SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
สมาชิกกลุ่ม


• 1. นางสาวกมลวรรณ ลาภประกอบกิจ 523050229-6
     • 2. นางสาวมณีนุช กิจเธาว์ 523050247-4
SDLC คืออะไร

• SDLC (System development Life Cycle :
SDLC) หรือ วัฏจักรการพัฒนาระบบงาน คือขั้นตอนหรือ
กระบวนการในการพัฒนาระบบงาน ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในการ
ทํางาน และจุดสิ้นสุดของการปฏิบัติงาน
• ในการพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์กรจะต้องมีการวิเคราะห์กระบวนการทํางานของ
    องค์กร เรียกว่า System development Life Cycle (SDLC) การพัฒนา
    ระบบในองค์กรเป็นหน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบที่จะต้องทําการติดต่อกับหน่วยงานที่
    ต้องการพัฒนาระบบสารสนเทศ ว่าการทํางานมีองค์ประกอบอะไรบ้าง เช่นขนาดของ
    องค์กร รายละเอียดการทํางาน ถ้าเป็นบริษัทขนาดใหญ่นักวิเคราะห์จะต้องเข้าใจให้
    ชัดเจนเกี่ยวกับมาตรฐานการทํางาน กระบวนการทํางาน
SDLC คืออะไร
ภายในวงจรนั้นจะแบ่งกระบวนการพัฒนาออกเป็นกลุ่มงานหลัก ๆ
  ดังนี้
• ด้านการวางแผน (Planning Phase)
• ด้านการวิเคราะห์ (Analysis Phase)
• ด้านการออกแบบ (Design Phase)
• ด้านการสร้างและพัฒนา (Implementation Phase)
รูปแบบของวงจรการพัฒนาระบบ : SDLC ในรูปแบบ Waterfall


                                   SDLC แบบ Waterfall มี
                                   หลักการเหมือน้ําตก ซึงไหลจากที่สูง
                                                           ้
                                   ลงที่ต่ํา ในการพัฒนาระบบงานด้วย
                                   หลักการนี้ เมื่อทําขั้นตอนหนึงแล้วจะ
                                                                ่
                                   ไม่สามารถย้อนกลับมาที่ขั้นตอน
                                   ก่อนหน้าได้อีก ดังนั้น การพัฒนา
                                   ระบบด้วยหลักการนี้ จําเป็นต้องมี
                                   การวางแผนที่ดี เพื่อให้สามารถ
                                   ป้องกันการผิดพลาดได้มากที่สุด ซึ่ง
                                   ทําได้ยากมาก ยกเว้นระบบงานนั้นมี
                                   รูปแบบการพัฒนาที่ดี และตายตัว
รูปแบบของวงจรการพัฒนาระบบ : SDLC ในรูปแบบ Spiral

                        SDLC แบบ Spiral มีลักษณะเป็นวงจรวิเคราะห์ -
                        ออกแบบ – พัฒนา – ทดสอบ (Analysis – Design
                        – Implementation – Testing ) และจะวน
                        กลับมาในแนวทางเดิม เช่นนี้เรื่อยไป จนกระทังได้
                                                                    ่
                        Product ที่สมบูรณ์ การพัฒนาระบบงานด้วย SDLC
                        ใน รูปแบบนี้มีความยืดหยุ่นมากที่สุด เนื่องจากการทํางาน
                        ใน 1 วงรอบ ไม่จําเป็นต้องได้ Product ที่แน่นอน และ
                        การทํา Analysis, Design, Implementation
                        และ Testing ในแต่ละวงรอบนั้นจะสั้นหรือยาวเท่าใดก็
                        ได้ และถ้าหากไม่มีความจําเป็นใด ๆ บางขั้นตอนอาจจะ
                        ถูกข้ามไปก็ได้ “
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Tools) คืออะไร

• เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Tools) คือ ซอฟต์แวร์ที่ชวยสร้างหรือวาด
                                                          ่
  แบบจําลองชนิดต่าง ๆ ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจําลอง ช่วยสร้างรายงาน
  และแบบฟอร์ม รวมทังช่วยสร้างโค้ดโปรแกรมให้อัตโนมัติ โดยมีตวอย่าง ดังนี้
                        ้                                   ั
Project Management Application

