SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
มอญศึก ษำ

                    จัดทำำโดย
๑.นำยนุตพงษ์
        ิ                     แก้วกำหลง             เลขที่ ๑๐
๒.นำยณรงค์                    พิมพ์สมุทร            เลขที่ ๑๒
๓.นำยณัฐพัชร์                 วัชรำพรหิรัญ          เลขที่ ๑๙
๔.นำงสำวปนัดดำ                แสงศรี                เลขที่ ๒๒
๕.นำงสำวจริญญำ                พันธุศิริ
                                   ์                เลขที่ ๓๖
๖.นำงสำวณัฐริกำ               พรมชริ                เลขที่ ๓๗
๗.นำงสำวทิวำพร                ทองสงค์               เลขที่ ๓๘
๘.นำงสำวนภัสร                 กลิ่นชื่น             เลขที่ ๓๙
๙.นำงสำวหทัยกำนต์             ม่วงสมัย              เลขที่ ๔๐
                          ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๕/๔


                    เสนอ คุณ ครูเ จริญ ศรี ศรีแ สนยง
วัต ถุป ระสงค์
๑.เพื่อศึกษำประวัติควำมเป็นมำของชำวมอญในประเทศไทย
๒.เพื่อเข้ำใจวัฒนธรรมของชำวมอญในประเทศไทย
๓.เพื่อให้คนรุ่นหลังเห็นถึงคุณค่ำศิลปะ วัฒนธรรมของชำวมอญ
ขอบเขตของกำรศึก ษำ

๑.ทำำกำรศึกษำค้นคว้ำเกี่ยวกับ เรื่อง ประวัติชำวมอญ วัฒนธรรม ประเพณี
ควำมเป็นอยูทั้งกำรแต่งกำย อำหำรกำรกิน เป็นต้น จำกอินเทอร์เน็ต
           ่
๒.ระยะเวลำที่ใช้ในกำรศึกษำใช้เวลำรวม 4 เดือน
ที่ม ำของคำำ ว่ำ มอญและรำมัญ


         นักภูมิศำสตร์อำหรับบำงท่ำนเรียกมอญว่ำ รำมัญประเทศ
(Ramannadesa) ซึ่งหมำยถึง "ประเทศมอญ" คำำนี้เพี้ยนมำจำกคำำศัพท์
โบรำณของ"มอญ" คือ Rmen (รำมัญ) ซึ่งเป็นคำำที่ใช้เรียกตัวเองของ"มอญ"
แต่พม่ำเรียก"มอญ"ว่ำ ตะเลง (Talaings) ซึ่งเพี้ยนมำจำกคำำว่ำ Talingana
อันเป็นแคว้นหนึ่ง ทำงภำคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย
         ส่วนนำม รำมัญ พบเก่ำสุดในมหำวังสะของสิงหล ในสมัยพระเจ้ำจำน
สิตำแห่งพุกำม พบคำำนี้ในศิลำจำรึกมอญ เขียนออกเสียงว่ำ รมีง ซึ่งในจำรึกนั้น
ก็พบคำำเรียกพม่ำอ่ำนว่ำ มิรมำ อีกด้วย ส่วนในสมัยหงสำวดี พบจำรึกแผ่นทอง
เขียนอ่ำนว่ำ รมัน คล้ำยกับที่ไทยเรียก รำมัญ ส่วนในเขตรำมัญเทสะ จะเรียก
ว่ำ มัน หรือ มูน ซึ่งใกล้กับคำำว่ำ มอญ ในภำษำไทย
ประวัต ิ

         มอญ เป็นชนชำติเก่ำแก่ มีอำรยธรรมรุ่งเรืองมำกชนชำติหนึ่ง จำก
พงศำวดำรพม่ำกล่ำวว่ำ "มอญเป็นชนชำติแรกที่ตั้งถินฐำนอยูในพม่ำ มำเป็นเวลำ
                                                 ่       ่
หลำยศตวรรษก่อนคริสตกำล" คำดว่ำน่ำจะอพยพมำจำกตอนกลำงของทวีป
เอเชีย เข้ำมำตั้งอำณำจักรของตนทำงตอนใต้ บริเวณลุ่มแม่นำ้ำสำละวิน  และแม่นำ้ำสะ
โตง ซึ่งบริเวณนี้ในเอกสำรของจีน และอินเดียเรียกว่ำ "ดินแดนสุวรรณภูมิ“
ในพุทธศตวรรษที่ 2 ศูนย์กลำง ของ"อำณำจักรมอญ" คืออำณำจักรสุ
ธรรมวดีหรือสะเทิม (Thaton) จำกพงศำวดำรมอญ กล่ำวไว้ว่ำอำณำจักรสะเทิม
ว่ำ อำณำจักรสะเทิมสร้ำงโดยพระรำชโอรส 2 พระองค์ของพระเจ้ำติสสะ แห่ง
แคว้นหนึ่งของอินเดีย ก่อนปี พ.ศ. 241 พระองค์นำำ พลพรรคลงเรือสำำเภำ มำ
จอดที่อ่ำวเมำะตะมะ และตั้งรำกฐำน ซึ่งต่อมำเป็นที่ตั้งของเมือง อำณำจักรสะเทิม
รุ่งเรืองมำก มีกำรค้ำขำยติดต่ออย่ำงใกล้ชิดกับประเทศอินเดีย และลังกำ และได้
รับเอำอำรยธรรมของอินเดียมำใช้ ทั้งทำงด้ำนอักษรศำสตร์  และศำสนำ โดย
เฉพำะรับเอำพุทธศำสนำนิกำยหินยำนมำ มอญมีบทบำทในกำรถ่ำยทอด
อำรยธรรมอินเดีย ไปยังชนชำติอื่นอย่ำง ชำวพม่ำ ไทย และลำว เจริญสูง มีควำม
รู้ดี ทำงด้ำนกำรเกษตร และมีควำมชำำนำญ ในกำรชลประทำน โดยเป็นผู้ริเริ่ม
ระบบชลประทำนขึ้น ในลุ่มนำ้ำอิระวดี ทำงตอนกลำงของประเทศพม่ำ
ต่อมำในปี พ.ศ. 1830 "มองโกล" ยกทัพมำตีพม่ำ ทำำให้มอญได้รับ
เอกรำชอีกครั้ง มะกะโท หรือพระเจ้ำฟ้ำรั่ว หรือวำเรรุ รำชบุตรเขยของ "พ่อขุน
รำมคำำแหง" ได้กอบกู้เอกรำช และสถำปนำรำชวงค์ชำน-ตะเลง
สถำปนำ"อำณำจักรมอญอิสระ" มีศูนย์กลำงที่เมืองเมำะตะมะ ซึ่งเป็นเมืองของมอญ
จนถึงปี พ.ศ. 1912 จำกนั้นย้ำยกลับไปหงสำวดีตำมเดิม และในรัชสมัยพระเจ้ำ
รำชำธิรำช หงสำวดีรุ่งเรืองจนเป็น ศูนย์กลำงทำงกำรค้ำที่ใหญ่โต ทำงแถบอ่ำว
เบงกอล มีเมืองท่ำหลำยเมืองในละแวกใกล้ๆ และอำณำจักรมอญมำรุ่งเรือง เจริญ
สูงสุดในช่วงปี พ.ศ. 2015-2035 สมัยพระเจ้ำธรรมเจดีย์ ต่อมำหงสำวดีก็เสีย
แก่ พระเจ้ำตะเบ็งชเวตี้ กษัตริยพม่ำในปี พ.ศ. 2094 จนปี พ.ศ. 2283 สมิงทอ
                               ์
พุทธิเกศ ก็กู้เอกรำชคืน มำจำกพม่ำได้สำำเร็จ และได้ยกทัพไปตีเมืองอังวะอีกด้วย
         ในปี พ.ศ. 2290 พระยำทะละ ได้ครองอำำนำจแทนสมิงทอพุทธิเกศ
ขยำยอำณำเขตอย่ำงกว้ำงขวำง ทำำให้อำณำจักรพม่ำสลำยตัวลง จนในปี พ.ศ.
2300 พระเจ้ำอลองพญำ ก็กู้อิสรภำพของพม่ำกลับคืนมำได้ ทั้งยังได้โจมตีมอญ
มอญตกอยู่ภำยใต้อำำนำจพม่ำ จนกระทั่งทุกวันนี้
ในปัจจุบัน ชำวมอญรุ่นหลังหันมำใช้ภำษำพม่ำกันมำก และมีจำำนวนมำกที่
เลิกใช้ ภำษำมอญ จนคิดว่ำตนเป็นพม่ำ อีกทั้งไม่ทรำบว่ำ ตนมีเชื้อสำยมอญ จำกกำร
สำำรวจประชำกรมอญในปี ค.ศ. 1931 พบว่ำมีจำำนวนแค่ 3 แสน 5 หมื่นคน ต่อมำ
ในปี ค.ศ. 1939 ได้มีกำรก่อตั้งสมำคมชำวมอญ และมีกำรสำำรวจประชำกรมอญอีก
ครั้ง พบว่ำมีรำว 6 แสนกว่ำคน พอต้นสมัยสังคมนิยมสำำรวจได้ว่ำมีชำวมอญรำว 1
ล้ำนกว่ำ ชำวมอญที่ยงพูดภำษำมอญในชีวิตประจำำวันอยู่ มีในหมู่บ้ำนในเมืองไจก์
                     ั
ขมีและเมืองสะเทิม แต่ในเขตเมืองก็จะพบแต่ชำวมอญที่พูดภำษำพม่ำเป็นส่วนมำก
วัฒ นธรรม
                  ภำษำและอัก ษรมอญ


