SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  60
Télécharger pour lire hors ligne
ระบบยา
ภก.รชานนท หิรัญวงษ
คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด
1.นพ.ณรงคศักดิ์ เอกวัฒนกุล ประธานกรรมการ
2.นพ.ชาญชัย ลิ้มธงเจริญ กรรมการ
3.นพ.อิสเรศ อัศวเมธาพันธ กรรมการ
4.พญ.ศิริลักษณ พนมเชิง กรรมการ
5.พญ.พัชรินทร สุเมธวทานิย กรรมการ
6.นพ.ณัฐพล วงศวิวัฒน กรรมการ
7.ทพ.บุญชัย วงษไทยวรรณ กรรมการ
8.นางนันทวัน จิตตแยม กรรมการ
9.ภญ.พรรณเพ็ญ วัจนเจริญ กรรมการ
10.ภก.รชานนท หิรัญวงษ กรรมการ
11.ภญ.สุกัญญา สวัสดิ์พานิช กรรมการและเลขานุการ
12.ภก.ปรัชญา พัชรวรกุลชัย กรรมการและผูชวยเลขานุการ
คณะกรรมการพัฒนาระบบยา
1.นพ.ชาญชัย ลิ้มธงเจริญ ประธานกรรมการ
2.นพ.ณัฐพล วงศวิวัฒน รองประธานกรรมการ
3.ภญ.พรรณเพ็ญ วัจนเจริญ กรรมการ
4.ภก.ปรัชญา พัชรวรกุลชัย กรรมการ
5.ภก.รชานนท หิรัญวงษ กรรมการ
6.น.ส.กรชนก สหเจนสีดา กรรมการ
7.นางเกษรา รุงโรจน กรรมการ
8.นส.ขวัญฤทัย พึ่งผล กรรมการ
9.นส.สธีกานติ์ ตันติราพันธ กรรมการ
10.นางอังคนา โมแซง กรรมการ
11.นส.อุมาพร นพตากุล กรรมการ
12.น.ส.อรณภา เกตุมาลัย กรรมการ
13.นางสุมาลี เชื้อพันธุ กรรมการ
14.นส.ประยงค ทับทิม กรรมการ
15.นางกชภัท วงศทองเกื้อ กรรมการ
16.นางนาติยา พลละคร กรรมการ
17.นางธัญพร ทําเนียบ กรรมการ
18.ภญ.สุกัญญา สวัสดิ์พานิช กรรมการและเลขานุการ
ภาพรวมระบบยา
การคัดเลือก
และจัดหายา
การสั่งใชยา การเตรียมยา
และการจายยา
การบริหารยา การติดตาม
การใชยา
คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด
ทําหนาที่กําหนดบัญชียา และสงเสริมให
มีการใชยาอยางสมเหตุสมผล
คณะกรรมการพัฒนาระบบยา
ทําหนาที่ดูแล และวางระบบยาใหเกิดความปลอดภัย
ปองกันความคลาดเคลื่อนทางยา และเหตุการณไมพึงประสงคจากยา
บทบาทและหนาที่
 รวมกันวางแนวทางปฏิบัติงาน กําหนดขอตกลง และนําไป
ถายทอดสูผูปฏิบัติงาน
 สงเสริมการรายงานอุบัติการณที่เกิดขึ้นในหนวยงาน
 รวมกันทบทวนอุบัติการณ หรือเหตุการณไมพึงประสงค
จากยาที่เกิดขึ้น เพื่อกําหนดแนวทางการปองกัน
 รวมกันแกไขปญหาที่เกี่ยวของกับระบบยา
ระบบงานสําคัญของระบบยา
Adverse drug reactions (ADRs)
High Alert Drugs (HAD)
Drug use evaluation (DUE)
Medication Error (ME)
การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ
ระบบงานอื่นๆ ของระบบยา
การสํารองยาที่หอผูปวย
การบันทึกใบ MAR
Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs
AC Drugs
Medication Reconcile
Adverse drug reactions (ADRs)
1. พบผูปวยที่เกิดอาการนาสงสัยวาแพยา
2. สงพบเภสัชกรเพื่อซักประวัติ หรือ Notify ใหเภสัชกร
มาซักประวัติ (ในกรณีที่ผูปวยเดินไมได)
พยาบาล ณ แผนกฉุกเฉิน หรือผูปวยนอก
Adverse drug reactions (ADRs)
1. พบผูปวยที่เกิดอาการนาสงสัยวาแพยา
2. แจงแพทย > แพทยพิจารณาวานาจะเกิดการแพยา
3. Notify ใหเภสัชกรมาซักประวัติ > รับ Sticker แพยา
จากเภสัชกร จํานวน 4 ใบ (หากผูปวยแพยา)
4. พยาบาลนํา Sticker ดังกลาวไปติดที่ Doctor Order
Sheet, หนา Chart, ใบ MAR (ยากิน และยาฉีด)
พยาบาล ณ หอผูปวย
Adverse drug reactions (ADRs)
1. ซักประวัติ
2. ออกบัตรแพยา
3. ลงขอมูลในระบบคอมพิวเตอร
4. เขียนผลสรุปลงใน Progress Note หรือ ใบนําสง
