SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  53
ระบบนิเวศ
ENV 2103
รายวิชา สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
บทที่ 2
สุทธิวัฒน์ บุญเลิศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ (ecosystem)(ecosystem)
อะตอม (atom)โมเลกุล (molecule)ร์แกเนลล์ (organelle)
เซลล์ (cell) เนื้อเยื่อ (tissue)
อวัยวะ (organ)
สิ่งมีชีวิต (organism)
สิ่งมีชีวิต (organism)
ครอบครัว (family)
ประชากร (population)
กลุ่มสิ่งมีชีวิต (community)
 ระบบนิเวศ (ecosystem)
โลก (the world)
ระบบนิเวศระบบนิเวศ (ecosystem)(ecosystem)
• ระบบความสัมพันธ์
ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิต
ที่อาศัยอยู่ร่วมกัน
ในบริเวณนั้น
• ความสัมพันธ์
ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิต
กับสภาพแวดล้อม
ของแหล่งที่อยู่
• มีการแลกเปลี่ยน
องค์ประกอบของระบบนิเวศองค์ประกอบของระบบนิเวศ
1.) ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต (abiotic
component )  ได้แก่
อนินทรียสาร, อินทรียสารและ สภาพ
แวดล้อมทางกายภาพ
องค์ประกอบของระบบนิเวศองค์ประกอบของระบบนิเวศ
1.) ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต (abiotic
component ) 
• อนินทรียสาร : N, CO2, O2, H2O, C
• อินทรียสาร : คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
 ฯลฯ
• สภาพแวดล้อมทางกายภาพ : อุณหภูมิ แสง
 ความเป็นกรด ด่าง
 ความเค็มและความชื้น
องค์ประกอบของระบบนิเวศองค์ประกอบของระบบนิเวศ
22.).)  ส่วนประกอบที่มีชีวิตส่วนประกอบที่มีชีวิต  ((bioticbiotic
componentcomponent))  
2.1 ผู้ผลิต (producer) : สิ่งมีชีวิตที่
สามารถนำาพลังงานจากแสงอาทิตย์มา
สังเคราะห์อาหารขึ้นได้เองด้วยแร่ธาตุและ
สสารที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
ได้แก่ พืชสีเขียว แพลงค์ตอนพืช และ
แบคทีเรียบางชนิด
องค์ประกอบของระบบนิเวศองค์ประกอบของระบบนิเวศ
2.) ส่วนประกอบที่มีชีวิต (biotic
component) 
2.2 ผู้บริโภค (consumer) คือ สิ่งมีชีวิต
 ที่กินสิ่งมีชีวิตอื่นๆเป็นอาหาร แบ่งได้เป็น
-   สิ่งมีชีวิตที่กินพืชเป็นอาหาร (herbivore) 
- สิ่งมีชีวิตที่กินสัตว์อื่นเป็น
 อาหาร (carnivore) 
- สิ่งมีชีวิตที่กินทั้งพืช และสัตว์ ซึ่งเป็นลำาดับ
การกินสูงสุด (omnivore) 
องค์ประกอบของระบบนิเวศองค์ประกอบของระบบนิเวศ
2.) ส่วนประกอบที่มีชีวิต (biotic
component) 
2.3 ผู้ย่อยสลาย (decomposer) เป็น
พวกย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารอินทรีย์
ได้ เช่น  แบคทีเรีย  เห็ด  รา   เป็นต้น
การทำางานของระบบนิเวศการทำางานของระบบนิเวศ
ประเภทของระบบนิเวศประเภทของระบบนิเวศ
1.) ระบบนิเวศตามธรรมชาติ
ได้แก่ ระบบนิเวศบนบกและ ระบบนิเวศ
แหล่งนำ้า
2.) ระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น
เช่น ระบบนิเวศชุมชนเมือง แหล่ง
เกษตรกรรม นิคมอุตสาหกรรม
ตู้ปลา อ่างเลี้ยงปลา
ประเภทของระบบนิเวศประเภทของระบบนิเวศ
1.) ระบบนิเวศตามธรรมชาติ
ระบบนิเวศบนบก: เช่น ป่าไม้ ทุ่งหญ้า
ทะเลทราย
ประเภทของระบบนิเวศประเภทของระบบนิเวศ
1.) ระบบนิเวศตามธรรมชาติ
ระบบนิเวศแหล่งนำ้า: แบ่งเป็น
- ระบบนิเวศนำ้าจืด เช่น แม่นำ้า
ลำาคลอง หนอง บึง
- ระบบนิเวศนำ้าเค็ม เช่น ทะเล
 มหาสมุทร
- ระบบนิเวศนำ้ากร่อย เช่น
บริเวณปากแม่นำ้า
ประเภทของระบบนิเวศประเภทของระบบนิเวศ
2.) ระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น
เช่น ระบบนิเวศชุมชนเมือง แหล่ง
เกษตรกรรม นิคมอุตสาหกรรม
ตู้ปลา อ่างเลี้ยงปลา
โลก = ระบบนิเวศที่ใหญ่ที่สุด
บรรยากาศ
พิ้นนำ้า พื้นดิน
ชีวภาค
กอบทางกายภาพของโลกที่มีสิ่งมีชีวิต; ชีวภาค (bio
biosphere
lithospherehydrosphere
atmosphere
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพ
แวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่
แสง , อุณหภูมิ ,  นำ้า , อากาศ ,ดินและแร่
ธาตุในดิน
2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน
สายใยอาหาร ได้แก่
การอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพ
แวดล้อมทางกายภาพ
1. แสง: ปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อการดำารง
 ชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น
•ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
• การหุบและบานของดอกและใบของพืชหลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพ
แวดล้อมทางกายภาพ
2. อุณหภูมิ: ปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อการ
ดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น
• การหุบและบานของดอกไม้บางชนิด
•  มีผลต่อพฤติกรรมบางประการของสัตว์
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพ
แวดล้อมทางกายภาพ
3. นำ้า: เป็นปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อการดำารง
 ชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น
• เป็นวัตถุดิบในการบวนการสังเคราะห์ด้วย
 แสงของพืช
• นำ้าเป็นตัวทำาละลายที่สำาคัญที่ทำาให้แร่ธาตุใน
ดินละลายและซึมสู่พื้นดินเพื่อให้พืชสามารถนำา
ไปใช้ได้
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพ
แวดล้อมทางกายภาพ
4. ดินและแร่ธาตุในดิน: เป็นปัจจัยสำาคัญที่มี
 อิทธิพลต่อการดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น
•  เป็นแหล่งที่อยู่ของพืช อีกทั้งยังให้แร่ธาตุที่
จำาเป็นในการดำารงชีวิต
• ช่วยในการกักเก็บนำ้าและอากาศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพ
แวดล้อมทางกายภาพ
5. อากาศ: เป็นปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อการ
ดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น
• ออกซิเจน ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่จำาเป็นต่อ
การดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตแทบทุกชนิด
•  ออกซิเจน ที่ผสมอยู่ช่วยในการเผาไหม้
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน
สายใยอาหาร
• การอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน
(symbiosis)
• การอยู่รวมกันแบบปฏิปักษ์หรือภาวะ
ปรสิต (parasitism)
• การอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน
(symbiosis)
เป็นการอยู่ร่วมกันระหว่างสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด
ขึ้นไปในบริเวณหนึ่ง
โดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายได้
ประโยชน์
และไม่มีฝ่ายใดเสียประโยชน์
พึ่งพา (Mutualism) เป็นความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดจำาเป็นต้อง
มกัน ถ้าแยกจากกันจะไม่สามารถดำารงชีวิตอยู่ได้
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน
สายใยอาหาร
การได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation)
วามสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อยู่ร่วมกัน แต่ไม่จำาเ
มกันตลอดถ้าแยกจากกันก็สามารถดำารงชีพอยู่ได้
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน
สายใยอาหาร
ภาวะอิงอาศัย (Commensalisms) เป็น
ความสัมพันธ์ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่าย
หนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน
สายใยอาหาร
• การอยู่รวมกันแบบปฏิปักษ์หรือภาวะปรสิต
(parasitism)
เป็นการอยู่ร่วมกันระหว่างสิ่งมีชีวิต โดยฝ่าย
ใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่าย เสียประโยชน์
ฝ่ายที่ได้รับประโยชน์เรียกว่า ปรสิต
(Parasite) ส่วนฝ่ายที่เสียประโยชน์เรียกว่า
ผู้ถูกอาศัย (Host)
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน
สายใยอาหาร
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่ง
แวดล้อม
อดีตมนุษย์มีชีวิต
อยู่ใต้อิทธิพลของธรรมชาติ
•วัฒนธรรม
•ความรู้วิทยาศาสตร
•เทคโนโลยี
ดัดแปลงธรรมชาติแวดล้อม
ลดอิทธิพลของธรรมชาติ
ธรรมชาติแวดล้อม
เกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (มลพิษ)
กลไกควบคุมตัวเองของธรรมชาติถูกทำาลาย
Genetic variation geographic variatio
ระบบนิเวศที่สำาคัญของประเทศไทย
• ระบบนิเวศป่าดิบชื้นบนภูเขา
• ระบบนิเวศต้นนำ้าและลำาธาร
• ระบบนิเวศป่าชายเลน
ระบบนิเวศป่าดิบชื้นบนภูเขา
• ป่าดิบชื้นในประเทศไทยปกคลุมพื้นที่
ส่วนใหญ่
ทางตอนใต้  ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ไปจนสุดชายแดนของประเทศไทย 
ระบบนิเวศป่าดิบชื้นบนภูเขา
 สิ่งมีชีวิตในป่าดิบชื้น  
• ส่วนใหญ่เป็นไม้ตระกูลยาง 
(Dipterocarpaceae)  มักมีลำาดับสูง
ตั้งแต่  30  ถึง 50  เมตร  และมีขนาด
ใหญ่มาก 
• ถัดลงมาก็เป็นต้นไม้ขนาดเล็กและขนาด
กลาง  รวมทั้งต้นไม้ในตระกูลปาล์ม 
(Palmaceae)  ชนิดต่างๆ 
ระบบนิเวศป่าดิบชื้นบนภูเขา
 สิ่งมีชีวิตในป่าดิบชื้น
• พื้นป่ามักรกทึบ บนลำาต้นไม้ใหญ่จะมีพันธุ์
ไม้จำาพวก  เฟิร์น  กล้วยไม้  และมอส  ขึ้นอยู่
ทั่วไป 
• เถาวัลย์ในป่าชนิดนี้จะมีมากกว่าในป่าชนิด
อื่นๆ 
ระบบนิเวศป่าดิบชื้นบนภูเขา
คุณค่าและความสำาคัญของระบบนิเวศ
 ป่าดิบชื้น
  - เป็นส่วนหญิงของ
วัฏจักรใน
ระบบนิเวศ 
- เป็นแหล่งกำาเนิด
 ปัจจัยสี่
- เป็นแหล่งกำาเนิด
 ต้นนำ้าลำาธาร
- ช่วยปรับสภาพภูมิ
- เป็นส่วนหญิงของ
วัฏจักรใน
ระบบนิเวศ 
- เป็นแหล่งกำาเนิด
 ปัจจัยสี่
- เป็นแหล่งกำาเนิด
 ต้นนำ้าลำาธาร
- ช่วยปรับสภาพภูมิ
   - ช่วยเพิ่มความ
 สมบูรณ์แก่ดิน
   - ลดความรุนแรง
 ของนำ้าท่วม
   - ลดการกัดเซาะ
 ของหน้าดิน  
   - เป็นแนวป้องกัน
 ลมพายุ
   - ช่วยเพิ่มความ
 สมบูรณ์แก่ดิน
   - ลดความรุนแรง
 ของนำ้าท่วม
   - ลดการกัดเซาะ
 ของหน้าดิน  
   - เป็นแนวป้องกัน
 ลมพายุ
สภาพปัญหาของระบบนิเวศสภาพปัญหาของระบบนิเวศป่าดิบชื้น
บนภูเขา
• ภาวะการณ์เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ
ป่าดิบชื้นจากฝีมือมนุษย์
• ระบบนิเวศป่าดิบชื้นเสื่อมโทรมลง จาก
ฝีมือของมนุษย์ 
สภาพปัญหาของระบบนิเวศสภาพปัญหาของระบบนิเวศป่าดิบชื้น
บนภูเขา
สาเหตุหลักของการลดลงของป่าไม้ 
 สรุปได้ดังนี้
   - การเพิ่มจำานวนของประชากรอย่าง
รวดเร็วและความจำาเป็นในการตอบสนอง
   ด้านปัจจัยสี่ของมนุษย์
สภาพปัญหาของระบบนิเวศสภาพปัญหาของระบบนิเวศป่าดิบชื้น
บนภูเขา
สาเหตุหลักของการลดลงของป่าไม้ 
 สรุปได้ดังนี้
     - การบุกรุกแผ้วถางพื้นที่ป่า  เพื่อใช้
เป็นพื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้น     
สภาพปัญหาของระบบนิเวศสภาพปัญหาของระบบนิเวศป่าดิบชื้น
บนภูเขา
สาเหตุหลักของการลดลงของป่าไม้ 
 สรุปได้ดังนี้
     - การส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยการ
สร้างรีสอร์ท  เป็นเหตุให้มีการบุกรุกพื้นที่ป่า
รวมทั้งความเสื่อมโทรม และการสูญเสีย
ความสมดุลของระบบนิเวศป่าไม้จากปริมาณ
นักท่องเที่ยวและขยะมูลฝอยที่นักท่องเที่ยว
 ทิ้งไว้
   
