SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
อาหารว่างไทย ความหมายและความส าคัญของอาหารว่าง อาหารว่าง หมายถึง อาหารระหว่างมื้อ
เป็นอาหารประเภทเบาๆ มีปริมาณอาหารน้อยกว่า อาหาร ประจ้ามื้ออาจจะเป็นอาหารน้ ้าหรืออาหารแห้ง
มีทั้งคาวและหวาน หรือเป็นอาหารชิ้นเล็กๆ ขนาดพอค้า หยิบ รับประทานได้ง่าย
จัดให้สวยงามน่ารับประทานเป็นทั้งอาหารไทยและอาหารนานาชาติ หรือรับประทานควบคู่ กับเครื่องดื่มร้อน
หรือน้ ้าผลไม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ประวัติความเป็นมา 1. อาหารว่างไทยสมัยโบราณ
อาหารว่างไทยมีมานานตั้งแต่สมัยโบราณ แม่บ้านสมัยก่อนใช้เวลาว่างในการท้าอาหารว่างเก็บไว้ โดย
ใช้วัสดุที่เหลือจากอาหารมื้อหลักให้เป็นประโยชน์ และใช้วัสดุที่มีมากในฤดูกาลมาประกอบเป็นอาหารว่าง เช่น
ข้าวตังหน้าตั้ง เมี่ยงลาว เมี่ยงส้ม ข้าวตู ข้าวตอกตั้ง ข้าวเม่าหมี่ ขนมจีบ ปั้นสิบทอด เป็นต้น เมื่อมีการต้อนรับ
แขกก็จะน้าอาหารออกมาเลี้ยงแขก พร้อมกับเสิร์ฟน้ ้าผลไม้หรือน้ ้าเย็นลอยดอกมะลิ
ต่อมามีการพบปะติดต่อกับคนต่างชาติ รับเอาวัฒนธรรมของชาติต่างๆ เข้ามา จีนเป็นชนชาติที่ใกล้ชิด กับไทยมาก
วัฒนธรรมของจีนนิยมดื่มชา ชงดื่มร้อนๆ ตลอดวัน ใช้ดื่มเองและเลี้ยงแขกด้วย เสิร์ฟพร้อมขนม หวาน
อาหารว่างที่เป็นของขนมจีน ได้แก่ ขนมงาตัด ถั่วตัด ขนมเปี๊ยะ ขนมโก๋อ่อน ฟักเชื่อม อาหารว่างที่เป็นของ คาว ได้แก่
ซาลาเปา ขนมกุยช่าย ขนมจีบ เป็นต้น 2. อาหารว่างไทยสมัยปัจจุบัน ในปัจจุบันอาหารว่าง
มีความจ้าเป็นโดยเฉพาะคนที่ต้องเดินทางไกลระหว่างบ้านกับที่ท้างาน รวมทั้ง เด็กๆ ที่ต้องไปโรงเรียน
จึงควรต้องรับประทานอาหารระหว่างมื้อ อาหารว่างควรเป็นอาหารที่ย่อยง่าย ท้าง่าย รับประทานแล้วไม่อิ่มจนเกินไป
และสะดวกที่จะรับประทาน ไม่ยุ่งยากในเรื่องของภาชนะและการจัดเสิร์ฟ ควร เป็นอาหารที่เป็นชิ้นเป็นค้า หรือถ้วยเล็กๆ
ซึ่งรับประทานได้สะดวก แต่ต้องค้านึงด้วยว่าอาหารว่าง ควรจะ ประกอบด้วยอาหารหลายอย่าง เช่น แป้ ง ไข่ น้ ้าตาล นม
ผัก ผลไม้ เพื่อให้ได้คุณค่าอาหารครบ เครื่องดื่มจะเป็น ร้อนหรือเย็นก็ได้ แล้วแต่โอกาสและสถานที่
เอกสารสรุปจากโครงการการจัดการองค์ความรู้ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2557 เวลา 9.00-
16.00 น. ณ ห้อง 19-1401 คณะวิทยาศาสตร์ ประเภทของอาหารว่าง อาหารว่างแบบไทยและนานาชาติ ดังนี้1.
อาหารว่างไทย (คาวหวาน) อาหารว่างที่คนไทยรับประทานมีมากมายหลายชนิด ทั้งชนิดน้ ้าและชนิด แห้ง
ของว่างชนิดน้ ้าไม่นิยมเลี้ยงในตอนบ่าย นิยมอาหารว่างชนิดแห้งเป็นส่วนใหญ่ เช่น ปั้นสิบนึ่งไส้ ต่างๆ กระทงทอง