5. สงเคส และแจก Sticker แพยาใหกับพยาบาล 4 ใบ
(สําหรับผูปวยใน)
เภสัชกร
Adverse drug reactions (ADRs)
ตัวอยางการติดสติ๊กเกอรแพยาที่
Doctor order sheet
High Alert Drugs (HAD)
ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High
Alert Drugs) คือ กลุมยาที่
มีโอกาสที่จะเกิดอันตราย
แกผูปวยเพราะมีดัชนีการ
รักษาที่แคบ หรือมี
ผลขางเคียงรายแรง ตอ
อวัยวะสําคัญ เชน สมอง
หัวใจ ไต ฯลฯ
High Alert Drugs (HAD)
รายการยา High Alert
High Alert Drugs (HAD)
การเก็บรักษายา High Alert
 ตองแยกเก็บจากยาชนิดอื่น มีสติ๊กเกอรสีแดง
สะทอนแสง ติดที่ผลิตภัณฑ โดยไมติดทับวัน
หมดอายุของยา (ติดที่คอขวด)
 มีใบ Monitor สีชมพู (ใบ Monitor จะมี 2 จุด คือ ที่
หองยาโดยถูกจายไปพรอมกับยา และที่หอผูปวย
สํารองไว)
High Alert Drugs (HAD)
การสั่งจายยา High Alert
 ไมมีการสั่งยาทางโทรศัพท
 การสั่งจายตองเขียนโดยลายมือแพทย
 ไมใชตัวยอในการสั่งจายยา ตองเขียนดวยตัวเต็มเสมอ
High Alert Drugs (HAD)
การจายยา High Alert
 มีการตรวจสอบซ้ํากอนจายยาใหกับหอผูปวย
(Independent check)
 ฝายเภสัชกรรมจะจายยาพรอมใบ Monitor แกหอ
ผูปวย
 ใบ Monitor จะมีรายละเอียดของชื่อยา, Dose ยา,
ขอหามใช, การติดตามขณะใหยาและหลังใหยา
High Alert Drugs (HAD)
การเก็บใบ Monitor (ใบสีชมพู)
 ใบ Monitor ที่ใช Monitor อยู : ใหเก็บไวที่หนา
ชารตหรือ ไวที่เตียงผูปวย หรือบริเวณที่สะดวกใน
การทํางานของพยาบาล
 ใบ Monitor ที่ Monitor เสร็จแลว : ใหเก็บไวใน
ชารตหลังใบ MAR
 จะมีการสุมตรวจการ Monitor ทุก 1 เดือน
Drug use evaluation (DUE)
 การประเมินการใชยา (Drug Use Evaluation:
DUE) เปนระบบติดตาม เฝาระวัง และประเมินการ
ใชยา เพื่อประกันคุณภาพ การรักษาผูปวย ใหมี
ความถูกตอง เหมาะสม ตามเกณฑมาตรฐาน
 กลุมยาบัญชี ง. ยาบัญชี จ.(2) และยาที่ปริมาณการ
ใชยาสูงหรือยาราคาแพง
Drug use evaluation (DUE)
การติดตามใบ DUE
 ฝายเภสัชกรรม สงใบ DUE ขึ้นไปพรอมยาในการสั่งยาที่ตอง
ประเมินความเหมาะสมในการสั่งจายยาในวันแรกของการสั่งจาย
ยา วันตอมาดึงขอมูลจากคอมพิวเตอรและเปรียบเทียบกับใบ
DUE ที่ไดตอบรับกลับมา และติดตามใหม
 ถาพบวาหากนานกวา 48 ชั่วโมงยังไมไดผลตอบรับ ใหแจงคุณ
ออ (เลขาองคกรแพทย) ดําเนินการตามแพทยผูสั่งใชยาเพื่อให
เขียนใบ DUE ตอไป
Drug use evaluation (DUE)
รายการยาที่ตองทํา DUE
เพิ่มใหมในป 2556 อีก 2 รายการคือ
1. Ertapenem sodium 1 g inj 2. Levofloxacin 500 mg tab
Drug use evaluation (DUE)
ใบ DUE
Medication Error (ME)
 เมื่อพบเหตุการณความคลาดเคลื่อนทางยาทั้งจาก
หนวยงานอื่น และจากบุคลากรในหนวยงานเอง ใหบันทึก
ในแบบฟอรมที่กําหนดไว
 รวบรวมรายงานทุกสิ้นเดือนสงที่หองจายยาผูปวยใน
ภายในวันที่ 5
 เมื่อพบความคลาดเคลื่อนทางยาระดับ E ขึ้นไป ใหเขียน
แบบรายงานอุบัติการณความเสี่ยงสงคุณปนัดดาภายใน
วันรุงขึ้นหลังจากพบเหตุการณ
Medication Error (ME)
แบบฟอรมบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยา
Medication Error (ME)
แบบรายงาน
อุบัติการณความเสี่ยง
Medication Error (ME)
 โครงการสงเสริมการรายงานความคลาดเคลื่อนทาง
ยาในหนวยงาน
 ดําเนินการไปแลว 2 ครั้ง
 ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2555 ถึง กันยายน 2555