สภาพปัญหาของระบบนิเวศสภาพปัญหาของระบบนิเวศป่าดิบชื้น
บนภูเขา
สาเหตุหลักของการลดลงของป่าไม้ 
 สรุปได้ดังนี้
      - การลักลอบตัดไม้  เนื่องจากการ
ป้องกันรักษาป่าไม้ยังไม่เข้มแข็งและเด็ด
ขาด  และข้อจำากัดในเรื่องงบประมาณ
  - การเกิดไฟป่า  ซึ่งเกิดขึ้นโดยความ
ตั้งใจและไม่ตั้งใจ
ระบบนิเวศต้นนำ้าและลำาธาร
 ป่าต้นนำ้า
• ป่า = แหล่งกำาเนิดต้นนำ้าลำาธาร
(บริเวณป่ามีความชุ่มชื้นเนื่องจาก มีฝนตก
มากกว่าบริเวณอื่น)
 
• เมื่อฝนตกใบไม้จะทำาหน้าที่รองรับนำ้าฝน 
ลำาต้นช่วยชะลอการไหลของนำ้าฝน  และราก
ทำาหน้าที่ดูดซับนำ้าเอาไว้ทำาให้นำ้า ค่อยๆ
ไหลซึมลงสู่แหล่งนำ้าใต้ดิน  ลำาธาร  และ
ระบบนิเวศต้นนำ้าและลำาธาร
สิ่งมีชีวิตในแหล่งนำ้า  (ลำาธาร  และ
แม่นำ้า) 
   - แพลงก์ตอน  (Plankton) : สิ่งมีชีวิตที่
ล่องลอยอยู่นำ้า  เคลื่อนที่โดยการ เคลื่อนที่
ของกระแสนำ้าเป็นส่วนใหญ่  แบ่งออกเป็น  2 
ชนิด  คือแพลงก์ตอนพืชเช่น  ไดอะตอม 
สาหร่าย  และแพลงก์ตอนสัตว์  ได้แก่  โปร
โตซัว
   - เนคตอน  (Nekton)  เป็นสัตว์ที่ว่ายนำ้า
ระบบนิเวศต้นนำ้าและลำาธาร
สิ่งมีชีวิตในแหล่งนำ้า  (ลำาธาร  และ
แม่นำ้า) 
   - เบนโทส  (Benthos)  เป็นสัตว์อาศัยอยู่
ตามพื้นท้องนำ้า  ได้แก่  หอย  ปลา  แมลง 
หนอน
   