ขนมเบื้องกรอบ สาคูไส้หมูเมี่ยงลาว ของหวาน เช่น ขนมสอดไส้ ขนมลืมกลืน ตะโก้ เป็นต้น 2. อาหารว่างจีน (คาวหวาน)
ก็มีมากเช่นเดียวกัน มีทั้งของว่างชนิดน้ ้า เช่น โจ๊ก ก๋วยเตี๋ยว เกี๊ยวน้ ้า เป็น ต้น
ส่วนอาหารว่างชนิดแห้งมักจะเป็นของทอดหรือนึ่ง เช่น ขนมจีบ ปั้นสิบนึ่ง ขนมเปี๊ยะ เปาะเปี๊ยะสด ซาลาเปา เป็นต้น 3.
อาหารว่างสากล นิยมกันมากในการจัดเลี้ยงงานใหญ่ๆ เพื่อรับรองแขก เพราะจัดได้สวยและน่า รับประทาน
อาหารที่รับประทานอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความต้องการ ซึ่งแล้วแต่จะจัดขึ้น อาหารว่างสากลที่นิยม
จัดรับประทานมีดังนี้ชา กาแฟ แซนด์วิช เค้กต่างๆ เยลลี่ผลไม้ไอศกรีม 4.
อาหารว่างแบบประยุกต์ในการประกอบอาหารว่างนั้นเราไม่จ้าเป็นจะต้องท้าอยู่แต่อย่างเดียวเสมอ ไป
ผู้ประกอบการอาหารจ้าเป็นต้องดัดแปลง ให้เหมาะสมกับสมัยและความนิยมการน้าอาหารแบบต่างๆ มา ประยุกต์ก็คือ
การน้าอาหารว่างไทย จีน ฝรั่ง มาจัดผสมรวมกันในการเลี้ยงรับรองแขก เพื่อให้อาหารมีรสแตกต่าง กันออกไป
และมีความสวยงามอีกด้วย ชนิดของอาหารว่าง อาหารว่างแบ่งตามรสชาติได้ 2 ชนิด คือ 1. อาหารว่างคาว ได้แก่
ขนมจีบ แซนด์วิช ปั้นสิบทอด สาคูไส้หมู ซาลาเปา เป็นต้น 2. อาหารว่างหวาน ได้แก่ คุกกี้ต่างๆ เค้กต่างๆ ขนมปุยฝ้ าย
ขนมดอกล้าดวน ขนมสอดไส้ พายไส้ต่างๆ เป็นต้น ลักษณะของอาหารว่าง อาหารว่างแบ่งตามลักษณะได้ 4 ประเภท คือ
1. อาหารว่างที่เป็นอาหารแบบแห้ง ได้แก่ - ข้าวตังหน้าตั้ง - ขนมจีบ ซาลาเปา - สาคูไส้หมู - ปั้นสิบนึ่งหรือทอด
เอกสารสรุปจากโครงการการจัดการองค์ความรู้ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2557 เวลา 9.00-
16.00 น. ณ ห้อง 19-1401 คณะวิทยาศาสตร์ - คุกกี้บิสกิต - เค้กต่างๆ 2. อาหารว่างชนิดน้ ้า ได้แก่ - ก๋วยเตี๋ยวน้ ้า หมู
เป็ด ไก่ - มะกะโรนีน้ ้า - โจ๊กหมู กุ้ง ไก่ - เครื่องดื่มร้อน เย็น 3. อาหารว่างประเภทกับแกล้ม
อาหารประเภทนี้ใช้รับประทานกับเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ส่วนใหญ่จะเป็น อาหารประเภทย้า ลาบ พล่าต่างๆ
ของทอด อาหารขบเคี้ยว เช่น - ย้าไส้กรอก - ย้าอังวะ - ย้าเล็บมือนาง - ย้าปลากรอบ - ลาบหมู - ลาบเนื้อ -
ลาบเป็ดและลาบอื่นๆ - ปลาทอดต่างๆ 4. อาหารว่างแบบค็อกเทล อาหารว่างแบบค็อกเทล ได้แก่ พวกแซนด์วิชต่างๆ
ตัดเป็นชิ้นเล็กๆ หรือออร์เดิร์ฟ ชนิดต่างๆ ข้าวเกรียบทอด มัน ทอด ถั่วทอดกับแกล้มที่เป็นชิ้นเล็กๆ
หยิบง่ายสะดวกแก่การรับประทาน ตัวอย่างอาหารว่างไทย “ขนมจีบตัวนก” ทีมาของภาพ :