 ครั้งที่ 2 ตุลาคม 2555 ถึง มกราคม 2556
Medication Error (ME)
 ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2555 ถึง กันยายน 2555
หนวยงานที่มีการรายงานสูงสุด 3 อันดับแรก
 อันดับ 1 อายุรกรรมหญิง (Ward 3) จํานวน 50 รายงาน
 อันดับ 2 Ward เด็ก/เด็กแรกเกิด จํานวน 20 รายงาน
 อันดับ 3 ศัลยกรรมหญิง (Ward 1) จํานวน 19 รายงาน
Medication Error (ME)
 ครั้งที่ 2 ตุลาคม 2555 ถึง มกราคม 2556 หนวยงาน
ที่มีการรายงานสูงสุด 3 อันดับแรก
 อันดับ 1 ศัลยกรรมหญิง (Ward 1) จํานวน 56 รายงาน
(อัตราสวนเทียบกับวันนอน 21.51)
 อันดับ 2 ศัลยกรรมชาย (Ward 2) จํานวน 54 รายงาน
(อัตราสวนเทียบกับวันนอน 14.83)
 อันดับ 3 อายุรกรรมหญิง (Ward 3) จํานวน 51 รายงาน
(อัตราสวนเทียบกับวันนอน 14.18)
การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ
 ยาเสพติดจะมีการสํารองไว 3 จุด ที่หองยาผูปวยใน, หอง
ฉุกเฉิน และหอผูปวย
 ยาเสพติดทุกชนิดจะตองอยูในลิ้นชักที่มีแมกุญแจล็อก
 ในลิ้นชักยาเสพติด ตองไมมีวัสดุ สิ่งของอื่นอยูดวย
นอกจาก สมุดควบคุม/ตรวจสอบปริมาณยา (สมุด OK) ใบ
ยส.5 และใบ Monitor
 การสั่งยาเสพติดในหอผูปวยจะตองเปน order for one
day เทานั้น
การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ
ลิ้นชักเก็บยาเสพยติด
การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ
 กุญแจตูยาเสพติดจะตองเก็บรักษาโดย In Charge (หอ
ผูปวย, หองฉุกเฉิน) หรือ เภสัชกร (หองยา) เทานั้น
 การเบิกยาเสพติดจากหองยา ตองใช Amp ที่ใชแลว
รวมกับใบ ยส.5 เทานั้น
 ใบ ยส.5 จะตองมีการเซ็นชื่อ 3 จุด คือ แพทยผูสั่ง,
พยาบาลผูบริหารยา/ทิ้งยา และพยาน โดยผูใหยาจะตอง
เขียนวา ใชยาไป.....mg ทิ้ง....mg พรอมเซ็นชื่อกํากับทั้ง
ผูใหยาและพยาน ผูเห็นเหตุการณ
การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ
ใบ ยส.5 จะใช 1 ใบ
ตอจํานวนการสั่งใช
ฉีดกี่ครั้ง ก็ตองมีใบ
ยส.5 เทากับจํานวน
ครั้งที่ฉีด โดยในแตละ
ใบจะตองระบุชื่อ สกุล
, HN และขอมูลอื่นๆ
ใหครบถวน
การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ
แนวทางการดําเนินการ
กรณียาเสพติดหายหรือแตกแลวเก็บซากไมได
 เขียนรายงาน RM (มีการสอบสวนเหตุการณ)
 บันทึกลงในใบ OK
 ทางหองยาจะตองรอคําตัดสินจากคณะกรรมการพัฒนา
ระบบยาหรือ PTC ในการดําเนินการตอไป
การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพยติดใหโทษ
แนวทางการดําเนินการ
กรณียาเสพติดแตกแลวเก็บซากได
 เก็บซาก Amp ที่แตก
 แจงแพทยผูสั่ง > แพทยเขียนใบ
ยส.5 ใหมให
 นําใบ ยส.5 ใหม + ซาก Amp ยา
ที่แตก ไปขอยาที่หองยา
การสํารองยาที่หอผูปวย
มีการกําหนดรายการยาสํารองของหนวยงานตางๆ ใหมีเฉพาะรายการยาที่จําเปน
 หอผูปวยศัลยกรรมหญิง ศัลยกรรมชาย
 หอผูปวยอายุรกรรมหญิง อายุรกรรมชาย
 หอผูปวยพิเศษ 5, 6 และ 7
 หองคลอด หองหลังคลอด
 หอผูปวยเด็ก เด็กแรกเกิด
 หองผาตัด
 หองฉุกเฉิน
 หอง treatment OPD
การสํารองยาที่หอผูปวย
 เมื่อใชแลวใหนํายาที่ไดจากหองยามาใสคืน
 มีการตรวจสอบจํานวนคงเหลือทุกเวร
 หองยาทําการเยี่ยมสํารวจการสํารองยาทุก 2 เดือน
เพื่อเปลี่ยนยาที่ใกลหมดอายุ หรือพบวาเสื่อมสภาพ
และตรวจสอบสถานที่เก็บรักษายาใหเปนไปตาม
มาตรฐาน
การสํารองยาที่หอผูปวย
กลองยาฉุกเฉินสําหรับใชภายในโรงพยาบาล