   - เพอรไพตอน  (Periphyton)  เป็นพืช
หรือสัตว์ที่เกาะหรือปีนป่ายอยู่ตามต้นไม้หรือ
ใบไม้ของพืชนำ้า  ได้แก่  ไฮดรา 
ปัญหาความเสื่อมโทรมของ
 ต้นนำ้าลำาธารและแหล่งนำ้า
- การทำาลายป่าเพื่อการเกษตรกรรม 
-ไฟป่า  มีอิทธิพลต่อดิน  นำ้าในบริเวณต้นนำ้า
ลำาธาร  ไฟป่าในประเทศไทยเกิดจากฝีมือ
มนุษย์ทั้งสิ้น
- การก่อสร้างถนน  ในเขตภูเขาสูงบริเวณ
ต้นนำ้า
- การเลี้ยงสัตว์
- การทำาเหมืองแร่  นำ้าที่ปล่อยสู่ลำาห้วยจาก
พื้นที่ทำาเหมืองมีตะกอนมาก
ระบบนิเวศป่าชายเลน
ป่าชายเลน
• พบทั่วไปตามพื้นที่ชายฝั่งทะเล 
บริเวณปากนำ้า  อ่าว  ทะเลสาบและ
เกาะซึ่งเป็นบริเวณที่นำ้าท่วมถึงของ
ประเทศในแถบโซนร้อน  (Tropical
Region)
• ป่าชายเลนในประเทศไทยอยู่
ระบบนิเวศป่าชายเลน
ปัจจัยทางกายภาพ   
• ระบบนิเวศป่าชายเลนเกิดจากการผสม
ผสานระหว่างสภาพแวดล้อมของทะเลและ
สภาพแวดล้อมของแผ่นดิน
ระบบนิเวศป่าชายเลน
ปัจจัยทางกายภาพ   
• ดิน  : เกิดขึ้นจากการทับถมของดิน
ตะกอนในแม่นำ้าที่ไหลลงสู่บริเวณที่มีนำ้านิ่ง
ซึ่งดินตะกอนจะทับถมกันในสภาพ
ธรรมชาติจึงมีปริมาณเกลือสูง  และปริมาณ
 อินทรียวัตถุสูง
• นำ้า : ความเค็มของนำ้าในป่าชายเลนของ
ระบบนิเวศป่าชายเลน
ปัจจัยทางชีวภาพ 
พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีลักษณะ
เป็นป่าที่มีความเขียวสดตลอดปี เช่น ต้น
โกงกางใบเล็ก  โกงกางใบใหญ่ 
ระบบนิเวศป่าชายเลน
ปัจจัยทางชีวภาพ 
บริเวณป่าชายเลนมีปลาชนิดต่าง ๆ  รวมกัน
ประมาณ  72  ชนิด เช่น  ปลากระบอก  ปลา
กะพงขาว  และปลานวลจันทร์ทะเล  เป็นต้น 
ระบบนิเวศป่าชายเลน
ปัจจัยทางชีวภาพ 
- กุ้ง  เช่น  กุ้งแชบ๊วย  กุ้งตะกาด  กุ้งกุลาดำา
หรือกุ้งตะเข็บ  กุ้งหัวมัน
  
- ปู มี 54 ชนิดที่สำาคัญ  ปูก้ามดาบ ปูแสม ปู
ทะเล
- หอย มีทั้งชนิดที่เกาะอยู่กับต้นไม้  รากและใบ
ของไม้ในป่าชายเลน  รวมถึงชนิดที่ชอบฝังตัว
อยู่ในดินเลนหรือตามพื้นป่า
 
- แมลง  ที่อาศัยอยู่ตามป่าชายเลนมีจำานวน 
38  ชนิด  ชนิดที่พบมาก  ได้แก่  ผีเสื้อ 
คุณค่าและความสำาคัญในระบบ
 นิเวศป่าชายเลน
 ด้านป่าไม้  ไม้จากป่าชายเลนได้นำามาใช้
ประโยชน์ได้หลายอย่าง   เช่น
-  ทำาฟืนหรือถ่าน
   - ใช้ในการก่อสร้าง  เช่น  ทำาเสาเข็ม  ไม้คำ้า
 ยัน
   -   ใช้ทำาเฟอร์นิเจอร์
   -   ใบจากมุงหลังคาและมวนบุหรี่
ด้านประมง  เป็นแหล่งที่วางไข่และอนุบาลตัว
อ่อน  เป็นแหล่งที่อยู่และ
 ที่หลบภัยของปลาต่าง ๆ
คุณค่าและความสำาคัญในระบบ
 นิเวศป่าชายเลน
 ด้านยารักษาโรค   เช่น
   - เปลือกไม้โกงกางใบเล็ก  สามารถนำามาต้ม
 กินแก้ท้องร่วง
   - ต้นและรากของต้นเหงือกปลาหมอดอก
นำ้าเงิน  นำามาต้นนำ้าผสม
นำ้าอาบ  แก้ผดผื่นคัน   โรคผิวหนัง
   - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ
สถานการณ์ปัจจุบันของระบบ
 นิเวศป่าชายเลน
โดยภาพรวมป่าชายเลนของไทยนับว่าตกอยู่
ในสภาพเสื่อมโทรม
สาเหตุของการลดลงของป่าชายเลน
-การเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้า  โดยเฉพาะการทำานากุ้ง
- การทำาเหมืองแร่  มีส่วนในการทำาลายสภาพ
ป่าและความอุดมสมบูรณ์
- การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่  เมื่อมีการ
ตัดถนนป่าชายเลน
- การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า
- การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม
- การทำานาเกลือ
ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ทำาการวิเคราะห์
ปัญหาที่เกิดขึ้นต่อระบบนิเวศน์จาก
กิจกรรมในภาพ พร้อมทั้งบอกผลกระทบที่
งานกลุ่มท้ายคาบเรียน บทที่งานกลุ่มท้ายคาบเรียน บทที่ 22

Contenu connexe

Tendances

5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร PopulationPat Sn
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนWichai Likitponrak
 

Tendances (20)

5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 

Similaire à บทที่2 ระบบนิเวศ

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสมพร นายน้อย
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2chirapa
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00suttidakamsing
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001suttidakamsing
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00suttidakamsing
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศPoonyawee Pimman
 
ระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทยระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทยninjynoppy39
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยninjynoppy39
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศKru NoOk
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 

Similaire à บทที่2 ระบบนิเวศ (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทยระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทย
 
Unit1 organism
Unit1 organismUnit1 organism
Unit1 organism
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 

Plus de Green Greenz

ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลGreen Greenz
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงGreen Greenz
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศGreen Greenz
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำGreen Greenz
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2Green Greenz
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1Green Greenz
 

Plus de Green Greenz (8)

ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียง
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำ
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 

