SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  1
Télécharger pour lire hors ligne
คู่มือรับ “น้ำท่วม”
    สถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในขณะนี้ สร้างความวิตกให้กับคนกรุงเทพฯ ไม่น้อย แต่หากประชาชนมีความพร้อมใน
การเตรียมรับสถานการณ์น้ำท่วม ก็จะช่วยป้องกันและบรรเทาความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้
   เตรียมตัวให้พร้อมก่อนน้ำท่วม
   1. ตรวจสอบข้อมูลเรื่องน้ำท่วมที่เคยเกิดในละแวกบ้านหรือพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อคาดการณ์และเตรียมตัวได้ถูก
   2. วางแผนและตรวจสอบสถานที่และเส้นทางสำหรับการอพยพ
   3. เตรียมอุปกรณ์สื่อสาร สำรองแบตเตอรี่โทรศัพท์ ไฟฉายพร้อมถ่าน
   4. เตรียมวัสดุอุดปิดป้องกันบ้านเรือน เช่น กระสอบทราย แผ่นพลาสติก ไม้แผ่น ตะปู กาวซิลิโคน
   5. นำยานพาหนะไปเก็บไว้ในพื้นที่ที่น้ำไม่ท่วม
   6. ย้ายสิ่งของขึ้นที่สูง ส่วนของใช้ขนาดใหญ่ หาอิฐหรือไม้หนุนให้สูงขึ้นจากพื้น
   7. บันทึกหมายเลขโทรศัพท์สำหรับเหตุฉุกเฉิน
   8. เตรียมถุงยังชีพบรรจุของใช้ที่จำเป็นพร้อมเสบียงอาหาร และยาประจำตัวอย่างน้อย 3 วัน ในกรณีที่ต้องอพยพออกจากพื้นที่
   9. เก็บของมีค่าไว้ในที่ปลอดภัย และบันทึกรายการทรัพย์สินหรือถ่ายรูปไว้เป็นหลักฐาน
   10. ให้คำแนะนำการปฏิบัติที่ถูกต้องแก่บุตรหลาน เช่น ไม่สัมผัสเครื่องใช้ไฟฟ้า แจ้งสถานที่ที่นัดพบเมื่อเกิดการพลัดหลง

   ข้อควรปฏิบัติระหว่างน้ำท่วม
   • เมื่ออยู่ภายในบ้าน
   1. ปิดวาล์วแก๊สให้สนิท ตัดระบบไฟฟ้า ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดภายในบ้าน ห้ามสัมผัสเครื่องใช้ไฟฟ้า
   2. ระวังสัตว์อันตรายที่มากับน้ำ เช่น งู ตะขาบ
   3. เดินอย่างระมัดระวัง เนื่องจากอาจมีอันตรายจากโคลนที่ทำให้ลื่น หรือเศษวัสดุของมีคมที่ลอยมากับน้ำ
   4. ห้ามบริโภคทุกอย่างที่สัมผัสกับน้ำ
   • หากอยู่นอกบ้าน
   1. ห้ามเดินตามเส้นทางที่น้ำไหล เนื่องจากหากกระแสน้ำแรงอาจพัดพาไปได้ หากจำเป็นต้องเดินผ่านที่น้ำไหลให้ลองใช้ไม้จุ่ม
      เพื่อวัดระดับน้ำก่อนทุกครั้ง
   2. ห้ามขับรถในพื้นที่ที่กำลังเกิดน้ำท่วม ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะจมน้ำ นอกจากจะทำให้รถเสียหายแล้วอาจอันตรายถึงชีวิตได้
   3. ห้ามเข้าใกล้อุปกรณ์ไฟฟ้า เสาไฟฟ้า สายไฟฟ้า เนื่องจากหากมีไฟฟ้ารั่ว อาจถูกไฟดูดได้