                  Project Management
                            เป็นซอฟท์แวร์ประเภท Web
                  application เป็นซอฟท์แวร์ที่เกี่ยวข้อง
                  กับการบริหารจัดการโครงการซึ่งภายในมี
                  Module ของลูกค้าสัมพันธ์
                  (CRM) การจัดซื้อ (Purchasing)
                  การจัดการตารางงานและกําหนดเวลา
                  (Task & Scheduling) การแจ้ง
                  เตือน (Warning) และฟังก์ชันอื่นๆอีก
                  มากในระบบ
Word Processor/Text Editor
•เวิร์ดโพรเซสเซอร์ (Word Processor)
            เป็นโปรแกรมประมวลผลคําทีทํางานด้านการ
                                        ่
พิมพ์เอกสาร การสร้างตาราง การจัดหน้าเอกสาร การจัด
คอลัมน์ การจัดรูปแบบอักษร สามารถใส่ภาพกราฟิก หรือ
แผนภูมิ ลงในเอกสาร โปรแกรมที่นิยมใช้ได้แก่ โปรแกรม
ไมโครซอฟต์เวิร์ด
• เท็กซ์อิดิเตอร์ (Text Editor)
            เป็นโปรแกรมประมวลผลคําขนาดเล็ก ใช้
สําหรับการพิมพ์และแก้ไขเอกสาร คําสั่งต่าง ๆ ซึ่งมี
รูปแบบการใช้งาน เช่น ลักษณะตัวหนา ตัวเอียง ขนาด
ตัวอักษรไม่มาก แต่สามารถพิมพ์ข้อความในเอกสาร เก็บ
บันทึก สั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ได้ เท็กซ์อิดิเตอร์ที่
นิยมใช้ ได้แก่ โปรแกรม WordPad , Notepad
Computer-Aided System Engineering (CASE) Tools


                            CASE (Computer-Aided
                            Software Engineering)
                            คือ      การนาเอาแบบแผนหรือวิธีการ
                            ทางด้านคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการ
                            จัดระเบียบและควบคุมการพัฒนา
                            ซอฟแวร์โดยเฉพาะซอฟแวร์ที่มีขนาด
                            ใหญ่และความซับซ้อนสูงที่ต้องมี
                            ส่วนประกอบของซอฟแวร์และคน
                            พัฒนาจานวนมากๆ
Integrated Development Environment (IDE)


IDE ย่อมาจาก integrated
development environment
IDE คือ องค์ประกอบหรือตัวช่วยต่างๆ
ที่จะคอยช่วยเหลือ developer หรือ
ช่วยเหลือคนที่พัฒนา Application
ต่างๆนั่นเอง เพื่อเสริมให้เกิดความ
รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยํา ตรวจสอบระบบ
ที่จัดทําได้ทั้งเชิงลึกหรือตื้น ทําให้การ
พัฒนางานต่างๆของเรานั้นเร็วมากขึ้น
ตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ SSADM, RAD และ OOD&D

                            ข้อดี                                  ข้อเสีย
SSADM   •สามารถรวบรวมความต้องการจากผู้ใช้ได้เป็น         •จะใช้เวลานานมากในขันตอน้
        ระยะเวลานานก่อนที่จะเริ่มเขียนโปรแกรม            การวิเคราะห์และออกแบบ
        •การเปลี่ยนแปลงความต้องการมีน้อย                 ระบบ
        เนื่องจากก่อนที่จะถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรม      •การออกแบบต่าง ๆ จะร่างลง
        ข้อมูลต่าง ๆ ที่วิเคราะห์มานั้นจะต้องได้รับการ   บนกระดาษ ซึ่งผูใช้หรือเจ้าของ
                                                                           ้
        อนุมัติเห็นชอบจากเจ้าของระบบก่อน จึงจะ           ระบบไม่สามารถทดลองใช้งาน
        สามารถเข้าสู่ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้           ได้
        •ข้อมูลทุกอย่างที่วิเคราะห์และออกแบบมานั้น       •อาจจะไม่ทราบถึงปัญหาที่
        จะต้องตรงตามความต้องการของผู้ใช้และ              เกิดขึ้น ส่งผลให้อาจเกิดปัญหา
        เจ้าของระบบมากที่สุดนั่นเอง                      ในระหว่างขันตอนการเขียน
                                                                      ้
                                                         โปรแกรมได้
ตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ SSADM, RAD และ
                        OOD&D
                          ข้อดี                                 ข้อเสีย
RAD    •มีการนําเทคนิค และเครื่องมือชนิดต่าง ๆ เข้า   •มีการเปลี่ยนแปลงความ
       มาสนับสนุนการพัฒนาระบบ ให้สามารถ               ต้องการของผู้ใช้อยู่ตลอดเวลา
       ดําเนินการในขั้นตอนต่างๆ ทําให้สามารถช่วยให้   เนื่องจากผู้ใช้ได้ทดลองใช้
       พัฒนาระบบได้สําเร็จลุล่วงโดยใช้เวลาน้อย        โปรแกรมต้นแบบทีสามารถ
                                                                          ่
       ที่สุด อีกทั้งผู้ใช้ระบบยังสามารถทดลองใช้      สร้างและแก้ไขได้ง่ายนั่นเอง
       โปรแกรมต้นแบบเพื่อบอกนักวิเคราะห์ระบบได้ว่า    •ใช้งบประมาณมาก
       ระบบที่ออกแบบมานั้นถูกต้องหรือไม่ และมี
       ข้อผิดพลาดใดเกิดขึนบ้าง้
ตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ SSADM, RAD และ
                         OOD&D
                               ข้อดี                                     ข้อเสีย

