บทที่ 5 ความตอเนื่อง                                 87
บทที่ 6 การหาอนุพันธของฟงกชันพีชคณิต               97
บทที่ 7 การหาอนุพันธของฟงกชันอดิศัย                109
        ฟงกชันตรีโกณ                                109
        ฟงกชันอินเวอรตรีโกณ                        120
        ฟงกชันเลขยกกําลังและฟงกชันลอการิธมิค      129
บทที่ 8 การประยุกตอนุพันธ                           137
        การหาคาสูงสุกและคาต่ําสุด                   137
        การหาคาสูงสุดสัมบูรณและคาต่ําสุดสัมบูรณ   144
        การนําคาสูงสุดและคาต่ําสุดไปใช             145
บรรณานุกรม                                            151
เสนตรง                                                                           1

                                      บทที่ 1
                               เสนตรง (Straight Line)

โปรเจกชัน (Projections)
นิยาม 1.1 ให P เปนจุด และ L เปนเสนตรงบนระนาบ โปรเจกชันของจุด P บนเสนตรง L
        ซึ่งเขียนสัญลักษณแทนวา P’ คือจุดตัดของเสนตรง L กับเสนตรงทีลากจากจุด P ไป
                                                                      ่
        ตั้งฉากกับเสนตรง L

                       P


                                                  L



                                     P'




                                  รูปที่ 1.1

ถาจุด P อยูบนเสนตรง L โปรเจกชันของจุด P บนเสนตรง L คือจุด P’
ตัวอยาง 1.1

                                               (2,3)




                     (-3,-1)




                                 รูปที่ 1.2

          โปรเจกชันของจุด (2,3) บนแกน x คือ (2,0)
          โปรเจกชันของจุด (2,3) บนแกน y คือ (0,3)
          โปรเจกชันของจุด (-3,-1) บนแกน x คือ (-3,0)


แคลคูลัส 1                                                         รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
2                                                                                                    เสนตรง


             โปรเจกชันของจุด (-3,-1) บนแกน y คือ (0,-1)
             โปรเจกชันของจุด (x,y) บนแกน x คือ (x,0)
             โปรเจกชันของจุด (x,y) บนแกน y คือ (0,y)

นิยาม 1.2 ให P1P2 เปนสวนของเสนตรง และ L เปนเสนตรงบนระนาบ โปรเจกชันของสวน
        ของเสนตรง P1P2 บนเสนตรง L คือสวนของเสนตรง P’1P’2 โดยที่ P’1 และ P’2
        เปนโปรเจกชันของ P1 และ P2 บนเสนตรงตามลําดับ

                                                   P2



                              P1                                          L
                                                         P'2
                                         P'1

                                                รูปที่ 1.3
ระยะระหวางจุดสองจุด
            ให P1 และ P2 เปนจุดบนเสนจํานวนจริง ที่มีพิกัดเปน x1 และ x2 ตามลําดับ
ระยะระหวางจุด P1 และ P2 ซึ่งเขียนแทนดวยสัญลักษณวา |P1P2| จะเทากับคาสัมบูรณของ
x1 – x2 นั่นคือ |P1P2| = |x1 –x2|
            ให P1(x1,y1) และ P2(x2,y2) เปนจุดบนระนาบ เราจะพิจารณาระยะระหวาง P1
และ P2 ดังนี้
                                                                 y

                      y                                                        P 1 (x1 ,y 1 )
                                                               P' 1
                                                                      o
     P 1 (x1 ,y 1 )            P 2 (x2 ,y 2 )                                                   x
                                                               P' 2
                                                                               P 2 (x2 ,y 2 )


                          o
                P'1            P'2         x




                      รูปที่ 1.4                                      รูปที่ 1.5


แคลคูลัส 1                                                                                 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                                                      3

         1. ถา P1P2 ขนานกับแกน x แลว y1 = y2 โปรเจกชันของ P1 และ P2 บน
แกน x คือ P’1(x1,0) และ P’2(x2,0) ตามลําดับ จากรูปที่ 1.4 จะเห็นวา P1P2 และ
P’1P’2 เปนดานตรงขามของสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพราะฉะนัน |P1P2| = |P’1P’2| = |x1 – x2|
                                                   ้
         2. ในทํานองเดียวกัน ถา P1P2 ขนานกับแกน y แลว x1 = x2 โปรเจกชันของ
P1 และ P2 บนแกน y คือ P’1(0,y1) และ P’2(0,y2) ตามลําดับ จากรูปที่ 1.5 จะเห็นวา
|P1P2| = |P’1P’2| = |y1 – y2|
         3. ถา P1P2 ไมขนานกับแกน x และไมขนานกับแกน y

                                        y

                            P 1 (x1 ,y 1 )               Q(x2 ,y 1 )

                                             o
                                                                           x

                                                          P 2 (x2 ,y 2 )




                                      รูปที่ 1.6

ลากเสน P1Q และ P2Q ใหขนานกับแกน x และแกน y ตามลําดับ ตัดกันที่จุด Q
ดังนั้น Q จะมีพิกดเปน (x2,y1) และ P1QP2 เปนสามเหลี่ยมที่มีมม P1QP2 เปนมุมฉาก
                 ั                                           ุ
จากทฤษฎีบทพิธากอรัส (Pythagorean Theorem) จะไดวา                             | P1 P2 | = | P1 Q |2 + | P2 Q |2
                                        = | x1 − x 2 |2 + | y1 − y 2 |2
                                        = (x1 − x 2 ) 2 + ( y1 − y 2 ) 2

ขอสังเกต ในกรณีที่ P1P2 ขนานกับแกน x หรือแกน y สูตรขางบนนี้ก็เปนจริง
          ทั้งนี้เพราะวา         a 2 = |a|

ทฤษฎีบท 1.1 ถา P1(x1,y1) และ P2(x2,y2) เปนจุดบนระนาบ ระยะระหวางจุด P1 และ
      P2 คือ
                            |P1P2| =             (x1 − x 2 ) 2 + ( y1 − y 2 ) 2




แคลคูลัส 1                                                                                 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
4                                                                                เสนตรง


ตัวอยาง 1.2 จงหาระยะระหวางจุด P1(2,-1) และ P2(-1,3)
วิธีทํา              |P1P2| =    ( 2 − ( −1)) 2 + ( −1 − 3) 2
                            =    9 + 16 = 25 = 5

ตัวอยาง 1.3 จงแสดงใหเห็นวา จุด A(-7,6) , B(3,2) และ C(5,7) เปนจุดมุมของ
        สามเหลี่ยมมุมฉาก และหาพืนที่ของสามเหลี่ยม
                                 ้
วิธีทํา                     |AB| =       ( −7 − 3) 2 + ( 6 − 2 ) 2 =     116
                            |BC| =       ( 3 − 5) 2 + ( 2 − 7 ) 2 =    29
                            |CA| = (5 + 7) 2 + ( 7 − 6) 2 =            145
                            |AB|2 + |BC|2 = |CA|2
                            หรือ 116 + 29 = 145
ดังนั้น ABC จะเปนสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีพื้นทีเ่ ทากับ
        1            1
          |AB||BC| =      116 . 29 = 29 ตารางหนวย
        2            2

ตัวอยาง 1.4 จงแสดงใหเห็นวาจุด A(-2,-3) , B(2,5) และ C(4,9) เปนจุดทีอยูบน
                                                                       ่
        เสนตรงเดียวกัน
วิธีทํา                     |AB| =       ( −2 − 2 ) 2 + ( −3 − 5) 2 = 4 5
                            |BC| =       ( 2 − 4 ) 2 + (5 − 9) 2 = 2 5
                                |CA| = ( −2 − 4 ) 2 + ( −3 − 9) 2 = 6 5
                                |AB| + |BC| = |CA|
                                หรือ 4 5 + 2 5 = 6 5
ดังนั้น จุดทั้งสามจะอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน




แคลคูลัส 1                                                             รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                             5

แบบฝกหัด 1.1
1. จงหาโปรเจกชันของจุดตอไปนี้ ก. บนแกน x ข. บนแกน y
          (4,2), (-3,5), (2,-4), (-3,-1), (0,2), (1,0)
2. จงหาระยะระหวางจุดแตละคูตอไปนี้
    2.1 (-7,4), (1,-4)            2.2 (2,6), (2,-2)        2.3 (5,2), (0,0)
    2.4 (4,1), (3,-2)             2.5 (5,7), (1,-3)        2.6 (-1,-5), (2,-3)
3. จงหาระยะระหวาง (-2,-3) กับแกน x
4. จงใชทฤษฎีบทพิธากอรัส แสดงใหเห็นวาจุดสามจุดตอไปนี้เปนจุดมุมของ
     สามเหลี่ยมมุมฉาก และจงหาพื้นที่ของสามเหลี่ยม
   4.1 (0,9), (-4,-1), (3,2)              4.2 (3,-2), (-2,3), (4,0)
   4.3 (18,6), (-4,10), (2,-2)            4.4 (-1,-1), (1,1), (4,-2)
5. จงแสดงใหเห็นวาจุดสามจุดตอไปนี้ เปนจุดมุมของสามเหลี่ยมหนาจั่ว
   5.1 (5,1), (2,4), (6,5)                5.2 (6,7), (-2,-7), (-8,-1)
   5.3 (-2,2), (-1,-3), (6,1)             5.4 (2,-2), (6,6), (-2,2)
6. จงหาระยะระหวางจุดตอไปนี้ และแสดงใหเห็นวาจุดทั้งสามอยูบนเสนตรงเดียวกัน
   6.1 (4,0), (-2,3), (8,-2)              6.2 (3,1), (7,3), (-3,-2)
   6.3 (-1,-10), (1,-6), (3,-2)           6.4 (1,2), (4,-4), (-3,10)
7. จงหาจุดทีมีพกัดที่ 1 เปน 3 และหางจากจุด (-3,6) เปนระยะ 10 หนวย
              ่ ิ
8. จงพิสูจนวา จุด (x,y) อยูหางจากจุด (1,3) และ (6,9) เปนระยะทางเทากัน ก็ตอเมื่อ
               
     (x,y) สอดคลองกับสมการ 10x + 12y = 107
9. จงหาความยาวของรัศมีของวงกลมทีมีศูนยกลางอยูที่จุด (8,6) และผานจุด (4,3)
                                        ่             
10. วงกลมวงหนึ่งมีจดศูนยกลางอยูที่จุด (3,4) และมีแกน y เปนเสนสัมผัส จงหาจุดสัมผัส
                      ุ




แคลคูลัส 1                                                           รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
6                                                                               เสนตรง

การแบงสวนของเสนตรง

นิยาม 1.3 ให P เปนจุดแบงสวนของเสนตรง AB ถา P อยูภายในสวนของเสนตรง AB
       เราจะเรียก P วาจุดแบงภายใน AB ถา P อยูภายนอกสวนของเสนตรง AB เราจะเรียก
       P วา จุดแบงภายนอก AB
นิยาม 1.4 ให A และ B เปนจุดบนเสนจํานวนจริงที่มีพิกัดเปน x1 และ x2 ตามลําดับ
       ระยะทางที่มีทิศทาง (directed distance) จาก A ไปยัง B ซึ่งเขียนแทนดวย AB
       มีคาเทากับ x2 – x1
          

นั่นคือ AB = x2 – x1 และ BA = x1 – x2 = -( x2 – x1) = - AB
         ในทํานองเดียวกัน ถา A และ B เปนจุดบนระนาบ และถา AB เปนระยะทางที่มี
ทิศทางเปนบวกจาก A ไปยัง B แลว BA จะเปนระยะทางที่มีทศทางเปนลบ
                                                           ิ
นั่นคือ AB = - BA
ถา P เปนจุดแบงภายใน AB จะไดวา AP/PB > 0
                                     
ถา P เปนจุดแบงภายนอก AB จะไดวา AP/PB < 0
ให A(x1,y1) และ B(x2,y2) เปนจุดบนระนาบ และให P(x,y) เปนจุดแบงสวนของเสนตรง
AB ออกเปนสัดสวนดังนี้
     AP/PB = r ( r เรียกวาอัตราสวนของการแบง)
     r > 0 เมื่อ P เปนจุดแบงภายใน (รูปที่ 1.7)
     r < 0 เมื่อ P เปนจุดแบงภายนอก (รูปที่ 1.8)


                              B                            T         P
         y                                    y
                   P                                      B
                              T




     A              S         C           A                    C
             0                    x               0                       x



                 รูปที่ 1.7                           รูปที่ 1.8




แคลคูลัส 1                                                         รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                                            7

      ลากเสน AC และ BC ขนานกับแกน x และแกน y ตามลําดับตัดกันที่จด C
                                                                 ุ
ลาก PS และ PT ไปตั้งฉากกับ AC และ BC (หรือสวนตอ)ที่ S และ T ตามลําดับ
       ในสามเหลี่ยมคลาย ASP และ PTB จะไดวา
                       r =       AP
                                       =        AS
                                 PB             PT
เพราะวา AS = x – x1 และ PT = x2 – x เพราะฉะนั้น
        r = x −−xx หรือ x = x11+ rx 2
            x    1
                                 +r
                   2

            ในทํานองเดียวกันจากสามเหลียมคลาย ASP และ PTB จะไดวา
                                      ่
                       r=    AP
                                   =   SP
                             PB        TB
เพราะวา SP = y – y1 และ TB = y2 – y เพราะฉะนัน
                                              ้
        r = y −−yy หรือ y = y11+ ry 2
            y 1
                               +r
                   2
            x 1 + rx 2
นั่นคือ (      1+ r
                         , y11+ ry 2 ) เปนจุดที่แบง AB ออกเปนอัตราสวน r
                              +r
ถา P เปนจุดกึ่งกลางของ AB แลว r = 1
เพราะฉะนั้น ( x1 + x 2 , y1 + y 2 ) จะเปนจุดกึ่งกลางของ AB
                   2        2


ตัวอยาง 1.5 จงหาพิกัดของจุด P ที่แบง สวนของเสนตรงจากจุด A(-1,-3)
ไปยังจุด B(2,6) ออกเปน ก. อัตราสวน                        AP
                                                                 = -5
                                                                    2
                                                                        ข. สองสวนเทา ๆ กัน
                                                            PB
                                            5
                                  (−1) + (− )2
               x 1 + rx 2
ก.    x=          1+ r
                             =             5
                                            2        =4
                                    1 + (− )
                                           2
                                            5
                                  (−3) + (− )6
               y1 + ry 2
      y=         1+ r
                             =             5
                                            2        = 12
                                    1 + (− )
                                           2
พิกัดของจุด P คือ (4,12)
ข. ถา P เปนจุดกึ่งกลางของ AB
       x = x1 + x 2 = −12+ 2 = 1
              2                2
                 y1 + y 2         −3 + 6
          y=        2
                             =      2
                                            =   3
                                                2
เพราะฉะนั้น จุดกึ่งกลางของ AB คือ ( 1 , 3 )
                                    2 2




แคลคูลัส 1                                                                      รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
8                                                                               เสนตรง



แบบฝกหัด 1.2
        ขอ 1. ถึง ขอ 5. จงหาจุด P ที่แบงสวนของเสนตรงจากจุด A ไปยังจุด B
ออกเปนสัดสวน        AP
                           = r ตามที่กําหนดให และจงหาจุด Q ที่เปนจุดกึ่งกลางของสวน
                      PB
ของเสนตรง AB ตอไปนี้
1. A(1,-4), B(6,2), r = - 1
                          2
2. A(-4,3), B(1,-2), r = - 8
                           3


3. A(-5,2), B(1,4), r = -            5
                                     3
4. A(7,1), B(-3,6), r =          2
                                 3
5. A(4,-3), B(1,4), r = 2
6. ถา (9,2) เปนจุดแบงสวนของเสนตรงจากจุด A(6,8) ถึงจุด B(x,y)
     ออกเปนสัดสวน    AP
                             =       3
                                     7
                                         จงหาพิกัดของจุด B
                       PB
7. จงหาพิกัดของจุดกึ่งกลางของดานทั้งสามของสามเหลี่ยมที่มีจุดมุมเปน
   (-2,1), (5,2) และ (2,-3)