           ภำษำมอญ มีกำรใช้มำนำนประมำณ 3,000-4,000 ปี เป็นภำษำในในสำย
โมนิค มีผู้ใช้ภำษำนี้อยู่ประมำณ 5,000,000 คน ส่วนอักษรมอญ มีควำมเก่ำแก่ พบ
หลักฐำนในประเทศไทยที่ จำรึกวัดโพธิ์ร้ำง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบรำณที่เก่ำ
แก่ที่สุด ในบรรดำจำรึกภำษำมอญที่ได้ค้นพบ ในแถบเอเซียอำคเนย์ เป็นจำรึกที่เขียน
ด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยงไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ พบว่ำมีกำรประดิษฐ์อักษร
                          ั
มอญขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภำษำมอญ ในจำรึกเสำแปดเหลี่ยมที่ศำลสูง เมือง
ลพบุรี และยังพบจำรึก จำรึกในพุทธศตวรรษที่ 14 รำว พ.ศ. 1314 เป็น ตัวอักษร
หลังปัลลวะ มีเนื้อหำเกี่ยวกับพระพุทธศำสนำ
หลักฐานจารึกในสมัยกลางประมาณ พ.ศ. 1600 เป็นต้นมา บันทึกทั้งภาษามอญ
และอักษรมอญ ซึ่งพม่าก็รับอักษรมอญมาใช้เขียนภาษาพม่าเป็นครั้งแรก
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-17 ตัวอักษรได้คลี่คลายจากตัวอักษรปัลลวะ มาเป็น
ตัวอักษรสีเหลี่ยม ก็คืออักษรมอญโบราณ และเปลี่ยนแปลงขนาดเล็กลงในระยะ
ต่อมา จนในพุทธศตวรรษที่ 21 ก็ได้กลายเป็นอักษรมอญปัจจุบัน ที่มีลักษณะกลม
สันนิษฐานว่าเกิดจากการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงบนใบลาน มอญปัจจุบัน
มีอายุ ประมาณ 400 ปีเศษ 
         ภาษามอญจัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเซียติค (Austroasiatic
Languages) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้กนอยู่ในแถบอินโดจีนและทางตะวันออกเฉียง
                               ั
เหนือของอินเดีย และเมื่อพิจารณาลักษณะทางไวยากรณ์  ภาษามอญ จัดอยู่ใน
ประเภทภาษาคำาติดต่อ (Agglutinative) อยูในกลุ่มภาษาตะวันออกเฉียงใต้
                                        ่
(South Eastern Flank Group) นักภาษาศาสตร์ที่ชื่อ วิลเฮม ส
ชมิต (Willhelm Schmidt) ได้จัดให้อยู่ในตระกูลภาษาสายใต้ (Austric
Southern family)
สรุปคือ ภาษามอญ เป็นภาษาที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ไม่มีการผันคำานาม คำา
กริยา ตามกฎบังคับทางไวยากรณ์ ประโยคประกอบด้วย คำาที่ทำาหน้าประธาน กริยา
และกรรม ส่วนขยายอยู่หลังคำาที่ถูกขยาย
                  ในประเทศไทยเอง ก็มีการใช้ภาษามอญในการสื่อสารในชุมชน
มอญแต่ละชุมชนในจังหวัดต่างๆ และในแต่ละชุมชนนั้นเองก็มีสำาเนียงเฉพาะที่แตก
ต่างไปในชุมชนที่อาศัยซึ่งอาจได้รับอิทธิพลจากชุมชนอื่นที่ไม่ใช่ชาวมอญซึ่งอยูใกล้
                                                                           ่
เคียงกัน โดยในบางชุมชนยังคงมีการสอนลูกหลานให้พูดภาษามอญกัน แต่บางชุมชน
ภาษามอญก็มีการใช้สื่อสารน้อยลง แต่อย่างไรก็ตามในจังหวัดสมุทรสาครก็มีชาวมอญ
จากประเทศพม่าที่อพยพเข้ามาเป็นแรงงานต่างด้าวในจังหวัด ซึ่งได้นำาภาษาพูดและ
ภาษาเขียนกลับเข้ามาในชุมชนมอญแถบมหาชัยอีกครั้งหนึ่ง ทำาให้มีการใช้ภาษามอญ
รวมไปถึงป้ายข้อความภาษามอญให้พบเห็นโดยทั่วไป
ศิล ปะ


        "ศิลปวัฒนธรรมมอญ"นั้น กลายเป็นศิลปวัฒนธรรมของพม่าไปหมด ศิลป
วัฒนธรรมส่วนใหญ่นั้น พม่าได้รับไปจาก"มอญ" คือ "ศิลปวัฒนธรรมมอญ"มีเหนือพม่า
เช่น สถาปัตยกรรมแบบปรางค์ ขอม-เขมร มีต่อสถาปัตยกรรมไทย ศิลปสถาปัตยกรรม
ประเภทเรือนยอด (กุฏาคาร) คือหลังคาที่มียอดแหลมต่อขึนไป โดยเฉพาะเรือนยอด
                                                   ้
ทรงมณฑปนี้ เรือนยอด (Spire) ทรงมณฑปนี้ เป็น"สถาปัตยกรรมมอญ" และไทยนำา
มาดัดแปลงต่อมา
ศิลปดนตรี นั้น ไทยได้รับอิทธิพลจาก"มอญ"มามาก เช่น ไทยเรา
รับ"ปี่พาทย์มอญ" และรับได้ดีทั้งรักษาไว้จนปัจจุบัน และให้เกียรติ์เรียกว่า ปี่
พาทย์มอญ นิยมบรรเลงในงานศพ ดนตรีไทยที่มีชื่อเพลงว่า มอญ นั้น นับ
ได้ 17 เพลง เช่น มอญดูดาว มอญชมจันทร์ มอญรำาดาบ มอญอ้อยอิ่ง
นอกจากนี้ก็ยังมี มอญร้องไห้ มอญนกขมิ้น ฯลฯ และยังมี"แขกมอญ" คือ
ทำานองทั้งแขกทั้งมอญ เช่น แขกมอญบางขุนพรหม แขกมอญบางช้าง
เป็นต้น เพลงทำานองของมอญ มีความสง่าภาคภูมิ เป็นผู้ดีมีวัฒนธรรม และ
ค่อนข้างจะเย็นเศร้า ซึ่งเป็นลักษณะของผู้มีวัฒนธรรมสูง ย่อมสงวนทีท่าบ้าง
เป็นธรรมดา แต่ที่สนุกสนานก็มีบ้าง เช่น กราวรำามอญ มอญแปลง ฯ ส่วน
เครื่องดนตรีประเภทให้จังหวะ คือ กลอง ที่เรียกว่าเปิงมาง นั้น คาดว่า
เป็น"มอญ" ไทยเรานำามาผสมวง ทำาคอกล้อม เป็นวงกลมหลายวง เรียกว่า
เปิงมางคอก ตีแล้วฟังสนุกสนาน
ประเพณีแ ละ
                  ศาสนา
ขนบธรรมเนียม ประเพณีของชาวมอญนั้น มีวัฒนธรรมเป็นแบบ
ฉบับมายาวนาน บางอย่างมีอิทธิพลให้กับชนชาติใกล้เคียงด้วย เช่น
ประเพณีสงกรานต์ ปล่อยนกปล่อยปลา ข้าวแช่ ฯลฯ บางอย่างก็ถือ
ปฏิบัติกันแต่เฉพาะในหมู่ชนมอญเท่านั้น ชาวมอญเลื่อมใสใน
พระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง ขณะเดียวกันก็นับถือผี บรรพบุรุษกับผี
อื่น ๆ ที่มีอิทธิฤทธิ์ รวมทั้งเทวดาองครักษ์
มอญในประเทศไทย
             หลัก ฐานทางประวัต ศ าสตร์
                               ิ
          หลักฐานทางโบราณคดีที่พบในสมัยพุทธศตวรรษที่ 11–13 คือเหรียญเงินเส้น
ผ่าศูนย์กลาง 19 ม.ม. พบทีนครปฐม และอู่ทองนั้น พบว่ามีอักษรจารึกไว้ว่า “ศรีทวารวดี
                         ่
ศวร”และ มีรูปหม้อนำ้ากลศอยู่อีกด้านหนึ่ง ทำาให้เชื่อได้ว่า ชนชาติมอญโบราณ ได้ตั้ง
อาณาจักรทวารวดี (บางแห่งเรียกทวาราวดี) ขึนในภาคกลางของดินแดนสุวรรณภูมิ
                                             ้
          มีศูนย์กลางที่เมืองนครปฐมโบราณ (ลุ่มแม่นำ้าท่าจีนหรือนครชัยศรี) กับเมือง
อู่ทองและเมืองละโว้ (ลพบุร) ต่อมาได้ขยายอำานาจขึนไป ถึงเมืองหริภุญชัยหรือลำาพูน มี
                            ี                     ้
หลักฐานเล่าไว้ว่า ราว พ.ศ. 1100 พระนางจามเทวี ราชธิดาของเจ้าเมืองลวปุระหรือละโว้
ลพบุรี ได้อพยพผู้คนขึนไปตั้งเมืองหริภญชัยที่ลำาพูน ส่วนทีเมืองนครปฐมนั้นมีการพบ พระ
                      ้              ุ                   ่
ปฐมเจดีย์ และมีการพบจารึกภาษาปัลลวะ บาลี สันสกฤต และ ภาษามอญ ที่บริเวณพระ
ปฐมเจดีย์และบริเวณใกล้เคียง พบจารึก ภาษามอญ อักษรปัลลวะ บันทึกเรื่องการสร้าง
พระพุทธรูป เสาหงส์ วิหาร และแนวต้นมะพร้าวเป็นอาณาเขตพระอารามที่วัดโพธิ์ร้าง
จังหวัดนครปฐม อายุราว พ.ศ. 1200 (ปัจจุบันอยูที่พพิธภัณฑ์พระปฐมเจดีย์) และพบ
                                                ่ ิ
จารึกมอญ ที่ลำาพูนอายุราว พ.ศ. 1628 (ปัจจุบันอยู่ทพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ หริภุญ
                                                    ี่
ไชย จังหวัดลำาพูน)
ต่อมาอาณาจักรขอมหลังจากพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สวรรคตใน พ.ศ. 1732
อำานาจก็เริ่มเสื่อมลง รวมถึงให้พ่อขุนบางกลางหาว ที่สถาปนาเป็น พ่อขุนศรีอินทรา
ทิตย์ และประกาศตั้งอาณาจักรสุโขทัย เป็นอิสระจากการปกครองของขอม พ่อขุน
รามคำาแหง พระราชโอรสของขุนศรีอินทราทิตย์ ได้ครองราชย์และทรงดัดแปลงอักษร
ขอมและ มอญ มาประดิษฐเป็นลายสือไทย
           ด้านจารึกภาษามอญ บนใบลานนั้น พบมากมายตาม หมู่บ้านมอญ ใน
ประเทศไทย ส่วนที่ประเทศพม่าพบมากตาม หมู่บ้านมอญในเมืองสะเทิมและเมืองไจก์
ขมี ซึ่งมีการคัดลอกและรวบรวมนำามาเก็บไว้ ที่หอสมุดแห่งชาติเมืองย่างกุ้ง และที่หอง
                                                                               ้
สมุดมอญเมืองเมาะลำาไย นอกจากนี้กองโบราณคดีและกองวัฒนธรรม ยังได้จัดพิมพ์
วรรณกรรม ชาดก ตำารามอญ และเคยมีการริเริ่มจัดพิมพ์พจนานุกรมมอญ-พม่าอีก
ด้วย
มอญอพยพ