OOD&D •บํารุงรักษาง่ายเพราะว่าแต่ละ object แยก            •อ้างอิงถึง Object ใดๆเดี่ยวๆ
            ออกมาเด่นชัด                                  ไม่ได้ ต้องรู้จัก Super class ทุก
                                                          ตัวด้วย ไม่เช่นนั้นคุณสมบัติจะมาไม่
            •นําไปใช้ใหม่ได้ง่าย เนื่องจาก Object มีการ   หมด
            กําหนดคุณสมบัติ และ ข้อมูลชัดเจน              •การที่Sub class ถูก Inherit
            •สามารถออกแบบ Object ให้นําไปใช้ได้ใน         จาก Super class ในทางปฏิบัติ
            หลายกรณี และก็เรียกใช้เฉพาะ Object ได้        บางกรณีอาจจะเกิดเห?ตุการณ์
            ง่าย                                          Sub class ไป Inherit จาก 2
                                                          super class กลายเป็น
            •สะท้อนความเป็นจริงได้ดีกว่าการออกแบบใน
                                                          ความสัมพันธ์แบบ N : N เรียกว่า
            ลักษณะทั่วๆไปที่เราออกแบบกัน                  เป็น Multiple Inheritance
                                                          กรณีถ้าเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้นแล้วทั้ง 2
แบบจาลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) คืออะไร

• แบบจําลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) คือตัวแบบที่ช่วยใน
  การนําเสนอข้อมูลต่าง ๆ ของระบบ เพื่อจะนําข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ใน
  การแก้ไขปัญหา ตัวแบบนี้อาจจะเป็นโปรแกรม ที่มีความสามารถใน
  การใช้สูตรคํานวณทางคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ค้นหา
  คําตอบ หรือจําลองให้เห็นภาพของข้อมูล เพื่อนําไปใช้แก้ปัญหา
ตัวอย่างแบบจาลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model)

                                    Flow Chart คือ
                            แผนภาพแสดงลําดับขั้นตอน
                            การทํางาน เป็นเครื่องมือที่ใช้
                            ในการวางแผนขั้นแรกมา
                            หลายปี โดยใช้สัญลักษณ์ตาง   ่
                            ๆ ในการเขียนผังงาน เพื่อช่วย
                            ลําดับแนวความคิดในการ
                            เขียนโปรแกรม
ตัวอย่างแบบจาลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model)

                               Data Flow Diagram (DFD)
                               แผนภาพกระแสข้อมูลที่มี
                               การวิเคราะห์แบบในเชิง
                               โครงสร้าง (Structure) ซึ่ง
                               เป็นแผนภาพที่บอกถึง
                               รายละเอียดของระบบ
                               โดยเฉพาะข้อมูล และผัง
                               การไหลของข้อมูล
ตัวอย่างแบบจาลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model)

                       Entity Relationship Diagram (ERD)
                                   - เป็นแผนภาพที่ทําหน้าที่จําลอง
                       ข้อมูลที่มความสัมพันธ์กัน
                                 ี
                                   - เป็นการออกแบบฐานข้อมูลใน
                       ระดับ Conceptual
                                   - เป็นแบบจําลองข้อมูลที่แสดงถึง
                       โครงสร้างฐานข้อมูลที่เป็นอิสระจาก
                       Software ที่จะใช้พัฒนาฐานข้อมูล (ไม่ขึ้นกับ
                       Software)ทําให้บคลากรเข้าใจในระบบ
                                          ุ
                       ฐานข้อมูลได้ง่าย
ตัวอย่างแบบจาลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model)

Structure Chart เป็นเครื่องมือที่
อธิบายถึงการแบ่งการทํางานของ
ระบบออกเป็นส่วนย่อย หรือโมดูล
โดยแสดงโมดูลเป็นลําดับขั้นตาม
การเรียกใช้ข้อมูล พร้อมทังแสดงถึง
                            ้
ความสัมพันธ์ระหว่างโมดูล การ
อ่านและเรียกใช้โมดูล เริมจากบน
                          ่
ลงล่าง และจากซ้ายไปขวา
UML คืออะไร