บทที่2 ระบบนิเวศ

Notes de l'éditeur

  1. สาระสำคัญ สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันและสัมพันธ์กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต มีการใช้พลังงานและแลกเปลี่ยนสารอาหาร ซึ่งดำเนินไปภายใต้ความสมดุลของธรรมชาติเรียกว่า ระบบนิเวศ แต่ถ้าระบบนิเวศขาดความสมดุลหรือถูกทำลาย ย่อมเกิดผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของสรรพสิ่งในระบบ ทำให้มนุษย์เห็นความสำคัญของระบบนิเวศและ รู้จักการนำสิ่งแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์และ ช่วยแก้ไข้ปัญหา ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศ
  2. สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในโลก เริ่มต้นมาจากสารที่เล็กที่สุด คือ อะตอม(atom) หลาย ๆ อะตอม ทำปฏิกิริยาเคมีกัน หรือมีแรง ยึด ระหว่างอะตอม กลายเป็นโมเลกุล(molecule)  โมเลกุลของสาร ต่างๆ รวมกันเป็นสารชีวโมเลกุลเซลล์ หรือออร์แกเนลล์(organelle)  ออร์แกเนลล์ต่าง ๆ ร่วมกันทำงานและประกอบกันเป็นเซลล์(cell) ในสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอาจ มีเพียงเซลล์เดียว ส่วนสิ่งมีชีวิตที่มี มากกว่าเซลล์เดียวนั้น เซลล์ชนิดเดียวกันหลาย ๆ เซลล์ ทำหน้าที่ ร่วมกันเรียกว่า เนื้อเยื่อ(tissue) เช่น เนื้อเยื่อกระดูก เนื้อเยื่อหลายชนิดร่วมกันทำหน้าที่ กลายเป็นอวัยวะ(organ) เช่น กระดูก อวัยวะชนิดเดียวกัน หลายๆ อัน ร่วมกันทำหน้าที่ี่ เรี่ยกว่า ระบบอวัยวะ เช่น ระบบโครงกระดูก หลายๆ ระบบร่วมกันทำงาน กลายเป็น 
  3. สิ่งมีชีวิต(organism) เช่น แมว สุนัข วัว ควาย ไก่ เก้ง ปู สิ่งมีชีวิต ชนิดเดียวกันอยู่ร่วมกันกลายเป็น ครอบครัว (family)  หลาย ๆ ครอบครัวอยู่รวมกันในบริเวณ หนึ่ง กลายเป็นประชากร(population) การดำรงชีวิของสิ่งมีชีวิตการดำรงชีวิตชนิดเีดียวกัน จะต้อง มีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น ต้องมีอาหาร มีที่อยู่อาศัย เป็นต้น จึงต้องเกิดกลุ่มสิ่งมีชีวิต(community) ขึ้น เมื่อรวมกลุ่มสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิตในบริเวณนั้น เข้าด้วยกันหลายเป็น ระบบนิเวศ (ecosystem)
  4. 1)  ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต  (abiotic  component)  เป็นส่วนประกอบในระบบนิเวศที่ไม่มีชีวิต เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศขึ้นมา  โดยมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิต  ถ้าขาดองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตนี้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศก็ไม่สามารถอยู่ได้  โดยแบ่งออกเป็น  3  ประเภท คือ      -  อนินทรีย์สาร  เป็นสารที่ได้จากธรรมชาติและเป็นส่วนประกอบที่เป็นแร่ธาตุพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเพื่อสร้างเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ  เช่น  ธาตุคาร์บอน  ไฮโดรเจน  น้ำ  ออกซิเจน  ไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส  เป็นต้น  ซึ่งส่วนใหญ่ ่อยู่ในรูปของสารละลาย  สิ่งมีชีวิตสามารถนำไปใช้ได้ทันที     -  อินทรีย์สาร  เป็นสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต  เช่น  คาร์โบไฮเดรต  โปรตีน  ฮิวมัส  เป็นต้น  เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสิ่งมีชีวิต  โดยการย่อยสลายของจุลินทรีย์  ทำให้เป็นธาตุอาหารของพืชอีกครั้ง    -  สภาพแวดล้อมทางกายภาพ  เช่น  แสงสว่าง  อุณหภูมิ  ความชื้น  ความเป็นกรด-เบส  ความเค็มเป็นต้น สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ทำให้การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นแตกต่างกันออกไป2)  ส่วนประกอบที่มีชีวิต  (biotic  component)  ได้แก่  พืช  สัตว์  รวมทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก  และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว  ซึ่งช่วยทำให้ระบบนิเวศทำงานได้อย่างเป็นปกติ  โดยแบ่งออกตามหน้าที่ของสิ่งมีชีวิต  ได้เป็น  3  ประเภท  คือ   -  ผู้ผลิต  (producer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง  ได้แก่ พืชสีเขียว  แพลงก์ตอนพืช  และแบคทีเรียบางชนิด  ผู้ผลิตมีความสำคัญมากเพราะเป็นจุดเริ่มต้นที่เชื่อมต่อระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตและสิ่งที่มีชีวิตอื่นๆในระบบนิเวศ    -  ผู้บริโภค  (consumer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารขึ้นเองได้  แต่ได้รับธาตุอาหารจากการกินสิ่งมีชีวิต อื่นอีกทอดหนึ่ง  พลังงานและแร่ธาตุจากอาหารที่สิ่งมีชีวิตกิน  จะถูกถ่ายทอดสู่ผู้บริโภค  ซึ่งแบ่งตามลำดับของการกินอาหารได้  ดังนี้    -  ผู้บริโภคปฐมภูมิ  (primary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินพืชเป็นอาหาร  (herbivore)  โดยตรง  เช่น  ปะการัง  เม่นทะเล  กวาง  กระต่าย  วัว  เป็นต้น ผู้บริโภคทุติยภูม  (secondary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตพวกสัตว์กินเนื้อ  (carnivore)  หมายถึงสัตว์  ที่กินสัตว์กินพืช  หรือผู้บริโภคปฐมภูมิเป็นอาหาร  เช่น  ปลาไหลมอเรย์  ปลาสาก  นก  งู  หมาป่า  เป็นต้น    -  ผู้บริโภคตติยภูมิ  (tertiary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินทั้งสัตว์กินพืชและสัตว์กินสัตว์หรือพวกที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร  (omnivore)  เช่น  ปลาฉลาม เต่า  เสือ  คน  เป็นต้น    - ผู้ย่อยสลาย  (decomposer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้  แต่อาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น โดยการสร้างน้ำย่อย  ออกมาย่อยสลายแร่ธาตุต่างๆในส่วนประกอบของซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารโมเลกุลเล็กๆ แล้วจึงดูดซึมอาหารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปใช้  เช่น  แบคทีเรีย  เห็ด  รา  เป็นต้น      ระบบนิเวศ  มีคุณสมบัติที่สำคัญอีกประการหนึ่ง  คือ  มีกลไกในการปรับสภาวะตนเองเพื่อให้อยู่ในสภาวะสมดุล  โดยการที่ส่วนประกอบของระบบนิเวศทำให้เกิดการหมุนเวียนและถ่ายทอดสารอาหารผ่านสิ่งมีชีวิตซึ่งได้แก่  ผู้ผลิต  ผู้บริโภค  และผู้ย่อยสลายนั่นเอง  ถ้าระบบนิเวศนั้นได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ  และไม่มีอุปสรรคขัดขวางวัฏจักรของธาตุอาหาร  ก็จะทำให้เกิด ภาวะสมดุล  (equilibrium)  ในระบบนิเวศนั้น  ทำให้ระบบนิเวศนั้นมีความคงตัว  ทั้งนี้เพราะการผลิตอาหารสมดุลกับการบริโภคภายในระบบนิเวศนั้น  การปรับสภาวะตัวเองนี้  ทำให้การผลิตอาหาร และการเพิ่มจำนวนของสิ่งมีชีวิตอื่นๆในระบบนั้นมีความพอดีกัน  กล่าวคือจำนวนประชากรชนิดใดๆ ในระบบนิเวศจะไม่สามารถเพิ่มจำนวนอย่างไม่มีขอบเขตได้