แคลคูลัส 1                                                         รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                                 9

ความชันของเสนตรง (Slope of a Line)
นิยาม 1.5 มุมเอียง (inclination) ของเสนตรง L ที่ไมขนานกับแกน x คือมุมบวก (วัดทวน
       เข็มนาฬิกา) ที่เล็กที่สุดที่วดจากแกน x ทางดานบวกไปยังเสนตรง L ถา L ขนานกับ
                                    ั
       แกน x ใหมมเอียงของเสนตรง L เทากับ 0 มุมเอียง α จะมีคาสอดคลองกับ
                   ุ                                                   
       0 ≤ α < 180

      y                    L                   y

                                           L



                                                            α
               α
          0                        x                0                 x



              รูปที่ 1.9                           รูปที่ 1.10

นิยาม 1.6 ความชัน (slope) ของเสนตรง L ซึ่งเขียนสัญลักษณแทนวา m
        นิยามดังนี้ m = tan α เมื่อ α เปนมุมเอียงของเสนตรง L และ α ≠ 90
ขอสังเกต 1. ความชันไมนิยามเมื่อ α = 90 นั่นคือ เสนตรงที่ขนานกับแกน y
               จะไมกลาวถึงความชัน (ไมนิยาม)
           2. ความชันของเสนตรงที่ขนานกับแกน x มีคาเทากับ 0

ทฤษฎีบท 1.2 ถา L เปนเสนตรงที่ผานจุด A(x1,y1) และ B(x2,y2) โดยที่
       x1 ≠ x2 แลว ความชันของ L = m = x1 − x 2y y
                                                 −      1   2

พิสจน ให α เปนมุมเอียงของเสนตรง L
   ู
กรณีที่ 1 ถา α = 0 แลว เสนตรง L ขนานกับแกน x ทําให y1 = y2
         m = tan 0 = 0 = x − x = x1 − x 2
                              0      y y
                                      −
                               1       2   1   2

กรณีที่ 2 ถา 0 < α < 90

ถา y2 > y1 แลว x2 > x1 ดังรูปที่ 1.11




แคลคูลัส 1                                                       รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
10                                                                                                                              เสนตรง


                    y                                                                       y                      A(x1 ,y 1 )
                                         B(x2 ,y 2 )
               L



                    0       α                                                              0      α

                                                          x                                                                  x
           A(x1 ,y 1 )                  C(x2 ,y 1 )                            B(x2 ,y 2 )                     C(x1 ,y 2 )

                         รูปที่ 1.11                                                             รูปที่ 1.12

                                                              − ( y1 − y 2 )              y1 − y 2
           m = tan α =                  | BC |
                                        | AC |
                                                      =       − (x1 − x 2 )
                                                                                   =      x1 − x 2

ถา y1 > y2 แลว x1 > x2 ดังรูปที่ 1.12
       m = tan α = || AC || = x1 − x 2
                       BC
                                   y y
                                     −                        1      2

กรณีที่ 3 ถา 90 < α < 180
ถา y1 > y2 แลว x2 > x1 ดังรูปที่ 1.13

               A(x1 ,y 1 )                                                             B (x2 ,y 2 )

                           y                                                                     y


                                    α                                                                      α
       0                       β                                               0                      β
                                                 x                                                                      x
      C(x1 ,y 2 )                  B(x2 ,y 2 )                            C(x2 ,y 1 )                     A(x1 ,y 1 )

                   รูปที่ 1.13                                                     รูปที่ 1.14

           m = tan α = tan (π - β) = - tan β = - || AC ||
                                                    BC

                   = - x1 − y 2 =
                       y
                          −x
                                            y1 − y 2
                                            x1 − x 2
                           2       1

ถา y2 > y1 แลว x1 > x2 ดังรูปที่ 1.14
       m = tan α = tan (π - β) = - tan β = - || AC ||
                                                BC


                   = - x1 − y 2 =
                       y
                          −x
                                            y1 − y 2
                                            x1 − x 2
                           2       1




แคลคูลัส 1                                                                                                 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                                11

ตัวอยาง 1.6 จงหาความชันและมุมเอียงของสวนของเสนตรงที่ผานจุด (4,3) และ (2,1)
วิธทํา จาก ทฤษฎีบท 1.2 ให (x1,y1) = (4,3) ; (x2,y2) = (2,1)
   ี
                         3−
        ความชัน = m = 4 − 1 = 1
                            2
เพราะวา tan α = m = 1 เพราะฉะนั้น               α = 45
          ถาตองการลากเสนตรงผานจุด (x0,y0) และมีความชัน m = a/b
 นอกจากวิธีการคํานวณหาจุดอีกจุดหนึ่งบนเสนตรงเสนนี้แลว
เราอาจจะลากเสนตรงนี้ไดเลยโดยพิจารณาจากความชัน ดังนี้
1. ถา m = 0 เสนตรงนั้นขนานกับแกน x
2. ถา m > 0 แลว (a > 0 และ b > 0) หรือ (a < 0 และ b < 0)
3. ถา m < 0 แลว (a > 0 และ b < 0) หรือ (a < 0 และ b > 0)
สําหรับกรณีที่ 2 และ 3 เราสามารถลากเสนตรงที่ตองการไดดังนี้
          จากจุด (x0,y0) ลากเสนขนานกับแกน x ไปทางขวา (ถา b > 0 ) หรือทางซาย
(ถา b < 0) |b| หนวยถึงจุด M จากจุด M ลากเสนขนานกับแกน y ขึ้นดานบน (ถา a > 0)
หรือลงดานลาง (ถา a < 0) |a| หนวยถึงจุด N เสนตรงที่ผานจุด (x0,y0) และ N จะ
เปนเสนตรงทีตองการ
              ่

ตัวอยาง 1.6 จงลากเสนตรงที่ผานจุด (3,4) และมีความชัน 1/2
วิธีทาที่ 1 ให (x,y) เปนจุดอีกจุดหนึงบนเสนตรงเสนนี้
     ํ                                ่
          จาก ทฤษฎีบท 1.2 m = x1 − x 2
                                    y y
                                        −
                                     1   2
                                     y−4
                             1
                             2
                                 =   x −3
จากสมการจะเห็นวาคา (x,y) ที่สอดคลองกับสมการมีมากมาย ถาให y = 2
แทนคาในสมการ จะไดคา x = -1 เพราะฉะนัน (-1,2) จะเปนอีกจุดหนึ่งบนเสนตรงนี้
                                          ้
ลากเสนตรงผาน (-1,2) และ (3,4) จะไดเสนตรงตามตองการ

วิธทําที่ 2 จากจุด (3,4) ลากเสนตรงขนานกับแกน x ไปทางขวา 2 หนวย ถึงจุด M
   ี
จากจุด M ลากเสนตรงขนานกับแกน y ขึ้นไปทางดานบน 1 หนวยถึงจุด N ลากเสน
ตรงผานจุด (3,4) และ N จะไดเสนตรงตามตองการ




แคลคูลัส 1                                                      รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
12                                                                             เสนตรง


แบบฝกหัด 1.3
          จงหาความชัน และมุมเอียงของสวนของเสนตรงที่ผานจุดสองจุดที่กาหนดให
                                                                      ํ
1. (0,5), (-6,1)         2. (4,6), (1,3)
3. (2,4), (-2,4)         4. (2,/3), (1,0)
          จงลากเสนตรงผานจุด และมีความชันตามทีกําหนดให
                                               ่
5. (-2,8), m = 3 4
                          6. (5,2), m = - 1
                                          2
7. (6,-4), m = 0         8. (1,3), m = -2




แคลคูลัส 1                                                        รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                             13

เสนขนานและเสนตั้งฉาก (Parallel and Perpedicular Lines)
นิยาม 1.7 เสนตรงสองเสนบนระนาบจะขนานกัน ก็ตอเมื่อ ความชันของเสนตรงทั้ง
       สองเสนเทากัน

สัจพจน ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีจุดรวมกันอยูหนึ่งจุดแลวเสนตรงทั้งสอง
        จะเปนเสนตรงเดียวกัน
ตัวอยาง 1.7 กําหนดให L1 เปนเสนตรงที่ผานจุด (4,5), (1,2)
                         L2 เปนเสนตรงที่ผานจุด (7,8), (4,5)
                         L3 เปนเสนตรงที่ผานจุด (-4,1), (-1,4)
และให m1, m2 และ m3 เปนความชันของ L1, L2 และ L3 ตามลําดับ
                          m1 = 5 − 2 = 1
                                  4 −1
                                  8−5
                         m2 =     7−4
                                          = 1
                                 1− 4
                         m3 =    − 4 −1
                                          = 1
L1, L2 และ L3 จะขนานกัน นอกจากนั้น L1 และ L2 ยังเปนเสนตรงเสนเดียวกัน ทั้งนี้
เพราะวามีจุด (4,5) เปนจุดรวม
         เพราะวาแกน x ตั้งฉากกับแกน y เพราะฉะนันเสนตรงใด ๆ ที่ขนานกับแกน x
                                                      ้
(มีความชันเทากับ 0 ) จะตังฉากกับเสนตรงที่ขนานกับแกน y (ไมนิยามความชัน)
                           ้

ทฤษฎีบท 1.3 เสนตรงสองเสนไมขนานกับแกน x และไมขนานกับแกน y จะตั้งฉากซึ่งกัน
       และกัน ก็ตอเมื่อ ผลคูณของความชันของเสนตรงทั้งสองเทากับ -1
พิสูจน ให m1, m2 เปนความชันของเสนตรง L1 และ L2 ตามลําดับ m1 ≠ 0 และ
        m2 ≠ 0 ให α1 และ α2 เปนมุมเอียงของ L1 และ L2 ตามลําดับ
ตอนที่ 1 ถา L1 และ L2 ตั้งฉากซึ่งกันและกันจะตองพิสูจนวา m1m2 = -1
            y                        กรณีที่ 1 ถา m1 > 0 (ดังรูปที่ 1.15) แลว
              L2        L1                   α2 = 90 + α1 ,
                                             tan α2 = tan (90 + α1) ,
                              α2
                                             m2 = - cot α1 = - 1/tan α1 = - 1/m1
         α1
                           x         หรือ m1m2 = -1
               รูปที่ 1.15




แคลคูลัส 1                                                         รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
14                                                                                     เสนตรง




                  y
                                               กรณีที่ 2 ถา m1 < 0 (ดังรูปที่ 1.16) แลว
                      L1       L2                      α1 = 90 + α2 ,
                                                       tan α1 = tan (90 + α2) ,
                                                       m1 = - cot α2 = - 1/tan α2 = - 1/m2
             α2                         α1
                                    x          หรือ m1m2 = -1
                      รูปที่ 1.16

ตอนที่ 2 ถา m1m2 = -1 แลวจะตองพิสูจนวา L1 และ L2 ตั้งฉากซึ่งกันและกัน
   m1m2 = -1 เปนไปไดสองกรณี คือ
กรณีท่ี 1 ถา m1 > 0 และ m2 < 0
        0 < α1 < 90 และ 90 < α2 < 180
        เนื่องจาก m1 = -1/m2 เพราะฉะนัน tan α1 = - 1/ tan α2 = tan (90 + α2)
                                            ้
                 tan (180 + α1) = tan (90 + α2)
                 180 < 180 + α1 < 270 ,         180 < 90 + α2 < 270
                 180 + α1 = 90 + α2
                 90 + α1 = α2
        นั่นคือ L1 ตั้งฉากกับ L2
กรณีที่ 2 ถา m1 < 0 และ m2 > 0
         พิสูจนทํานองเดียวกับกรณีที่ 1 จะไดวา 90 + α1 = α2
         L1 ตั้งฉากกับ L2

ตัวอยาง 1.8 จงแสดงใหเห็นวา จุด A(8,6), B(4,8) และ C(2,4) เปนจุดยอดของ
        สามเหลี่ยมมุมฉาก
                                  6−8
วิธทํา ความชันของ AB = m1 = 8 − 4 = - 1
   ี                                        2
                                             8−4
         ความชันของ BC = m2 =                4−2
                                                   = 2
        เพราะฉะนั้น m1m2 = -1

นั่นแสดงใหเห็นวา ABC เปนสามเหลี่ยมที่มีมุม ABC เปนมุมฉาก

แคลคูลัส 1                                                                รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                                          15

นิยาม 1.8 ให L1 และ L2 เปนเสนตรงที่ไมขนานกัน และตัดกันที่จด P เรา จะเรียกมุมบวก
                                                                  ุ
         (วัดทวนเข็มนาฬิกา) ที่จุด P วัดจาก L1 ไปยัง L2 วา “มุมระหวาง L1 ไปยัง L2 ”
           สมมุติให L1 และ L2 เปนเสนตรงที่ไมขนานกับแกน x และไมขนานกับแกน y
และไมต้งฉากซึ่งกันและกัน ใหมีความชันเทากับ m1 และ m2 มีมุมเอียงเทากับ α1 และ α2
         ั
ตามลําดับ ตัดกันที่จด P
                    ุ
           ให θ เปนมุมระหวาง L1 ไปยัง L2 เราสามารถหาคามุม θ ไดดังนี้
กรณีท่ี 1. ถา α1 < α2 (จากรูปที่ 1.17)
                                                       α2 = α1 + θ
        y
                 L2      L1                     หรือ θ = α2 - α1
                      θ                             tan θ = tan (α2 - α1)
                                                           = 1tantan2α− tan α1
                                                                +
                                                                    α
                                                                         tan α
              α1                     α2                                           2     1
                                                                       m 2 − m1
                                 x                            =        1 + m1 m 2

                รูปที่ 1.17
กรณีท่ี 2. ถา α2 < α1 (จากรูปที่ 1.18)
                                                        α1  = α2 + (π - θ)
          y                 L2
              L1                              หรือ π - θ = α1 - α2
                        θ
                    π -θ
                                                 tan (π -θ) = tan (α1 - α2)
                                                            = 1tantan1α tan α 2
                                                                +
                                                                   α −
                                                                         tan α
               α2                    α1                                           1     2
                                                                       m1 − m 2
                                 x                            =        1 + m1 m 2

                   รูปที่ 1.18
ตัวอยาง 1.9 จงหาขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมที่มี A(-2,1), B(3,2) และ C(1,5)
        เปนจุดมุม
วิธีทา ให ma, mb, mc เปนความชันของ BC, CA และ AB ตามลําดับ
     ํ
              y        C                ma = 2 − 1 = - 3
                                                3−
                                                    5
                                                          2
                                                           5 −1
              b              a                   mb =      1+ 2
                                                                   =    4
                                                                        3
                                                            1− 2
                                                 mc =      −2−3
                                                                   =    1
                                                                        5
                                     B
          A         c                                                            4 1
                                                                                   −
                                                            mb − mc
                                          x      tan A =    1 + mbmc
                                                                            =    3 5
                                                                                   41
                                                                                        =   17
                                                                                            19
                                                                                1+
                                                                                   35
               รูปที่ 1.19


แคลคูลัส 1                                                                      รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
16                                                                          เสนตรง

                                   1 3
                                     +
                  mc − ma
        tan B =   1 + mcma
                              =    5 2
                                     13
                                          =      17
                                                  7
                                  1−
                                     52


                                   3 4
                                  −  −
                  ma − mb
        tan C =   1 + ma mb
                              =    2 3
                                     34
                                             =   17
                                                  6
                                  1−
                                     23
        A = tan-1 17 , B = tan
                  19
                                     -1 17
                                         7
                                             , C = tan-1 17
                                                          6