UML (Unified Modeling Language)
• เป็นภาษาแผนภาพที่ใช้แสดงการทํางานของระบบงาน ในการวิเคราะห์
  และออกแบบระบบเชิงวัตถุ (Object Oriented Analysis
  and Design) ซึ่งภาษาแผนภาพที่ใช้แสดงนั้นมีหลายแบบด้วยกัน
  ได้แก่ Use Case Diagram, Class Diagram,
  Sequence Diagram และ Activity Diagram
CASE TOOL คืออะไร

CASE TOOL
• คือซอฟแวร์ที่จะอํานวยความสะดวกในการพัฒนาซอฟแวร์
  (Computer-Aided Systems Engineering -CASE)
  เป็นเทคนิควิธีที่ใช้ในโปรแกรมที่มีความสามารถสูงเป็นเครื่องมือ เรียก
  ย่อๆ ว่า เคสทูล (CASE Tools)โดยอาศัยหลักการของ CASE
  นั่นเอง เพื่อช่วยนักวิเคราห์ระบบพัฒนาระบบและบํารุงรักษาระบบ
  สารสนเทศ โดยมองเห็นกรอบของการพัฒนาระบบทั้งหมด
Upper-CASE และ Lower-CASE

 Upper-CASE
เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทํางานในขันตอนต้น ๆ ของการ
                                          ้
พัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการวางแผน
 Lower-CASE
          เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทํางานในขั้นตอนสุดท้ายในการพัฒนาระบบ ได้แก่
 ขั้นตอนการออกแบบ ขั้นตอนการพัฒนาและทดสอบระบบ และขั้นตอนการให้บริการหลังการ
 ติดตั้งระบบ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ Upper-CASE และ Lower-CASE

• Rational Rose : ใช้สําหรับ
  วาด UML Design for OO(ObjectOriented) และ
  generate code
• Visible Analyst: ใช้สําหรับวาด Context
  Diagram และ Data flow diagram
• Visual Studio : ทําออกแบบและสร้าง web
• Paradigm Plus
จากที่ศึกษา CASE มาท่านจะเลือกใช้ Tool โปรแกรมใดที่จะช่วยพัฒนาระบบ เพราะเหตุใด


  เลือกใช้
  เครื่องมือตรวจคุณภาพของแบบจําลอง Quality Management
     Tools เพราะ ช่วยให้การสร้างแบบจําลอง เอกสาร และตัวต้นแบบต่างๆ ที่
     ถูกสร้างขึ้นมีคุณภาพ โดยมีการตรวจสอบความถูกต้องและความสอดคล้อง
     กันได้
  เครื่องมือช่วยออกแบบ Design Generation Tools เพราะเป็น
     เครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบของระบบอย่างคร่าว ๆ ก่อนในเบื้องต้น โดย
     วิเคราะห์ถงความต้องการของผู้ใช้ที่รวบรวมมาแล้ว
                 ึ
  เครื่องมือช่วยทดสอบ Test management tools ช่วยให้สามารถ
     ทดสอบโปรแกรมได้เร็วยิ่งขึ้น
อ้างอิง
•   http://www.no-poor.com/dssandos/Chapter3-dss.htm
•   http://reg.ksu.ac.th/teacher/lawan/Lesson3.htm
•   http://www.prosoft.co.th/index.php?Itemid=4726&id=3360&option=com
    _content&task=view
•   http://web.nkc.kku.ac.th/322372/.../alone/.../What%20is%20CASE%20too
    l.doc

Contenu connexe

Tendances

05 entity relationship model
05 entity relationship model05 entity relationship model
05 entity relationship modelOpas Kaewtai
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalizationskiats
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelthanakornmaimai
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงานpop Jaturong
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App InventorSomchart Phaeumnart
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์Khunakon Thanatee
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพRapeepan Thawornwanchai
 

Tendances (20)

05 entity relationship model
05 entity relationship model05 entity relationship model
05 entity relationship model
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalization
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 

En vedette

การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์karmpu
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์Watinee Poksup
 
ภารกิจที่ 4
ภารกิจที่ 4ภารกิจที่ 4
ภารกิจที่ 4pichayanee
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designtumetr
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมdraught
 
อไจล์คืออัลไล Agile Introduction @Mahidol ICT
อไจล์คืออัลไล Agile Introduction @Mahidol ICTอไจล์คืออัลไล Agile Introduction @Mahidol ICT
อไจล์คืออัลไล Agile Introduction @Mahidol ICTKulawat Wongsaroj
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
Kanban @ Agile Thailand 2012
Kanban @ Agile Thailand 2012Kanban @ Agile Thailand 2012
Kanban @ Agile Thailand 2012Kulawat Wongsaroj
 