  5. 1)  ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต  (abiotic  component)  เป็นส่วนประกอบในระบบนิเวศที่ไม่มีชีวิต เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศขึ้นมา  โดยมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิต  ถ้าขาดองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตนี้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศก็ไม่สามารถอยู่ได้  โดยแบ่งออกเป็น  3  ประเภท คือ      -  อนินทรีย์สาร  เป็นสารที่ได้จากธรรมชาติและเป็นส่วนประกอบที่เป็นแร่ธาตุพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเพื่อสร้างเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ  เช่น  ธาตุคาร์บอน  ไฮโดรเจน  น้ำ  ออกซิเจน  ไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส  เป็นต้น  ซึ่งส่วนใหญ่ ่อยู่ในรูปของสารละลาย  สิ่งมีชีวิตสามารถนำไปใช้ได้ทันที     -  อินทรีย์สาร  เป็นสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต  เช่น  คาร์โบไฮเดรต  โปรตีน  ฮิวมัส  เป็นต้น  เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสิ่งมีชีวิต  โดยการย่อยสลายของจุลินทรีย์  ทำให้เป็นธาตุอาหารของพืชอีกครั้ง    -  สภาพแวดล้อมทางกายภาพ  เช่น  แสงสว่าง  อุณหภูมิ  ความชื้น  ความเป็นกรด-เบส  ความเค็มเป็นต้น สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ทำให้การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นแตกต่างกันออกไป
  6. 12)  ส่วนประกอบที่มีชีวิต  (biotic  component)  ได้แก่  พืช  สัตว์  รวมทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก  และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว  ซึ่งช่วยทำให้ระบบนิเวศทำงานได้อย่างเป็นปกติ  โดยแบ่งออกตามหน้าที่ของสิ่งมีชีวิต  ได้เป็น  3  ประเภท  คือ   -  ผู้ผลิต  (producer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง  ได้แก่ พืชสีเขียว  แพลงก์ตอนพืช  และแบคทีเรียบางชนิด  ผู้ผลิตมีความสำคัญมากเพราะเป็นจุดเริ่มต้นที่เชื่อมต่อระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตและสิ่งที่มีชีวิตอื่นๆในระบบนิเวศ    -  ผู้บริโภค  (consumer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารขึ้นเองได้  แต่ได้รับธาตุอาหารจากการกินสิ่งมีชีวิต อื่นอีกทอดหนึ่ง  พลังงานและแร่ธาตุจากอาหารที่สิ่งมีชีวิตกิน  จะถูกถ่ายทอดสู่ผู้บริโภค  ซึ่งแบ่งตามลำดับของการกินอาหารได้  ดังนี้    -  ผู้บริโภคปฐมภูมิ  (primary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินพืชเป็นอาหาร  (herbivore)  โดยตรง  เช่น  ปะการัง  เม่นทะเล  กวาง  กระต่าย  วัว  เป็นต้น ผู้บริโภคทุติยภูม  (secondary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตพวกสัตว์กินเนื้อ  (carnivore)  หมายถึงสัตว์  ที่กินสัตว์กินพืช  หรือผู้บริโภคปฐมภูมิเป็นอาหาร  เช่น  ปลาไหลมอเรย์  ปลาสาก  นก  งู  หมาป่า  เป็นต้น    -  ผู้บริโภคตติยภูมิ  (tertiary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินทั้งสัตว์กินพืชและสัตว์กินสัตว์หรือพวกที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร  (omnivore)  เช่น  ปลาฉลาม เต่า  เสือ  คน  เป็นต้น    - ผู้ย่อยสลาย  (decomposer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้  แต่อาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น โดยการสร้างน้ำย่อย  ออกมาย่อยสลายแร่ธาตุต่างๆในส่วนประกอบของซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารโมเลกุลเล็กๆ แล้วจึงดูดซึมอาหารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปใช้  เช่น  แบคทีเรีย  เห็ด  รา  เป็นต้น      ระบบนิเวศ  มีคุณสมบัติที่สำคัญอีกประการหนึ่ง  คือ  มีกลไกในการปรับสภาวะตนเองเพื่อให้อยู่ในสภาวะสมดุล  โดยการที่ส่วนประกอบของระบบนิเวศทำให้เกิดการหมุนเวียนและถ่ายทอดสารอาหารผ่านสิ่งมีชีวิตซึ่งได้แก่  ผู้ผลิต  ผู้บริโภค  และผู้ย่อยสลายนั่นเอง  ถ้าระบบนิเวศนั้นได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ  และไม่มีอุปสรรคขัดขวางวัฏจักรของธาตุอาหาร  ก็จะทำให้เกิด ภาวะสมดุล  (equilibrium)  ในระบบนิเวศนั้น  ทำให้ระบบนิเวศนั้นมีความคงตัว  ทั้งนี้เพราะการผลิตอาหารสมดุลกับการบริโภคภายในระบบนิเวศนั้น  การปรับสภาวะตัวเองนี้  ทำให้การผลิตอาหาร และการเพิ่มจำนวนของสิ่งมีชีวิตอื่นๆในระบบนั้นมีความพอดีกัน  กล่าวคือจำนวนประชากรชนิดใดๆ ในระบบนิเวศจะไม่สามารถเพิ่มจำนวนอย่างไม่มีขอบเขตได้
  7.    -  ผู้บริโภค  (consumer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารขึ้นเองได้  แต่ได้รับธาตุอาหารจากการกินสิ่งมีชีวิต อื่นอีกทอดหนึ่ง  พลังงานและแร่ธาตุจากอาหารที่สิ่งมีชีวิตกิน  จะถูกถ่ายทอดสู่ผู้บริโภค  ซึ่งแบ่งตามลำดับของการกินอาหารได้  ดังนี้    -  ผู้บริโภคปฐมภูมิ  (primary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินพืชเป็นอาหาร  (herbivore)  โดยตรง  เช่น  ปะการัง  เม่นทะเล  กวาง  กระต่าย  วัว  เป็นต้น ผู้บริโภคทุติยภูม  (secondary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตพวกสัตว์กินเนื้อ  (carnivore)  หมายถึงสัตว์  ที่กินสัตว์กินพืช  หรือผู้บริโภคปฐมภูมิเป็นอาหาร  เช่น  ปลาไหลมอเรย์  ปลาสาก  นก  งู  หมาป่า  เป็นต้น    -  ผู้บริโภคตติยภูมิ  (tertiary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินทั้งสัตว์กินพืชและสัตว์กินสัตว์หรือพวกที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร  (omnivore)  เช่น  ปลาฉลาม เต่า  เสือ  คน  เป็นต้น    - ผู้ย่อยสลาย  (decomposer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้  แต่อาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น โดยการสร้างน้ำย่อย  ออกมาย่อยสลายแร่ธาตุต่างๆในส่วนประกอบของซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารโมเลกุลเล็กๆ แล้วจึงดูดซึมอาหารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปใช้  เช่น  แบคทีเรีย  เห็ด  รา  เป็นต้น      ระบบนิเวศ  มีคุณสมบัติที่สำคัญอีกประการหนึ่ง  คือ  มีกลไกในการปรับสภาวะตนเองเพื่อให้อยู่ในสภาวะสมดุล  โดยการที่ส่วนประกอบของระบบนิเวศทำให้เกิดการหมุนเวียนและถ่ายทอดสารอาหารผ่านสิ่งมีชีวิตซึ่งได้แก่  ผู้ผลิต  ผู้บริโภค  และผู้ย่อยสลายนั่นเอง  ถ้าระบบนิเวศนั้นได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ  และไม่มีอุปสรรคขัดขวางวัฏจักรของธาตุอาหาร  ก็จะทำให้เกิด ภาวะสมดุล  (equilibrium)  ในระบบนิเวศนั้น  ทำให้ระบบนิเวศนั้นมีความคงตัว  ทั้งนี้เพราะการผลิตอาหารสมดุลกับการบริโภคภายในระบบนิเวศนั้น  การปรับสภาวะตัวเองนี้  ทำให้การผลิตอาหาร และการเพิ่มจำนวนของสิ่งมีชีวิตอื่นๆในระบบนั้นมีความพอดีกัน  กล่าวคือจำนวนประชากรชนิดใดๆ ในระบบนิเวศจะไม่สามารถเพิ่มจำนวนอย่างไม่มีขอบเขตได้