แบบฝกหัด 1.4
          จุดสามจุดที่กําหนดใหตอไปนี้ ขอใดเปนจุดทีอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน
                                                    ่
(ใหแสดงโดยใชความชัน)
1. (2,3), (-4,7) และ (5,8)
2. (4,1), (5,-2) และ (6,-5)
3. (5,0), (0,5) และ (-1,6)
4. (-2,1), (2,3) และ (3,6)
          จงตรวจสอบดูวา เสนตรงที่ผานจุด A และ B จะตั้งฉากหรือขนานกับเสนตรงที่
ผานจุด P และ Q หรือไมเพราะเหตุใด
5. A(3,-1), B(-5,2) และ P(4,2), Q(12,-1)
6. A(4,8), B(12,8) และ P(-6,1), Q(3,1)
7. A(-5,1), B(2,-3) และ P(0,-2), Q(4,5)
8. A(0,3), B(7,-1) และ P(-5,1), Q(2,-3)
          จงใชความรูเรื่องความชันแสดงใหเห็นวาจุดสามจุดที่กําหนดใหตอไปนี้
เปนจุดมุมของสามเหลี่ยมมุมฉาก
9. (1,3), (5,-7) และ (6,5)
10. (4,2), (8,4) และ (2,6)
11. (1,-2), (3,2) และ (5,-4)
12. (-2,-1), (3,4) และ (4,1)
13. ใหเสนตรง L2 ทํามุม 60o กับเสนตรง L1 ถาความชันของ L1 เทากับ 1
     จงหาความชันของ L2
14. จงหาความชันของเสนตรงที่ทํามุม 45o กับเสนตรงที่ลากผาน (2,-1) และ (5,3)
15. จงหาความชันของเสนตรงที่ตั้งฉากกับเสนตรงที่ผานจุด (3,-2) และ (5,3)

แคลคูลัส 1                                                     รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                               17

สมการของเสนตรง (Equation of a Straight Line)

1. สมการของเสนตรงที่ขนานกับแกน x หรือ แกน y
           ให L เปนเสนตรงที่ขนานกับแกน x จะเห็นไดวาจุดตาง ๆ ที่อยูบนเสนตรง L
จะมีพกัดที่ 2 เทากันหมด ถาพิกัดที่ 2 เปน b จะไดวา “จุด (x,y) ที่เปนจุดบนเสนตรง
        ิ                                              
L ก็ตอเมื่อ y = b”
           เสนตรง L จะเปนกราฟของความสัมพันธ r ที่นิยามวา r = {(x,y) | y = b}
หรือเสนตรงที่มีสมการเปน y = b
          ในทํานองเดียวกัน ถา L เปนเสนตรงที่ขนานกับแกน y จะเห็นวาจุดตาง ๆ
ที่อยูบนเสนตรง L จะมีพกัดที่ 1 เทากันหมด ถาพิกัดที่ 1 เปน a จะไดวา “จุด (x,y)
                           ิ
ที่เปนจุบนเสนตรง L ก็ตอเมื่อ x = a ”
           เพราะฉะนันเสนตรง L จะเปนกราฟของความสัมพันธ r ที่นิยามวา r = {(x,y) |
                     ้
x = a} หรือเสนตรงที่มีสมการเปน x = a

สมการของเสนตรงแบบจุดและความชัน (The Point-Slope Equation)
        ถาให L เปนเสนตรงที่ผานจุด (x1,y1) และมีความชัน = m
ให (x,y) เปนจุดใด ๆ บนเสนตรง L จากนิยามความชันไดวา
ความชันของ L = x − x1 แตกําหนดใหความชันของ L เทากับ m
                  y y
                    −   1
                      y − y1
ดังนั้น        m=     x − x1

นั่นคือ y – y1 = m(x – x1)     เปนสมการเสนตรงที่ผานจุด (x1,y1)
และมีความชันเทากับ m

ทฤษฎีบท 1.4 จะมีเพียงเสนตรงเดียวเทานั้นที่มีความชัน m และผานจุด (x1,y1)
      และจะมีสมการเปน y – y1 = m(x – x1)

ตัวอยาง 1.10 จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (-2,3) และมีความชันเทากับ -4/5
วิธทํา
   ี             y – y1 = m(x – x1)
          สมการเสนตรงเสนนี้ คือ
                  y – 3 = (x + 2)
                  5y – 15 = -4x – 8
                  4x + 5y – 7 = 0

แคลคูลัส 1                                                          รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
18                                                                          เสนตรง



สมการของเสนตรงแบบจุดสองจุด (The Two-Point Equation)
        ถาให L เปนเสนตรงที่ผานจุด P1(x1,y1) และ P2(x2,y2) ถา x1 ≠ x2
เพราะฉะนั้นความชันของ P1P2 เทากับ x1 − x 2 ซึ่งจะเทากับความชันของเสนตรง L
                                       y y
                                          −     1       2

แทนคาในสมการเสนตรงแบบจุดและความชัน จะได
                y – y1 = x1 − x 2 (x – x1)
                          y y
                            −   1       2

         ถา x1 = x2 แลว เสนตรง L จะขนานกับแกน y เสนตรง L จะมีสมการเปน x = x1

ทฤษฎีบท 1.5 ถา L เปนเสนตรงที่ผานจุด (x1,y1) และ (x2,y2) ที่ x1   ≠   x2 แลว
      L จะมีสมการเปน y – y1 = x1 − x 2 (x – x1)
                                   y y
                                      −     1       2




ตัวอยาง 1.11 จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (4,1) และ (-2,2)
วิธีทํา          y – y1 = x1 − x 2 (x - x1)
                          y y
                             −
                            1       2

เพราะฉะนั้น สมการเสนตรงที่ตองการ คือ
       y – 1 = 1 − 2 (x -4) , x + 6y – 10 = 0
               4+2


สมการของเสนตรงแบบความชันและจุดตัดแกน (The Slope-Intercept Equation)
นิยาม 1.9 จุดตัดแกน x (x-intercept) ของกราฟ คือ พิกัดที่ 1 ของจุดที่กราฟนันตัดกับแกน x
                                                                             ้
       จุดตัดแกน y (y-intercept) ของ กราฟ คือ พิกัดที่ 2 ของจุดที่กราฟนั้นตัดกับแกน y

        วิธการหาจุดตัดแกน x ทําไดโดยการให y = 0 ในสมการแลวแกสมการหาคา x
           ี
        ทํานองเดียวกัน การหาจุดตัดแกน y ทําไดโดยการให x = 0 ในสมการแลว
แกสมการหาคา y
          เชน สมการ 2x + 7y – 6 = 0 ให y = 0 เพราะฉะนัน x = 3
                                                          ้
นั่นคือ จุดตัดแกน x ของกราฟ คือ 3

       สมมุติให L เปนเสนตรงที่มีความชันเทากับ m และมีจุดตัดแกน y เทากับ b
จากรูป 1.20 แสดงวา L จะตองผานจุด (0,b) แทนคาความชันเทากับ m และ (x1,y1) =
(0,b) ในสมการจะได y – b = m(x – 0) นั่นคือ y = mx + b

แคลคูลัส 1                                                      รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                         19

                              y
                                  (0,b)
                              b

                                          slope = m


                                                      x

                                    รูปที่ 1.20

ทฤษฎีบท 1.6 สมการของเสนตรงที่มีความชัน m และจุดตัดแกน y เปน b คือ y = mx + b

       ถาเสนตรง L ผานจุดกําเนิด นั่นคือมีจุดตัดแกน y ที่ 0 (เพราะวา b = 0)
เพราะฉะนั้นสมการเสนตรงที่ผานจุดกําเนิดที่ไมใชแกน y คือ y = mx

ตัวอยาง 1.12 จงหาสมการเสนตรงที่มีความชันเทากับ -3/4 และมีจดตัดแกน y เทากับ 2
                                                             ุ
วิธีทํา                 y = mx + b
          แทนคา ความชัน และจุดตัดแกน y จะได
                       y = -3/4 x + 2
                      4y = -3x + 8
                     3x + 4y -8 = 0 จะเปนสมการเสนตรงที่ตองการ

สมการของเสนตรงแบบจุดตัดแกน (The Intercept Equation)
        ให L เปนเสนตรงที่มีจุดตัดแกน x เทากับ a และจุดตัดแกน y เทากับ b ;
a ≠ 0 และ b ≠ 0 แสดงวา L
เปนเสนตรงทีผานจุด (a,0) และ (0,b)
             ่
ความชันของเสนตรง L คือ m = 0 − b = - b
                                    a−0      a
สมการของเสนตรง L คือ
               y = - b x+b
                     a
                ay = - bx + ab
                 x y
                   +
                 a b
                      = 1




แคลคูลัส 1                                                    รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
20                                                                        เสนตรง


ทฤษฎีบท 1.7 สมการของเสนตรงที่มี จุดตัดแกน x และจุดตัดแกน y เทากับ a และ b
      ตามลําดับ คือ   x y
                        +
                      a b
                           = 1          เมื่อ a ≠ 0, b ≠ 0

ตัวอยาง 1.13 จงหาสมการเสนตรงที่มีจุดตัดแกน x เทากับ 2 และจุดตัดแกน y เทากับ 3
วิธีทา
     ํ
                      x y
                       +
                      a b
                             =1
                      x y
                       +
                      2 3
                             =1
                     3x + 2y – 6 = 0        เปนสมการที่ตองการ

นิยาม 1.10 สมการเชิงเสน (Linear Equation) คือสมการที่อยูในรูป
               Ax + By + C = 0
เมื่อ A, B และ C เปนจํานวนจริง ที่ A และ B จะเทากับ 0 พรอมกันทั้งสองตัวไมได

ทฤษฎีบท 1.8 โลกัสของสมการเชิงเสนคือเสนตรง
พิสูจน จากสมการเชิงเสน Ax + By + C = 0
        ถา B = 0 แลว A ≠ 0 หารทั้งสองขางของสมการดวย A สมการจะเปน x = -          C
                                                                                     A
ซึ่งเปนสมการเสนตรงที่ขนานกับแกน y
ถา B ≠ 0 แลว หารทั้งสองขางของสมการดวย B สมการจะเปน
                        y = - Ax - C
                               B    B
ซึ่งเปนสมการเสนตรงแบบความชันและจุดตัดแกน เมื่อ
                       A                       C
                m=-           และ b = -
                       B                       B
ตัวอยาง 1.14 จงหาความชัน จุดตัดแกน x จุดตัดแกน y ของสมการเสนตรง x + 2y = 1
วิธีทํา จัดสมการเสนตรงที่กําหนดให ใหอยูในรูปมาตรฐานของสมการเชิงเสน จะได
                       x + 2y – 1 = 0
                A = 1, B = 2 แ ละ C = -1
นั่นคือ m = - 1  2
                          และ b = 1   2
หาจุดตัดแกน x โดยการแทนคา y = 0 จะได x = 1
เพราะฉะนั้น ความชันเทากับ - 1 , จุดตัดแกน x เทากับ 1, จุดตัดแกน y เทากับ
                             2
                                                                                1
                                                                                2



แคลคูลัส 1                                                    รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                         21

แบบฝกหัด 1.5
          ขอ 1. ถึงขอ 17. จงเขียนสมการเสนตรงตามเงื่อนไขทีกาหนดใหตอไปนี้
                                                            ่ํ
1. ขนานกับแกน x และผานจุด (2,-4)
2. ขนานกับแกน x และผานจุด (-1,-3)
3. ขนานกับแกน y และผานจุด (3,2)
4. ขนานกับแกน y และผานจุด (-2,3)
5. ผานจุด (2,-3) และมีความชัน -3/2
6. ผานจุด (4,2) และมีความชัน 3
7. ผานจุด (4,-2) และจุด (2,3)
8. ผานจุด (-7,-2) และจุด (6,5)
9. มีความชัน -2/5 และมีจดตัดแกน y เทากับ -3
                            ุ
10. มีความชัน 1/3 และมีจุดตัดแกน y เทากับ 2
11. มีจุดตัดแกน x เทากับ -3 และจุดตัดแกน y เทากับ 2
12. มีจุดตัดแกน x เทากับ 4 และจุดตัดแกน y เทากับ -1
13. มีจุดตัดแกน x เทากับ 3 และผานจุด (0,-5)
14. มีจุดตัดแกน y เทากับ -4 และผานจุด (-1,1)
15. ผานจุด (2,1) และขนานกับเสนตรง 2x – 3y + 6 = 0
16. ผานจุด (1,-2) และตั้งฉากกับเสนตรง y = 2x - 4
17. ผานจุด (2,3) และตั้งฉากกับเสนตรง 3x + 2y – 7 = 0
          ขอ 18. ถึงขอ 27. จงหาความชัน จุดตัดแกน x จุดตัดแกน y ของสมการ
เสนตรงตอไปนี้
18. 3x + y – 1 = 0
19. 4x + 3y + 1 = 0
20. x + y = 5
21. 3x – 4y = 10
22. 2x – y + 6 = 0
23. x – 2y – 8 = 0
24. 2x + 3y – 11 = 0
25. 4x + 11y + 6 = 0
26. y = -7
27. x = 2
28. จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุดตัดกันของเสนตรง 7x + 9y + 3 = 0 และ 2x – 5y + 16 = 0

แคลคูลัส 1                                                    รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
22                                                                           เสนตรง


    และผานจุด (7,-3)
29. จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (7,0) และตั้งฉากกับเสนตรงที่ผานจุด (-5,3) และ (8,-1)
30. จงหาคา k ของสมการเสนตรงตอไปนี้ เมื่อสอดคลองกับเงื่อนไขที่กาหนดให
                                                                   ํ
        30.1 3kx + 5y + k – 2 = 0      เมื่อผานจุด (2,-3)
        30.2 4x – ky – 7 = 0           เมื่อมีความชันเทากับ 2
        30.3 kx – y = 3k - 6            เมื่อมีจุดตัดแกน x เทากับ 5
31. จงแสดงใหเห็นวา ถาเสนตรง Ax + By + C = 0 และ A’x + B’y + C’ = 0
    ขนานกันจะไดวา A' = B' และ ถาตั้งฉากกันจะไดวา AA’ + BB’ = 0
                       A      B
                                                         




แคลคูลัส 1                                                       รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                                             23

สมการของเสนตรงแบบนอรมัล (Normal Equation of a Straight Line)

นิยาม 1.11 เสนนอรมัล (normal line) ของเสนตรง L คือเสนตรงที่ผานจุดกําเนิดและตั้งฉาก
       กับ L

นิยาม 1.12 สวนตัดของนอรมัล (normal intercept) ของเสนตรง L หมายถึง สวนของเสนนอรมัล
       จากจุดกําเนิดถึงเสนตรง L

             ให p เปนความยาวของสวนตัดของนอรมัล และเรากําหนดเครื่องหมายของ p
ดังนี้       p ≥ 0 เมื่อ จุดตัดของเสนนอรมัลกับเสนตรง L อยูบนแกน x หรือ เหนือแกน x
             P < 0 เมื่อ จุดตัอของเสนนอรมัลกับเสนตรง L อยูใตแกน x

         y
                                                                                      L
                                                                     θ
                              C ( x1 ,y 1 )                                               x
                                                                         p
                         p
                                       L
                θ
                                      x                         y


                         รูปที่ 1.21 p     ≥   0                         รูปที่ 1.22 p < 0

      ให L เปนเสนตรงบนระนาบ N เปนเสนนอรมัลตัดกับ L ที่ C(x1,y1)
ความยาวของสวนตัด OC = p

              ให  เปนมุมเอียงของเสนนอรมัล θ จะมีคาสอดคลองกับอสมการ
                     θ
                                       0 ≤ θ < 180
          ถากําหนดความยาวของสวนตัดของนอรมัล p และมุมเอียง θ ของเสนตรง L
มาให เราสามารถลากเสนตรง L ได และสามารถเขียนสมการของเสนตรง L ในแบบนอรมัล
ไดดังนี้
                          x1 = p cos θ , y1 = p sin θ