         ทุกวันนี้ ชนชาติมอญ ไม่มีอาณาเขตประเทศปกครองตนเอง
เนื่องจากตกอยูในภาวะสงคราม และการแย่งชิงราชสมบัติกนเอง และ
               ่                                       ั
การรุกรานของพม่า ชาวมอญอยู่อย่างแสนสาหัส ถูกกดขีรีดไถ การ
                                                     ่
เกณฑ์แรงงานก่อสร้าง ทำาไร่นาหาเสบียงเพื่อการสงคราม และเกณฑ์
เข้ากองทัพ โดยเฉพาะสงครามในปี พ.ศ. 2300 เป็นสงครามครั้ง
สุดท้าย ที่คนมอญพ่ายแพ้แก่พม่าอย่างราบคาบ ชาวมอญส่วนหนึ่งจึง
อพยพโยกย้ายเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนใน
เมืองไทยหลายต่อหลายครั้ง เท่าที่มีการจดบันทึกเอาไว้รวมทั้งสิ้น 9
ครั้ง
ครั้งที่ 1 เมื่อ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ตีหงสาวดีแตกใน พ.ศ. 2082 ชาวมอญ
จำานวนมากหนีเข้ามากรุงศรีอยุธยา พระเจ้าแผ่นดินโปรดฯให้ตั้งบ้านเรือนอยู่แถบตัว
เมืองกรุงศรีอยุธยาชั้นนอก พระยาเกียรติพระยารามและครัวเรือน ให้ตั้งบ้านเรือนอยู่
แถบตัวเมืองชั้นใน ใกล้พระอารามวัดขุนแสน และเมื่อถึงพ.ศ. 2084 ราชวงศ์ตองอูตี
เมืองเมาะตะมะแตก มีการฆ่าฟันชาวมอญลงขนาดใหญ่ ก็เข้าใจว่ามีมอญหนีเข้ามาสู่
กรุงศรีอยุธยาอีก ถือเป็นระลอกแรกของมอญอพยพ

        ครั้งที่ 2 เมื่อพระนเรศวรเสด็จไปพม่าเมื่อคราวพระเจ้าบุเรงนองสิ้นพระชนม์
แล้วประกาศเอกราช ทรงชักชวนมอญที่เข้าสวามิภักดิ์ ให้อพยพเข้ามาพร้อมกัน ราว
พ.ศ. 2127 ในการอพยพครั้งนี้ไม่ปรากฏว่าพระเจ้าแผ่นดินโปรดฯ ให้ตั้งบ้านเรือนที่
ใด แต่คาดว่าคงเป็นย่านเดียวกับการอพยพคราวแรก
ครั้งที่ 3 เกิดขึนเมื่อหงสาวดีถูกยะไข่ทำาลายใน พ.ศ.
                        ้
2138 ครั้งนี้ก็มีการอพยพใหญ่ของ มอญ มาทางตะวันออกเข้าสู่
ดินแดนของกรุงศรีอยุธยาอีก

         ครั้งที่ 4 หลังจากที่ราชวงศ์ตองอูยายราชธานีไปอยู่ที่อัง
                                           ้
วะ หลังจากหงสาวดีถูกทำาลายแล้ว พวกมอญ ตั้งอำานาจขึนใหม่ใน
                                                      ้
ดินแดนของตน ต่อมา ถึงรัชกาลพระเจ้านอกเปกหลุน พม่าจึงยก
ทัพมาปราบพวกมอญอีกใน พ.ศ. 2156 ทำาให้เกิดการอพยพของ
มอญเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาอีก หลักฐานบางแห่งกล่าวว่า มอญ กลุ่มนี้
ได้รับอนุญาตให้ตั้งภูมิลำาเนาอยู่ตามแนวชายแดนไทย
ครั้งที่ 5 ใน พ.ศ. 2204 หรือ 2205 พวกมอญในเมืองเมาะตะ
มะก่อการกบฏขึ้นอีก แต่ถูกพม่าปราบลงได้ จึงต้องอพยพหนีเข้ากรุง
ศรีอยุธยาอีกระลอกหนึ่ง ผ่านทางด่านเจดีย์สามองค์ เข้าใจว่ากลุ่มนี้
สัมพันธ์กับกลุ่มมอญที่ตั้งอยู่ชายแดน

        ครั้งที่ 6 หลังจากที่มอญสามารถตั้งอาณาจักรของตนขึ้นได้ใหม่
ในปลายราชวงศ์ตองอู แล้วยกกำาลังไปตีกรุงอังวะแตก อลองพญา
รวบรวมกำาลังพม่าแล้วลุกขึ้นต่อสู้จนในที่สุดก็ตั้งราชวงศ์อลองพญาได้
และใน พ.ศ. 2300 ก็สามารถตีหงสาวดีได้อีก นโยบายของราชวงศ์นี้คือ
กลืน มอญ ให้เป็นพม่าโดยวิธีรุนแรง จึงมีชาวมอญอพยพหนีมาสู่เมือง
ไทยอีกหลาย ระลอก รวมทั้งกลุ่มที่หนีขึ้นเหนือไปสู่ล้านนา และเรียกกัน
ว่าพวก “เม็ง” ในปัจจุบันนี้
ครั้งที่ 7 ใน พ.ศ. 2316 ตรงกับแผ่นดินกรุงธนบุรี
มอญก่อกบฏในย่างกุ้ง พม่าปราบปรามอย่างทารุณแล้วเผา
ย่างกุงจนราบเรียบ ทำาให้มอญอพยพเข้าไทย
        ้
อีก พระเจ้าตากสินทรงโปรดฯ ให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่
ปากเกร็ด ซึ่งทำาให้เกิดกลุ่มมอญเก่า (พระยารามัญวงศ์) และ
มอญใหม่ (พระยาเจ่ง) คนที่นับตัวเองเป็น มอญ ในปัจจุบัน
ล้วนอพยพเข้ามาจากระลอกนี้ หรือหลังจากนี้ทั้งนั้น ส่วน
มอญ ที่อพยพก่อนหน้านี้กลืนหายเป็นไทยไปหมด แม้แต่กลุ่ม
ที่อยู่ตามชายแดนแถบเมืองกาญจนบุรี
ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2336 เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ยึดเมืองทวายได้ แต่รักษาไว้ไม่ได้ ต้องถอยกลับ
เข้าไทย ก็นำาเอาพวกมอญโดยเฉพาะที่เป็นพวกหัวหน้าเข้ามาอีก

         ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2357 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ
หล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 เมื่อ มอญ ไม่พอใจที่ถูกพม่าเกณฑ์แรงงาน
ก่อสร้างพระเจดีย์ก่อกบฏที่เมืองเมาะตะมะ ถูกพม่าปราบ ต้องหนีเข้า
ไทยเป็นระลอกใหญ่มาก ราว 40,000 คนเศษ เจ้าฟ้ามงกุฎ (ต่อมาคือ
รัชกาลที่ 4) เสด็จเป็นแม่กองพร้อมด้วยกรมหลวงพิทักษ์มนตรี ออกไป
รับถึงชายแดน พวกนี้มาตั้งรกรากที่สามโคก (ปทุมธานี) ปากเกร็ด และ
พระประแดง มอญที่อพยพเข้ามาครั้งนี้เรียกกันว่ามอญใหม่
ชุม ชนมอญ

          ชาวมอญได้อพยพมาพำานักอยู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุง
ศรีอยุธยา ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระยาเกียรติและพระยาราม
ขุนนางมอญที่มีความดีความชอบในราชการและกลุ่มญาติพี่น้องได้รับ
พระราชทานที่ดินตั้งบ้านเรือน ณ บ้านขมิ้น ซึ่งได้แก่บริเวณวัดขุนแสนใน
ปัจจุบัน มอญในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ทั้งกลุ่มชาวมอญเก่าที่อยู่มาแต่
เดิมและกลุ่มมอญใหม่ได้รับพระราชทานที่ดินให้ตั้งชุมชนอยูชานกรุง
                                                         ่
ศรีอยุธยาบริเวณวัดตองปุและคลองคูจาม
          นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงกลุ่มชาวมอญที่มีอาชีพฆ่าเป็ดไก่ขายที่
ตลาดวัดวัวควาย และมีตลาดมอญขายขัน ถาดทองเหลือง ซึ่งเป็นทั้งตลาดสด
ด้วย ตั้งอยูภายนอกกำาแพงเมืองด้านใต้ บริเวณปากคลองเกาะแก้วมีชาวมอญ
            ่
บรรทุกมะพร้าว ไม้แสมทะล และเกลือมาจำาหน่าย
ในสงครามเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ผู้นำาชุมชนชาวมอญในกรุง
ศรีอยุธยาคือสุกี้พระนายกอง ได้อาสากองทัพพม่าทำาสงครามกับอยุธยา และ
รวบรวมกองทัพมอญได้ถึง 2,000 คน ในปัจจุบันแม้จะไม่มีชุมชนของผู้สืบ
เชื้อสายมอญภายในกรุงศรีอยุธยาอยู่ในบริเวณที่กล่าวถึงในประวัติศาสตร์แต่
ก็ยงมีชุมชนมอญและกลุ่มวัฒนธรรมมอญกระจายอยู่บริเวณริมฝั่งแม่นำ้า
    ั
เจ้าพระยาจากพระนครศรีอยุธยาลงมาจนถึงกรุงเทพฯหลายชุมชน ชาวมอญ
ได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ทั่วไปตามที่ราบลุ่มริมนำ้าภาคกลาง ได้แก่ ลพบุรี สระบุรี 
อยุธยา นครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง นครนายก 
ปทุมธานีนนทบุรี สมุทรสงคราม สมุทรปราการ สมุทรสาคร กรุงเทพฯ 
ฉะเชิงเทรา เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และบางส่วนตั้งภูมิลำาเนาอยู่แถบภาค
เหนือ ได้แก่เชียงใหม่ ลำาพูน ลำาปาง ตาก กำาแพงเพชร นครสวรรค์
 อุทัยธานี ทางภาคอีสาน ได้แก่ นครราชสีมา มีบ้างเล็กน้อยที่อพยพลงใต้
อย่าง ชุมพรสุราษฎร์ธานี โดยมากเป็นแหล่งที่พระเจ้าแผ่นดินทรงโปรดฯ
พระราชทานที่ดินทำากินให้แต่แรกอพยพเข้ามา
มอญสามโคก จ.ปทุม ธานี

             ชาวมอญ ที่ได้มาตั้งรกรากอยูที่เมืองสามโคก หรือปัจจุบันก็คือ อ.สามโคก
                                           ่
จ.ปทุมธานี หนึ่งในชุมชนชาวมอญที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย โดยประชากรชาว
มอญที่มาอาศัยอยูที่สามโคกนี้ ได้อพยพเข้ามาในเมืองไทยตั้งแต่สมัยสมเด็จพระ
                        ่
นารายณ์มหาราช ราวพ.ศ.2202 ซึ่งพระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้ครอบครัวมอญ
เหล่านั้นไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคก นับเป็นครั้งแรกที่ชาวมอญได้เข้ามาตั้ง
บ้านเรือน
             ชาวมอญสามโคกมีวิถีชีวิตอยูริมแม่นำ้าเจ้าพระยา       ต่อจากนั้นชาว
                                         ่
มอญก็ยงได้อพยพขึ้นมาอีกหลายครั้ง คือในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
           ั
แห่งกรุงธนบุรี และในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กรุง
รัตนโกสินทร์ ดังนั้นจากชุมชนขนาดเล็กบ้านสามโคก จึงกลายเป็นเมืองสามโคกใน
เวลาต่อมา
             เมื่ออดีตนั้นชาวมอญสามโคกถือว่ามีความเจริญรุ่งเรืองมาก อาศัยปลูก
สร้างบ้านเรือนอยูตามริมฝั่งแม่นำ้าเจ้าพระยา และมีอาชีพทำาเครื่องปั้นดินเผาขายจน
                      ่
มีชื่อเสียงโด่งดัง เป็นที่รู้จักกันในนามของ "ตุ่มสามโคก" หรือที่ชาวรามัญเรียกกัน
ว่า "อีเลิ้ง" แต่เมื่อโลกก้าวหน้าวิวัฒนาการสมัยใหม่ย่างกรายเข้ามา วิถีชีวิตของ
ชาวมอญสามโคก ก็เริ่มแปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ตามกาลเวลา
            