การสํารองยาที่หอผูปวย
กลองยาฉุกเฉินสําหรับใชที่รถ EMS/refer
การสํารองยาที่หอผูปวย
บันทึกการบรรจุและเบิกกลองยาฉุกเฉิน
การสํารองยาที่หอผูปวย
 เมื่อเปดใชแลวใหนํามาแลกกลองใหมที่หองจายยา
ผูปวยในทันที หรือภายในเวรนั้น
 สําหรับหอผูปวยใหระบุใน order วาเปนการใชยา
จากกลองฉุกเฉินเพื่อที่หองยาจะไดไมจัดยาไปใหอีก
 ตรวจสอบวันหมดอายุที่หนากลองยาฉุกเฉินทุก
เดือน เมื่อใกลหมดอายุใหนํามาแลกกลองใหมไดที่
หองจายยาผูปวยใน
การบันทึกใบ MAR
 ใบ MAR สําหรับยารับประทานและยาใชภายนอก ใชหมึก
สีน้ําเงิน ใบ MAR สําหรับยาฉีด ยาพน และน้ําเกลือ ใช
หมึกสีแดง (ยกเวนหองคลอดไมตองแยกใบ MAR)
 การลงเวลาใหยาใหลงในชองลงชื่อผูบริหารยา โดยเขียน
หลักชั่วโมงไว เมื่อบริหารยาแลว จึงเขียนหลักนาทีเปน
เวลาที่บริหารจริง
 ยาที่ตองใหทางหลอดเลือดควรใหภายใน 30 นาที
 ยารูปแบบรับประทานควรใหภายใน 1 ชั่วโมง
 ยาที่จําเปนตองใหตรงตามเวลา (real time) คือ กลุมยา
ตานไวรัส (Antiretroviral drugs)
การบันทึกใบ MAR
ใบ Medication administration record (MAR)
Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs
 ยาที่มีลักษณะคลายกัน
 ยาที่มีชื่อเรียกใกลเคียงกัน
 ยาที่มีหลายความแรง
Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs
ยาที่มีลักษณะคลายกัน (Look Alike)
Ranitidine กับ Simeticone
Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs
ยาที่มีลักษณะคลายกัน (Look Alike)
Tolperisone กับ Naproxen
Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs
ยาที่มีชื่อเรียกใกลเคียงกัน (Sound Alike)
Lorazepam กับ Loratadine
Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs
ยาที่มีชื่อเรียกใกลเคียงกัน (Sound Alike)
Dopamine กับ Dobutamine
Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs
ยาที่มีหลายความแรง (Sound Alike)
ASA 300 mg VS ASA 81 mg
Ampicillin 250 mg VS Ampicillin 1 g
Propranolol 10 mg VS Propranolol 40 mg
Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs
แนวทางการปองกันโดยหองยา
Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs
แนวทางการปองกันโดยหองยา
รายการยารับประทานกอนอาหาร (AC Drugs)
 รายการยาที่กําหนดใหรับประทานกอนอาหาร 30 –
60 นาที
 หากแพทยสั่งใน Doctor Order Sheet เปนหลัง
อาหาร ใหฝายเภสัชกรรมแกไขในระบบ
คอมพิวเตอรเปนรับประทานกอนอาหาร
 สวนหอผูปวยใหบันทึกในใบ MAR และบริหารยา
14 ชนิดนี้ เปนกอนอาหาร
AC Drugs
Medication Reconcile
แนวทางการจัดการยาเดิมผูปวย
Medication Reconcile
แนวทางการจัดการยาเดิมผูปวย
Medication Reconcile
แนวทางการจัดการยาเดิมผูปวย
Medication Reconcile
Medication Reconciliation form
Medication Reconcile
ใบบันทึกและสงตอการทํา Medication reconcile
Medication Reconcile
ใบบันทึกและสงตอการทํา Medication reconcile
Medication Reconcile
รายการยาเดิมใน MITNET
Q&A
Medication Error (ME)
 ครั้งที่ 3 กุมภาพันธ 2556 ถึง พฤษภาคม 2556
หนวยงานที่มีอัตราการเพิ่มการรายงานสูงสุด 3
อันดับแรก
 อันดับ 1 อายุรกรรมชาย (Ward 4) รายงานเพิ่มขึ้น
104.75%
 อันดับ 2 เด็ก/เด็กแรกเกิด รายงานเพิ่มขึ้น 36.42%
 อันดับ 3 ศัลยกรรมชาย (Ward 2) รายงานเพิ่มขึ้น 20.30%