ความชัน             L= -           1      = -        1
                                                           =-       cos θ
                                                   tan θ            sin θ
                             ความชันของ N

แคลคูลัส 1                                                                         รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
24                                                                          เสนตรง


จากสมการเสนตรงแบบจุดและความชัน เราสามารถเขียนสมการเสนตรง L ดังนี้
              y – y1 = m(x – x1)
                              θ
        y – p sin θ = - cos θ (x – p cos θ)
                          sin
หรือ              x cos θ + y sin θ - p = 0
นิยาม 1.13 เราจะเรียกสมการของเสนตรงที่เขียนอยูในรูปตอไปนี้วา “สมการของเสนตรงแบบ
                                                            
       นอรมัล”
                          x cos θ + y sin θ - p = 0
       เมื่อ p เปนความยาวของสวนตัดของนอรมัลของเสนตรง และ θ เปนมุมเอียงของ
       เสนนอรมัลของเสนตรง

ทฤษฎีบท 1.9 ให Ax + By + C = 0 เปนสมการรูปทั่วไปของเสนตรง L
         ถาเราหารตลอดสมการรูปทั่วไปดวย h = ± A 2 + B2 โดยเลือกเครื่องหมายของ h
เหมือนกับเครื่องหมายของ B ในกรณีที่ B ≠ 0 หรือเลือกเครื่องหมายของ h เหมือนกับ
เครื่องหมายของ A ในกรณีที่ B = 0 แลวผลลัพธที่ไดจะเปนสมการของ L แบบนอรมล ั
พิสูจน กรณีท่ี 1 ถา A ≠ 0 และ B ≠ 0 แลว ความชันของเสนตรง L คือ - A         B
          เพราะฉะนันความชันของเสนนอรมลของ L คือ
                   ้                   ั               B
                                                       A
นั่นคือ                  tan   θ   =   B
                                       A
                        sin θ =        B
                                       h
                        cos θ =        A
                                       h
เพราะวา        0o < θ < 180o เพราะฉะนั้น sin θ > 0
ดังนั้น เครื่องหมายของ h จะตองเหมือนกับเครื่องหมายของ B
เพราะวา h ≠ 0 เอา h หารตลอดสมการรูปทั่วไปจะได
                    x cos θ + y sin θ – p = 0 เมื่อ p = - C
                                                          h
           กรณีที่ 2 ถา A = 0 แลว B ≠ 0 และสมการรูปทั่วไปของ L จะเปน
                                      By + C = 0
                                            C
หรือ                                 y=-
                                            B
นั่นคือเสนตรง L ขนานกับแกน x เพราะฉะนั้นเสนนอรมัลของเสนตรง L จะตั้งฉากกับ
แกน x จะไดวา θ = 90o และ cos θ = 0, sin θ = 1
                    h = ± A 2 + B2 = ± B2 = ± B
แคลคูลัส 1                                                      รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                                       25

ถาเลือกเครื่องหมายของ h เหมือนกับเครื่องหมายของ B เพราะฉะนั้น h = B
เอา h หารทั้งสองขางของสมการรูปทั่วไปจะได
                                    B
                                     h
                                        y+ C = 0
                                           h
                                            y+       C
                                                     B
                                                           =0
x cos θ + y sin θ – p = 0      เมื่อ        p =-         C
                                                         h
                                                              =-   C
                                                                   B
     กรณีที่ 3 ถา B = 0 แลว A ≠ 0 และสมการรูปทั่วไปของ L จะเปน
                              Ax + C = 0
หรือ                          x= - A C


นั่นคือ เสนตรง L ตั้งฉากกับแกน x เพราะฉะนั้นเสนนอรมัลของเสนตรง L จะขนาน
กับแกน x จะไดวา θ = 0 และ cos θ = 1, sin θ = 0
                   h = ± A 2 + B2 = ± A 2 = ± A
ถาเลือกเครื่องหมายของ h เหมือนกับเครื่องหมายของ A เพราะฉะนั้น h = A
เอา h หารทั้งสองขางของสมการรูปทั่วไปจะได
                                    A
                                    h
                                       x+ C = 0
                                           h
                                            x+       C
                                                     h
                                                           =0
x cos θ + y sin θ – p = 0      เมื่อ        p=-        C
                                                       h
                                                             = -   C
                                                                   A


ตัวอยาง 1.15 จงหาสมการเสนตรง L เมื่อ p = 1 และ                       θ   = 45
วิธีทา
     ํ          x cos θ + y sin θ – p = 0
แทนคา p และ θ จะได              x cos 45 + y sin 45 – 1 = 0
                                   x
                                       + y -1 = 0
                                        2        2
หรือ                           x+y-          2   =0

ตัวอยาง 1.16 จงแปลงสมการ 3 x + y + 10 = 0 ใหอยูในรูปแบบนอรมัล และหาคา p
                                                 
        และ θ
วิธีทํา จากสมการ A = 3 , B = 1
          h = 3 +1 = 2      (เพราะวา เครืองหมาย B เปนบวก)
                                          ่
จาก ทฤษฎีบท 1.9 สมการแบบนอรมัลของเสนตรงเสนนี้ คือ

                                       2
                                        3
                                            x+   1
                                                 2
                                                     y+5 =0


แคลคูลัส 1                                                                   รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
26                                                                         เสนตรง


นั่นคือ cos θ =   2
                   3
                       , sin θ =   1
                                   2
                                       เพราะฉะนัน
                                                ้   θ   = 30 และ p = -5

แบบฝกหัด 1.6
1. จงสรางสมการของเสนตรง L ตามคา p และ θ ที่กําหนดใหตอไปนี้
         1.1   p = 5, θ = 30
         1.2   p = 6, θ = 120
         1.3   p = -4, θ = 60
         1.4   p = -5, θ = 135
2. จงแปลงสมการตอไปนี้ ใหอยูในแบบนอรมัล และหาคา p และ θ
                             
         2.1     3x+y–9 = 0
         2.2   3x – 4y -6 = 0
         2.3    x+y+8 = 0
         2.4    12x – 5y = 0
         2.5   4y – 7 = 0
         2.6    x+5 = 0




แคลคูลัส 1                                                     รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                           27

ระยะระหวางจุดและเสนตรง (Distance Between a Point and a Line)

      ให L เปนเสนตรงบนระนาบ และ P(x1,y1) เปนจุดที่อยูหางจาก L เทากับ d
ให L1 เปนเสนตรงที่ขนานกับ L และผานจุด P(x1,y1)
        y                                ถาสมการของ L แบบนอรมัลเปน
                                          x cos θ + y sin θ – p = 0
            d
                P(x1 ,y 1 )              และถา P(x1,y1) และจุดกําเนิดอยูคนละขาง
                                         ของเสนตรง L แลว สมการของ L1 แบบ
           p
                                         นอรมัลจะเปน
                                         x cos θ + y sin θ – (p + d) = 0
                    L           L1     x


                   รูปที่ 1.23
เนื่องจาก P(x1,y1) อยูบนเสนตรง L1 พิกัดของจุด P ยอมสอดคลองกับสมการของ L1
นั่นคือ             x1 cos θ + y1 sin θ – (p + d) = 0
หรือ               d = x1 cos θ + y1 sin θ – p
          ถา P(x1,y1) และจุดกําเนินอยูขางเดียวกันของเสนตรง L แลว สมการของ L1
                                          
แบบนอรมลจะเปน
           ั
                   x cos θ + y sin θ – (p + d) = 0
และเพราะวาจุด P สอดคลองกับสมการของ L1 ดังนั้น
                   x1cos θ + y1sin θ - (p – d) = 0
                   d = -(x1cos θ + y1sin θ - p)
                   d = |x1cos θ + y1sin θ - p|
นั่นคือ ถา Ax + By + C = 0 เปนสมการรูปทั่วไปของเสนตรง L
ระยะจากจุด P(x1,y1) ถึงเสนตรง L คือ
                   d = | Ax1 +2By1 + C |
                            A +B      2




ทฤษฎีบท 1.10 ระยะระหวางจุด P(x1,y1) และเสนตรง L ที่มีสมการเปน Ax + By + C = 0
      มีคาเทากับ d = | Ax1 +2By1 + C |
                                A +B
                                   2




แคลคูลัส 1                                                       รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
28                                                                                เสนตรง


ตัวอยาง 1.17 จงหาระยะระหวาง (3,2) และเสนตรง L ที่มีสมการเปน 4x + 3y – 10 = 0
วิธีทํา จากทฤษฎีบท 1.10 ระยะระหวางจุด (3,2) และเสนตรง L เทากับ
                    d = | Ax1 +2By1 + C | = | 4 × 3 + 3 × 2 + 10 | = 8
                                A +B2                16 + 9          5



ตัวอยาง 1.18 จงหาระยะระหวางเสนขนาน L1 : x + 2y + 4 = 0 และ L2 : 2x + 4y – 2 = 0
วิธีทา กอนอืนตองหาจุดบนเสนตรงเสนใดเสนหนึ่งใหไดกอนแลวจึงหาระยะระหวางจุดนั้นกับ
     ํ       ่
เสนตรงอีกเสนหนึ่ง จะเปนระยะหางตามตองการ
          จาก L1 ให x = 0 เพราะฉะนัน y = -2  ้
นั่นคือ จุด (0,-2) อยูบนเสนตรง L1
หาระยะระหวางจุด (0,-2) กับเสนตรง L2 จะได ดังนี้
                         d = | 2 × 0 + 4 × (−2) − 2 | = 10 = 5
                                       4 + 16           20



ตัวอยาง 1.19 จงหาสมการเสนตรงแบงครึ่งมุม ซึ่งเกิดจากเสนตรงสองเสนตอไปนี้
ตัดกัน         L1 : x + 3y - 5 = 0 และ L2 : 3x + y + 2 = 0
วิธทํา ให P(x,y) เปนจุดบนเสนแบงครึ่งมุมที่เกิดจาก L1 ตัด L2
   ี
             y                                 ให d1 เปนระยะหางจาก P ถึง L1
                                                      d2 เปนระยะหางจาก P ถึง L2
                                      x
                                               เพราะฉะนั้น d1 = d2
                          d2      L1           นั่นคือ | x + 3y − 5 | = | 3x + y + 2 |
                           P(x,y)                             1+ 9          9 +1
                      d1                        จะไดวา     x + 3y - 5 = ± (3x + y + 2)
                     L2
                                                จะไดสมการเสนตรงที่แบงครึ่งมุม คือ
                                                2x – 2y + 7 = 0 หรือ 4x + 4y – 3 = 0
                รูปที่ 1.24




แคลคูลัส 1                                                           รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                         29

แบบฝกหัด 1.7
1. จงหาระยะระหวางจุดและเสนตรงที่กําหนดใหตอไปนี้
        1.1       (2,-3), 8x + 15y – 24 = 0
        1.2       (-1,7), 6x – 8y + 5 = 0
        1.3       (4,3), 3x – 4y + 8 = 0
        1.4       (-1,3), 5x – 12y – 25 = 0
2. จงหาระยะหางระหวางเสนขนานสองเสนตอไปนี้
        2.1       3x – 4y + 8 = 0,          6x – 8y – 15 = 0
        2.2       5x + 12y – 5 = 0,         10x + 24y + 5 = 0
        2.3       x + y – 15 = 0,            3x + 3y + 2 = 0
        2.4       3x + 4y – 7 = 0,          3x + 4y + 3 = 0
3. จงหาสมการเสนแบงครึ่งมุม ซึ่งเกิดจากการตัดกันของเสนตรงสองเสนที่กาหนดให
                                                                      ํ
        3.1       3x – 4y – 7 = 0,          5x + 12y + 1 = 0
        3.2       4x – 3y + 2 = 0,          4x + 2y + 1 = 0
        3.3       x + 2y + 3 = 0,           2x + y + 2 = 0
4. จงหาจุดทีอยูบนแกน x และอยูหางจากเสนตรง 2x + y + 2 = 0 เทากับ 3 หนวย
            ่                       
5. จงหาสมการของเสนตรงที่ขนานกับเสนตรง x + 2y – 1 = 0 และอยูหางจากเสนตรงเสนที่
    สองนี้ 2 หนวย
6. จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (2,-4) และหางจากจุดกําเนิดเทากับ 3 หนวย
   (แนะนํา ใช y = mx + c)




แคลคูลัส 1                                                     รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
30                                                                   เสนตรง

ระบบของเสนตรง (System of Lines)

       ระบบของเสนตรง หมายถึงกลุมของเสนตรงที่มีเงื่อนไขบางอยางรวมกัน เชน
มีความชันเทากัน ผานจุดเดียวกัน เปนตน
1. จากสมการเสนตรงแบบความชันและจุดตัดแกน เพราะวา y = mx + b
                                ถากําหนดคาความชันแนนอน เชน m = 1
          y
                                                  y = mx + b
                                จะเปนสมการของเสนตรงใด ๆ ที่มีความชันเทากับ
                          x
                                1 ถากําหนดคา b หนึ่งคา จะไดสมการเสนตรง
                                ที่มีความชันเทากับ 1 หนึ่งสมการ เราเรียกสมการ
                                y = mx + b วา “สมการระบบของเสนตรง ที่มี
                                ความชันเทากับ 1 “ และเรียก b วา “พารามิเตอร”
                                (parameter)
2. จากสมการเสนตรง y = mx + b ถากําหนดคาจุดตัดแกน y แนนอน
        y                       เชน b = 1 เพราะฉะนัน y = mx + 1
                                                          ้
                                จะไดสมการของเสนตรงใด ๆ ที่ตัดแกน y
                           x
                                ที่ (0,1),      y = mx + 1 เปนสมการระบบของ
                                เสนตรงที่ตัดแกน y ที่ (0,1)



3. ถาให L1 : A1x + B1y + C1 = 0 , L2 : A2x + B2y + C2 = 0
เปนเสนตรงสองเสนตัดกันที่จุด (x1,y1)
พิจารณาสมการ
        k1(A1x + B1y + C1) + k2(A2x + B2y + C2) = 0 …………………………..(a)
โดยที่ k1 และ k2 จะเทากับ 0 พรอมกันทั้งสองตัวไมได
สมการ (a) เปนสมการเชิงเสน เพราะฉะนั้น สมการ (a) เปนสมการเสนตรง
เนื่องจาก (x1,y1) เปนจุดตัดของ L1 และ L2 ดังนั้น (x1,y1) ยอมสอดคลองกับ
สมการของ L1 และสมการของ L2 นั่นคือ
                          A1x1 + B1y1 + C1 = 0 ,
และ                       A2x1 + B2y1 + C2 = 0
ซึ่งทําให         k1(A1x1 + B1y1 + C1) + k2(A2x1 + B2y1 + C2) = 0

แคลคูลัส 1                                               รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
เสนตรง                                                                31

นั่นแสดงวาสมการ (a) เปนสมการของระบบเสนตรงทีผานจุดตัดของ L1 และ L2
                                              ่
         ถา k1 = 0 สมการ (a) จะเปนสมการ L2
         ถา k2 = 0 สมการ (a) จะเปนสมการ L1
ถา k1 ≠ 0 ให k = k 2     k1

                   (A1x + B1y + C1) + k(A2x + B2y + C2) = 0
จะเปนสมการของระบบเสนตรงที่ผานจุดตัดของ L1 และ L2 ยกเวนเสนตรง L2
ถา k2 ≠ 0 ให k = k 1   b
                            2

                   k(A1x + B1y + C1) + (A2x + B2y + C2) = 0
จะเปนสมการของระบบเสนตรงที่ผานจุดตัดของ L1 และ L2 ยกเวนเสนตรง L1