   การฟื้นฟูหลังน้ำท่วม
   1. เดินตรวจตรารอบๆ บ้าน และเช็กสายไฟฟ้า สายถังแก๊ส หากเกิดแก๊สรั่วให้ระวังและรีบแจ้งร้านตัวแทนจำหน่าย
   2. ตรวจสอบความเสียหายของโครงสร้าง ตัวบ้าน ระเบียง หลังคา ให้แน่ใจว่าปลอดภัย หากเสียหาย ให้รีบซ่อมแซม
   3. พักผ่อนและกินอาหารที่เป็นประโยชน์ ดูแลสุขภาพและสร้างความอบอุ่นในครอบครัวที่จะช่วยเยียวยารักษาได้ดี
   4. พูดคุยปัญหากับเพื่อนและครอบครัว เพื่อช่วยให้ได้ระบายและผ่อนคลายความเครียด
   5. ดูแลเด็กๆ ให้ดี และโปรดเข้าใจว่าเด็กก็มีความตื่นกลัวไม่แพ้กัน อย่าตำหนิเด็กที่มีพฤติกรรมแปลกๆ หลังจากน้ำท่วม เช่น
      ฉี่รดที่นอน ดูดนิ้วโป้งหรือเกาะติดผู้ปกครองอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากเด็กเพิ่งผ่านเหตุการณ์รุนแรงในชีวิต
   6. ระวังเรื่องสุขอนามัย และโรคภัยที่มากับน้ำท่วม เช่น น้ำกัดเท้า ตาแดง ท้องร่วง

   ที่มา:
   หน่วยวิจัยภัยพิบัติธรรมชาติ
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

   http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=354&contentID=168914
   วันที่
11
ตุลาคม
2554

Contenu connexe

Plus de Satapon Yosakonkun

คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นSatapon Yosakonkun
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...Satapon Yosakonkun
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...Satapon Yosakonkun
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯSatapon Yosakonkun
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลSatapon Yosakonkun
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...Satapon Yosakonkun
 
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zoteroการทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : ZoteroSatapon Yosakonkun
 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...Satapon Yosakonkun
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่Satapon Yosakonkun
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsSatapon Yosakonkun
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardSatapon Yosakonkun
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์Satapon Yosakonkun
 
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zoteroการจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย ZoteroSatapon Yosakonkun
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social MediaSatapon Yosakonkun
 
NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013Satapon Yosakonkun
 
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLibการใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLibSatapon Yosakonkun
 
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556Satapon Yosakonkun
 
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStoneพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStoneSatapon Yosakonkun
 

Plus de Satapon Yosakonkun (20)

คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
 
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zoteroการทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standards
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forward
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
 
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zoteroการจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
 
NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013
 
10 Technologies to Watch
10 Technologies to Watch 10 Technologies to Watch
10 Technologies to Watch
 
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLibการใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
 
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556
 
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStoneพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
 