En vedette (20)

การพัฒนา Software
การพัฒนา Softwareการพัฒนา Software
การพัฒนา Software
 
SDLC
SDLCSDLC
SDLC
 
Tools
ToolsTools
Tools
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Sa33
Sa33Sa33
Sa33
 
Dropbox
DropboxDropbox
Dropbox
 
ภารกิจที่ 4
ภารกิจที่ 4ภารกิจที่ 4
ภารกิจที่ 4
 
Task004
Task004Task004
Task004
 
การพัฒนา Software
การพัฒนา Softwareการพัฒนา Software
การพัฒนา Software
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
Agile Software Development
Agile Software DevelopmentAgile Software Development
Agile Software Development
 
Sw evo 2_model
Sw evo 2_modelSw evo 2_model
Sw evo 2_model
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
Agile Process
Agile ProcessAgile Process
Agile Process
 
Agile modeling
Agile modelingAgile modeling
Agile modeling
 
อไจล์คืออัลไล Agile Introduction @Mahidol ICT
อไจล์คืออัลไล Agile Introduction @Mahidol ICTอไจล์คืออัลไล Agile Introduction @Mahidol ICT
อไจล์คืออัลไล Agile Introduction @Mahidol ICT
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
Kanban @ Agile Thailand 2012
Kanban @ Agile Thailand 2012Kanban @ Agile Thailand 2012
Kanban @ Agile Thailand 2012
 

Similaire à System Development Life Cycle (20)

Software
SoftwareSoftware
Software
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Soft were
Soft wereSoft were
Soft were
 
Act
ActAct
Act
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Activity 4
Activity 4Activity 4
Activity 4
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
228-8 /231-9
228-8 /231-9228-8 /231-9
228-8 /231-9
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
com
comcom
com
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 