http://tinyzone.tv/FoodMenuAdm.aspx?page=5 (สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2557)
เอกสารสรุปจากโครงการการจัดการองค์ความรู้ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2557 เวลา 9.00-
16.00 น. ณ ห้อง 19-1401 คณะวิทยาศาสตร์ ขนมจีบไทย “จีบตัวนก” เป็นอาหารว่างไทยโบราณอีกหนึ่งชนิดที่หลายๆ
คนไม่เคยได้ยินชื่อ หรือหา ทานได้ยากแล้วในปัจจุบัน ขนมจีบตัวนกมีรสชาติคล้ายช่อม่วง
ต่างกันที่รูปร่างของขนมที่มีลักษณะคล้ายกับนก (ดั้งเดิมจะเป็นรูปคนโทน้ ้า)
ขนมจีบตัวนกจัดเป็นอาหารว่างไทยประเภทของคาว โดยการน้าแป้ งมากวนจนปั้นเป็น ก้อน
ปั้นให้เป็นรูปทรงตัวนกแล้วจับจีบรอบล้าตัว ตัวไส้เป็นเนื้อไก่สับ เหมาะส้าหรับท้ากินเล่นหรือท้าในงานเลี้ยง ต่างๆ
เนื่องจากรูปร่างที่น่ารักสวยงาม จากการที่ขนมจีบตัวนก เป็นอาหารว่างประเภทนึ่ง จึงน่าจะเป็นทางเลือก
หนึ่งส้าหรับผู้ที่รักสุขภาพในการเลือกรับประทาน วิธีการท าขนมจีบตัวนก ส่วนผสมแป้ ง แป้ งข้าวเจ้า 1 1/2 ถ้วย แป้ งมัน
2 ช้อนโต๊ะ แป้ งท้าวยายม่อม 2 ช้อนโต๊ะ น้ ้าเปล่า 1 1/2 ถ้วย วิธีท้าแป้ ง น าส่วนผสมทุกอย่างเทรวมกัน คนจนแป้ งละลาย
ใส่กระทะทองเหลืองกวนไฟกลางจนแป้ งสุกใส ร่อนออกจาก กระทะ น ามาใช้ห่อไส้ส าหรับท าขนามจีบไทย ส่วนผสมไส้
เนื้อหมูสับละเอียด 300 กรัม หอมใหญ่หั่นสี่เหลี่ยมเล็กๆ 150 กรัม ถั่วลิสงคั่วโขลกละเอียด 1/2 ถ้วย พริกไทยเม็ด 1/4
ช้อนชา รากผักชีหั่นละเอียด 1 ช้อนโต๊ะ กระเทียมหั่นหยาบๆ 2 ช้อนโต๊ะ
เอกสารสรุปจากโครงการการจัดการองค์ความรู้ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2557 เวลา 9.00-
16.00 น. ณ ห้อง 19-1401 คณะวิทยาศาสตร์ น้ ามันพืช 2 ช้อนโต๊ะ น้ าปลาดี 3 ช้อนโต๊ะ น้ าตาลมะพร้าว 150 กรัม
วิธีการท้าไส้ ตวงน้ ามันใส่กระทะตั้งไฟ ใส่เครื่องที่โขลกไว้ผัดจนหอม ใส่หมู ผัดจนหมูสุก ใส่หอมใหญ่ ปรุงรสด้วยน้ าปลา
น้ าตาล ชิมรส เค็มหวาน เมื่อรสดีแล้วผัดต่อไปจนแห้ง และเหนียว ยกลง ใส่ถั่วลิสง ผัดให้เข้ากัน ตักใส่จาน ทิ้งไว้ให้เย็น
โรยหน้าและเครื่องเคียง กระเทียม (สับ—เจียว) 1/2 ถ้วย ผักชีผักกาดหอม พริกขี้หนู วิธีการจับจีบตัวนก แป้ งก้อนกลม
ขึ้นเบ้า แผ่ออก ใส่ไส้ หุ้มให้มิด เหลือส่วนหัวไว้ ใช้ที่จับจีบรอบตัว (เอาที่จับจีบจุ่มแป้ งมัน กัน ติดเวลาหนีบ)
ส่วนหัวนกติดงาด าท าเป็นตา ปากให้แครอทเสียบ วางเรียงในรังถึงปูใบตองทาน้ ามัน พรมน้ า ก่อนน าไปนึ่งไฟแรง 5—
8 นาที จนสุก จัดใส่จานทานกับผักกาดหอม ผักชี พริกขี้หนู กระเทียมเจียว