ตัวอยาง 1.20 จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุดตัดของเสนตรง
                        L1 : 3x – y + 3 = 0 , L2 : 2x + y – 3 = 0
และผานจุด P(3,2)
วิธีทํา แทนคา (3,2) ลงในสมการ L2
                        6+2–3 = 5 ≠ 0
 เพราะฉะนั้น P(3,2) ไมอยูบนเสนตรง L2
นั่นคือ เสนตรงที่ตองการหาไมใช เสนตรง L2
 สมการของระบบเสนตรงทีผานจุดตัดของ L1 และ L2 (ยกเวน L2 ) คือ
                          ่
               (3x – y + 3) + k(2x + y – 3) = 0 ……………..………. (1)
เนื่องจากสมการที่ตองการหาผานจุด P(3,2) เพราะฉะนั้นแทนคา (3,2) ในสมการ
จะได
                        (9 – 2 + 3) + k(6 + 2 – 3) = 0
                        k = - 10 = - 2
                                 5
แทนคา k = -2 ในสมการ (1) จะได
                         x + 3y - 9 = 0
ซึ่งเปนสมการที่ผานจุดตัดของ L1 และ L2 และผานจุด P(3,2) ตามตองการ
                 




แคลคูลัส 1                                           รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
32                                                                เสนตรง

แบบฝกหัด 1.8
          จงหาสมการของระบบของเสนตรงที่มเี งื่อนไขตอไปนี้
1. มีจุดตัดแกน y เทากับ 3
2. ผานจุด (2,3)
3. มีจุดตัดแกน x เทากับ 2
4. มีความชันเทากับ 2
5. ขนานกับเสนตรง         x - 2y + 3 = 0
6. ตั้งฉากกับเสนตรง 2x + 3y + 4 = 0
          จงหาสมการของเสนตรงตอไปนี้
7. ผานจุด (-1,2) และจุดตัดระหวางเสนตรง
          x - y + 3 = 0 , x + 3y – 2 = 0
8. มีความชันเทากับ 3 และผานจุดตัดของเสนตรง
          2x - y + 3 = 0 , x + 4y – 7 = 0
9. ขนานกับเสนตรง x - y - 3 = 0 และผานจุดตัดของเสนตรง
          x - 3y + 2 = 0 , 2x + y + 3 = 0
10. มีจุดตัดแกน y เทากับ -2 และผานจุดตัดของเสนตรง
          2x + y – 3 = 0 , x + 4y – 7 = 0




แคลคูลัส 1                                            รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2
Calculus2