มอญบางไส้ไ ก่ จ.กรุง เทพฯ

            นับแต่เขตวัดละมุดเรื่อยลงมา จนถึงบริเวณ คลองมอญ เป็นบริเวณที่เคย
เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวมอญ ทั้งนี้ จากคำาบอกเล่าของคุณมนู ชมชื่นจิตร ซึ่งเป็น
ชาวมอญ ที่เคยอาศัยอยูที่บางไส้ไก่มาแต่เดิม แต่เวลานี้รับราชการอยู่ ที่จังหวัด
                          ่
นครราชสีมา ได้ให้สัมภาษณ์เรื่องชุมชนมอญ ที่บางไส้ไก่ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 21
มีนาคม พ.ศ. 2525 ณ. วัดประดิษฐาราม กรุงเทพฯ ว่าชาวมอญที่อยู่บริเวณนี้
ส่วนใหญ่ ในสมัยเดิมเริ่มแรกที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยนั้น มักจะทำาหน้าที่เป็น
พวกฝีพายเรือหลวง พวกนี้ เดิมเป็นชาวมอญที่เคยอยู่ แถวเมืองทะวายและเมือง
มะริด ซึ่งมีความชำานาญทางเรือ สาเหตุที่อพยพเข้ามา ในประเทศไทย เพราะใน
สมัยของพระเจาปดุง กษัตริย์พม่าที่ปกครองอยูนั้น กล่าวหาว่า มอญเมืองทะวาย
                                              ่
และเมืองมะริดเป็นกบฏ ได้จับพวกมอญในเมือง ใส่เล้าเผาทิ้งไปเป็นจำานวนมาก
พวกมอญจึงพากันอพยพหนีภัยเข้าสู่ประเทศไทย

       
เมื่อเข้ามาอยู่ในประเทศไทย ทางฝ่ายไทยก็ให้ไปอยู่แถว
สะพานพระรามหก ในปัจจุบัน ตรงบริเวณใกล้กับวัดละมุดบน (วัด
บางละมุดเหนือ) วัดบางละมุดบน เดิมนั้นได้ถูกระเบิดของฝ่าย
พันธมิตรพังเสียหาย โดยเฉพาะศาลาการเปรียญ ถูกลูกระเบิดพังเสีย
หายทั้งหลัง (ข้อมูลจากการบอกเล่าของพระครูสังฆรักษ์ (เหลือ) วัด
ปรมัยยิกาวาส ตำาบลเกาะเกร็ด อำาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี อายุ
ประมาณ 80 ปีเศษ) สันนิษฐานว่า มอญพวกนี้ เป็นมอญที่อพยพเข้า
มาอยู่ ในประเทศไทย เป็นพวกหลังสุด ทั้งนี้ เพราะมอญพวกนี้ ไม่
ปรากฏว่ามีญาติหรือพวกพ้องทางเมืองปทุมเลย ไม่ว่าจะเป็นทางฝ่าย
สามีหรือฝ่ายภรรยาก็ตาม ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เป็นชาวมอญพวกที่มา
อยูใหม่ ที่อพยพมาจากเมืองมอญคนละพวกกับพวกอื่น ๆ
   ่
 คลองมอญ                จ.กรุง เทพฯ

         คลองมอญ  อยูในระหว่างเขตบางกอกน้อย และเขตบางกอกใหญ่
                         ่
ปลายคลองแยกจากแม่นำ้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ที่บริเวณข้างราชนาวิกสภา
ผ่านคลองบ้านขมิ้นซึ่งเป็นคูเมืองเดิม ตั้งแต่ครั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี   ไป
ออกยังคลองบางขุนศรี หรือคลองชักพระ ซึ่งเป็นลำาแม่นำ้าเจ้าพระยาเดิม ต่อ
จากนั้นจนถึงวัดเกาะ บางครั้งเรียกว่า คลองมอญ ตามเดิม หรือบางแห่งก็เรียก
ว่า คลองบางเสาธง หรือบางทีกถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของคลองบางน้อย จาก
                               ็
บริเวณวัดเกาะ คลองจะแยกออกเป็น 2 สาย สายบนเรียกว่า "คลองบางน้อย"
สายล่างเรียกว่า "คลองบางเชือกหนัง" คลองมอญมีความยาวประมาณ 3
กิโลเมตร วัดสำาคัญริมฝั่งคลองมีด้วยกันหลายวัด ได้แก่ วัดเครือวัลย์   วัดนาค
กลาง  วัดพระยาทำา  วัดครุฑ  วัดโพธิ์เรียง  วัดบางเสาธง  วัดปากนำ้าฝั่งใต้ 
วัดเกาะ  เป็นต้น
ในสมัยกรุงธนบุรีบ้านของท่านท้าวทรงกันดาร (ทองมอญ)
นั้นอยูระหว่างเขตบางกอกน้อย และเขตบางกอกใหญ่ ปลายคลอง
        ่
แยกจากแม่นำ้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ที่บริเวณข้างราชนาวิกสภา
ผ่านคลองบ้านขมิ้น ซึ่งเป็นคูเมืองเดิม ตั้งแต่ครั้งกรุงธนบุรีเป็น
ราชธานี  ไปออกยังคลองบางขุนศรี หรือคลองชักพระ ซึ่งเป็นลำา
แม่นำ้าเจ้าพระยาเดิม จนถึงวัดเกาะ ซึ่งเป็นนิวาสสถานเดิม ที่
พระเจ้าตากสินพระราชทานให้ นอกจากท่านท้าวทรงกันดาร (ทอง
มอญ) แล้ว ยังมีบ้านเรือนบรรดาญาติ ๆ ข้าทาสบริวารจำานวนมากอยู่
กันอย่างหนาแน่น ผู้คนในสมัยนั้น จึงนิยมเรียกคลองย่านนั้นว่า
“คลองมอญ” และยังคงเรียกติดปากมาจนทุกวันนี้
มอญปากเกร็ด จ.นนทบุร ี

         ในการอพยพของมอญอย่างน้อย ๒ ครั้ง ที่พระเจ้าแผ่นดินโปรดฯ
พระราชทานที่ทำากินให้แก่ชาวมอญที่ปากเกร็ด ครั้งแรก ใน พ.ศ.๒๓๑๖
สมัยกรุงธนบุรี มีเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) เป็นหัวหน้า ดังความใน
พงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ว่า
“ฝ่ายพวกรามัญที่ หนีพม่ามานั้น พระยาเจ่ง ตละเสี้ยง ตละเกล็บ กับพระยา
กลางเมือง ซึ่งหนีเข้ามาครั้งกรุงเก่า พม่าตีกรุงได้นำาตัวกลับไป และสมิง
รามัญ นายไพร่ทั้งปวงพา
ครัวเข้ามาทุกด่านทุกทาง ให้ขาหลวงไปรับมาถึงพระนครพร้อมกัน แล้ว
                               ้
ทรงพระกรุณาให้ตั้งบ้านเรือนอยู่แขวงเมืองนนท์บ้าง เมืองสามโคกบ้าง แต่
ฉกรรจ์จัดได้สามพัน โปรดให้หลวงบำาเรอศักดิ์ครั้งกรุงเก่า เป็นเชื้อรามัญ
ให้เป็นพระยารามัญวงศ์ เรียกว่า จักรีมอญ ควบคุมกองมอญใหม่ทั้งสิ้น และ
โปรดเกล้าฯ พระราชทานตราภูมิคุ้มห้ามสรรพากรขนอนตลาดทั้งปวง ให้
ค้าขายทำามาหากินเป็นสุข”
ครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ.๒๓๕๗ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ
หล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ พม่าบังคับใช้แรงงานมอญอย่างหนัก
ชาวมอญได้รับความเดือดร้อนจึงก่อกบฏขึ้น และอพยพเข้า
มายังไทย
           ชาวมอญที่อพยพมาทั้ง ๒ ครั้งนี้เองที่สืบทอดมาเป็น
ชาวไทยเชื้อสายมอญปากเกร็ดในปัจจุบัน โดยเฉพาะการ
อพยพเข้ามาของเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) ในขณะนั้นบ้าน
เมืองเพิ่งฟื้นตัวจากสงครามคราวเสียกรุง พลเมืองไทยยังมี
น้อย รัฐต้องการแรงงานทำาการเกษตรและป้องกันประเทศ
ชาวมอญจึงกลายเป็นกำาลังสำาคัญของกรุงธนบุรี
พระเจ้าตากสินจึงโปรดฯให้พญาเจ่งยกไพร่พลไปตั้งบ้านเรือน
ที่ปาก        เกร็ด คอยสกัดทัพพม่าที่อาจยกเข้าทางด้านทิศ
เหนือ รวมทั้งดูแลด่านขนอนที่แขวงเมืองนนท์
มอญบ้า นเก่า จ.อุท ัย ธานี


         ชุมชน มอญ บ้านเก่า ตั้งอยูที่ตำาบลบ้านเก่า อำาเภอหนองฉาง จังหวัด
                                   ่
อุทัยธานี ชุมชนแห่งนี้เป็นชุมชนมอญขนาดเล็ก ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพทำาไร่ ทำา
นา อยู่ใกล้แม่นำ้าสะแกกรัง และเขาสะแกกรัง ซึ่งมีประวัตศาสตร์ เกียวข้องกับชาว
                                                                ่
มอญ และพระราชวงศ์จักรี ซึ่งนักประวัติศาสตร์ยกให้เมืองอุทัยธานี เป็นเมืองของ
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก และยังมีตำานานที่กล่าวถึงเมืองอุทัยธานี ในสมัยกรุง
สุโขทัย รวมทั้งชุมชนมอญโบราณด้วย

         ชุมชน มอญ บ้านเก่าสืบเชื้อสายมาจากชาวมอญแต่ครั้งอดีต รวมทั้งชาว
มอญที่อพยพขึนไป ตั้งแต่สมัยอยุธยา และสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ปัจจุบัน
              ้
ชาวบ้านวัยกลางคนขึนไป ยังใช้ภาษามอญในการสื่อสารกันภายในหมู่บ้าน ชุมชน
                    ้
มอญบ้านเก่า มีวัดป่าช้าเป็นวัดมอญประจำาชุมชน และที่น่ายินดีก็คือ เมื่อปีการศึกษา
๒๕๔๘ ผู้นำาชุมชนหลายท่านที่หวงแหนความเป็นมอญ เช่น ร้อยเอกเสริม นิยม โดย
ดำาริของท่านเจ้าอาวาสวัดป่าช้า ได้นิมนต์พระอาจารย์ที่แตกภาษามอญจากบาง
กระดี่ ไปสอนหนังสือมอญให้แก่เด็ก ๆ ในชุมชน โดยเปิดเป็นวิชาเลือกให้นักเรียน
สามารถเลือกเรียนได้ และมีนักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองให้ความสนใจกันอย่างมาก
สวัส ดี