System Development Life Cycle

  • 1.
  • 2. สมาชิกกลุ่ม • 1. นางสาวกมลวรรณ ลาภประกอบกิจ 523050229-6 • 2. นางสาวมณีนุช กิจเธาว์ 523050247-4
  • 3. SDLC คืออะไร • SDLC (System development Life Cycle : SDLC) หรือ วัฏจักรการพัฒนาระบบงาน คือขั้นตอนหรือ กระบวนการในการพัฒนาระบบงาน ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในการ ทํางาน และจุดสิ้นสุดของการปฏิบัติงาน • ในการพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์กรจะต้องมีการวิเคราะห์กระบวนการทํางานของ องค์กร เรียกว่า System development Life Cycle (SDLC) การพัฒนา ระบบในองค์กรเป็นหน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบที่จะต้องทําการติดต่อกับหน่วยงานที่ ต้องการพัฒนาระบบสารสนเทศ ว่าการทํางานมีองค์ประกอบอะไรบ้าง เช่นขนาดของ องค์กร รายละเอียดการทํางาน ถ้าเป็นบริษัทขนาดใหญ่นักวิเคราะห์จะต้องเข้าใจให้ ชัดเจนเกี่ยวกับมาตรฐานการทํางาน กระบวนการทํางาน
  • 4. SDLC คืออะไร ภายในวงจรนั้นจะแบ่งกระบวนการพัฒนาออกเป็นกลุ่มงานหลัก ๆ ดังนี้ • ด้านการวางแผน (Planning Phase) • ด้านการวิเคราะห์ (Analysis Phase) • ด้านการออกแบบ (Design Phase) • ด้านการสร้างและพัฒนา (Implementation Phase)
  • 5. รูปแบบของวงจรการพัฒนาระบบ : SDLC ในรูปแบบ Waterfall SDLC แบบ Waterfall มี หลักการเหมือน้ําตก ซึงไหลจากที่สูง ้ ลงที่ต่ํา ในการพัฒนาระบบงานด้วย หลักการนี้ เมื่อทําขั้นตอนหนึงแล้วจะ ่ ไม่สามารถย้อนกลับมาที่ขั้นตอน ก่อนหน้าได้อีก ดังนั้น การพัฒนา ระบบด้วยหลักการนี้ จําเป็นต้องมี การวางแผนที่ดี เพื่อให้สามารถ ป้องกันการผิดพลาดได้มากที่สุด ซึ่ง ทําได้ยากมาก ยกเว้นระบบงานนั้นมี รูปแบบการพัฒนาที่ดี และตายตัว
  • 6. รูปแบบของวงจรการพัฒนาระบบ : SDLC ในรูปแบบ Spiral SDLC แบบ Spiral มีลักษณะเป็นวงจรวิเคราะห์ - ออกแบบ – พัฒนา – ทดสอบ (Analysis – Design – Implementation – Testing ) และจะวน กลับมาในแนวทางเดิม เช่นนี้เรื่อยไป จนกระทังได้ ่ Product ที่สมบูรณ์ การพัฒนาระบบงานด้วย SDLC ใน รูปแบบนี้มีความยืดหยุ่นมากที่สุด เนื่องจากการทํางาน ใน 1 วงรอบ ไม่จําเป็นต้องได้ Product ที่แน่นอน และ การทํา Analysis, Design, Implementation และ Testing ในแต่ละวงรอบนั้นจะสั้นหรือยาวเท่าใดก็ ได้ และถ้าหากไม่มีความจําเป็นใด ๆ บางขั้นตอนอาจจะ ถูกข้ามไปก็ได้ “
  • 7. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Tools) คืออะไร • เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Tools) คือ ซอฟต์แวร์ที่ชวยสร้างหรือวาด ่ แบบจําลองชนิดต่าง ๆ ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจําลอง ช่วยสร้างรายงาน และแบบฟอร์ม รวมทังช่วยสร้างโค้ดโปรแกรมให้อัตโนมัติ โดยมีตวอย่าง ดังนี้ ้ ั
  • 8. Project Management Application Project Management เป็นซอฟท์แวร์ประเภท Web application เป็นซอฟท์แวร์ที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการโครงการซึ่งภายในมี Module ของลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) การจัดซื้อ (Purchasing) การจัดการตารางงานและกําหนดเวลา (Task & Scheduling) การแจ้ง เตือน (Warning) และฟังก์ชันอื่นๆอีก มากในระบบ
  • 9. Word Processor/Text Editor •เวิร์ดโพรเซสเซอร์ (Word Processor) เป็นโปรแกรมประมวลผลคําทีทํางานด้านการ ่ พิมพ์เอกสาร การสร้างตาราง การจัดหน้าเอกสาร การจัด คอลัมน์ การจัดรูปแบบอักษร สามารถใส่ภาพกราฟิก หรือ แผนภูมิ ลงในเอกสาร โปรแกรมที่นิยมใช้ได้แก่ โปรแกรม ไมโครซอฟต์เวิร์ด • เท็กซ์อิดิเตอร์ (Text Editor) เป็นโปรแกรมประมวลผลคําขนาดเล็ก ใช้ สําหรับการพิมพ์และแก้ไขเอกสาร คําสั่งต่าง ๆ ซึ่งมี รูปแบบการใช้งาน เช่น ลักษณะตัวหนา ตัวเอียง ขนาด ตัวอักษรไม่มาก แต่สามารถพิมพ์ข้อความในเอกสาร เก็บ บันทึก สั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ได้ เท็กซ์อิดิเตอร์ที่ นิยมใช้ ได้แก่ โปรแกรม WordPad , Notepad