Contenu connexe

Tendances

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
Latthapol Winitmanokul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
Aiman Sadeeyamu
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
Suradet Sriangkoon
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
duangkaew
 

Tendances (20)

Drug
DrugDrug
Drug
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 

En vedette

โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
Rachanont Hiranwong
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
Pongsa Pongsathorn
 
Medication errors powerpoint
Medication errors powerpointMedication errors powerpoint
Medication errors powerpoint
lexie_daryan
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
Suradet Sriangkoon
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
adriamycin
 
เรื่องเล่าจาก Pcu ขนาย
เรื่องเล่าจาก Pcu ขนายเรื่องเล่าจาก Pcu ขนาย
เรื่องเล่าจาก Pcu ขนาย
Nim SiriWicha
 

En vedette (20)

Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication Reconciliation
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
Medication errors powerpoint
Medication errors powerpointMedication errors powerpoint
Medication errors powerpoint
 
Ospemu
OspemuOspemu
Ospemu
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
Thaialgorithm Slide
Thaialgorithm SlideThaialgorithm Slide
Thaialgorithm Slide
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
เรื่องเล่าจาก Pcu ขนาย
เรื่องเล่าจาก Pcu ขนายเรื่องเล่าจาก Pcu ขนาย
เรื่องเล่าจาก Pcu ขนาย
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 

Similaire à ระบบยา

นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
Sarachai Sookprasong
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
นายสามารถ เฮียงสุข
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
Tuanthon Boonlue
 

Similaire à ระบบยา (20)

อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
 
Anesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medicationAnesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medication
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
นำเสนอ สปสช ชุมแสง 22มิย53 1
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
8
88
8
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
 

Plus de Rachanont Hiranwong

หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
Rachanont Hiranwong
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
Rachanont Hiranwong
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
Rachanont Hiranwong
 

Plus de Rachanont Hiranwong (20)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 

ระบบยา