Contenu connexe

Tendances

สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกTaraya Srivilas
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1จารุ โสภาคะยัง
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่Lilrat Witsawachatkun
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่มMai Nuntanuch
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลางพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 

Tendances (20)

สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
เครื่องมือสำคัญทางภูมิศาสตร์ ม.1
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdf
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
 
คางทูม
คางทูมคางทูม
คางทูม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่มการบริการอาหารและเครื่องดื่ม
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 

Similaire à อาหารว่างไทย ความหมาย

อาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลางอาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลางพัน พัน
 
อาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาคอาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาค0870061155
 
อาหารภาคใต้
อาหารภาคใต้อาหารภาคใต้
อาหารภาคใต้พัน พัน
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์Tawadchai Wong-anan
 
การจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหารการจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหารพัน พัน
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD BrochurePha C
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1suttinee23
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์game41865
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1jjrrwnd
 
3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้Mint NutniCha
 
งานอาหารและบริการ
งานอาหารและบริการงานอาหารและบริการ
งานอาหารและบริการพัน พัน
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรกnarueporn
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรกnarueporn
 

Similaire à อาหารว่างไทย ความหมาย (20)

Wisdom2
Wisdom2Wisdom2
Wisdom2
 
อาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลางอาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลาง
 
Korea food
Korea foodKorea food
Korea food
 
อาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาคอาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาค
 
น้ำฦน
น้ำฦนน้ำฦน
น้ำฦน
 
อาหารภาคใต้
อาหารภาคใต้อาหารภาคใต้
อาหารภาคใต้
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
การจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหารการจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหาร
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD Brochure
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
japan food
japan foodjapan food
japan food
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Pasta
PastaPasta
Pasta
 
ชุติกาญจน์
ชุติกาญจน์ชุติกาญจน์
ชุติกาญจน์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้3 ขนมและผลไม้
3 ขนมและผลไม้
 
fuat
fuatfuat
fuat
 
งานอาหารและบริการ
งานอาหารและบริการงานอาหารและบริการ
งานอาหารและบริการ
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 