Contenu connexe

Tendances

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรีหนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรีAkekrin Kerdsoong
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะsasithorn woralee
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 

Tendances (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรีหนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
หนังสือรับรองคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 

Similaire à มอญศึกษา

วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9ไนซ์ ไนซ์
 
เพลงลูกกรุง (1)
เพลงลูกกรุง (1)เพลงลูกกรุง (1)
เพลงลูกกรุง (1)limitedbuff
 
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารchaiedu
 
เพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยเพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยKrumai Kjna
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdfเอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdfssusere542d7
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 

Similaire à มอญศึกษา (20)

มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
สาระเพิ่ม งานท่องเที่ยว Honey moon ม.9ห้อง9
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
เพลงลูกกรุง (1)
เพลงลูกกรุง (1)เพลงลูกกรุง (1)
เพลงลูกกรุง (1)
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสาร
 
เพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยเพลงชาติไทย
เพลงชาติไทย
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdfเอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 

มอญศึกษา

  • 1. มอญศึก ษำ จัดทำำโดย ๑.นำยนุตพงษ์ ิ แก้วกำหลง เลขที่ ๑๐ ๒.นำยณรงค์ พิมพ์สมุทร เลขที่ ๑๒ ๓.นำยณัฐพัชร์ วัชรำพรหิรัญ เลขที่ ๑๙ ๔.นำงสำวปนัดดำ แสงศรี เลขที่ ๒๒ ๕.นำงสำวจริญญำ พันธุศิริ ์ เลขที่ ๓๖ ๖.นำงสำวณัฐริกำ พรมชริ เลขที่ ๓๗ ๗.นำงสำวทิวำพร ทองสงค์ เลขที่ ๓๘ ๘.นำงสำวนภัสร กลิ่นชื่น เลขที่ ๓๙ ๙.นำงสำวหทัยกำนต์ ม่วงสมัย เลขที่ ๔๐ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๕/๔ เสนอ คุณ ครูเ จริญ ศรี ศรีแ สนยง
  • 3. ขอบเขตของกำรศึก ษำ ๑.ทำำกำรศึกษำค้นคว้ำเกี่ยวกับ เรื่อง ประวัติชำวมอญ วัฒนธรรม ประเพณี ควำมเป็นอยูทั้งกำรแต่งกำย อำหำรกำรกิน เป็นต้น จำกอินเทอร์เน็ต ่ ๒.ระยะเวลำที่ใช้ในกำรศึกษำใช้เวลำรวม 4 เดือน
  • 4. ที่ม ำของคำำ ว่ำ มอญและรำมัญ นักภูมิศำสตร์อำหรับบำงท่ำนเรียกมอญว่ำ รำมัญประเทศ (Ramannadesa) ซึ่งหมำยถึง "ประเทศมอญ" คำำนี้เพี้ยนมำจำกคำำศัพท์ โบรำณของ"มอญ" คือ Rmen (รำมัญ) ซึ่งเป็นคำำที่ใช้เรียกตัวเองของ"มอญ" แต่พม่ำเรียก"มอญ"ว่ำ ตะเลง (Talaings) ซึ่งเพี้ยนมำจำกคำำว่ำ Talingana อันเป็นแคว้นหนึ่ง ทำงภำคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย ส่วนนำม รำมัญ พบเก่ำสุดในมหำวังสะของสิงหล ในสมัยพระเจ้ำจำน สิตำแห่งพุกำม พบคำำนี้ในศิลำจำรึกมอญ เขียนออกเสียงว่ำ รมีง ซึ่งในจำรึกนั้น ก็พบคำำเรียกพม่ำอ่ำนว่ำ มิรมำ อีกด้วย ส่วนในสมัยหงสำวดี พบจำรึกแผ่นทอง เขียนอ่ำนว่ำ รมัน คล้ำยกับที่ไทยเรียก รำมัญ ส่วนในเขตรำมัญเทสะ จะเรียก ว่ำ มัน หรือ มูน ซึ่งใกล้กับคำำว่ำ มอญ ในภำษำไทย
  • 5. ประวัต ิ มอญ เป็นชนชำติเก่ำแก่ มีอำรยธรรมรุ่งเรืองมำกชนชำติหนึ่ง จำก พงศำวดำรพม่ำกล่ำวว่ำ "มอญเป็นชนชำติแรกที่ตั้งถินฐำนอยูในพม่ำ มำเป็นเวลำ ่ ่ หลำยศตวรรษก่อนคริสตกำล" คำดว่ำน่ำจะอพยพมำจำกตอนกลำงของทวีป เอเชีย เข้ำมำตั้งอำณำจักรของตนทำงตอนใต้ บริเวณลุ่มแม่นำ้ำสำละวิน  และแม่นำ้ำสะ โตง ซึ่งบริเวณนี้ในเอกสำรของจีน และอินเดียเรียกว่ำ "ดินแดนสุวรรณภูมิ“
  • 6. ในพุทธศตวรรษที่ 2 ศูนย์กลำง ของ"อำณำจักรมอญ" คืออำณำจักรสุ ธรรมวดีหรือสะเทิม (Thaton) จำกพงศำวดำรมอญ กล่ำวไว้ว่ำอำณำจักรสะเทิม ว่ำ อำณำจักรสะเทิมสร้ำงโดยพระรำชโอรส 2 พระองค์ของพระเจ้ำติสสะ แห่ง แคว้นหนึ่งของอินเดีย ก่อนปี พ.ศ. 241 พระองค์นำำ พลพรรคลงเรือสำำเภำ มำ จอดที่อ่ำวเมำะตะมะ และตั้งรำกฐำน ซึ่งต่อมำเป็นที่ตั้งของเมือง อำณำจักรสะเทิม รุ่งเรืองมำก มีกำรค้ำขำยติดต่ออย่ำงใกล้ชิดกับประเทศอินเดีย และลังกำ และได้ รับเอำอำรยธรรมของอินเดียมำใช้ ทั้งทำงด้ำนอักษรศำสตร์  และศำสนำ โดย เฉพำะรับเอำพุทธศำสนำนิกำยหินยำนมำ มอญมีบทบำทในกำรถ่ำยทอด อำรยธรรมอินเดีย ไปยังชนชำติอื่นอย่ำง ชำวพม่ำ ไทย และลำว เจริญสูง มีควำม รู้ดี ทำงด้ำนกำรเกษตร และมีควำมชำำนำญ ในกำรชลประทำน โดยเป็นผู้ริเริ่ม ระบบชลประทำนขึ้น ในลุ่มนำ้ำอิระวดี ทำงตอนกลำงของประเทศพม่ำ
  • 7. ต่อมำในปี พ.ศ. 1830 "มองโกล" ยกทัพมำตีพม่ำ ทำำให้มอญได้รับ เอกรำชอีกครั้ง มะกะโท หรือพระเจ้ำฟ้ำรั่ว หรือวำเรรุ รำชบุตรเขยของ "พ่อขุน รำมคำำแหง" ได้กอบกู้เอกรำช และสถำปนำรำชวงค์ชำน-ตะเลง สถำปนำ"อำณำจักรมอญอิสระ" มีศูนย์กลำงที่เมืองเมำะตะมะ ซึ่งเป็นเมืองของมอญ จนถึงปี พ.ศ. 1912 จำกนั้นย้ำยกลับไปหงสำวดีตำมเดิม และในรัชสมัยพระเจ้ำ รำชำธิรำช หงสำวดีรุ่งเรืองจนเป็น ศูนย์กลำงทำงกำรค้ำที่ใหญ่โต ทำงแถบอ่ำว เบงกอล มีเมืองท่ำหลำยเมืองในละแวกใกล้ๆ และอำณำจักรมอญมำรุ่งเรือง เจริญ สูงสุดในช่วงปี พ.ศ. 2015-2035 สมัยพระเจ้ำธรรมเจดีย์ ต่อมำหงสำวดีก็เสีย แก่ พระเจ้ำตะเบ็งชเวตี้ กษัตริยพม่ำในปี พ.ศ. 2094 จนปี พ.ศ. 2283 สมิงทอ ์ พุทธิเกศ ก็กู้เอกรำชคืน มำจำกพม่ำได้สำำเร็จ และได้ยกทัพไปตีเมืองอังวะอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2290 พระยำทะละ ได้ครองอำำนำจแทนสมิงทอพุทธิเกศ ขยำยอำณำเขตอย่ำงกว้ำงขวำง ทำำให้อำณำจักรพม่ำสลำยตัวลง จนในปี พ.ศ. 2300 พระเจ้ำอลองพญำ ก็กู้อิสรภำพของพม่ำกลับคืนมำได้ ทั้งยังได้โจมตีมอญ มอญตกอยู่ภำยใต้อำำนำจพม่ำ จนกระทั่งทุกวันนี้
  • 8. ในปัจจุบัน ชำวมอญรุ่นหลังหันมำใช้ภำษำพม่ำกันมำก และมีจำำนวนมำกที่ เลิกใช้ ภำษำมอญ จนคิดว่ำตนเป็นพม่ำ อีกทั้งไม่ทรำบว่ำ ตนมีเชื้อสำยมอญ จำกกำร สำำรวจประชำกรมอญในปี ค.ศ. 1931 พบว่ำมีจำำนวนแค่ 3 แสน 5 หมื่นคน ต่อมำ ในปี ค.ศ. 1939 ได้มีกำรก่อตั้งสมำคมชำวมอญ และมีกำรสำำรวจประชำกรมอญอีก ครั้ง พบว่ำมีรำว 6 แสนกว่ำคน พอต้นสมัยสังคมนิยมสำำรวจได้ว่ำมีชำวมอญรำว 1 ล้ำนกว่ำ ชำวมอญที่ยงพูดภำษำมอญในชีวิตประจำำวันอยู่ มีในหมู่บ้ำนในเมืองไจก์ ั ขมีและเมืองสะเทิม แต่ในเขตเมืองก็จะพบแต่ชำวมอญที่พูดภำษำพม่ำเป็นส่วนมำก
  • 9. วัฒ นธรรม ภำษำและอัก ษรมอญ ภำษำมอญ มีกำรใช้มำนำนประมำณ 3,000-4,000 ปี เป็นภำษำในในสำย โมนิค มีผู้ใช้ภำษำนี้อยู่ประมำณ 5,000,000 คน ส่วนอักษรมอญ มีควำมเก่ำแก่ พบ หลักฐำนในประเทศไทยที่ จำรึกวัดโพธิ์ร้ำง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบรำณที่เก่ำ แก่ที่สุด ในบรรดำจำรึกภำษำมอญที่ได้ค้นพบ ในแถบเอเซียอำคเนย์ เป็นจำรึกที่เขียน ด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยงไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ พบว่ำมีกำรประดิษฐ์อักษร ั มอญขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภำษำมอญ ในจำรึกเสำแปดเหลี่ยมที่ศำลสูง เมือง ลพบุรี และยังพบจำรึก จำรึกในพุทธศตวรรษที่ 14 รำว พ.ศ. 1314 เป็น ตัวอักษร หลังปัลลวะ มีเนื้อหำเกี่ยวกับพระพุทธศำสนำ