Contenu connexe

En vedette

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

En vedette (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Calculus2

  • 1. แคลคูลัส 1 รองศาสตราจารยธีรวัฒน นาคะบุตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 2. คํานํา แคลคูลัส 1 เลมนี้เขียนเพื่อใชในการเรียนการสอนรายวิชา แคลคูลัส 1 ตามหลักสูตร ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เนื้อหาสวนใหญกลาวถึง เรขาคณิตวิเคราะห และแคลคูลัส ในสวนของ เสนตรง วงกลม วงรี พาราโบลา ไฮเปอรโบลา ฟงกชันตอเนื่อง การหาอนุพนธ และการประยุกตของอนุพันธ ซึ่งเหมาะกับการเรียนการสอนในหนึ่งภาคการศึกษา ั ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวา แคลคูลัส 1 เลมนี้ คงเปนประโยชนกับนักศึกษาและผูสนใจ หากมีขอเสนอแนะอันเปนประโยชนตอการปรับปรุง แคลคูลัส 1 เลมนี้ ในครั้งตอไป ผูเขียน  ขอนอมรับและขอขอบคุณลวงหนา (รองศาสตราจารยธรวัฒน นาคะบุตร) ี 20 พฤษภาคม 2549
  • 3. สารบัญ หนา บทที่ 1 เสนตรง 1 โปรเจกชัน 1 ระยะระหวางจุดสองจุด 2 การแบงสวนของเสนตรง 6 ความชันของเสนตรง 9 เสนขนานและเสนตั้งฉาก 13 สมการของเสนตรง 17 สมการของเสนตรงแบบจุดสองจุด 18 สมการของเสนตรงแบบความชันและจุดตัดแกน 18 สมการของเสนตรงแบบจุดตัดแกน 19 สมการของเสนตรงแบบนอรมัล 23 ระยะระหวางจุดและเสนตรง 27 ระบบของเสนตรง 30 บทที่ 2 วงกลม 33 บทที่ 3 ภาคตัดกรวย 39 พาราโบลา 41 วงรี 50 ไฮเปอรโบลา 61 บทที่ 4 ลิมิตของฟงกชนั 75 บทที่ 5 ความตอเนื่อง 87 บทที่ 6 การหาอนุพันธของฟงกชันพีชคณิต 97 บทที่ 7 การหาอนุพันธของฟงกชันอดิศัย 109 ฟงกชันตรีโกณ 109 ฟงกชันอินเวอรตรีโกณ 120 ฟงกชันเลขยกกําลังและฟงกชันลอการิธมิค 129 บทที่ 8 การประยุกตอนุพันธ 137 การหาคาสูงสุกและคาต่ําสุด 137 การหาคาสูงสุดสัมบูรณและคาต่ําสุดสัมบูรณ 144 การนําคาสูงสุดและคาต่ําสุดไปใช 145 บรรณานุกรม 151
  • 4. เสนตรง 1 บทที่ 1 เสนตรง (Straight Line) โปรเจกชัน (Projections) นิยาม 1.1 ให P เปนจุด และ L เปนเสนตรงบนระนาบ โปรเจกชันของจุด P บนเสนตรง L ซึ่งเขียนสัญลักษณแทนวา P’ คือจุดตัดของเสนตรง L กับเสนตรงทีลากจากจุด P ไป ่ ตั้งฉากกับเสนตรง L P L P' รูปที่ 1.1 ถาจุด P อยูบนเสนตรง L โปรเจกชันของจุด P บนเสนตรง L คือจุด P’ ตัวอยาง 1.1 (2,3) (-3,-1) รูปที่ 1.2 โปรเจกชันของจุด (2,3) บนแกน x คือ (2,0) โปรเจกชันของจุด (2,3) บนแกน y คือ (0,3) โปรเจกชันของจุด (-3,-1) บนแกน x คือ (-3,0) แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 5. 2 เสนตรง โปรเจกชันของจุด (-3,-1) บนแกน y คือ (0,-1) โปรเจกชันของจุด (x,y) บนแกน x คือ (x,0) โปรเจกชันของจุด (x,y) บนแกน y คือ (0,y) นิยาม 1.2 ให P1P2 เปนสวนของเสนตรง และ L เปนเสนตรงบนระนาบ โปรเจกชันของสวน ของเสนตรง P1P2 บนเสนตรง L คือสวนของเสนตรง P’1P’2 โดยที่ P’1 และ P’2 เปนโปรเจกชันของ P1 และ P2 บนเสนตรงตามลําดับ P2 P1 L P'2 P'1 รูปที่ 1.3 ระยะระหวางจุดสองจุด ให P1 และ P2 เปนจุดบนเสนจํานวนจริง ที่มีพิกัดเปน x1 และ x2 ตามลําดับ ระยะระหวางจุด P1 และ P2 ซึ่งเขียนแทนดวยสัญลักษณวา |P1P2| จะเทากับคาสัมบูรณของ x1 – x2 นั่นคือ |P1P2| = |x1 –x2| ให P1(x1,y1) และ P2(x2,y2) เปนจุดบนระนาบ เราจะพิจารณาระยะระหวาง P1 และ P2 ดังนี้ y y P 1 (x1 ,y 1 ) P' 1 o P 1 (x1 ,y 1 ) P 2 (x2 ,y 2 ) x P' 2 P 2 (x2 ,y 2 ) o P'1 P'2 x รูปที่ 1.4 รูปที่ 1.5 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 6. เสนตรง 3 1. ถา P1P2 ขนานกับแกน x แลว y1 = y2 โปรเจกชันของ P1 และ P2 บน แกน x คือ P’1(x1,0) และ P’2(x2,0) ตามลําดับ จากรูปที่ 1.4 จะเห็นวา P1P2 และ P’1P’2 เปนดานตรงขามของสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพราะฉะนัน |P1P2| = |P’1P’2| = |x1 – x2| ้ 2. ในทํานองเดียวกัน ถา P1P2 ขนานกับแกน y แลว x1 = x2 โปรเจกชันของ P1 และ P2 บนแกน y คือ P’1(0,y1) และ P’2(0,y2) ตามลําดับ จากรูปที่ 1.5 จะเห็นวา |P1P2| = |P’1P’2| = |y1 – y2| 3. ถา P1P2 ไมขนานกับแกน x และไมขนานกับแกน y y P 1 (x1 ,y 1 ) Q(x2 ,y 1 ) o x P 2 (x2 ,y 2 ) รูปที่ 1.6 ลากเสน P1Q และ P2Q ใหขนานกับแกน x และแกน y ตามลําดับ ตัดกันที่จุด Q ดังนั้น Q จะมีพิกดเปน (x2,y1) และ P1QP2 เปนสามเหลี่ยมที่มีมม P1QP2 เปนมุมฉาก ั ุ จากทฤษฎีบทพิธากอรัส (Pythagorean Theorem) จะไดวา | P1 P2 | = | P1 Q |2 + | P2 Q |2 = | x1 − x 2 |2 + | y1 − y 2 |2 = (x1 − x 2 ) 2 + ( y1 − y 2 ) 2 ขอสังเกต ในกรณีที่ P1P2 ขนานกับแกน x หรือแกน y สูตรขางบนนี้ก็เปนจริง ทั้งนี้เพราะวา a 2 = |a| ทฤษฎีบท 1.1 ถา P1(x1,y1) และ P2(x2,y2) เปนจุดบนระนาบ ระยะระหวางจุด P1 และ P2 คือ |P1P2| = (x1 − x 2 ) 2 + ( y1 − y 2 ) 2 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 7. 4 เสนตรง ตัวอยาง 1.2 จงหาระยะระหวางจุด P1(2,-1) และ P2(-1,3) วิธีทํา |P1P2| = ( 2 − ( −1)) 2 + ( −1 − 3) 2 = 9 + 16 = 25 = 5 ตัวอยาง 1.3 จงแสดงใหเห็นวา จุด A(-7,6) , B(3,2) และ C(5,7) เปนจุดมุมของ สามเหลี่ยมมุมฉาก และหาพืนที่ของสามเหลี่ยม ้ วิธีทํา |AB| = ( −7 − 3) 2 + ( 6 − 2 ) 2 = 116 |BC| = ( 3 − 5) 2 + ( 2 − 7 ) 2 = 29 |CA| = (5 + 7) 2 + ( 7 − 6) 2 = 145 |AB|2 + |BC|2 = |CA|2 หรือ 116 + 29 = 145 ดังนั้น ABC จะเปนสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีพื้นทีเ่ ทากับ 1 1 |AB||BC| = 116 . 29 = 29 ตารางหนวย 2 2 ตัวอยาง 1.4 จงแสดงใหเห็นวาจุด A(-2,-3) , B(2,5) และ C(4,9) เปนจุดทีอยูบน ่ เสนตรงเดียวกัน วิธีทํา |AB| = ( −2 − 2 ) 2 + ( −3 − 5) 2 = 4 5 |BC| = ( 2 − 4 ) 2 + (5 − 9) 2 = 2 5 |CA| = ( −2 − 4 ) 2 + ( −3 − 9) 2 = 6 5 |AB| + |BC| = |CA| หรือ 4 5 + 2 5 = 6 5 ดังนั้น จุดทั้งสามจะอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 8. เสนตรง 5 แบบฝกหัด 1.1 1. จงหาโปรเจกชันของจุดตอไปนี้ ก. บนแกน x ข. บนแกน y (4,2), (-3,5), (2,-4), (-3,-1), (0,2), (1,0) 2. จงหาระยะระหวางจุดแตละคูตอไปนี้ 2.1 (-7,4), (1,-4) 2.2 (2,6), (2,-2) 2.3 (5,2), (0,0) 2.4 (4,1), (3,-2) 2.5 (5,7), (1,-3) 2.6 (-1,-5), (2,-3) 3. จงหาระยะระหวาง (-2,-3) กับแกน x 4. จงใชทฤษฎีบทพิธากอรัส แสดงใหเห็นวาจุดสามจุดตอไปนี้เปนจุดมุมของ สามเหลี่ยมมุมฉาก และจงหาพื้นที่ของสามเหลี่ยม 4.1 (0,9), (-4,-1), (3,2) 4.2 (3,-2), (-2,3), (4,0) 4.3 (18,6), (-4,10), (2,-2) 4.4 (-1,-1), (1,1), (4,-2) 5. จงแสดงใหเห็นวาจุดสามจุดตอไปนี้ เปนจุดมุมของสามเหลี่ยมหนาจั่ว 5.1 (5,1), (2,4), (6,5) 5.2 (6,7), (-2,-7), (-8,-1) 5.3 (-2,2), (-1,-3), (6,1) 5.4 (2,-2), (6,6), (-2,2) 6. จงหาระยะระหวางจุดตอไปนี้ และแสดงใหเห็นวาจุดทั้งสามอยูบนเสนตรงเดียวกัน 6.1 (4,0), (-2,3), (8,-2) 6.2 (3,1), (7,3), (-3,-2) 6.3 (-1,-10), (1,-6), (3,-2) 6.4 (1,2), (4,-4), (-3,10) 7. จงหาจุดทีมีพกัดที่ 1 เปน 3 และหางจากจุด (-3,6) เปนระยะ 10 หนวย ่ ิ 8. จงพิสูจนวา จุด (x,y) อยูหางจากจุด (1,3) และ (6,9) เปนระยะทางเทากัน ก็ตอเมื่อ  (x,y) สอดคลองกับสมการ 10x + 12y = 107 9. จงหาความยาวของรัศมีของวงกลมทีมีศูนยกลางอยูที่จุด (8,6) และผานจุด (4,3) ่  10. วงกลมวงหนึ่งมีจดศูนยกลางอยูที่จุด (3,4) และมีแกน y เปนเสนสัมผัส จงหาจุดสัมผัส ุ แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 9. 6 เสนตรง การแบงสวนของเสนตรง นิยาม 1.3 ให P เปนจุดแบงสวนของเสนตรง AB ถา P อยูภายในสวนของเสนตรง AB เราจะเรียก P วาจุดแบงภายใน AB ถา P อยูภายนอกสวนของเสนตรง AB เราจะเรียก P วา จุดแบงภายนอก AB นิยาม 1.4 ให A และ B เปนจุดบนเสนจํานวนจริงที่มีพิกัดเปน x1 และ x2 ตามลําดับ ระยะทางที่มีทิศทาง (directed distance) จาก A ไปยัง B ซึ่งเขียนแทนดวย AB มีคาเทากับ x2 – x1  นั่นคือ AB = x2 – x1 และ BA = x1 – x2 = -( x2 – x1) = - AB ในทํานองเดียวกัน ถา A และ B เปนจุดบนระนาบ และถา AB เปนระยะทางที่มี ทิศทางเปนบวกจาก A ไปยัง B แลว BA จะเปนระยะทางที่มีทศทางเปนลบ ิ นั่นคือ AB = - BA ถา P เปนจุดแบงภายใน AB จะไดวา AP/PB > 0  ถา P เปนจุดแบงภายนอก AB จะไดวา AP/PB < 0 ให A(x1,y1) และ B(x2,y2) เปนจุดบนระนาบ และให P(x,y) เปนจุดแบงสวนของเสนตรง AB ออกเปนสัดสวนดังนี้ AP/PB = r ( r เรียกวาอัตราสวนของการแบง) r > 0 เมื่อ P เปนจุดแบงภายใน (รูปที่ 1.7) r < 0 เมื่อ P เปนจุดแบงภายนอก (รูปที่ 1.8) B T P y y P B T A S C A C 0 x 0 x รูปที่ 1.7 รูปที่ 1.8 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 10. เสนตรง 7 ลากเสน AC และ BC ขนานกับแกน x และแกน y ตามลําดับตัดกันที่จด C ุ ลาก PS และ PT ไปตั้งฉากกับ AC และ BC (หรือสวนตอ)ที่ S และ T ตามลําดับ ในสามเหลี่ยมคลาย ASP และ PTB จะไดวา r = AP = AS PB PT เพราะวา AS = x – x1 และ PT = x2 – x เพราะฉะนั้น r = x −−xx หรือ x = x11+ rx 2 x 1 +r 2 ในทํานองเดียวกันจากสามเหลียมคลาย ASP และ PTB จะไดวา ่ r= AP = SP PB TB เพราะวา SP = y – y1 และ TB = y2 – y เพราะฉะนัน ้ r = y −−yy หรือ y = y11+ ry 2 y 1 +r 2 x 1 + rx 2 นั่นคือ ( 1+ r , y11+ ry 2 ) เปนจุดที่แบง AB ออกเปนอัตราสวน r +r ถา P เปนจุดกึ่งกลางของ AB แลว r = 1 เพราะฉะนั้น ( x1 + x 2 , y1 + y 2 ) จะเปนจุดกึ่งกลางของ AB 2 2 ตัวอยาง 1.5 จงหาพิกัดของจุด P ที่แบง สวนของเสนตรงจากจุด A(-1,-3) ไปยังจุด B(2,6) ออกเปน ก. อัตราสวน AP = -5 2 ข. สองสวนเทา ๆ กัน PB 5 (−1) + (− )2 x 1 + rx 2 ก. x= 1+ r = 5 2 =4 1 + (− ) 2 5 (−3) + (− )6 y1 + ry 2 y= 1+ r = 5 2 = 12 1 + (− ) 2 พิกัดของจุด P คือ (4,12) ข. ถา P เปนจุดกึ่งกลางของ AB x = x1 + x 2 = −12+ 2 = 1 2 2 y1 + y 2 −3 + 6 y= 2 = 2 = 3 2 เพราะฉะนั้น จุดกึ่งกลางของ AB คือ ( 1 , 3 ) 2 2 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 11. 8 เสนตรง แบบฝกหัด 1.2 ขอ 1. ถึง ขอ 5. จงหาจุด P ที่แบงสวนของเสนตรงจากจุด A ไปยังจุด B ออกเปนสัดสวน AP = r ตามที่กําหนดให และจงหาจุด Q ที่เปนจุดกึ่งกลางของสวน PB ของเสนตรง AB ตอไปนี้ 1. A(1,-4), B(6,2), r = - 1 2 2. A(-4,3), B(1,-2), r = - 8 3 3. A(-5,2), B(1,4), r = - 5 3 4. A(7,1), B(-3,6), r = 2 3 5. A(4,-3), B(1,4), r = 2 6. ถา (9,2) เปนจุดแบงสวนของเสนตรงจากจุด A(6,8) ถึงจุด B(x,y) ออกเปนสัดสวน AP = 3 7 จงหาพิกัดของจุด B PB 7. จงหาพิกัดของจุดกึ่งกลางของดานทั้งสามของสามเหลี่ยมที่มีจุดมุมเปน (-2,1), (5,2) และ (2,-3) แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 12. เสนตรง 9 ความชันของเสนตรง (Slope of a Line) นิยาม 1.5 มุมเอียง (inclination) ของเสนตรง L ที่ไมขนานกับแกน x คือมุมบวก (วัดทวน เข็มนาฬิกา) ที่เล็กที่สุดที่วดจากแกน x ทางดานบวกไปยังเสนตรง L ถา L ขนานกับ ั แกน x ใหมมเอียงของเสนตรง L เทากับ 0 มุมเอียง α จะมีคาสอดคลองกับ ุ  0 ≤ α < 180 y L y L α α 0 x 0 x รูปที่ 1.9 รูปที่ 1.10 นิยาม 1.6 ความชัน (slope) ของเสนตรง L ซึ่งเขียนสัญลักษณแทนวา m นิยามดังนี้ m = tan α เมื่อ α เปนมุมเอียงของเสนตรง L และ α ≠ 90 ขอสังเกต 1. ความชันไมนิยามเมื่อ α = 90 นั่นคือ เสนตรงที่ขนานกับแกน y จะไมกลาวถึงความชัน (ไมนิยาม) 2. ความชันของเสนตรงที่ขนานกับแกน x มีคาเทากับ 0 ทฤษฎีบท 1.2 ถา L เปนเสนตรงที่ผานจุด A(x1,y1) และ B(x2,y2) โดยที่ x1 ≠ x2 แลว ความชันของ L = m = x1 − x 2y y − 1 2 พิสจน ให α เปนมุมเอียงของเสนตรง L ู กรณีที่ 1 ถา α = 0 แลว เสนตรง L ขนานกับแกน x ทําให y1 = y2 m = tan 0 = 0 = x − x = x1 − x 2 0 y y − 1 2 1 2 กรณีที่ 2 ถา 0 < α < 90 ถา y2 > y1 แลว x2 > x1 ดังรูปที่ 1.11 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 13. 10 เสนตรง y y A(x1 ,y 1 ) B(x2 ,y 2 ) L 0 α 0 α x x A(x1 ,y 1 ) C(x2 ,y 1 ) B(x2 ,y 2 ) C(x1 ,y 2 ) รูปที่ 1.11 รูปที่ 1.12 − ( y1 − y 2 ) y1 − y 2 m = tan α = | BC | | AC | = − (x1 − x 2 ) = x1 − x 2 ถา y1 > y2 แลว x1 > x2 ดังรูปที่ 1.12 m = tan α = || AC || = x1 − x 2 BC y y − 1 2 กรณีที่ 3 ถา 90 < α < 180 ถา y1 > y2 แลว x2 > x1 ดังรูปที่ 1.13 A(x1 ,y 1 ) B (x2 ,y 2 ) y y α α 0 β 0 β x x C(x1 ,y 2 ) B(x2 ,y 2 ) C(x2 ,y 1 ) A(x1 ,y 1 ) รูปที่ 1.13 รูปที่ 1.14 m = tan α = tan (π - β) = - tan β = - || AC || BC = - x1 − y 2 = y −x y1 − y 2 x1 − x 2 2 1 ถา y2 > y1 แลว x1 > x2 ดังรูปที่ 1.14 m = tan α = tan (π - β) = - tan β = - || AC || BC = - x1 − y 2 = y −x y1 − y 2 x1 − x 2 2 1 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 14. เสนตรง 11 ตัวอยาง 1.6 จงหาความชันและมุมเอียงของสวนของเสนตรงที่ผานจุด (4,3) และ (2,1) วิธทํา จาก ทฤษฎีบท 1.2 ให (x1,y1) = (4,3) ; (x2,y2) = (2,1) ี 3− ความชัน = m = 4 − 1 = 1 2 เพราะวา tan α = m = 1 เพราะฉะนั้น α = 45 ถาตองการลากเสนตรงผานจุด (x0,y0) และมีความชัน m = a/b นอกจากวิธีการคํานวณหาจุดอีกจุดหนึ่งบนเสนตรงเสนนี้แลว เราอาจจะลากเสนตรงนี้ไดเลยโดยพิจารณาจากความชัน ดังนี้ 1. ถา m = 0 เสนตรงนั้นขนานกับแกน x 2. ถา m > 0 แลว (a > 0 และ b > 0) หรือ (a < 0 และ b < 0) 3. ถา m < 0 แลว (a > 0 และ b < 0) หรือ (a < 0 และ b > 0) สําหรับกรณีที่ 2 และ 3 เราสามารถลากเสนตรงที่ตองการไดดังนี้ จากจุด (x0,y0) ลากเสนขนานกับแกน x ไปทางขวา (ถา b > 0 ) หรือทางซาย (ถา b < 0) |b| หนวยถึงจุด M จากจุด M ลากเสนขนานกับแกน y ขึ้นดานบน (ถา a > 0) หรือลงดานลาง (ถา a < 0) |a| หนวยถึงจุด N เสนตรงที่ผานจุด (x0,y0) และ N จะ เปนเสนตรงทีตองการ ่ ตัวอยาง 1.6 จงลากเสนตรงที่ผานจุด (3,4) และมีความชัน 1/2 วิธีทาที่ 1 ให (x,y) เปนจุดอีกจุดหนึงบนเสนตรงเสนนี้ ํ ่ จาก ทฤษฎีบท 1.2 m = x1 − x 2 y y − 1 2 y−4 1 2 = x −3 จากสมการจะเห็นวาคา (x,y) ที่สอดคลองกับสมการมีมากมาย ถาให y = 2 แทนคาในสมการ จะไดคา x = -1 เพราะฉะนัน (-1,2) จะเปนอีกจุดหนึ่งบนเสนตรงนี้ ้ ลากเสนตรงผาน (-1,2) และ (3,4) จะไดเสนตรงตามตองการ วิธทําที่ 2 จากจุด (3,4) ลากเสนตรงขนานกับแกน x ไปทางขวา 2 หนวย ถึงจุด M ี จากจุด M ลากเสนตรงขนานกับแกน y ขึ้นไปทางดานบน 1 หนวยถึงจุด N ลากเสน ตรงผานจุด (3,4) และ N จะไดเสนตรงตามตองการ แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 15. 