  8. 1)  ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต  (abiotic  component)  เป็นส่วนประกอบในระบบนิเวศที่ไม่มีชีวิต เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศขึ้นมา  โดยมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิต  ถ้าขาดองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตนี้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศก็ไม่สามารถอยู่ได้  โดยแบ่งออกเป็น  3  ประเภท คือ      -  อนินทรีย์สาร  เป็นสารที่ได้จากธรรมชาติและเป็นส่วนประกอบที่เป็นแร่ธาตุพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเพื่อสร้างเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ  เช่น  ธาตุคาร์บอน  ไฮโดรเจน  น้ำ  ออกซิเจน  ไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส  เป็นต้น  ซึ่งส่วนใหญ่ ่อยู่ในรูปของสารละลาย  สิ่งมีชีวิตสามารถนำไปใช้ได้ทันที     -  อินทรีย์สาร  เป็นสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต  เช่น  คาร์โบไฮเดรต  โปรตีน  ฮิวมัส  เป็นต้น  เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสิ่งมีชีวิต  โดยการย่อยสลายของจุลินทรีย์  ทำให้เป็นธาตุอาหารของพืชอีกครั้ง    -  สภาพแวดล้อมทางกายภาพ  เช่น  แสงสว่าง  อุณหภูมิ  ความชื้น  ความเป็นกรด-เบส  ความเค็มเป็นต้น สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ทำให้การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นแตกต่างกันออกไป2)  ส่วนประกอบที่มีชีวิต  (biotic  component)  ได้แก่  พืช  สัตว์  รวมทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก  และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว  ซึ่งช่วยทำให้ระบบนิเวศทำงานได้อย่างเป็นปกติ  โดยแบ่งออกตามหน้าที่ของสิ่งมีชีวิต  ได้เป็น  3  ประเภท  คือ   -  ผู้ผลิต  (producer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง  ได้แก่ พืชสีเขียว  แพลงก์ตอนพืช  และแบคทีเรียบางชนิด  ผู้ผลิตมีความสำคัญมากเพราะเป็นจุดเริ่มต้นที่เชื่อมต่อระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตและสิ่งที่มีชีวิตอื่นๆในระบบนิเวศ    -  ผู้บริโภค  (consumer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารขึ้นเองได้  แต่ได้รับธาตุอาหารจากการกินสิ่งมีชีวิต อื่นอีกทอดหนึ่ง  พลังงานและแร่ธาตุจากอาหารที่สิ่งมีชีวิตกิน  จะถูกถ่ายทอดสู่ผู้บริโภค  ซึ่งแบ่งตามลำดับของการกินอาหารได้  ดังนี้    -  ผู้บริโภคปฐมภูมิ  (primary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินพืชเป็นอาหาร  (herbivore)  โดยตรง  เช่น  ปะการัง  เม่นทะเล  กวาง  กระต่าย  วัว  เป็นต้น ผู้บริโภคทุติยภูม  (secondary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตพวกสัตว์กินเนื้อ  (carnivore)  หมายถึงสัตว์  ที่กินสัตว์กินพืช  หรือผู้บริโภคปฐมภูมิเป็นอาหาร  เช่น  ปลาไหลมอเรย์  ปลาสาก  นก  งู  หมาป่า  เป็นต้น    -  ผู้บริโภคตติยภูมิ  (tertiary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินทั้งสัตว์กินพืชและสัตว์กินสัตว์หรือพวกที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร  (omnivore)  เช่น  ปลาฉลาม เต่า  เสือ  คน  เป็นต้น    - ผู้ย่อยสลาย  (decomposer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้  แต่อาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น โดยการสร้างน้ำย่อย  ออกมาย่อยสลายแร่ธาตุต่างๆในส่วนประกอบของซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารโมเลกุลเล็กๆ แล้วจึงดูดซึมอาหารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปใช้  เช่น  แบคทีเรีย  เห็ด  รา  เป็นต้น      ระบบนิเวศ  มีคุณสมบัติที่สำคัญอีกประการหนึ่ง  คือ  มีกลไกในการปรับสภาวะตนเองเพื่อให้อยู่ในสภาวะสมดุล  โดยการที่ส่วนประกอบของระบบนิเวศทำให้เกิดการหมุนเวียนและถ่ายทอดสารอาหารผ่านสิ่งมีชีวิตซึ่งได้แก่  ผู้ผลิต  ผู้บริโภค  และผู้ย่อยสลายนั่นเอง  ถ้าระบบนิเวศนั้นได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ  และไม่มีอุปสรรคขัดขวางวัฏจักรของธาตุอาหาร  ก็จะทำให้เกิด ภาวะสมดุล  (equilibrium)  ในระบบนิเวศนั้น  ทำให้ระบบนิเวศนั้นมีความคงตัว  ทั้งนี้เพราะการผลิตอาหารสมดุลกับการบริโภคภายในระบบนิเวศนั้น  การปรับสภาวะตัวเองนี้  ทำให้การผลิตอาหาร และการเพิ่มจำนวนของสิ่งมีชีวิตอื่นๆในระบบนั้นมีความพอดีกัน  กล่าวคือจำนวนประชากรชนิดใดๆ ในระบบนิเวศจะไม่สามารถเพิ่มจำนวนอย่างไม่มีขอบเขตได้
  9. 1)  ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต  (abiotic  component)  เป็นส่วนประกอบในระบบนิเวศที่ไม่มีชีวิต เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศขึ้นมา  โดยมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิต  ถ้าขาดองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตนี้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศก็ไม่สามารถอยู่ได้  โดยแบ่งออกเป็น  3  ประเภท คือ      -  อนินทรีย์สาร  เป็นสารที่ได้จากธรรมชาติและเป็นส่วนประกอบที่เป็นแร่ธาตุพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเพื่อสร้างเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ  เช่น  ธาตุคาร์บอน  ไฮโดรเจน  น้ำ  ออกซิเจน  ไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส  เป็นต้น  ซึ่งส่วนใหญ่ ่อยู่ในรูปของสารละลาย  สิ่งมีชีวิตสามารถนำไปใช้ได้ทันที     -  อินทรีย์สาร  เป็นสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต  เช่น  คาร์โบไฮเดรต  โปรตีน  ฮิวมัส  เป็นต้น  เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสิ่งมีชีวิต  โดยการย่อยสลายของจุลินทรีย์  ทำให้เป็นธาตุอาหารของพืชอีกครั้ง    -  สภาพแวดล้อมทางกายภาพ  เช่น  แสงสว่าง  อุณหภูมิ  ความชื้น  ความเป็นกรด-เบส  ความเค็มเป็นต้น สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ทำให้การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นแตกต่างกันออกไป2)  ส่วนประกอบที่มีชีวิต  (biotic  component)  ได้แก่  พืช  สัตว์  รวมทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก  และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว  ซึ่งช่วยทำให้ระบบนิเวศทำงานได้อย่างเป็นปกติ  โดยแบ่งออกตามหน้าที่ของสิ่งมีชีวิต  ได้เป็น  3  ประเภท  คือ   -  ผู้ผลิต  (producer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง  ได้แก่ พืชสีเขียว  แพลงก์ตอนพืช  และแบคทีเรียบางชนิด  ผู้ผลิตมีความสำคัญมากเพราะเป็นจุดเริ่มต้นที่เชื่อมต่อระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตและสิ่งที่มีชีวิตอื่นๆในระบบนิเวศ    -  ผู้บริโภค  (consumer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารขึ้นเองได้  แต่ได้รับธาตุอาหารจากการกินสิ่งมีชีวิต อื่นอีกทอดหนึ่ง  พลังงานและแร่ธาตุจากอาหารที่สิ่งมีชีวิตกิน  จะถูกถ่ายทอดสู่ผู้บริโภค  ซึ่งแบ่งตามลำดับของการกินอาหารได้  ดังนี้    -  ผู้บริโภคปฐมภูมิ  (primary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินพืชเป็นอาหาร  (herbivore)  โดยตรง  เช่น  ปะการัง  เม่นทะเล  กวาง  กระต่าย  วัว  เป็นต้น ผู้บริโภคทุติยภูม  (secondary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตพวกสัตว์กินเนื้อ  (carnivore)  หมายถึงสัตว์  ที่กินสัตว์กินพืช  หรือผู้บริโภคปฐมภูมิเป็นอาหาร  เช่น  ปลาไหลมอเรย์  ปลาสาก  นก  งู  หมาป่า  เป็นต้น    -  ผู้บริโภคตติยภูมิ  (tertiary  consumers)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินทั้งสัตว์กินพืชและสัตว์กินสัตว์หรือพวกที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร  (omnivore)  เช่น  ปลาฉลาม เต่า  เสือ  คน  เป็นต้น    - ผู้ย่อยสลาย  (decomposer)  คือ  สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้  แต่อาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น โดยการสร้างน้ำย่อย  ออกมาย่อยสลายแร่ธาตุต่างๆในส่วนประกอบของซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารโมเลกุลเล็กๆ แล้วจึงดูดซึมอาหารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปใช้  เช่น  แบคทีเรีย  เห็ด  รา  เป็นต้น      ระบบนิเวศ  มีคุณสมบัติที่สำคัญอีกประการหนึ่ง  คือ  มีกลไกในการปรับสภาวะตนเองเพื่อให้อยู่ในสภาวะสมดุล  โดยการที่ส่วนประกอบของระบบนิเวศทำให้เกิดการหมุนเวียนและถ่ายทอดสารอาหารผ่านสิ่งมีชีวิตซึ่งได้แก่  ผู้ผลิต  ผู้บริโภค  และผู้ย่อยสลายนั่นเอง  ถ้าระบบนิเวศนั้นได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ  และไม่มีอุปสรรคขัดขวางวัฏจักรของธาตุอาหาร  ก็จะทำให้เกิด ภาวะสมดุล  (equilibrium)  ในระบบนิเวศนั้น  ทำให้ระบบนิเวศนั้นมีความคงตัว  ทั้งนี้เพราะการผลิตอาหารสมดุลกับการบริโภคภายในระบบนิเวศนั้น  การปรับสภาวะตัวเองนี้  ทำให้การผลิตอาหาร และการเพิ่มจำนวนของสิ่งมีชีวิตอื่นๆในระบบนั้นมีความพอดีกัน  กล่าวคือจำนวนประชากรชนิดใดๆ ในระบบนิเวศจะไม่สามารถเพิ่มจำนวนอย่างไม่มีขอบเขตได้