  • 10. หลักฐานจารึกในสมัยกลางประมาณ พ.ศ. 1600 เป็นต้นมา บันทึกทั้งภาษามอญ และอักษรมอญ ซึ่งพม่าก็รับอักษรมอญมาใช้เขียนภาษาพม่าเป็นครั้งแรก ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-17 ตัวอักษรได้คลี่คลายจากตัวอักษรปัลลวะ มาเป็น ตัวอักษรสีเหลี่ยม ก็คืออักษรมอญโบราณ และเปลี่ยนแปลงขนาดเล็กลงในระยะ ต่อมา จนในพุทธศตวรรษที่ 21 ก็ได้กลายเป็นอักษรมอญปัจจุบัน ที่มีลักษณะกลม สันนิษฐานว่าเกิดจากการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงบนใบลาน มอญปัจจุบัน มีอายุ ประมาณ 400 ปีเศษ  ภาษามอญจัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเซียติค (Austroasiatic Languages) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้กนอยู่ในแถบอินโดจีนและทางตะวันออกเฉียง ั เหนือของอินเดีย และเมื่อพิจารณาลักษณะทางไวยากรณ์  ภาษามอญ จัดอยู่ใน ประเภทภาษาคำาติดต่อ (Agglutinative) อยูในกลุ่มภาษาตะวันออกเฉียงใต้ ่ (South Eastern Flank Group) นักภาษาศาสตร์ที่ชื่อ วิลเฮม ส ชมิต (Willhelm Schmidt) ได้จัดให้อยู่ในตระกูลภาษาสายใต้ (Austric Southern family)
  • 11. สรุปคือ ภาษามอญ เป็นภาษาที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ไม่มีการผันคำานาม คำา กริยา ตามกฎบังคับทางไวยากรณ์ ประโยคประกอบด้วย คำาที่ทำาหน้าประธาน กริยา และกรรม ส่วนขยายอยู่หลังคำาที่ถูกขยาย ในประเทศไทยเอง ก็มีการใช้ภาษามอญในการสื่อสารในชุมชน มอญแต่ละชุมชนในจังหวัดต่างๆ และในแต่ละชุมชนนั้นเองก็มีสำาเนียงเฉพาะที่แตก ต่างไปในชุมชนที่อาศัยซึ่งอาจได้รับอิทธิพลจากชุมชนอื่นที่ไม่ใช่ชาวมอญซึ่งอยูใกล้ ่ เคียงกัน โดยในบางชุมชนยังคงมีการสอนลูกหลานให้พูดภาษามอญกัน แต่บางชุมชน ภาษามอญก็มีการใช้สื่อสารน้อยลง แต่อย่างไรก็ตามในจังหวัดสมุทรสาครก็มีชาวมอญ จากประเทศพม่าที่อพยพเข้ามาเป็นแรงงานต่างด้าวในจังหวัด ซึ่งได้นำาภาษาพูดและ ภาษาเขียนกลับเข้ามาในชุมชนมอญแถบมหาชัยอีกครั้งหนึ่ง ทำาให้มีการใช้ภาษามอญ รวมไปถึงป้ายข้อความภาษามอญให้พบเห็นโดยทั่วไป
  • 12. ศิล ปะ "ศิลปวัฒนธรรมมอญ"นั้น กลายเป็นศิลปวัฒนธรรมของพม่าไปหมด ศิลป วัฒนธรรมส่วนใหญ่นั้น พม่าได้รับไปจาก"มอญ" คือ "ศิลปวัฒนธรรมมอญ"มีเหนือพม่า เช่น สถาปัตยกรรมแบบปรางค์ ขอม-เขมร มีต่อสถาปัตยกรรมไทย ศิลปสถาปัตยกรรม ประเภทเรือนยอด (กุฏาคาร) คือหลังคาที่มียอดแหลมต่อขึนไป โดยเฉพาะเรือนยอด ้ ทรงมณฑปนี้ เรือนยอด (Spire) ทรงมณฑปนี้ เป็น"สถาปัตยกรรมมอญ" และไทยนำา มาดัดแปลงต่อมา
  • 13. ศิลปดนตรี นั้น ไทยได้รับอิทธิพลจาก"มอญ"มามาก เช่น ไทยเรา รับ"ปี่พาทย์มอญ" และรับได้ดีทั้งรักษาไว้จนปัจจุบัน และให้เกียรติ์เรียกว่า ปี่ พาทย์มอญ นิยมบรรเลงในงานศพ ดนตรีไทยที่มีชื่อเพลงว่า มอญ นั้น นับ ได้ 17 เพลง เช่น มอญดูดาว มอญชมจันทร์ มอญรำาดาบ มอญอ้อยอิ่ง นอกจากนี้ก็ยังมี มอญร้องไห้ มอญนกขมิ้น ฯลฯ และยังมี"แขกมอญ" คือ ทำานองทั้งแขกทั้งมอญ เช่น แขกมอญบางขุนพรหม แขกมอญบางช้าง เป็นต้น เพลงทำานองของมอญ มีความสง่าภาคภูมิ เป็นผู้ดีมีวัฒนธรรม และ ค่อนข้างจะเย็นเศร้า ซึ่งเป็นลักษณะของผู้มีวัฒนธรรมสูง ย่อมสงวนทีท่าบ้าง เป็นธรรมดา แต่ที่สนุกสนานก็มีบ้าง เช่น กราวรำามอญ มอญแปลง ฯ ส่วน เครื่องดนตรีประเภทให้จังหวะ คือ กลอง ที่เรียกว่าเปิงมาง นั้น คาดว่า เป็น"มอญ" ไทยเรานำามาผสมวง ทำาคอกล้อม เป็นวงกลมหลายวง เรียกว่า เปิงมางคอก ตีแล้วฟังสนุกสนาน
  • 14. ประเพณีแ ละ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณีของชาวมอญนั้น มีวัฒนธรรมเป็นแบบ ฉบับมายาวนาน บางอย่างมีอิทธิพลให้กับชนชาติใกล้เคียงด้วย เช่น ประเพณีสงกรานต์ ปล่อยนกปล่อยปลา ข้าวแช่ ฯลฯ บางอย่างก็ถือ ปฏิบัติกันแต่เฉพาะในหมู่ชนมอญเท่านั้น ชาวมอญเลื่อมใสใน พระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง ขณะเดียวกันก็นับถือผี บรรพบุรุษกับผี อื่น ๆ ที่มีอิทธิฤทธิ์ รวมทั้งเทวดาองครักษ์
  • 15. มอญในประเทศไทย หลัก ฐานทางประวัต ศ าสตร์ ิ หลักฐานทางโบราณคดีที่พบในสมัยพุทธศตวรรษที่ 11–13 คือเหรียญเงินเส้น ผ่าศูนย์กลาง 19 ม.ม. พบทีนครปฐม และอู่ทองนั้น พบว่ามีอักษรจารึกไว้ว่า “ศรีทวารวดี ่ ศวร”และ มีรูปหม้อนำ้ากลศอยู่อีกด้านหนึ่ง ทำาให้เชื่อได้ว่า ชนชาติมอญโบราณ ได้ตั้ง อาณาจักรทวารวดี (บางแห่งเรียกทวาราวดี) ขึนในภาคกลางของดินแดนสุวรรณภูมิ ้ มีศูนย์กลางที่เมืองนครปฐมโบราณ (ลุ่มแม่นำ้าท่าจีนหรือนครชัยศรี) กับเมือง อู่ทองและเมืองละโว้ (ลพบุร) ต่อมาได้ขยายอำานาจขึนไป ถึงเมืองหริภุญชัยหรือลำาพูน มี ี ้ หลักฐานเล่าไว้ว่า ราว พ.ศ. 1100 พระนางจามเทวี ราชธิดาของเจ้าเมืองลวปุระหรือละโว้ ลพบุรี ได้อพยพผู้คนขึนไปตั้งเมืองหริภญชัยที่ลำาพูน ส่วนทีเมืองนครปฐมนั้นมีการพบ พระ ้ ุ ่ ปฐมเจดีย์ และมีการพบจารึกภาษาปัลลวะ บาลี สันสกฤต และ ภาษามอญ ที่บริเวณพระ ปฐมเจดีย์และบริเวณใกล้เคียง พบจารึก ภาษามอญ อักษรปัลลวะ บันทึกเรื่องการสร้าง พระพุทธรูป เสาหงส์ วิหาร และแนวต้นมะพร้าวเป็นอาณาเขตพระอารามที่วัดโพธิ์ร้าง จังหวัดนครปฐม อายุราว พ.ศ. 1200 (ปัจจุบันอยูที่พพิธภัณฑ์พระปฐมเจดีย์) และพบ ่ ิ จารึกมอญ ที่ลำาพูนอายุราว พ.ศ. 1628 (ปัจจุบันอยู่ทพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ หริภุญ ี่ ไชย จังหวัดลำาพูน)
  • 16. ต่อมาอาณาจักรขอมหลังจากพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 สวรรคตใน พ.ศ. 1732 อำานาจก็เริ่มเสื่อมลง รวมถึงให้พ่อขุนบางกลางหาว ที่สถาปนาเป็น พ่อขุนศรีอินทรา ทิตย์ และประกาศตั้งอาณาจักรสุโขทัย เป็นอิสระจากการปกครองของขอม พ่อขุน รามคำาแหง พระราชโอรสของขุนศรีอินทราทิตย์ ได้ครองราชย์และทรงดัดแปลงอักษร ขอมและ มอญ มาประดิษฐเป็นลายสือไทย ด้านจารึกภาษามอญ บนใบลานนั้น พบมากมายตาม หมู่บ้านมอญ ใน ประเทศไทย ส่วนที่ประเทศพม่าพบมากตาม หมู่บ้านมอญในเมืองสะเทิมและเมืองไจก์ ขมี ซึ่งมีการคัดลอกและรวบรวมนำามาเก็บไว้ ที่หอสมุดแห่งชาติเมืองย่างกุ้ง และที่หอง ้ สมุดมอญเมืองเมาะลำาไย นอกจากนี้กองโบราณคดีและกองวัฒนธรรม ยังได้จัดพิมพ์ วรรณกรรม ชาดก ตำารามอญ และเคยมีการริเริ่มจัดพิมพ์พจนานุกรมมอญ-พม่าอีก ด้วย
  • 17. มอญอพยพ ทุกวันนี้ ชนชาติมอญ ไม่มีอาณาเขตประเทศปกครองตนเอง เนื่องจากตกอยูในภาวะสงคราม และการแย่งชิงราชสมบัติกนเอง และ ่ ั การรุกรานของพม่า ชาวมอญอยู่อย่างแสนสาหัส ถูกกดขีรีดไถ การ ่ เกณฑ์แรงงานก่อสร้าง ทำาไร่นาหาเสบียงเพื่อการสงคราม และเกณฑ์ เข้ากองทัพ โดยเฉพาะสงครามในปี พ.ศ. 2300 เป็นสงครามครั้ง สุดท้าย ที่คนมอญพ่ายแพ้แก่พม่าอย่างราบคาบ ชาวมอญส่วนหนึ่งจึง อพยพโยกย้ายเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนใน เมืองไทยหลายต่อหลายครั้ง เท่าที่มีการจดบันทึกเอาไว้รวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง
  • 18. ครั้งที่ 1 เมื่อ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ตีหงสาวดีแตกใน พ.ศ. 2082 ชาวมอญ จำานวนมากหนีเข้ามากรุงศรีอยุธยา พระเจ้าแผ่นดินโปรดฯให้ตั้งบ้านเรือนอยู่แถบตัว เมืองกรุงศรีอยุธยาชั้นนอก พระยาเกียรติพระยารามและครัวเรือน ให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ แถบตัวเมืองชั้นใน ใกล้พระอารามวัดขุนแสน และเมื่อถึงพ.ศ. 2084 ราชวงศ์ตองอูตี เมืองเมาะตะมะแตก มีการฆ่าฟันชาวมอญลงขนาดใหญ่ ก็เข้าใจว่ามีมอญหนีเข้ามาสู่ กรุงศรีอยุธยาอีก ถือเป็นระลอกแรกของมอญอพยพ ครั้งที่ 2 เมื่อพระนเรศวรเสด็จไปพม่าเมื่อคราวพระเจ้าบุเรงนองสิ้นพระชนม์ แล้วประกาศเอกราช ทรงชักชวนมอญที่เข้าสวามิภักดิ์ ให้อพยพเข้ามาพร้อมกัน ราว พ.ศ. 2127 ในการอพยพครั้งนี้ไม่ปรากฏว่าพระเจ้าแผ่นดินโปรดฯ ให้ตั้งบ้านเรือนที่ ใด แต่คาดว่าคงเป็นย่านเดียวกับการอพยพคราวแรก
  • 19. ครั้งที่ 3 เกิดขึนเมื่อหงสาวดีถูกยะไข่ทำาลายใน พ.ศ. ้ 2138 ครั้งนี้ก็มีการอพยพใหญ่ของ มอญ มาทางตะวันออกเข้าสู่ ดินแดนของกรุงศรีอยุธยาอีก ครั้งที่ 4 หลังจากที่ราชวงศ์ตองอูยายราชธานีไปอยู่ที่อัง ้ วะ หลังจากหงสาวดีถูกทำาลายแล้ว พวกมอญ ตั้งอำานาจขึนใหม่ใน ้ ดินแดนของตน ต่อมา ถึงรัชกาลพระเจ้านอกเปกหลุน พม่าจึงยก ทัพมาปราบพวกมอญอีกใน พ.ศ. 2156 ทำาให้เกิดการอพยพของ มอญเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาอีก หลักฐานบางแห่งกล่าวว่า มอญ กลุ่มนี้ ได้รับอนุญาตให้ตั้งภูมิลำาเนาอยู่ตามแนวชายแดนไทย
  • 20. ครั้งที่ 5 ใน พ.ศ. 2204 หรือ 2205 พวกมอญในเมืองเมาะตะ มะก่อการกบฏขึ้นอีก แต่ถูกพม่าปราบลงได้ จึงต้องอพยพหนีเข้ากรุง ศรีอยุธยาอีกระลอกหนึ่ง ผ่านทางด่านเจดีย์สามองค์ เข้าใจว่ากลุ่มนี้ สัมพันธ์กับกลุ่มมอญที่ตั้งอยู่ชายแดน ครั้งที่ 6 หลังจากที่มอญสามารถตั้งอาณาจักรของตนขึ้นได้ใหม่ ในปลายราชวงศ์ตองอู แล้วยกกำาลังไปตีกรุงอังวะแตก อลองพญา รวบรวมกำาลังพม่าแล้วลุกขึ้นต่อสู้จนในที่สุดก็ตั้งราชวงศ์อลองพญาได้ และใน พ.ศ. 2300 ก็สามารถตีหงสาวดีได้อีก นโยบายของราชวงศ์นี้คือ กลืน มอญ ให้เป็นพม่าโดยวิธีรุนแรง จึงมีชาวมอญอพยพหนีมาสู่เมือง ไทยอีกหลาย ระลอก รวมทั้งกลุ่มที่หนีขึ้นเหนือไปสู่ล้านนา และเรียกกัน ว่าพวก “เม็ง” ในปัจจุบันนี้
  • 21. ครั้งที่ 7 ใน พ.ศ. 2316 ตรงกับแผ่นดินกรุงธนบุรี มอญก่อกบฏในย่างกุ้ง พม่าปราบปรามอย่างทารุณแล้วเผา ย่างกุงจนราบเรียบ ทำาให้มอญอพยพเข้าไทย ้ อีก พระเจ้าตากสินทรงโปรดฯ ให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ ปากเกร็ด ซึ่งทำาให้เกิดกลุ่มมอญเก่า (พระยารามัญวงศ์) และ มอญใหม่ (พระยาเจ่ง) คนที่นับตัวเองเป็น มอญ ในปัจจุบัน ล้วนอพยพเข้ามาจากระลอกนี้ หรือหลังจากนี้ทั้งนั้น ส่วน มอญ ที่อพยพก่อนหน้านี้กลืนหายเป็นไทยไปหมด แม้แต่กลุ่ม ที่อยู่ตามชายแดนแถบเมืองกาญจนบุรี
  • 22. ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2336 เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ยึดเมืองทวายได้ แต่รักษาไว้ไม่ได้ ต้องถอยกลับ เข้าไทย ก็นำาเอาพวกมอญโดยเฉพาะที่เป็นพวกหัวหน้าเข้ามาอีก ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2357 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 เมื่อ มอญ ไม่พอใจที่ถูกพม่าเกณฑ์แรงงาน ก่อสร้างพระเจดีย์ก่อกบฏที่เมืองเมาะตะมะ ถูกพม่าปราบ ต้องหนีเข้า ไทยเป็นระลอกใหญ่มาก ราว 40,000 คนเศษ เจ้าฟ้ามงกุฎ (ต่อมาคือ รัชกาลที่ 4) เสด็จเป็นแม่กองพร้อมด้วยกรมหลวงพิทักษ์มนตรี ออกไป รับถึงชายแดน พวกนี้มาตั้งรกรากที่สามโคก (ปทุมธานี) ปากเกร็ด และ พระประแดง มอญที่อพยพเข้ามาครั้งนี้เรียกกันว่ามอญใหม่
  • 23. ชุม ชนมอญ ชาวมอญได้อพยพมาพำานักอยู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุง ศรีอยุธยา ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระยาเกียรติและพระยาราม ขุนนางมอญที่มีความดีความชอบในราชการและกลุ่มญาติพี่น้องได้รับ พระราชทานที่ดินตั้งบ้านเรือน ณ บ้านขมิ้น ซึ่งได้แก่บริเวณวัดขุนแสนใน ปัจจุบัน มอญในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ทั้งกลุ่มชาวมอญเก่าที่อยู่มาแต่ เดิมและกลุ่มมอญใหม่ได้รับพระราชทานที่ดินให้ตั้งชุมชนอยูชานกรุง ่ ศรีอยุธยาบริเวณวัดตองปุและคลองคูจาม นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงกลุ่มชาวมอญที่มีอาชีพฆ่าเป็ดไก่ขายที่ ตลาดวัดวัวควาย และมีตลาดมอญขายขัน ถาดทองเหลือง ซึ่งเป็นทั้งตลาดสด ด้วย ตั้งอยูภายนอกกำาแพงเมืองด้านใต้ บริเวณปากคลองเกาะแก้วมีชาวมอญ ่ บรรทุกมะพร้าว ไม้แสมทะล และเกลือมาจำาหน่าย
  • 24. ในสงครามเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ผู้นำาชุมชนชาวมอญในกรุง ศรีอยุธยาคือสุกี้พระนายกอง ได้อาสากองทัพพม่าทำาสงครามกับอยุธยา และ รวบรวมกองทัพมอญได้ถึง 2,000 คน ในปัจจุบันแม้จะไม่มีชุมชนของผู้สืบ เชื้อสายมอญภายในกรุงศรีอยุธยาอยู่ในบริเวณที่กล่าวถึงในประวัติศาสตร์แต่ ก็ยงมีชุมชนมอญและกลุ่มวัฒนธรรมมอญกระจายอยู่บริเวณริมฝั่งแม่นำ้า ั เจ้าพระยาจากพระนครศรีอยุธยาลงมาจนถึงกรุงเทพฯหลายชุมชน ชาวมอญ ได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ทั่วไปตามที่ราบลุ่มริมนำ้าภาคกลาง ได้แก่ ลพบุรี สระบุรี  อยุธยา นครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง นครนายก  ปทุมธานีนนทบุรี สมุทรสงคราม สมุทรปราการ สมุทรสาคร กรุงเทพฯ  ฉะเชิงเทรา เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และบางส่วนตั้งภูมิลำาเนาอยู่แถบภาค เหนือ ได้แก่เชียงใหม่ ลำาพูน ลำาปาง ตาก กำาแพงเพชร นครสวรรค์  อุทัยธานี ทางภาคอีสาน ได้แก่ นครราชสีมา มีบ้างเล็กน้อยที่อพยพลงใต้ อย่าง ชุมพรสุราษฎร์ธานี โดยมากเป็นแหล่งที่พระเจ้าแผ่นดินทรงโปรดฯ พระราชทานที่ดินทำากินให้แต่แรกอพยพเข้ามา
  • 25. มอญสามโคก จ.ปทุม ธานี ชาวมอญ ที่ได้มาตั้งรกรากอยูที่เมืองสามโคก หรือปัจจุบันก็คือ อ.สามโคก ่ จ.ปทุมธานี หนึ่งในชุมชนชาวมอญที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย โดยประชากรชาว มอญที่มาอาศัยอยูที่สามโคกนี้ ได้อพยพเข้ามาในเมืองไทยตั้งแต่สมัยสมเด็จพระ ่ นารายณ์มหาราช ราวพ.ศ.2202 ซึ่งพระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้ครอบครัวมอญ เหล่านั้นไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคก นับเป็นครั้งแรกที่ชาวมอญได้เข้ามาตั้ง บ้านเรือน ชาวมอญสามโคกมีวิถีชีวิตอยูริมแม่นำ้าเจ้าพระยา       ต่อจากนั้นชาว ่ มอญก็ยงได้อพยพขึ้นมาอีกหลายครั้ง คือในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ั แห่งกรุงธนบุรี และในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กรุง รัตนโกสินทร์ ดังนั้นจากชุมชนขนาดเล็กบ้านสามโคก จึงกลายเป็นเมืองสามโคกใน เวลาต่อมา เมื่ออดีตนั้นชาวมอญสามโคกถือว่ามีความเจริญรุ่งเรืองมาก อาศัยปลูก สร้างบ้านเรือนอยูตามริมฝั่งแม่นำ้าเจ้าพระยา และมีอาชีพทำาเครื่องปั้นดินเผาขายจน ่ มีชื่อเสียงโด่งดัง เป็นที่รู้จักกันในนามของ "ตุ่มสามโคก" หรือที่ชาวรามัญเรียกกัน ว่า "อีเลิ้ง" แต่เมื่อโลกก้าวหน้าวิวัฒนาการสมัยใหม่ย่างกรายเข้ามา วิถีชีวิตของ ชาวมอญสามโคก ก็เริ่มแปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ตามกาลเวลา             