12 เสนตรง แบบฝกหัด 1.3 จงหาความชัน และมุมเอียงของสวนของเสนตรงที่ผานจุดสองจุดที่กาหนดให ํ 1. (0,5), (-6,1) 2. (4,6), (1,3) 3. (2,4), (-2,4) 4. (2,/3), (1,0) จงลากเสนตรงผานจุด และมีความชันตามทีกําหนดให ่ 5. (-2,8), m = 3 4 6. (5,2), m = - 1 2 7. (6,-4), m = 0 8. (1,3), m = -2 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 16. เสนตรง 13 เสนขนานและเสนตั้งฉาก (Parallel and Perpedicular Lines) นิยาม 1.7 เสนตรงสองเสนบนระนาบจะขนานกัน ก็ตอเมื่อ ความชันของเสนตรงทั้ง สองเสนเทากัน สัจพจน ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีจุดรวมกันอยูหนึ่งจุดแลวเสนตรงทั้งสอง จะเปนเสนตรงเดียวกัน ตัวอยาง 1.7 กําหนดให L1 เปนเสนตรงที่ผานจุด (4,5), (1,2) L2 เปนเสนตรงที่ผานจุด (7,8), (4,5) L3 เปนเสนตรงที่ผานจุด (-4,1), (-1,4) และให m1, m2 และ m3 เปนความชันของ L1, L2 และ L3 ตามลําดับ m1 = 5 − 2 = 1 4 −1 8−5 m2 = 7−4 = 1 1− 4 m3 = − 4 −1 = 1 L1, L2 และ L3 จะขนานกัน นอกจากนั้น L1 และ L2 ยังเปนเสนตรงเสนเดียวกัน ทั้งนี้ เพราะวามีจุด (4,5) เปนจุดรวม เพราะวาแกน x ตั้งฉากกับแกน y เพราะฉะนันเสนตรงใด ๆ ที่ขนานกับแกน x ้ (มีความชันเทากับ 0 ) จะตังฉากกับเสนตรงที่ขนานกับแกน y (ไมนิยามความชัน) ้ ทฤษฎีบท 1.3 เสนตรงสองเสนไมขนานกับแกน x และไมขนานกับแกน y จะตั้งฉากซึ่งกัน และกัน ก็ตอเมื่อ ผลคูณของความชันของเสนตรงทั้งสองเทากับ -1 พิสูจน ให m1, m2 เปนความชันของเสนตรง L1 และ L2 ตามลําดับ m1 ≠ 0 และ m2 ≠ 0 ให α1 และ α2 เปนมุมเอียงของ L1 และ L2 ตามลําดับ ตอนที่ 1 ถา L1 และ L2 ตั้งฉากซึ่งกันและกันจะตองพิสูจนวา m1m2 = -1 y กรณีที่ 1 ถา m1 > 0 (ดังรูปที่ 1.15) แลว L2 L1 α2 = 90 + α1 , tan α2 = tan (90 + α1) , α2 m2 = - cot α1 = - 1/tan α1 = - 1/m1 α1 x หรือ m1m2 = -1 รูปที่ 1.15 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 17. 14 เสนตรง y กรณีที่ 2 ถา m1 < 0 (ดังรูปที่ 1.16) แลว L1 L2 α1 = 90 + α2 , tan α1 = tan (90 + α2) , m1 = - cot α2 = - 1/tan α2 = - 1/m2 α2 α1 x หรือ m1m2 = -1 รูปที่ 1.16 ตอนที่ 2 ถา m1m2 = -1 แลวจะตองพิสูจนวา L1 และ L2 ตั้งฉากซึ่งกันและกัน m1m2 = -1 เปนไปไดสองกรณี คือ กรณีท่ี 1 ถา m1 > 0 และ m2 < 0 0 < α1 < 90 และ 90 < α2 < 180 เนื่องจาก m1 = -1/m2 เพราะฉะนัน tan α1 = - 1/ tan α2 = tan (90 + α2) ้ tan (180 + α1) = tan (90 + α2) 180 < 180 + α1 < 270 , 180 < 90 + α2 < 270 180 + α1 = 90 + α2 90 + α1 = α2 นั่นคือ L1 ตั้งฉากกับ L2 กรณีที่ 2 ถา m1 < 0 และ m2 > 0 พิสูจนทํานองเดียวกับกรณีที่ 1 จะไดวา 90 + α1 = α2 L1 ตั้งฉากกับ L2 ตัวอยาง 1.8 จงแสดงใหเห็นวา จุด A(8,6), B(4,8) และ C(2,4) เปนจุดยอดของ สามเหลี่ยมมุมฉาก 6−8 วิธทํา ความชันของ AB = m1 = 8 − 4 = - 1 ี 2 8−4 ความชันของ BC = m2 = 4−2 = 2 เพราะฉะนั้น m1m2 = -1 นั่นแสดงใหเห็นวา ABC เปนสามเหลี่ยมที่มีมุม ABC เปนมุมฉาก แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 18. เสนตรง 15 นิยาม 1.8 ให L1 และ L2 เปนเสนตรงที่ไมขนานกัน และตัดกันที่จด P เรา จะเรียกมุมบวก ุ (วัดทวนเข็มนาฬิกา) ที่จุด P วัดจาก L1 ไปยัง L2 วา “มุมระหวาง L1 ไปยัง L2 ” สมมุติให L1 และ L2 เปนเสนตรงที่ไมขนานกับแกน x และไมขนานกับแกน y และไมต้งฉากซึ่งกันและกัน ใหมีความชันเทากับ m1 และ m2 มีมุมเอียงเทากับ α1 และ α2 ั ตามลําดับ ตัดกันที่จด P ุ ให θ เปนมุมระหวาง L1 ไปยัง L2 เราสามารถหาคามุม θ ไดดังนี้ กรณีท่ี 1. ถา α1 < α2 (จากรูปที่ 1.17) α2 = α1 + θ y L2 L1 หรือ θ = α2 - α1 θ tan θ = tan (α2 - α1) = 1tantan2α− tan α1 + α tan α α1 α2 2 1 m 2 − m1 x = 1 + m1 m 2 รูปที่ 1.17 กรณีท่ี 2. ถา α2 < α1 (จากรูปที่ 1.18) α1 = α2 + (π - θ) y L2 L1 หรือ π - θ = α1 - α2 θ π -θ tan (π -θ) = tan (α1 - α2) = 1tantan1α tan α 2 + α − tan α α2 α1 1 2 m1 − m 2 x = 1 + m1 m 2 รูปที่ 1.18 ตัวอยาง 1.9 จงหาขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมที่มี A(-2,1), B(3,2) และ C(1,5) เปนจุดมุม วิธีทา ให ma, mb, mc เปนความชันของ BC, CA และ AB ตามลําดับ ํ y C ma = 2 − 1 = - 3 3− 5 2 5 −1 b a mb = 1+ 2 = 4 3 1− 2 mc = −2−3 = 1 5 B A c 4 1 − mb − mc x tan A = 1 + mbmc = 3 5 41 = 17 19 1+ 35 รูปที่ 1.19 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 19. 16 เสนตรง 1 3 + mc − ma tan B = 1 + mcma = 5 2 13 = 17 7 1− 52 3 4 − − ma − mb tan C = 1 + ma mb = 2 3 34 = 17 6 1− 23 A = tan-1 17 , B = tan 19 -1 17 7 , C = tan-1 17 6 แบบฝกหัด 1.4 จุดสามจุดที่กําหนดใหตอไปนี้ ขอใดเปนจุดทีอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน  ่ (ใหแสดงโดยใชความชัน) 1. (2,3), (-4,7) และ (5,8) 2. (4,1), (5,-2) และ (6,-5) 3. (5,0), (0,5) และ (-1,6) 4. (-2,1), (2,3) และ (3,6) จงตรวจสอบดูวา เสนตรงที่ผานจุด A และ B จะตั้งฉากหรือขนานกับเสนตรงที่ ผานจุด P และ Q หรือไมเพราะเหตุใด 5. A(3,-1), B(-5,2) และ P(4,2), Q(12,-1) 6. A(4,8), B(12,8) และ P(-6,1), Q(3,1) 7. A(-5,1), B(2,-3) และ P(0,-2), Q(4,5) 8. A(0,3), B(7,-1) และ P(-5,1), Q(2,-3) จงใชความรูเรื่องความชันแสดงใหเห็นวาจุดสามจุดที่กําหนดใหตอไปนี้ เปนจุดมุมของสามเหลี่ยมมุมฉาก 9. (1,3), (5,-7) และ (6,5) 10. (4,2), (8,4) และ (2,6) 11. (1,-2), (3,2) และ (5,-4) 12. (-2,-1), (3,4) และ (4,1) 13. ใหเสนตรง L2 ทํามุม 60o กับเสนตรง L1 ถาความชันของ L1 เทากับ 1 จงหาความชันของ L2 14. จงหาความชันของเสนตรงที่ทํามุม 45o กับเสนตรงที่ลากผาน (2,-1) และ (5,3) 15. จงหาความชันของเสนตรงที่ตั้งฉากกับเสนตรงที่ผานจุด (3,-2) และ (5,3) แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 20. เสนตรง 17 สมการของเสนตรง (Equation of a Straight Line) 1. สมการของเสนตรงที่ขนานกับแกน x หรือ แกน y ให L เปนเสนตรงที่ขนานกับแกน x จะเห็นไดวาจุดตาง ๆ ที่อยูบนเสนตรง L จะมีพกัดที่ 2 เทากันหมด ถาพิกัดที่ 2 เปน b จะไดวา “จุด (x,y) ที่เปนจุดบนเสนตรง ิ  L ก็ตอเมื่อ y = b” เสนตรง L จะเปนกราฟของความสัมพันธ r ที่นิยามวา r = {(x,y) | y = b} หรือเสนตรงที่มีสมการเปน y = b ในทํานองเดียวกัน ถา L เปนเสนตรงที่ขนานกับแกน y จะเห็นวาจุดตาง ๆ ที่อยูบนเสนตรง L จะมีพกัดที่ 1 เทากันหมด ถาพิกัดที่ 1 เปน a จะไดวา “จุด (x,y) ิ ที่เปนจุบนเสนตรง L ก็ตอเมื่อ x = a ” เพราะฉะนันเสนตรง L จะเปนกราฟของความสัมพันธ r ที่นิยามวา r = {(x,y) | ้ x = a} หรือเสนตรงที่มีสมการเปน x = a สมการของเสนตรงแบบจุดและความชัน (The Point-Slope Equation) ถาให L เปนเสนตรงที่ผานจุด (x1,y1) และมีความชัน = m ให (x,y) เปนจุดใด ๆ บนเสนตรง L จากนิยามความชันไดวา ความชันของ L = x − x1 แตกําหนดใหความชันของ L เทากับ m y y − 1 y − y1 ดังนั้น m= x − x1 นั่นคือ y – y1 = m(x – x1) เปนสมการเสนตรงที่ผานจุด (x1,y1) และมีความชันเทากับ m ทฤษฎีบท 1.4 จะมีเพียงเสนตรงเดียวเทานั้นที่มีความชัน m และผานจุด (x1,y1) และจะมีสมการเปน y – y1 = m(x – x1) ตัวอยาง 1.10 จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (-2,3) และมีความชันเทากับ -4/5 วิธทํา ี y – y1 = m(x – x1) สมการเสนตรงเสนนี้ คือ y – 3 = (x + 2) 5y – 15 = -4x – 8 4x + 5y – 7 = 0 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 21. 18 เสนตรง สมการของเสนตรงแบบจุดสองจุด (The Two-Point Equation) ถาให L เปนเสนตรงที่ผานจุด P1(x1,y1) และ P2(x2,y2) ถา x1 ≠ x2 เพราะฉะนั้นความชันของ P1P2 เทากับ x1 − x 2 ซึ่งจะเทากับความชันของเสนตรง L y y − 1 2 แทนคาในสมการเสนตรงแบบจุดและความชัน จะได y – y1 = x1 − x 2 (x – x1) y y − 1 2 ถา x1 = x2 แลว เสนตรง L จะขนานกับแกน y เสนตรง L จะมีสมการเปน x = x1 ทฤษฎีบท 1.5 ถา L เปนเสนตรงที่ผานจุด (x1,y1) และ (x2,y2) ที่ x1 ≠ x2 แลว L จะมีสมการเปน y – y1 = x1 − x 2 (x – x1) y y − 1 2 ตัวอยาง 1.11 จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (4,1) และ (-2,2) วิธีทํา y – y1 = x1 − x 2 (x - x1) y y − 1 2 เพราะฉะนั้น สมการเสนตรงที่ตองการ คือ y – 1 = 1 − 2 (x -4) , x + 6y – 10 = 0 4+2 สมการของเสนตรงแบบความชันและจุดตัดแกน (The Slope-Intercept Equation) นิยาม 1.9 จุดตัดแกน x (x-intercept) ของกราฟ คือ พิกัดที่ 1 ของจุดที่กราฟนันตัดกับแกน x ้ จุดตัดแกน y (y-intercept) ของ กราฟ คือ พิกัดที่ 2 ของจุดที่กราฟนั้นตัดกับแกน y วิธการหาจุดตัดแกน x ทําไดโดยการให y = 0 ในสมการแลวแกสมการหาคา x ี ทํานองเดียวกัน การหาจุดตัดแกน y ทําไดโดยการให x = 0 ในสมการแลว แกสมการหาคา y เชน สมการ 2x + 7y – 6 = 0 ให y = 0 เพราะฉะนัน x = 3 ้ นั่นคือ จุดตัดแกน x ของกราฟ คือ 3 สมมุติให L เปนเสนตรงที่มีความชันเทากับ m และมีจุดตัดแกน y เทากับ b จากรูป 1.20 แสดงวา L จะตองผานจุด (0,b) แทนคาความชันเทากับ m และ (x1,y1) = (0,b) ในสมการจะได y – b = m(x – 0) นั่นคือ y = mx + b แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 22. เสนตรง 19 y (0,b) b slope = m x รูปที่ 1.20 ทฤษฎีบท 1.6 สมการของเสนตรงที่มีความชัน m และจุดตัดแกน y เปน b คือ y = mx + b ถาเสนตรง L ผานจุดกําเนิด นั่นคือมีจุดตัดแกน y ที่ 0 (เพราะวา b = 0) เพราะฉะนั้นสมการเสนตรงที่ผานจุดกําเนิดที่ไมใชแกน y คือ y = mx ตัวอยาง 1.12 จงหาสมการเสนตรงที่มีความชันเทากับ -3/4 และมีจดตัดแกน y เทากับ 2 ุ วิธีทํา y = mx + b แทนคา ความชัน และจุดตัดแกน y จะได y = -3/4 x + 2 4y = -3x + 8 3x + 4y -8 = 0 จะเปนสมการเสนตรงที่ตองการ สมการของเสนตรงแบบจุดตัดแกน (The Intercept Equation) ให L เปนเสนตรงที่มีจุดตัดแกน x เทากับ a และจุดตัดแกน y เทากับ b ; a ≠ 0 และ b ≠ 0 แสดงวา L เปนเสนตรงทีผานจุด (a,0) และ (0,b) ่ ความชันของเสนตรง L คือ m = 0 − b = - b a−0 a สมการของเสนตรง L คือ y = - b x+b a ay = - bx + ab x y + a b = 1 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 23. 20 เสนตรง ทฤษฎีบท 1.7 สมการของเสนตรงที่มี จุดตัดแกน x และจุดตัดแกน y เทากับ a และ b ตามลําดับ คือ x y + a b = 1 เมื่อ a ≠ 0, b ≠ 0 ตัวอยาง 1.13 จงหาสมการเสนตรงที่มีจุดตัดแกน x เทากับ 2 และจุดตัดแกน y เทากับ 3 วิธีทา ํ x y + a b =1 x y + 2 3 =1 3x + 2y – 6 = 0 เปนสมการที่ตองการ นิยาม 1.10 สมการเชิงเสน (Linear Equation) คือสมการที่อยูในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เปนจํานวนจริง ที่ A และ B จะเทากับ 0 พรอมกันทั้งสองตัวไมได ทฤษฎีบท 1.8 โลกัสของสมการเชิงเสนคือเสนตรง พิสูจน จากสมการเชิงเสน Ax + By + C = 0 ถา B = 0 แลว A ≠ 0 หารทั้งสองขางของสมการดวย A สมการจะเปน x = - C A ซึ่งเปนสมการเสนตรงที่ขนานกับแกน y ถา B ≠ 0 แลว หารทั้งสองขางของสมการดวย B สมการจะเปน y = - Ax - C B B ซึ่งเปนสมการเสนตรงแบบความชันและจุดตัดแกน เมื่อ A C m=- และ b = - B B ตัวอยาง 1.14 จงหาความชัน จุดตัดแกน x จุดตัดแกน y ของสมการเสนตรง x + 2y = 1 วิธีทํา จัดสมการเสนตรงที่กําหนดให ใหอยูในรูปมาตรฐานของสมการเชิงเสน จะได x + 2y – 1 = 0 A = 1, B = 2 แ ละ C = -1 นั่นคือ m = - 1 2 และ b = 1 2 หาจุดตัดแกน x โดยการแทนคา y = 0 จะได x = 1 เพราะฉะนั้น ความชันเทากับ - 1 , จุดตัดแกน x เทากับ 1, จุดตัดแกน y เทากับ 2 1 2 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 24. เสนตรง 21 แบบฝกหัด 1.5 ขอ 1. ถึงขอ 17. จงเขียนสมการเสนตรงตามเงื่อนไขทีกาหนดใหตอไปนี้ ่ํ 1. ขนานกับแกน x และผานจุด (2,-4) 2. ขนานกับแกน x และผานจุด (-1,-3) 3. ขนานกับแกน y และผานจุด (3,2) 4. ขนานกับแกน y และผานจุด (-2,3) 5. ผานจุด (2,-3) และมีความชัน -3/2 6. ผานจุด (4,2) และมีความชัน 3 7. ผานจุด (4,-2) และจุด (2,3) 8. ผานจุด (-7,-2) และจุด (6,5) 9. มีความชัน -2/5 และมีจดตัดแกน y เทากับ -3 ุ 10. มีความชัน 1/3 และมีจุดตัดแกน y เทากับ 2 11. มีจุดตัดแกน x เทากับ -3 และจุดตัดแกน y เทากับ 2 12. มีจุดตัดแกน x เทากับ 4 และจุดตัดแกน y เทากับ -1 13. มีจุดตัดแกน x เทากับ 3 และผานจุด (0,-5) 14. มีจุดตัดแกน y เทากับ -4 และผานจุด (-1,1) 15. ผานจุด (2,1) และขนานกับเสนตรง 2x – 3y + 6 = 0 16. ผานจุด (1,-2) และตั้งฉากกับเสนตรง y = 2x - 4 17. ผานจุด (2,3) และตั้งฉากกับเสนตรง 3x + 2y – 7 = 0 ขอ 18. ถึงขอ 27. จงหาความชัน จุดตัดแกน x จุดตัดแกน y ของสมการ เสนตรงตอไปนี้ 18. 