อาหารว่างไทย ความหมาย

  • 1. อาหารว่างไทย ความหมายและความส าคัญของอาหารว่าง อาหารว่าง หมายถึง อาหารระหว่างมื้อ เป็นอาหารประเภทเบาๆ มีปริมาณอาหารน้อยกว่า อาหาร ประจ้ามื้ออาจจะเป็นอาหารน้ ้าหรืออาหารแห้ง มีทั้งคาวและหวาน หรือเป็นอาหารชิ้นเล็กๆ ขนาดพอค้า หยิบ รับประทานได้ง่าย จัดให้สวยงามน่ารับประทานเป็นทั้งอาหารไทยและอาหารนานาชาติ หรือรับประทานควบคู่ กับเครื่องดื่มร้อน หรือน้ ้าผลไม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ประวัติความเป็นมา 1. อาหารว่างไทยสมัยโบราณ อาหารว่างไทยมีมานานตั้งแต่สมัยโบราณ แม่บ้านสมัยก่อนใช้เวลาว่างในการท้าอาหารว่างเก็บไว้ โดย ใช้วัสดุที่เหลือจากอาหารมื้อหลักให้เป็นประโยชน์ และใช้วัสดุที่มีมากในฤดูกาลมาประกอบเป็นอาหารว่าง เช่น ข้าวตังหน้าตั้ง เมี่ยงลาว เมี่ยงส้ม ข้าวตู ข้าวตอกตั้ง ข้าวเม่าหมี่ ขนมจีบ ปั้นสิบทอด เป็นต้น เมื่อมีการต้อนรับ แขกก็จะน้าอาหารออกมาเลี้ยงแขก พร้อมกับเสิร์ฟน้ ้าผลไม้หรือน้ ้าเย็นลอยดอกมะลิ ต่อมามีการพบปะติดต่อกับคนต่างชาติ รับเอาวัฒนธรรมของชาติต่างๆ เข้ามา จีนเป็นชนชาติที่ใกล้ชิด กับไทยมาก วัฒนธรรมของจีนนิยมดื่มชา ชงดื่มร้อนๆ ตลอดวัน ใช้ดื่มเองและเลี้ยงแขกด้วย เสิร์ฟพร้อมขนม หวาน อาหารว่างที่เป็นของขนมจีน ได้แก่ ขนมงาตัด ถั่วตัด ขนมเปี๊ยะ ขนมโก๋อ่อน ฟักเชื่อม อาหารว่างที่เป็นของ คาว ได้แก่ ซาลาเปา ขนมกุยช่าย ขนมจีบ เป็นต้น 2. อาหารว่างไทยสมัยปัจจุบัน ในปัจจุบันอาหารว่าง มีความจ้าเป็นโดยเฉพาะคนที่ต้องเดินทางไกลระหว่างบ้านกับที่ท้างาน รวมทั้ง เด็กๆ ที่ต้องไปโรงเรียน จึงควรต้องรับประทานอาหารระหว่างมื้อ อาหารว่างควรเป็นอาหารที่ย่อยง่าย ท้าง่าย รับประทานแล้วไม่อิ่มจนเกินไป และสะดวกที่จะรับประทาน ไม่ยุ่งยากในเรื่องของภาชนะและการจัดเสิร์ฟ ควร เป็นอาหารที่เป็นชิ้นเป็นค้า หรือถ้วยเล็กๆ ซึ่งรับประทานได้สะดวก แต่ต้องค้านึงด้วยว่าอาหารว่าง ควรจะ ประกอบด้วยอาหารหลายอย่าง เช่น แป้ ง ไข่ น้ ้าตาล นม ผัก ผลไม้ เพื่อให้ได้คุณค่าอาหารครบ เครื่องดื่มจะเป็น ร้อนหรือเย็นก็ได้ แล้วแต่โอกาสและสถานที่ เอกสารสรุปจากโครงการการจัดการองค์ความรู้ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2557 เวลา 9.00- 16.00 น. ณ ห้อง 19-1401 คณะวิทยาศาสตร์ ประเภทของอาหารว่าง อาหารว่างแบบไทยและนานาชาติ ดังนี้1. อาหารว่างไทย (คาวหวาน) อาหารว่างที่คนไทยรับประทานมีมากมายหลายชนิด ทั้งชนิดน้ ้าและชนิด แห้ง ของว่างชนิดน้ ้าไม่นิยมเลี้ยงในตอนบ่าย นิยมอาหารว่างชนิดแห้งเป็นส่วนใหญ่ เช่น