  10. 1. ระบบนิเวศตามธรรมชาติได้แก่ ระบบนิเวศบนบก เช่น ป่าไม้ ทุ่งหญ้า ทะเลทรายระบบนิเวศแหล่งน้ำ แบ่งเป็นระบบนิเวศน้ำจืด เช่น แม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง ระบบนิเวศน้ำเค็ม เช่น ทะเล มหาสมุทร  ระบบนิเวศน้ำกร่อย เช่น บริเวณปากแม่น้ำ2. ระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ระบบนิเวศชุมชนเมือง แหล่งเกษตรกรรม นิคมอุตสาหกรรม หรือแม้กระทั่งตู้ปลา อ่างเลี้ยงปลา ก็จัดเป็นระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น
  11. 1. ระบบนิเวศตามธรรมชาติได้แก่ ระบบนิเวศบนบก เช่น ป่าไม้ ทุ่งหญ้า ทะเลทราย
  12. ระบบนิเวศแหล่งน้ำ แบ่งเป็นระบบนิเวศน้ำจืด เช่น แม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง ระบบนิเวศน้ำเค็ม เช่น ทะเล มหาสมุทร  ระบบนิเวศน้ำกร่อย เช่น บริเวณปากแม่น้ำ
  13. 2. ระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ระบบนิเวศชุมชนเมือง แหล่งเกษตรกรรม นิคมอุตสาหกรรม หรือแม้กระทั่งตู้ปลา อ่างเลี้ยงปลา ก็จัดเป็นระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น
  14. ระบบนิเวศมีอยู่ทุกหนทุกแห่งทั่วโลก มีมากมายหลายระบบ แต่ละระบบมีขนาดเล็กใหญ่สลับซับซ้อนแตกต่างกัน โลกของเราจัดเป็นระบบนิเวศที่ใหญ่ที่สุด เรียกว่า โลกของสิ่งมีชีวิต(biosphere) ซึ่งเป็นที่รวมระบบนิเวศหลากหลายระบบ
  15. 1. แสง: ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช การหุบและบานของดอกและใบของพืชหลายชนิด เช่น ใบไมยราบ ใบกระถิน มีอิทธิพลต่อเวลาการออกอาหารของสัตว์
  16. 2. อุณหภูมิ เป็นปัจจัยสำคัญที่มีอิธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตหลายประการ เช่น การหุบและบานของดอกไม้บางชนิด เช่น ดอกบัวจะบานตอนกลางวันและจะหุบในตอนกลางคืน มีผลต่อพฤติกรรมบางประการของสัตว์ เช่น การจำศีลมนฤดูหนาวของหมีขั้วโลก มีผลต่อลักษณะและรูปร่างของสิ่งมีชีวิต เช่น สัตว์ในเขตหนาวจะมีขนาดตัวที่ใหญ่กว่าสัตว์ในเขตร้อน หรือสัตว์บางชนิดที่อยู่ในเขตหนาวจะมีขนหนากว่าสัตว์ในเขตร้อน
  17. ภาวะพึ่งพา ( Mutualism ) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดโดยต่างก็ไ ด้รับประโยชน์ซึ่งกันและกัน หากแยกกันอยู่จะไม่สามารถดำรงชีวิตต่อไปได้ เช่น - ไลเคนส์ ( Lichens) : สาหร่ายอยู่ร่วมกับสาหร่าย สาหร่ายได้รับความชื้นและแร่ธาตุจากรา ราได้รับอาหารและออกซิเจนจากสาหร่าย
  18. ภาวะการได้ประโยชน์ ( Protocooperation ) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต2 ชนิด โดยก็ได้รับประโยชน์ซึ่งกันและกัน แม้แยกกันอยู่ก็สามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติ เช่น - แมลงกับดอกไม้ : แมลงได้รับน้ำหวานจากดอกไม้ ส่วนดอกไม้ได้แมลงช่วยผสมเกสรทำให้แพร่พันธุ์ได้ดีขึ้น
  19. ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล ( Commensalism ) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ เช่น - ปลาฉลามกับเหาฉลาม : เหาฉลามเกาะติดกับปลาฉลาม ได้เศษอาหารจากปลาฉลามโดยปลาฉลามก็ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อะไร - พืชอิงอาศัย ( epiphyte) บนต้นไม้ใหญ่ : พืชอิงอาศัย เช่น ชายผ้าสีดาหรือกล้วยไม้เกาะอยู่บนต้นไม้ใหญ่ ได้รับความชุ่มชื้น ที่อยู่อาศัยและแสงสว่างที่เหมาะสมโดยต้นไม้ใหญ่ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ใดๆ - นก ต่อ แตน ผึ้ง ทำรังบนต้นไม้ : สัตว์เหล่านี้ได้ที่อยู่อาศัย หลบภัยจากศัตรูธรรมชาติโดยต้นไม้ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อะไร
  20. ภาวะปรสิต ( Parasitism ) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ เรียกว่า ปรสิต ( parasite) อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์เรียกว่าผู้ถูกอาศัย( host) เช่น - เห็บ เหา ไร หมัด บนร่างกายสัตว์ : ปรสิตภายนอก ( ectoparasite) เหล่านี้ดูดเลือดจากร่างกายสัตว์จึงเป็นฝ่ายได้ประโยชน์ ส่วนสัตว์เป็นฝ่ายเสียประโยชน์ - พยาธิ ในร่างกายสัตว์ :ปรสิตภายใน (endoparasite) จะดูดสารอาหารจากร่างกายสัตว์จึงเป็นฝ่ายได้ประโยชน์ส่วนสัตว์เป็นฝ่ายเสียประโยชน์
  21. ป่าดิบชื้นในประเทศไทยปกคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ทางตอนใต้  ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ไปจนสุดชายแดนของประเทศไทย  ซึ่งต่อกับคาบสมุทรมลายู  โดยเฉพาะบนที่ราบต่ำ  และเนินเขา  จนถึงระดับความสูง  1,000  เมตร  และยังพบเป็นหย่อมๆ ปะปนอยู่กับป่าดิบแล้งในภาคตะวันออกเฉียงใต้  เช่น  จันทบุรี  ตราด  ด้วย  ป่าดิบชื้นทางภาคใต้ของไทย  แบ่งออกเป็น  2  ประเภท  คือ    - ป่าดิบชื้นแบบไทย  (Thai-type Rainforest)  ซึ่งมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปี  มากกว่า  2,000 - 2,500 ม.ม.    - ป่าดิบชื้นแบบมลายู  (Malayan-type  Rainforest)  ซึ่งมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปี มากกว่า 2,500  ม.ม.สิ่งมีชีวิตในป่าดิบชื้น     พรรณไม้ในป่าดิบชื้นประกอบด้วยต้นไม้ชั้นบนซึ่งส่วนใหญ่เป็นไม้ตระกูลยาง  (Dipterocarpaceae)  มักมีลำดับสูงตั้งแต่  30  ถึง 50  เมตร  และมีขนาดใหญ่มาก  ถัดลงมาก็เป็นต้นไม้นาดเล็กและขนาดกลาง  ซึ่งสามารถขึ้นอยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ได้  รวมทั้งต้นไม้ในตระกูลปาล์ม  (Palmaceae)  ชนิดต่างๆ  พื้นป่ามักรกทึบและประกอบด้วยไม้พุ่ม  ไม้ล้มลุก  ระกำ  หวาย  ไม้ไผ่ต่างๆบนลำต้นไม้ใหญ่จะมีพันธุ์ไม้จำพวก  epiphytes  เช่น  พวกเฟิร์น  กล้วยไม้  และมอส  ขึ้นอยู่ทั่วไป  เถาวัลย์ในป่าชนิดนี้จะมีมากกว่าในป่าชนิดอื่นๆ  พรรณไม้ในป่าดิบชื้นที่สำคัญ  เช่น  ยาง  ตะเคียน  กะบาก  เคี่ยม  จำปาป่า  หลุมพอ  มะหาด  มะม่วงป่า  มะยมป่า  ตาเสือ  ย่านดาโอ๊ะหรือใบไม้สีทอง  ไม้พื้นล่าง  เช่น  ไผ่หก  ระกำ  กระวาน  หวาย  เถาวัลย์ชนิดต่างๆความสัมพันธ์ภายในระบบนิเวศป่าดิบชื้น     สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศป่าดิบชื้นมีความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกันเองทั้งในด้านการพึ่งพาอาศัย  การแก่งแย่งกันเพื่อให้เกิดความสมดุลธรรมชาติในระบบนิเวศ  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตดังกล่าวแบ่งออกได้ดังนี้    - การล่าเหยื่อ  (Predation)  เช่น  เสือล่ากวาง   - การอิงอาศัยหรือการเกื้อกูล  (Commensalism)  เช่น  เถาวัลย์  เฟิร์น  กล้วยไม้        - เกาะต้นไม้ใหญ่ ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน  (Protocooperation)  เช่น  แมลงกับดอกไม้   - ภาวะพึ่งพากัน  (Mutualism)  เช่น  โปรโตซัว  ในลำไส้ ปลวก รากับสาหร่ายที่อยู่ร่วมกันของไลเคน   - ภาวะปรสิต  (Parasitism)  เช่น  