คู่มือรับ “น้ำท่วม” ฉบับย่อ

  • 1. คู่มือรับ “น้ำท่วม” สถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในขณะนี้ สร้างความวิตกให้กับคนกรุงเทพฯ ไม่น้อย แต่หากประชาชนมีความพร้อมใน การเตรียมรับสถานการณ์น้ำท่วม ก็จะช่วยป้องกันและบรรเทาความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนน้ำท่วม 1. ตรวจสอบข้อมูลเรื่องน้ำท่วมที่เคยเกิดในละแวกบ้านหรือพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อคาดการณ์และเตรียมตัวได้ถูก 2. วางแผนและตรวจสอบสถานที่และเส้นทางสำหรับการอพยพ 3. เตรียมอุปกรณ์สื่อสาร สำรองแบตเตอรี่โทรศัพท์ ไฟฉายพร้อมถ่าน 4. เตรียมวัสดุอุดปิดป้องกันบ้านเรือน เช่น กระสอบทราย แผ่นพลาสติก ไม้แผ่น ตะปู กาวซิลิโคน 5. นำยานพาหนะไปเก็บไว้ในพื้นที่ที่น้ำไม่ท่วม 6. ย้ายสิ่งของขึ้นที่สูง ส่วนของใช้ขนาดใหญ่ หาอิฐหรือไม้หนุนให้สูงขึ้นจากพื้น 7. บันทึกหมายเลขโทรศัพท์สำหรับเหตุฉุกเฉิน 8. เตรียมถุงยังชีพบรรจุของใช้ที่จำเป็นพร้อมเสบียงอาหาร และยาประจำตัวอย่างน้อย 3 วัน ในกรณีที่ต้องอพยพออกจากพื้นที่ 9. เก็บของมีค่าไว้ในที่ปลอดภัย และบันทึกรายการทรัพย์สินหรือถ่ายรูปไว้เป็นหลักฐาน 10. ให้คำแนะนำการปฏิบัติที่ถูกต้องแก่บุตรหลาน เช่น ไม่สัมผัสเครื่องใช้ไฟฟ้า แจ้งสถานที่ที่นัดพบเมื่อเกิดการพลัดหลง ข้อควรปฏิบัติระหว่างน้ำท่วม • เมื่ออยู่ภายในบ้าน 1. ปิดวาล์วแก๊สให้สนิท ตัดระบบไฟฟ้า ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดภายในบ้าน ห้ามสัมผัสเครื่องใช้ไฟฟ้า 2. ระวังสัตว์อันตรายที่มากับน้ำ เช่น งู ตะขาบ 3. เดินอย่างระมัดระวัง เนื่องจากอาจมีอันตรายจากโคลนที่ทำให้ลื่น หรือเศษวัสดุของมีคมที่ลอยมากับน้ำ 4. ห้ามบริโภคทุกอย่างที่สัมผัสกับน้ำ • หากอยู่นอกบ้าน 1. ห้ามเดินตามเส้นทางที่น้ำไหล เนื่องจากหากกระแสน้ำแรงอาจพัดพาไปได้ หากจำเป็นต้องเดินผ่านที่น้ำไหลให้ลองใช้ไม้จุ่ม เพื่อวัดระดับน้ำก่อนทุกครั้ง 2. ห้ามขับรถในพื้นที่ที่กำลังเกิดน้ำท่วม ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะจมน้ำ นอกจากจะทำให้รถเสียหายแล้วอาจอันตรายถึงชีวิตได้ 3. ห้ามเข้าใกล้อุปกรณ์ไฟฟ้า เสาไฟฟ้า สายไฟฟ้า เนื่องจากหากมีไฟฟ้ารั่ว อาจถูกไฟดูดได้ การฟื้นฟูหลังน้ำท่วม 1. เดินตรวจตรารอบๆ บ้าน และเช็กสายไฟฟ้า สายถังแก๊ส หากเกิดแก๊สรั่วให้ระวังและรีบแจ้งร้านตัวแทนจำหน่าย 2. ตรวจสอบความเสียหายของโครงสร้าง ตัวบ้าน ระเบียง หลังคา ให้แน่ใจว่าปลอดภัย หากเสียหาย ให้รีบซ่อมแซม 3. พักผ่อนและกินอาหารที่เป็นประโยชน์ ดูแลสุขภาพและสร้างความอบอุ่นในครอบครัวที่จะช่วยเยียวยารักษาได้ดี 4. พูดคุยปัญหากับเพื่อนและครอบครัว เพื่อช่วยให้ได้ระบายและผ่อนคลายความเครียด 5. ดูแลเด็กๆ ให้ดี และโปรดเข้าใจว่าเด็กก็มีความตื่นกลัวไม่แพ้กัน อย่าตำหนิเด็กที่มีพฤติกรรมแปลกๆ หลังจากน้ำท่วม เช่น ฉี่รดที่นอน ดูดนิ้วโป้งหรือเกาะติดผู้ปกครองอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากเด็กเพิ่งผ่านเหตุการณ์รุนแรงในชีวิต 6. ระวังเรื่องสุขอนามัย และโรคภัยที่มากับน้ำท่วม เช่น น้ำกัดเท้า ตาแดง ท้องร่วง ที่มา: หน่วยวิจัยภัยพิบัติธรรมชาติ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=354&contentID=168914 วันที่ 11 ตุลาคม 2554