3x + y – 1 = 0 19. 4x + 3y + 1 = 0 20. x + y = 5 21. 3x – 4y = 10 22. 2x – y + 6 = 0 23. x – 2y – 8 = 0 24. 2x + 3y – 11 = 0 25. 4x + 11y + 6 = 0 26. y = -7 27. x = 2 28. จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุดตัดกันของเสนตรง 7x + 9y + 3 = 0 และ 2x – 5y + 16 = 0 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 25. 22 เสนตรง และผานจุด (7,-3) 29. จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (7,0) และตั้งฉากกับเสนตรงที่ผานจุด (-5,3) และ (8,-1) 30. จงหาคา k ของสมการเสนตรงตอไปนี้ เมื่อสอดคลองกับเงื่อนไขที่กาหนดให ํ 30.1 3kx + 5y + k – 2 = 0 เมื่อผานจุด (2,-3) 30.2 4x – ky – 7 = 0 เมื่อมีความชันเทากับ 2 30.3 kx – y = 3k - 6 เมื่อมีจุดตัดแกน x เทากับ 5 31. จงแสดงใหเห็นวา ถาเสนตรง Ax + By + C = 0 และ A’x + B’y + C’ = 0 ขนานกันจะไดวา A' = B' และ ถาตั้งฉากกันจะไดวา AA’ + BB’ = 0 A B  แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 26. เสนตรง 23 สมการของเสนตรงแบบนอรมัล (Normal Equation of a Straight Line) นิยาม 1.11 เสนนอรมัล (normal line) ของเสนตรง L คือเสนตรงที่ผานจุดกําเนิดและตั้งฉาก กับ L นิยาม 1.12 สวนตัดของนอรมัล (normal intercept) ของเสนตรง L หมายถึง สวนของเสนนอรมัล จากจุดกําเนิดถึงเสนตรง L ให p เปนความยาวของสวนตัดของนอรมัล และเรากําหนดเครื่องหมายของ p ดังนี้ p ≥ 0 เมื่อ จุดตัดของเสนนอรมัลกับเสนตรง L อยูบนแกน x หรือ เหนือแกน x P < 0 เมื่อ จุดตัอของเสนนอรมัลกับเสนตรง L อยูใตแกน x y L θ C ( x1 ,y 1 ) x p p L θ x y รูปที่ 1.21 p ≥ 0 รูปที่ 1.22 p < 0 ให L เปนเสนตรงบนระนาบ N เปนเสนนอรมัลตัดกับ L ที่ C(x1,y1) ความยาวของสวนตัด OC = p ให เปนมุมเอียงของเสนนอรมัล θ จะมีคาสอดคลองกับอสมการ θ 0 ≤ θ < 180 ถากําหนดความยาวของสวนตัดของนอรมัล p และมุมเอียง θ ของเสนตรง L มาให เราสามารถลากเสนตรง L ได และสามารถเขียนสมการของเสนตรง L ในแบบนอรมัล ไดดังนี้ x1 = p cos θ , y1 = p sin θ ความชัน L= - 1 = - 1 =- cos θ tan θ sin θ ความชันของ N แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 27. 24 เสนตรง จากสมการเสนตรงแบบจุดและความชัน เราสามารถเขียนสมการเสนตรง L ดังนี้ y – y1 = m(x – x1) θ y – p sin θ = - cos θ (x – p cos θ) sin หรือ x cos θ + y sin θ - p = 0 นิยาม 1.13 เราจะเรียกสมการของเสนตรงที่เขียนอยูในรูปตอไปนี้วา “สมการของเสนตรงแบบ   นอรมัล” x cos θ + y sin θ - p = 0 เมื่อ p เปนความยาวของสวนตัดของนอรมัลของเสนตรง และ θ เปนมุมเอียงของ เสนนอรมัลของเสนตรง ทฤษฎีบท 1.9 ให Ax + By + C = 0 เปนสมการรูปทั่วไปของเสนตรง L ถาเราหารตลอดสมการรูปทั่วไปดวย h = ± A 2 + B2 โดยเลือกเครื่องหมายของ h เหมือนกับเครื่องหมายของ B ในกรณีที่ B ≠ 0 หรือเลือกเครื่องหมายของ h เหมือนกับ เครื่องหมายของ A ในกรณีที่ B = 0 แลวผลลัพธที่ไดจะเปนสมการของ L แบบนอรมล ั พิสูจน กรณีท่ี 1 ถา A ≠ 0 และ B ≠ 0 แลว ความชันของเสนตรง L คือ - A B เพราะฉะนันความชันของเสนนอรมลของ L คือ ้ ั B A นั่นคือ tan θ = B A sin θ = B h cos θ = A h เพราะวา 0o < θ < 180o เพราะฉะนั้น sin θ > 0 ดังนั้น เครื่องหมายของ h จะตองเหมือนกับเครื่องหมายของ B เพราะวา h ≠ 0 เอา h หารตลอดสมการรูปทั่วไปจะได x cos θ + y sin θ – p = 0 เมื่อ p = - C h กรณีที่ 2 ถา A = 0 แลว B ≠ 0 และสมการรูปทั่วไปของ L จะเปน By + C = 0 C หรือ y=- B นั่นคือเสนตรง L ขนานกับแกน x เพราะฉะนั้นเสนนอรมัลของเสนตรง L จะตั้งฉากกับ แกน x จะไดวา θ = 90o และ cos θ = 0, sin θ = 1 h = ± A 2 + B2 = ± B2 = ± B แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 28. เสนตรง 25 ถาเลือกเครื่องหมายของ h เหมือนกับเครื่องหมายของ B เพราะฉะนั้น h = B เอา h หารทั้งสองขางของสมการรูปทั่วไปจะได B h y+ C = 0 h y+ C B =0 x cos θ + y sin θ – p = 0 เมื่อ p =- C h =- C B กรณีที่ 3 ถา B = 0 แลว A ≠ 0 และสมการรูปทั่วไปของ L จะเปน Ax + C = 0 หรือ x= - A C นั่นคือ เสนตรง L ตั้งฉากกับแกน x เพราะฉะนั้นเสนนอรมัลของเสนตรง L จะขนาน กับแกน x จะไดวา θ = 0 และ cos θ = 1, sin θ = 0 h = ± A 2 + B2 = ± A 2 = ± A ถาเลือกเครื่องหมายของ h เหมือนกับเครื่องหมายของ A เพราะฉะนั้น h = A เอา h หารทั้งสองขางของสมการรูปทั่วไปจะได A h x+ C = 0 h x+ C h =0 x cos θ + y sin θ – p = 0 เมื่อ p=- C h = - C A ตัวอยาง 1.15 จงหาสมการเสนตรง L เมื่อ p = 1 และ θ = 45 วิธีทา ํ x cos θ + y sin θ – p = 0 แทนคา p และ θ จะได x cos 45 + y sin 45 – 1 = 0 x + y -1 = 0 2 2 หรือ x+y- 2 =0 ตัวอยาง 1.16 จงแปลงสมการ 3 x + y + 10 = 0 ใหอยูในรูปแบบนอรมัล และหาคา p  และ θ วิธีทํา จากสมการ A = 3 , B = 1 h = 3 +1 = 2 (เพราะวา เครืองหมาย B เปนบวก) ่ จาก ทฤษฎีบท 1.9 สมการแบบนอรมัลของเสนตรงเสนนี้ คือ 2 3 x+ 1 2 y+5 =0 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 29. 26 เสนตรง นั่นคือ cos θ = 2 3 , sin θ = 1 2 เพราะฉะนัน ้ θ = 30 และ p = -5 แบบฝกหัด 1.6 1. จงสรางสมการของเสนตรง L ตามคา p และ θ ที่กําหนดใหตอไปนี้ 1.1 p = 5, θ = 30 1.2 p = 6, θ = 120 1.3 p = -4, θ = 60 1.4 p = -5, θ = 135 2. จงแปลงสมการตอไปนี้ ใหอยูในแบบนอรมัล และหาคา p และ θ  2.1 3x+y–9 = 0 2.2 3x – 4y -6 = 0 2.3 x+y+8 = 0 2.4 12x – 5y = 0 2.5 4y – 7 = 0 2.6 x+5 = 0 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 30. เสนตรง 27 ระยะระหวางจุดและเสนตรง (Distance Between a Point and a Line) ให L เปนเสนตรงบนระนาบ และ P(x1,y1) เปนจุดที่อยูหางจาก L เทากับ d ให L1 เปนเสนตรงที่ขนานกับ L และผานจุด P(x1,y1) y ถาสมการของ L แบบนอรมัลเปน x cos θ + y sin θ – p = 0 d P(x1 ,y 1 ) และถา P(x1,y1) และจุดกําเนิดอยูคนละขาง ของเสนตรง L แลว สมการของ L1 แบบ p นอรมัลจะเปน x cos θ + y sin θ – (p + d) = 0 L L1 x รูปที่ 1.23 เนื่องจาก P(x1,y1) อยูบนเสนตรง L1 พิกัดของจุด P ยอมสอดคลองกับสมการของ L1 นั่นคือ x1 cos θ + y1 sin θ – (p + d) = 0 หรือ d = x1 cos θ + y1 sin θ – p ถา P(x1,y1) และจุดกําเนินอยูขางเดียวกันของเสนตรง L แลว สมการของ L1  แบบนอรมลจะเปน ั x cos θ + y sin θ – (p + d) = 0 และเพราะวาจุด P สอดคลองกับสมการของ L1 ดังนั้น x1cos θ + y1sin θ - (p – d) = 0 d = -(x1cos θ + y1sin θ - p) d = |x1cos θ + y1sin θ - p| นั่นคือ ถา Ax + By + C = 0 เปนสมการรูปทั่วไปของเสนตรง L ระยะจากจุด P(x1,y1) ถึงเสนตรง L คือ d = | Ax1 +2By1 + C | A +B 2 ทฤษฎีบท 1.10 ระยะระหวางจุด P(x1,y1) และเสนตรง L ที่มีสมการเปน Ax + By + C = 0 มีคาเทากับ d = | Ax1 +2By1 + C | A +B 2 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 31. 28 เสนตรง ตัวอยาง 1.17 จงหาระยะระหวาง (3,2) และเสนตรง L ที่มีสมการเปน 4x + 3y – 10 = 0 วิธีทํา จากทฤษฎีบท 1.10 ระยะระหวางจุด (3,2) และเสนตรง L เทากับ d = | Ax1 +2By1 + C | = | 4 × 3 + 3 × 2 + 10 | = 8 A +B2 16 + 9 5 ตัวอยาง 1.18 จงหาระยะระหวางเสนขนาน L1 : x + 2y + 4 = 0 และ L2 : 2x + 4y – 2 = 0 วิธีทา กอนอืนตองหาจุดบนเสนตรงเสนใดเสนหนึ่งใหไดกอนแลวจึงหาระยะระหวางจุดนั้นกับ ํ ่ เสนตรงอีกเสนหนึ่ง จะเปนระยะหางตามตองการ จาก L1 ให x = 0 เพราะฉะนัน y = -2 ้ นั่นคือ จุด (0,-2) อยูบนเสนตรง L1 หาระยะระหวางจุด (0,-2) กับเสนตรง L2 จะได ดังนี้ d = | 2 × 0 + 4 × (−2) − 2 | = 10 = 5 4 + 16 20 ตัวอยาง 1.19 จงหาสมการเสนตรงแบงครึ่งมุม ซึ่งเกิดจากเสนตรงสองเสนตอไปนี้ ตัดกัน L1 : x + 3y - 5 = 0 และ L2 : 3x + y + 2 = 0 วิธทํา ให P(x,y) เปนจุดบนเสนแบงครึ่งมุมที่เกิดจาก L1 ตัด L2 ี y ให d1 เปนระยะหางจาก P ถึง L1 d2 เปนระยะหางจาก P ถึง L2 x เพราะฉะนั้น d1 = d2 d2 L1 นั่นคือ | x + 3y − 5 | = | 3x + y + 2 | P(x,y) 1+ 9 9 +1 d1 จะไดวา x + 3y - 5 = ± (3x + y + 2) L2 จะไดสมการเสนตรงที่แบงครึ่งมุม คือ 2x – 2y + 7 = 0 หรือ 4x + 4y – 3 = 0 รูปที่ 1.24 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 32. เสนตรง 29 แบบฝกหัด 1.7 1. จงหาระยะระหวางจุดและเสนตรงที่กําหนดใหตอไปนี้ 1.1 (2,-3), 8x + 15y – 24 = 0 1.2 (-1,7), 6x – 8y + 5 = 0 1.3 (4,3), 3x – 4y + 8 = 0 1.4 (-1,3), 5x – 12y – 25 = 0 2. จงหาระยะหางระหวางเสนขนานสองเสนตอไปนี้ 2.1 3x – 4y + 8 = 0, 6x – 8y – 15 = 0 2.2 5x + 12y – 5 = 0, 10x + 24y + 5 = 0 2.3 x + y – 15 = 0, 3x + 3y + 2 = 0 2.4 3x + 4y – 7 = 0, 3x + 4y + 3 = 0 3. จงหาสมการเสนแบงครึ่งมุม ซึ่งเกิดจากการตัดกันของเสนตรงสองเสนที่กาหนดให ํ 3.1 3x – 4y – 7 = 0, 5x + 12y + 1 = 0 3.2 4x – 3y + 2 = 0, 4x + 2y + 1 = 0 3.3 x + 2y + 3 = 0, 2x + y + 2 = 0 4. จงหาจุดทีอยูบนแกน x และอยูหางจากเสนตรง 2x + y + 2 = 0 เทากับ 3 หนวย ่   5. จงหาสมการของเสนตรงที่ขนานกับเสนตรง x + 2y – 1 = 0 และอยูหางจากเสนตรงเสนที่ สองนี้ 2 หนวย 6. จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุด (2,-4) และหางจากจุดกําเนิดเทากับ 3 หนวย (แนะนํา ใช y = mx + c) แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 33. 30 เสนตรง ระบบของเสนตรง (System of Lines) ระบบของเสนตรง หมายถึงกลุมของเสนตรงที่มีเงื่อนไขบางอยางรวมกัน เชน มีความชันเทากัน ผานจุดเดียวกัน เปนตน 1. จากสมการเสนตรงแบบความชันและจุดตัดแกน เพราะวา y = mx + b ถากําหนดคาความชันแนนอน เชน m = 1 y y = mx + b จะเปนสมการของเสนตรงใด ๆ ที่มีความชันเทากับ x 1 ถากําหนดคา b หนึ่งคา จะไดสมการเสนตรง ที่มีความชันเทากับ 1 หนึ่งสมการ เราเรียกสมการ y = mx + b วา “สมการระบบของเสนตรง ที่มี ความชันเทากับ 1 “ และเรียก b วา “พารามิเตอร” (parameter) 2. จากสมการเสนตรง y = mx + b ถากําหนดคาจุดตัดแกน y แนนอน y เชน b = 1 เพราะฉะนัน y = mx + 1 ้ จะไดสมการของเสนตรงใด ๆ ที่ตัดแกน y x ที่ (0,1), y = mx + 1 เปนสมการระบบของ เสนตรงที่ตัดแกน y ที่ (0,1) 3. ถาให L1 : A1x + B1y + C1 = 0 , L2 : A2x + B2y + C2 = 0 เปนเสนตรงสองเสนตัดกันที่จุด (x1,y1) พิจารณาสมการ k1(A1x + B1y + C1) + k2(A2x + B2y + C2) = 0 …………………………..(a) โดยที่ k1 และ k2 จะเทากับ 0 พรอมกันทั้งสองตัวไมได สมการ (a) เปนสมการเชิงเสน เพราะฉะนั้น สมการ (a) เปนสมการเสนตรง เนื่องจาก (x1,y1) เปนจุดตัดของ L1 และ L2 ดังนั้น (x1,y1) ยอมสอดคลองกับ สมการของ L1 และสมการของ L2 นั่นคือ A1x1 + B1y1 + C1 = 0 , และ A2x1 + B2y1 + C2 = 0 ซึ่งทําให k1(A1x1 + B1y1 + C1) + k2(A2x1 + B2y1 + C2) = 0 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 34. เสนตรง 31 นั่นแสดงวาสมการ (a) เปนสมการของระบบเสนตรงทีผานจุดตัดของ L1 และ L2 ่ ถา k1 = 0 สมการ (a) จะเปนสมการ L2 ถา k2 = 0 สมการ (a) จะเปนสมการ L1 ถา k1 ≠ 0 ให k = k 2 k1 (A1x + B1y + C1) + k(A2x + B2y + C2) = 0 จะเปนสมการของระบบเสนตรงที่ผานจุดตัดของ L1 และ L2 ยกเวนเสนตรง L2 ถา k2 ≠ 0 ให k = k 1 b 2 k(A1x + B1y + C1) + (A2x + B2y + C2) = 0 จะเปนสมการของระบบเสนตรงที่ผานจุดตัดของ L1 และ L2 ยกเวนเสนตรง L1 ตัวอยาง 1.20 จงหาสมการเสนตรงที่ผานจุดตัดของเสนตรง L1 : 3x – y + 3 = 0 , L2 : 2x + y – 3 = 0 และผานจุด P(3,2) วิธีทํา แทนคา (3,2) ลงในสมการ L2 6+2–3 = 5 ≠ 0 เพราะฉะนั้น P(3,2) ไมอยูบนเสนตรง L2 นั่นคือ เสนตรงที่ตองการหาไมใช เสนตรง L2 สมการของระบบเสนตรงทีผานจุดตัดของ L1 และ L2 (ยกเวน L2 ) คือ ่ (3x – y + 3) + k(2x + y – 3) = 0 ……………..………. (1) เนื่องจากสมการที่ตองการหาผานจุด P(3,2) เพราะฉะนั้นแทนคา (3,2) ในสมการ จะได (9 – 2 + 3) + k(6 + 2 – 3) = 0 k = - 10 = - 2 5 แทนคา k = -2 ในสมการ (1) จะได x + 3y - 9 = 0 ซึ่งเปนสมการที่ผานจุดตัดของ L1 และ L2 และผานจุด P(3,2) ตามตองการ  แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร
  • 35. 32 เสนตรง แบบฝกหัด 1.8 จงหาสมการของระบบของเสนตรงที่มเี งื่อนไขตอไปนี้ 1. มีจุดตัดแกน y เทากับ 3 2. ผานจุด (2,3) 3. มีจุดตัดแกน x เทากับ 2 4. มีความชันเทากับ 2 5. ขนานกับเสนตรง x - 2y + 3 = 0 6. ตั้งฉากกับเสนตรง 2x + 3y + 4 = 0 จงหาสมการของเสนตรงตอไปนี้ 7. ผานจุด (-1,2) และจุดตัดระหวางเสนตรง x - y + 3 = 0 , x + 3y – 2 = 0 8. มีความชันเทากับ 3 และผานจุดตัดของเสนตรง 2x - y + 3 = 0 , x + 4y – 7 = 0 9. ขนานกับเสนตรง x - y - 3 = 0 และผานจุดตัดของเสนตรง x - 3y + 2 = 0 , 2x + y + 3 = 0 10. มีจุดตัดแกน y เทากับ -2 และผานจุดตัดของเสนตรง 2x + y – 3 = 0 , x + 4y – 7 = 0 แคลคูลัส 1 รศ.ธีรวัฒน นาคะบุตร