ปั้นสิบนึ่งไส้ ต่างๆ กระทงทอง ขนมเบื้องกรอบ สาคูไส้หมูเมี่ยงลาว ของหวาน เช่น ขนมสอดไส้ ขนมลืมกลืน ตะโก้ เป็นต้น 2. อาหารว่างจีน (คาวหวาน) ก็มีมากเช่นเดียวกัน มีทั้งของว่างชนิดน้ ้า เช่น โจ๊ก ก๋วยเตี๋ยว เกี๊ยวน้ ้า เป็น ต้น ส่วนอาหารว่างชนิดแห้งมักจะเป็นของทอดหรือนึ่ง เช่น ขนมจีบ ปั้นสิบนึ่ง ขนมเปี๊ยะ เปาะเปี๊ยะสด ซาลาเปา เป็นต้น 3. อาหารว่างสากล นิยมกันมากในการจัดเลี้ยงงานใหญ่ๆ เพื่อรับรองแขก เพราะจัดได้สวยและน่า รับประทาน อาหารที่รับประทานอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความต้องการ ซึ่งแล้วแต่จะจัดขึ้น อาหารว่างสากลที่นิยม จัดรับประทานมีดังนี้ชา กาแฟ แซนด์วิช เค้กต่างๆ เยลลี่ผลไม้ไอศกรีม 4. อาหารว่างแบบประยุกต์ในการประกอบอาหารว่างนั้นเราไม่จ้าเป็นจะต้องท้าอยู่แต่อย่างเดียวเสมอ ไป ผู้ประกอบการอาหารจ้าเป็นต้องดัดแปลง ให้เหมาะสมกับสมัยและความนิยมการน้าอาหารแบบต่างๆ มา ประยุกต์ก็คือ การน้าอาหารว่างไทย จีน ฝรั่ง มาจัดผสมรวมกันในการเลี้ยงรับรองแขก เพื่อให้อาหารมีรสแตกต่าง กันออกไป
  • 2. และมีความสวยงามอีกด้วย ชนิดของอาหารว่าง อาหารว่างแบ่งตามรสชาติได้ 2 ชนิด คือ 1. อาหารว่างคาว ได้แก่ ขนมจีบ แซนด์วิช ปั้นสิบทอด สาคูไส้หมู ซาลาเปา เป็นต้น 2. อาหารว่างหวาน ได้แก่ คุกกี้ต่างๆ เค้กต่างๆ ขนมปุยฝ้ าย ขนมดอกล้าดวน ขนมสอดไส้ พายไส้ต่างๆ เป็นต้น ลักษณะของอาหารว่าง อาหารว่างแบ่งตามลักษณะได้ 4 ประเภท คือ 1. อาหารว่างที่เป็นอาหารแบบแห้ง ได้แก่ - ข้าวตังหน้าตั้ง - ขนมจีบ ซาลาเปา - สาคูไส้หมู - ปั้นสิบนึ่งหรือทอด เอกสารสรุปจากโครงการการจัดการองค์ความรู้ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2557 เวลา 9.00- 16.00 น. ณ ห้อง 19-1401 คณะวิทยาศาสตร์ - คุกกี้บิสกิต - เค้กต่างๆ 2. อาหารว่างชนิดน้ ้า ได้แก่ - ก๋วยเตี๋ยวน้ ้า หมู เป็ด ไก่ - มะกะโรนีน้ ้า - โจ๊กหมู กุ้ง ไก่ - เครื่องดื่มร้อน เย็น 3. อาหารว่างประเภทกับแกล้ม อาหารประเภทนี้ใช้รับประทานกับเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ส่วนใหญ่จะเป็น อาหารประเภทย้า ลาบ พล่าต่างๆ ของทอด อาหารขบเคี้ยว เช่น - ย้าไส้กรอก - ย้าอังวะ - ย้าเล็บมือนาง - ย้าปลากรอบ - ลาบหมู - ลาบเนื้อ - ลาบเป็ดและลาบอื่นๆ - ปลาทอดต่างๆ 4. อาหารว่างแบบค็อกเทล อาหารว่างแบบค็อกเทล ได้แก่ พวกแซนด์วิชต่างๆ ตัดเป็นชิ้นเล็กๆ หรือออร์เดิร์ฟ ชนิดต่างๆ ข้าวเกรียบทอด มัน ทอด ถั่วทอดกับแกล้มที่เป็นชิ้นเล็กๆ หยิบง่ายสะดวกแก่การรับประทาน ตัวอย่างอาหารว่างไทย “ขนมจีบตัวนก” ทีมาของภาพ : http://tinyzone.tv/FoodMenuAdm.aspx?page=5 (สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2557) เอกสารสรุปจากโครงการการจัดการองค์ความรู้ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2557 เวลา 9.00- 16.00 น. ณ ห้อง 19-1401 คณะวิทยาศาสตร์ ขนมจีบไทย “จีบตัวนก” เป็นอาหารว่างไทยโบราณอีกหนึ่งชนิดที่หลายๆ คนไม่เคยได้ยินชื่อ หรือหา ทานได้ยากแล้วในปัจจุบัน ขนมจีบตัวนกมีรสชาติคล้ายช่อม่วง ต่างกันที่รูปร่างของขนมที่มีลักษณะคล้ายกับนก (ดั้งเดิมจะเป็นรูปคนโทน้ ้า) ขนมจีบตัวนกจัดเป็นอาหารว่างไทยประเภทของคาว โดยการน้าแป้ งมากวนจนปั้นเป็น ก้อน ปั้นให้เป็นรูปทรงตัวนกแล้วจับจีบรอบล้าตัว ตัวไส้เป็นเนื้อไก่สับ เหมาะส้าหรับท้ากินเล่นหรือท้าในงานเลี้ยง ต่างๆ เนื่องจากรูปร่างที่น่ารักสวยงาม จากการที่ขนมจีบตัวนก เป็นอาหารว่างประเภทนึ่ง จึงน่าจะเป็นทางเลือก หนึ่งส้าหรับผู้ที่รักสุขภาพในการเลือกรับประทาน วิธีการท าขนมจีบตัวนก ส่วนผสมแป้ ง แป้ งข้าวเจ้า 1 1/2 ถ้วย แป้ งมัน 2 ช้อนโต๊ะ แป้ งท้าวยายม่อม 2 ช้อนโต๊ะ น้ ้าเปล่า 1 1/2 ถ้วย วิธีท้าแป้ ง น าส่วนผสมทุกอย่างเทรวมกัน คนจนแป้ งละลาย ใส่กระทะทองเหลืองกวนไฟกลางจนแป้ งสุกใส ร่อนออกจาก กระทะ น ามาใช้ห่อไส้ส าหรับท าขนามจีบไทย ส่วนผสมไส้ เนื้อหมูสับละเอียด 300 กรัม หอมใหญ่หั่นสี่เหลี่ยมเล็กๆ 150 กรัม ถั่วลิสงคั่วโขลกละเอียด 1/2 ถ้วย พริกไทยเม็ด 1/4 ช้อนชา รากผักชีหั่นละเอียด 1 ช้อนโต๊ะ กระเทียมหั่นหยาบๆ 2 ช้อนโต๊ะ เอกสารสรุปจากโครงการการจัดการองค์ความรู้ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2557 เวลา 9.00- 16.00 น. ณ ห้อง 19-1401 คณะวิทยาศาสตร์ น้ ามันพืช 2 ช้อนโต๊ะ น้ าปลาดี 3 ช้อนโต๊ะ น้ าตาลมะพร้าว 150 กรัม วิธีการท้าไส้ ตวงน้ ามันใส่กระทะตั้งไฟ ใส่เครื่องที่โขลกไว้ผัดจนหอม ใส่หมู ผัดจนหมูสุก ใส่หอมใหญ่ ปรุงรสด้วยน้ าปลา น้ าตาล ชิมรส เค็มหวาน เมื่อรสดีแล้วผัดต่อไปจนแห้ง และเหนียว ยกลง ใส่ถั่วลิสง ผัดให้เข้ากัน ตักใส่จาน ทิ้งไว้ให้เย็น โรยหน้าและเครื่องเคียง กระเทียม (สับ—เจียว) 1/2 ถ้วย ผักชีผักกาดหอม พริกขี้หนู วิธีการจับจีบตัวนก แป้ งก้อนกลม ขึ้นเบ้า แผ่ออก ใส่ไส้ หุ้มให้มิด เหลือส่วนหัวไว้ ใช้ที่จับจีบรอบตัว (เอาที่จับจีบจุ่มแป้ งมัน กัน ติดเวลาหนีบ)
  • 3. ส่วนหัวนกติดงาด าท าเป็นตา ปากให้แครอทเสียบ วางเรียงในรังถึงปูใบตองทาน้ ามัน พรมน้ า ก่อนน าไปนึ่งไฟแรง 5— 8 นาที จนสุก จัดใส่จานทานกับผักกาดหอม ผักชี พริกขี้หนู กระเทียมเจียว