  • 10. Computer-Aided System Engineering (CASE) Tools CASE (Computer-Aided Software Engineering) คือ การนาเอาแบบแผนหรือวิธีการ ทางด้านคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการ จัดระเบียบและควบคุมการพัฒนา ซอฟแวร์โดยเฉพาะซอฟแวร์ที่มีขนาด ใหญ่และความซับซ้อนสูงที่ต้องมี ส่วนประกอบของซอฟแวร์และคน พัฒนาจานวนมากๆ
  • 11. Integrated Development Environment (IDE) IDE ย่อมาจาก integrated development environment IDE คือ องค์ประกอบหรือตัวช่วยต่างๆ ที่จะคอยช่วยเหลือ developer หรือ ช่วยเหลือคนที่พัฒนา Application ต่างๆนั่นเอง เพื่อเสริมให้เกิดความ รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยํา ตรวจสอบระบบ ที่จัดทําได้ทั้งเชิงลึกหรือตื้น ทําให้การ พัฒนางานต่างๆของเรานั้นเร็วมากขึ้น
  • 12. ตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ SSADM, RAD และ OOD&D ข้อดี ข้อเสีย SSADM •สามารถรวบรวมความต้องการจากผู้ใช้ได้เป็น •จะใช้เวลานานมากในขันตอน้ ระยะเวลานานก่อนที่จะเริ่มเขียนโปรแกรม การวิเคราะห์และออกแบบ •การเปลี่ยนแปลงความต้องการมีน้อย ระบบ เนื่องจากก่อนที่จะถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรม •การออกแบบต่าง ๆ จะร่างลง ข้อมูลต่าง ๆ ที่วิเคราะห์มานั้นจะต้องได้รับการ บนกระดาษ ซึ่งผูใช้หรือเจ้าของ ้ อนุมัติเห็นชอบจากเจ้าของระบบก่อน จึงจะ ระบบไม่สามารถทดลองใช้งาน สามารถเข้าสู่ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้ ได้ •ข้อมูลทุกอย่างที่วิเคราะห์และออกแบบมานั้น •อาจจะไม่ทราบถึงปัญหาที่ จะต้องตรงตามความต้องการของผู้ใช้และ เกิดขึ้น ส่งผลให้อาจเกิดปัญหา เจ้าของระบบมากที่สุดนั่นเอง ในระหว่างขันตอนการเขียน ้ โปรแกรมได้
  • 13. ตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ SSADM, RAD และ OOD&D ข้อดี ข้อเสีย RAD •มีการนําเทคนิค และเครื่องมือชนิดต่าง ๆ เข้า •มีการเปลี่ยนแปลงความ มาสนับสนุนการพัฒนาระบบ ให้สามารถ ต้องการของผู้ใช้อยู่ตลอดเวลา ดําเนินการในขั้นตอนต่างๆ ทําให้สามารถช่วยให้ เนื่องจากผู้ใช้ได้ทดลองใช้ พัฒนาระบบได้สําเร็จลุล่วงโดยใช้เวลาน้อย โปรแกรมต้นแบบทีสามารถ ่ ที่สุด อีกทั้งผู้ใช้ระบบยังสามารถทดลองใช้ สร้างและแก้ไขได้ง่ายนั่นเอง โปรแกรมต้นแบบเพื่อบอกนักวิเคราะห์ระบบได้ว่า •ใช้งบประมาณมาก ระบบที่ออกแบบมานั้นถูกต้องหรือไม่ และมี ข้อผิดพลาดใดเกิดขึนบ้าง้
  • 14. ตารางเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของ SSADM, RAD และ OOD&D ข้อดี ข้อเสีย OOD&D •บํารุงรักษาง่ายเพราะว่าแต่ละ object แยก •อ้างอิงถึง Object ใดๆเดี่ยวๆ ออกมาเด่นชัด ไม่ได้ ต้องรู้จัก Super class ทุก ตัวด้วย ไม่เช่นนั้นคุณสมบัติจะมาไม่ •นําไปใช้ใหม่ได้ง่าย เนื่องจาก Object มีการ หมด กําหนดคุณสมบัติ และ ข้อมูลชัดเจน •การที่Sub class ถูก Inherit •สามารถออกแบบ Object ให้นําไปใช้ได้ใน จาก Super class ในทางปฏิบัติ หลายกรณี และก็เรียกใช้เฉพาะ Object ได้ บางกรณีอาจจะเกิดเห?ตุการณ์ ง่าย Sub class ไป Inherit จาก 2 super class กลายเป็น •สะท้อนความเป็นจริงได้ดีกว่าการออกแบบใน ความสัมพันธ์แบบ N : N เรียกว่า ลักษณะทั่วๆไปที่เราออกแบบกัน เป็น Multiple Inheritance กรณีถ้าเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้นแล้วทั้ง 2
  • 15. แบบจาลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) คืออะไร • แบบจําลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) คือตัวแบบที่ช่วยใน การนําเสนอข้อมูลต่าง ๆ ของระบบ เพื่อจะนําข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ใน การแก้ไขปัญหา ตัวแบบนี้อาจจะเป็นโปรแกรม ที่มีความสามารถใน การใช้สูตรคํานวณทางคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ค้นหา คําตอบ หรือจําลองให้เห็นภาพของข้อมูล เพื่อนําไปใช้แก้ปัญหา