  • 26. มอญบางไส้ไ ก่ จ.กรุง เทพฯ นับแต่เขตวัดละมุดเรื่อยลงมา จนถึงบริเวณ คลองมอญ เป็นบริเวณที่เคย เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวมอญ ทั้งนี้ จากคำาบอกเล่าของคุณมนู ชมชื่นจิตร ซึ่งเป็น ชาวมอญ ที่เคยอาศัยอยูที่บางไส้ไก่มาแต่เดิม แต่เวลานี้รับราชการอยู่ ที่จังหวัด ่ นครราชสีมา ได้ให้สัมภาษณ์เรื่องชุมชนมอญ ที่บางไส้ไก่ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2525 ณ. วัดประดิษฐาราม กรุงเทพฯ ว่าชาวมอญที่อยู่บริเวณนี้ ส่วนใหญ่ ในสมัยเดิมเริ่มแรกที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยนั้น มักจะทำาหน้าที่เป็น พวกฝีพายเรือหลวง พวกนี้ เดิมเป็นชาวมอญที่เคยอยู่ แถวเมืองทะวายและเมือง มะริด ซึ่งมีความชำานาญทางเรือ สาเหตุที่อพยพเข้ามา ในประเทศไทย เพราะใน สมัยของพระเจาปดุง กษัตริย์พม่าที่ปกครองอยูนั้น กล่าวหาว่า มอญเมืองทะวาย ่ และเมืองมะริดเป็นกบฏ ได้จับพวกมอญในเมือง ใส่เล้าเผาทิ้งไปเป็นจำานวนมาก พวกมอญจึงพากันอพยพหนีภัยเข้าสู่ประเทศไทย        
  • 27. เมื่อเข้ามาอยู่ในประเทศไทย ทางฝ่ายไทยก็ให้ไปอยู่แถว สะพานพระรามหก ในปัจจุบัน ตรงบริเวณใกล้กับวัดละมุดบน (วัด บางละมุดเหนือ) วัดบางละมุดบน เดิมนั้นได้ถูกระเบิดของฝ่าย พันธมิตรพังเสียหาย โดยเฉพาะศาลาการเปรียญ ถูกลูกระเบิดพังเสีย หายทั้งหลัง (ข้อมูลจากการบอกเล่าของพระครูสังฆรักษ์ (เหลือ) วัด ปรมัยยิกาวาส ตำาบลเกาะเกร็ด อำาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี อายุ ประมาณ 80 ปีเศษ) สันนิษฐานว่า มอญพวกนี้ เป็นมอญที่อพยพเข้า มาอยู่ ในประเทศไทย เป็นพวกหลังสุด ทั้งนี้ เพราะมอญพวกนี้ ไม่ ปรากฏว่ามีญาติหรือพวกพ้องทางเมืองปทุมเลย ไม่ว่าจะเป็นทางฝ่าย สามีหรือฝ่ายภรรยาก็ตาม ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เป็นชาวมอญพวกที่มา อยูใหม่ ที่อพยพมาจากเมืองมอญคนละพวกกับพวกอื่น ๆ ่
  • 28.  คลองมอญ จ.กรุง เทพฯ คลองมอญ  อยูในระหว่างเขตบางกอกน้อย และเขตบางกอกใหญ่ ่ ปลายคลองแยกจากแม่นำ้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ที่บริเวณข้างราชนาวิกสภา ผ่านคลองบ้านขมิ้นซึ่งเป็นคูเมืองเดิม ตั้งแต่ครั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี   ไป ออกยังคลองบางขุนศรี หรือคลองชักพระ ซึ่งเป็นลำาแม่นำ้าเจ้าพระยาเดิม ต่อ จากนั้นจนถึงวัดเกาะ บางครั้งเรียกว่า คลองมอญ ตามเดิม หรือบางแห่งก็เรียก ว่า คลองบางเสาธง หรือบางทีกถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของคลองบางน้อย จาก ็ บริเวณวัดเกาะ คลองจะแยกออกเป็น 2 สาย สายบนเรียกว่า "คลองบางน้อย" สายล่างเรียกว่า "คลองบางเชือกหนัง" คลองมอญมีความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร วัดสำาคัญริมฝั่งคลองมีด้วยกันหลายวัด ได้แก่ วัดเครือวัลย์   วัดนาค กลาง  วัดพระยาทำา  วัดครุฑ  วัดโพธิ์เรียง  วัดบางเสาธง  วัดปากนำ้าฝั่งใต้  วัดเกาะ  เป็นต้น
  • 29. ในสมัยกรุงธนบุรีบ้านของท่านท้าวทรงกันดาร (ทองมอญ) นั้นอยูระหว่างเขตบางกอกน้อย และเขตบางกอกใหญ่ ปลายคลอง ่ แยกจากแม่นำ้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ที่บริเวณข้างราชนาวิกสภา ผ่านคลองบ้านขมิ้น ซึ่งเป็นคูเมืองเดิม ตั้งแต่ครั้งกรุงธนบุรีเป็น ราชธานี  ไปออกยังคลองบางขุนศรี หรือคลองชักพระ ซึ่งเป็นลำา แม่นำ้าเจ้าพระยาเดิม จนถึงวัดเกาะ ซึ่งเป็นนิวาสสถานเดิม ที่ พระเจ้าตากสินพระราชทานให้ นอกจากท่านท้าวทรงกันดาร (ทอง มอญ) แล้ว ยังมีบ้านเรือนบรรดาญาติ ๆ ข้าทาสบริวารจำานวนมากอยู่ กันอย่างหนาแน่น ผู้คนในสมัยนั้น จึงนิยมเรียกคลองย่านนั้นว่า “คลองมอญ” และยังคงเรียกติดปากมาจนทุกวันนี้
  • 30. มอญปากเกร็ด จ.นนทบุร ี ในการอพยพของมอญอย่างน้อย ๒ ครั้ง ที่พระเจ้าแผ่นดินโปรดฯ พระราชทานที่ทำากินให้แก่ชาวมอญที่ปากเกร็ด ครั้งแรก ใน พ.ศ.๒๓๑๖ สมัยกรุงธนบุรี มีเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) เป็นหัวหน้า ดังความใน พงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ว่า “ฝ่ายพวกรามัญที่ หนีพม่ามานั้น พระยาเจ่ง ตละเสี้ยง ตละเกล็บ กับพระยา กลางเมือง ซึ่งหนีเข้ามาครั้งกรุงเก่า พม่าตีกรุงได้นำาตัวกลับไป และสมิง รามัญ นายไพร่ทั้งปวงพา ครัวเข้ามาทุกด่านทุกทาง ให้ขาหลวงไปรับมาถึงพระนครพร้อมกัน แล้ว ้ ทรงพระกรุณาให้ตั้งบ้านเรือนอยู่แขวงเมืองนนท์บ้าง เมืองสามโคกบ้าง แต่ ฉกรรจ์จัดได้สามพัน โปรดให้หลวงบำาเรอศักดิ์ครั้งกรุงเก่า เป็นเชื้อรามัญ ให้เป็นพระยารามัญวงศ์ เรียกว่า จักรีมอญ ควบคุมกองมอญใหม่ทั้งสิ้น และ โปรดเกล้าฯ พระราชทานตราภูมิคุ้มห้ามสรรพากรขนอนตลาดทั้งปวง ให้ ค้าขายทำามาหากินเป็นสุข”
  • 31. ครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ.๒๓๕๗ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ พม่าบังคับใช้แรงงานมอญอย่างหนัก ชาวมอญได้รับความเดือดร้อนจึงก่อกบฏขึ้น และอพยพเข้า มายังไทย ชาวมอญที่อพยพมาทั้ง ๒ ครั้งนี้เองที่สืบทอดมาเป็น ชาวไทยเชื้อสายมอญปากเกร็ดในปัจจุบัน โดยเฉพาะการ อพยพเข้ามาของเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง) ในขณะนั้นบ้าน เมืองเพิ่งฟื้นตัวจากสงครามคราวเสียกรุง พลเมืองไทยยังมี น้อย รัฐต้องการแรงงานทำาการเกษตรและป้องกันประเทศ ชาวมอญจึงกลายเป็นกำาลังสำาคัญของกรุงธนบุรี พระเจ้าตากสินจึงโปรดฯให้พญาเจ่งยกไพร่พลไปตั้งบ้านเรือน ที่ปาก เกร็ด คอยสกัดทัพพม่าที่อาจยกเข้าทางด้านทิศ เหนือ รวมทั้งดูแลด่านขนอนที่แขวงเมืองนนท์
  • 32. มอญบ้า นเก่า จ.อุท ัย ธานี ชุมชน มอญ บ้านเก่า ตั้งอยูที่ตำาบลบ้านเก่า อำาเภอหนองฉาง จังหวัด ่ อุทัยธานี ชุมชนแห่งนี้เป็นชุมชนมอญขนาดเล็ก ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพทำาไร่ ทำา นา อยู่ใกล้แม่นำ้าสะแกกรัง และเขาสะแกกรัง ซึ่งมีประวัตศาสตร์ เกียวข้องกับชาว ่ มอญ และพระราชวงศ์จักรี ซึ่งนักประวัติศาสตร์ยกให้เมืองอุทัยธานี เป็นเมืองของ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก และยังมีตำานานที่กล่าวถึงเมืองอุทัยธานี ในสมัยกรุง สุโขทัย รวมทั้งชุมชนมอญโบราณด้วย        ชุมชน มอญ บ้านเก่าสืบเชื้อสายมาจากชาวมอญแต่ครั้งอดีต รวมทั้งชาว มอญที่อพยพขึนไป ตั้งแต่สมัยอยุธยา และสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ปัจจุบัน ้ ชาวบ้านวัยกลางคนขึนไป ยังใช้ภาษามอญในการสื่อสารกันภายในหมู่บ้าน ชุมชน ้ มอญบ้านเก่า มีวัดป่าช้าเป็นวัดมอญประจำาชุมชน และที่น่ายินดีก็คือ เมื่อปีการศึกษา ๒๕๔๘ ผู้นำาชุมชนหลายท่านที่หวงแหนความเป็นมอญ เช่น ร้อยเอกเสริม นิยม โดย ดำาริของท่านเจ้าอาวาสวัดป่าช้า ได้นิมนต์พระอาจารย์ที่แตกภาษามอญจากบาง กระดี่ ไปสอนหนังสือมอญให้แก่เด็ก ๆ ในชุมชน โดยเปิดเป็นวิชาเลือกให้นักเรียน สามารถเลือกเรียนได้ และมีนักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองให้ความสนใจกันอย่างมาก