  • 16. ตัวอย่างแบบจาลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) Flow Chart คือ แผนภาพแสดงลําดับขั้นตอน การทํางาน เป็นเครื่องมือที่ใช้ ในการวางแผนขั้นแรกมา หลายปี โดยใช้สัญลักษณ์ตาง ่ ๆ ในการเขียนผังงาน เพื่อช่วย ลําดับแนวความคิดในการ เขียนโปรแกรม
  • 17. ตัวอย่างแบบจาลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) Data Flow Diagram (DFD) แผนภาพกระแสข้อมูลที่มี การวิเคราะห์แบบในเชิง โครงสร้าง (Structure) ซึ่ง เป็นแผนภาพที่บอกถึง รายละเอียดของระบบ โดยเฉพาะข้อมูล และผัง การไหลของข้อมูล
  • 18. ตัวอย่างแบบจาลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) Entity Relationship Diagram (ERD) - เป็นแผนภาพที่ทําหน้าที่จําลอง ข้อมูลที่มความสัมพันธ์กัน ี - เป็นการออกแบบฐานข้อมูลใน ระดับ Conceptual - เป็นแบบจําลองข้อมูลที่แสดงถึง โครงสร้างฐานข้อมูลที่เป็นอิสระจาก Software ที่จะใช้พัฒนาฐานข้อมูล (ไม่ขึ้นกับ Software)ทําให้บคลากรเข้าใจในระบบ ุ ฐานข้อมูลได้ง่าย
  • 19. ตัวอย่างแบบจาลองที่ใช้ในการพัฒนาระบบ (Model) Structure Chart เป็นเครื่องมือที่ อธิบายถึงการแบ่งการทํางานของ ระบบออกเป็นส่วนย่อย หรือโมดูล โดยแสดงโมดูลเป็นลําดับขั้นตาม การเรียกใช้ข้อมูล พร้อมทังแสดงถึง ้ ความสัมพันธ์ระหว่างโมดูล การ อ่านและเรียกใช้โมดูล เริมจากบน ่ ลงล่าง และจากซ้ายไปขวา
  • 20. UML คืออะไร UML (Unified Modeling Language) • เป็นภาษาแผนภาพที่ใช้แสดงการทํางานของระบบงาน ในการวิเคราะห์ และออกแบบระบบเชิงวัตถุ (Object Oriented Analysis and Design) ซึ่งภาษาแผนภาพที่ใช้แสดงนั้นมีหลายแบบด้วยกัน ได้แก่ Use Case Diagram, Class Diagram, Sequence Diagram และ Activity Diagram
  • 21. CASE TOOL คืออะไร CASE TOOL • คือซอฟแวร์ที่จะอํานวยความสะดวกในการพัฒนาซอฟแวร์ (Computer-Aided Systems Engineering -CASE) เป็นเทคนิควิธีที่ใช้ในโปรแกรมที่มีความสามารถสูงเป็นเครื่องมือ เรียก ย่อๆ ว่า เคสทูล (CASE Tools)โดยอาศัยหลักการของ CASE นั่นเอง เพื่อช่วยนักวิเคราห์ระบบพัฒนาระบบและบํารุงรักษาระบบ สารสนเทศ โดยมองเห็นกรอบของการพัฒนาระบบทั้งหมด
  • 22. Upper-CASE และ Lower-CASE  Upper-CASE เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทํางานในขันตอนต้น ๆ ของการ ้ พัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการวางแผน  Lower-CASE เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการทํางานในขั้นตอนสุดท้ายในการพัฒนาระบบ ได้แก่ ขั้นตอนการออกแบบ ขั้นตอนการพัฒนาและทดสอบระบบ และขั้นตอนการให้บริการหลังการ ติดตั้งระบบ
  • 23. ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือของ Upper-CASE และ Lower-CASE • Rational Rose : ใช้สําหรับ วาด UML Design for OO(ObjectOriented) และ generate code • Visible Analyst: ใช้สําหรับวาด Context Diagram และ Data flow diagram • Visual Studio : ทําออกแบบและสร้าง web • Paradigm Plus
  • 24. จากที่ศึกษา CASE มาท่านจะเลือกใช้ Tool โปรแกรมใดที่จะช่วยพัฒนาระบบ เพราะเหตุใด เลือกใช้ เครื่องมือตรวจคุณภาพของแบบจําลอง Quality Management Tools เพราะ ช่วยให้การสร้างแบบจําลอง เอกสาร และตัวต้นแบบต่างๆ ที่ ถูกสร้างขึ้นมีคุณภาพ โดยมีการตรวจสอบความถูกต้องและความสอดคล้อง กันได้ เครื่องมือช่วยออกแบบ Design Generation Tools เพราะเป็น เครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบของระบบอย่างคร่าว ๆ ก่อนในเบื้องต้น โดย วิเคราะห์ถงความต้องการของผู้ใช้ที่รวบรวมมาแล้ว ึ เครื่องมือช่วยทดสอบ Test management tools ช่วยให้สามารถ ทดสอบโปรแกรมได้เร็วยิ่งขึ้น
  • 25. อ้างอิง • http://www.no-poor.com/dssandos/Chapter3-dss.htm • http://reg.ksu.ac.th/teacher/lawan/Lesson3.htm • http://www.prosoft.co.th/index.php?Itemid=4726&id=3360&option=com _content&task=view • http://web.nkc.kku.ac.th/322372/.../alone/.../What%20is%20CASE%20too l.doc