กาฝากกับต้นไม้  ทากดูดเลือดหรือเห็บกับสัตว์ตัวใหญ่   - สภาวะการย่อยสลาย   (Saprophytism)  เช่น การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตโดยอาศัยซากของสิ่งมีชีวิต    - ทำให้ซากย่อยสลายสู่ระบบนิเวศในธรรมชาติได้  เช่น  เห็ด  รา  แบคทีเรีย  เป็นต้น คุณค่าและความสำคัญของระบบนิเวศป่าดิบชื้น   - เป็นส่วนหญิงของวัฏจักรในระบบนิเวศ  เช่น วัฏจักรน้ำ  ออกซิเจน  คาร์บอน  ไนโตรเจน  เป็นต้น   - เป็นแหล่งกำเนิดปัจจัยสี่    - เป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำลำธาร    - ช่วยปรับสภาพภูมิอากาศ    - ช่วยกักเก็บน้ำ    - ช่วยเพิ่มความสมบูรณ์แก่ดิน    - ลดความรุนแรงของน้ำท่วม    - ลดการกัดเซาะของหน้าดิน     - เป็นแนวป้องกันลมพายุ    - เป็นที่อยู่และแหล่งหลบภัยของสัตว์ป่า    - เป็นแหล่งนันทนาการ สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าดิบชื้น    ภาวะการณ์เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศป่าดิบชื้นจากฝีมือมนุษย์ ระบบนิเวศป่าดิบชื้นเสื่อมโทรมลง จากฝีมือของมนุษย์  ดังจะเห็นได้จากข้อมูลสถิติของกรมป่าไม้  ในปี  พ.ศ.  2536  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้อยู่  133,554  ตารางกิโลเมตร  หรือร้อยละ  26.03  ของพื้นที่ทั้งประเทศ  แต่จากข้อมูลปี  พ.ศ. 2541  ปรากฏว่าพื้นที่ป่าไม้ทั้งประเทศเหลืออยู่เพียง  129,722  ตารางกิโลเมตร  หรือเพียงร้อยละ  25.28  ของพื้นที่ทั้งประเทศ  การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ ้เป็นการทำลายระบบนิเวศโดยสิ้นเชิง สาเหตุหลักของการลดลงของป่าไม้  สรุปได้ดังนี้    - การเพิ่มจำนวนของประชากรอย่างรวดเร็วและความจำเป็นในการตอบสนองด้านปัจจัยสี่ของมนุษย์ทำให้เกิดความต้องการไม้เป็นจำนวนมาก เพื่อกิจกรรมต่างๆเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยของชุมชน  เพื่ออุตสาหกรรม  เพื่อสาธารณูปโภคต่างๆ  เช่นถนนขึ้นสู่ดอย  การสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำ  เป็นต้น    - การบุกรุกแผ้วถางพื้นที่ป่า  เพื่อใช้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้น  เช่น  เพื่อทำสวนยางพาราและปาล์มน้ำมัน  การบุกรุกพื้นที่ป่าขายเลน เพื่อทำนากุ้งกุลาดำ  นอกจากนี้  การกว้านซื้อที่ดินในบริเวณที่เพิ่งถอนสภาพป่าจากเกษตรกร  ซึ่งทำให้เกิดการขยายพื้นที่ทำกินในป่าสงวนต่อไปอีก    - การส่งเสริมการท่องเที่ยว  การสนองนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยการสร้างรีสอร์ท  เป็นเหตุให้มีการบุกรุกพื้นที่ป่ารวมทั้งความเสื่อมโทรม และการสูญเสียความสมดุลของระบบนิเวศป่าไม้จากปริมาณนักท่องเที่ยวและขยะมูลฝอยที่นักท่องเที่ยวทิ้งไว้    - การลักลอบตัดไม้  เนื่องจากการป้องกันรักษาป่าไม้ยังไม่เข้มแข็งและเด็ดขาด  อีกทั้งข้อจำกัดในเรื่องงบประมาณดำเนินการแก่หน่วยงานป่าไม้    - การเกิดไฟป่า  ซึ่งเกิดขึ้นโดยความตั้งใจและไม่ตั้งใจ
  22. สิ่งมีชีวิตในป่าดิบชื้น     พรรณไม้ในป่าดิบชื้นประกอบด้วยต้นไม้ชั้นบนซึ่งส่วนใหญ่เป็นไม้ตระกูลยาง  (Dipterocarpaceae)  มักมีลำดับสูงตั้งแต่  30  ถึง 50  เมตร  และมีขนาดใหญ่มาก  ถัดลงมาก็เป็นต้นไม้นาดเล็กและขนาดกลาง  ซึ่งสามารถขึ้นอยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ได้  รวมทั้งต้นไม้ในตระกูลปาล์ม  (Palmaceae)  ชนิดต่างๆ  พื้นป่ามักรกทึบและประกอบด้วยไม้พุ่ม  ไม้ล้มลุก  ระกำ  หวาย  ไม้ไผ่ต่างๆบนลำต้นไม้ใหญ่จะมีพันธุ์ไม้จำพวก  epiphytes  เช่น  พวกเฟิร์น  กล้วยไม้  และมอส  ขึ้นอยู่ทั่วไป  เถาวัลย์ในป่าชนิดนี้จะมีมากกว่าในป่าชนิดอื่นๆ  พรรณไม้ในป่าดิบชื้นที่สำคัญ  เช่น  ยาง  ตะเคียน  กะบาก  เคี่ยม  จำปาป่า  หลุมพอ  มะหาด  มะม่วงป่า  มะยมป่า  ตาเสือ  ย่านดาโอ๊ะหรือใบไม้สีทอง  ไม้พื้นล่าง  เช่น  ไผ่หก  ระกำ  กระวาน  หวาย  เถาวัลย์ชนิดต่างๆ
  23. สิ่งมีชีวิตในป่าดิบชื้น     พรรณไม้ในป่าดิบชื้นประกอบด้วยต้นไม้ชั้นบนซึ่งส่วนใหญ่เป็นไม้ตระกูลยาง  (Dipterocarpaceae)  มักมีลำดับสูงตั้งแต่  30  ถึง 50  เมตร  และมีขนาดใหญ่มาก  ถัดลงมาก็เป็นต้นไม้นาดเล็กและขนาดกลาง  ซึ่งสามารถขึ้นอยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ได้  รวมทั้งต้นไม้ในตระกูลปาล์ม  (Palmaceae)  ชนิดต่างๆ  พื้นป่ามักรกทึบและประกอบด้วยไม้พุ่ม  ไม้ล้มลุก  ระกำ  หวาย  ไม้ไผ่ต่างๆบนลำต้นไม้ใหญ่จะมีพันธุ์ไม้จำพวก  epiphytes  เช่น  พวกเฟิร์น  กล้วยไม้  และมอส  ขึ้นอยู่ทั่วไป  เถาวัลย์ในป่าชนิดนี้จะมีมากกว่าในป่าชนิดอื่นๆ  พรรณไม้ในป่าดิบชื้นที่สำคัญ  เช่น  ยาง  ตะเคียน  กะบาก  เคี่ยม  จำปาป่า  หลุมพอ  มะหาด  มะม่วงป่า  มะยมป่า  ตาเสือ  ย่านดาโอ๊ะหรือใบไม้สีทอง  ไม้พื้นล่าง  เช่น  ไผ่หก  ระกำ  กระวาน  หวาย  เถาวัลย์ชนิดต่างๆ
  24. คุณค่าและความสำคัญของระบบนิเวศป่าดิบชื้น   - เป็นส่วนหญิงของวัฏจักรในระบบนิเวศ  เช่น วัฏจักรน้ำ  ออกซิเจน  คาร์บอน  ไนโตรเจน  เป็นต้น   - เป็นแหล่งกำเนิดปัจจัยสี่    - เป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำลำธาร    - ช่วยปรับสภาพภูมิอากาศ    - ช่วยกักเก็บน้ำ    - ช่วยเพิ่มความสมบูรณ์แก่ดิน    - ลดความรุนแรงของน้ำท่วม    - ลดการกัดเซาะของหน้าดิน     - เป็นแนวป้องกันลมพายุ    - เป็นที่อยู่และแหล่งหลบภัยของสัตว์ป่า    - เป็นแหล่งนันทนาการ
  25. สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าดิบชื้น    ภาวะการณ์เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศป่าดิบชื้นจากฝีมือมนุษย์ ระบบนิเวศป่าดิบชื้นเสื่อมโทรมลง จากฝีมือของมนุษย์  ดังจะเห็นได้จากข้อมูลสถิติของกรมป่าไม้  ในปี  พ.ศ.  2536  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้อยู่  133,554  ตารางกิโลเมตร  หรือร้อยละ  26.03  ของพื้นที่ทั้งประเทศ  แต่จากข้อมูลปี  พ.ศ. 2541  ปรากฏว่าพื้นที่ป่าไม้ทั้งประเทศเหลืออยู่เพียง  129,722  ตารางกิโลเมตร  หรือเพียงร้อยละ  25.28  ของพื้นที่ทั้งประเทศ  การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ ้เป็นการทำลายระบบนิเวศโดยสิ้นเชิง 
  26. - การเพิ่มจำนวนของประชากรอย่างรวดเร็วและความจำเป็นในการตอบสนองด้านปัจจัยสี่ของมนุษย์ทำให้เกิดความต้องการไม้เป็นจำนวนมาก เพื่อกิจกรรมต่างๆเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยของชุมชน  เพื่ออุตสาหกรรม  เพื่อสาธารณูปโภคต่างๆ  เช่น ถนนขึ้นสู่ดอย  การสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำ  เป็นต้น    
  27.      - การบุกรุกแผ้วถางพื้นที่ป่า  เพื่อใช้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้น  เช่น  เพื่อทำสวนยางพาราและปาล์มน้ำมัน  การบุกรุกพื้นที่ป่าขายเลน เพื่อทำนากุ้งกุลาดำ  นอกจากนี้  การกว้านซื้อที่ดินในบริเวณที่เพิ่งถอนสภาพป่าจากเกษตรกร  ซึ่งทำให้เกิดการขยายพื้นที่ทำกินในป่าสงวนต่อไปอีก    
  28.      - การส่งเสริมการท่องเที่ยว ด้วยการสร้างรีสอร์ท  เป็นเหตุให้มีการบุกรุกพื้นที่ป่ารวมทั้งความเสื่อมโทรม และการสูญเสียความสมดุลของระบบนิเวศป่าไม้จากปริมาณนักท่องเที่ยวและขยะมูลฝอยที่นักท่องเที่ยวทิ้งไว้    
  29. ป่าต้นน้ำ    ป่าถือเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำลำธารเพราะบริเวณป่ามีความชุ่มชื้นเนื่องจาก มีฝนตก มากกว่าบริเวณอื่น  เมื่อฝนตกใบไม้จะทำหน้าที่รองรับน้ำฝน  ลำต้นช่วยชะลอการไหลของน้ำฝน  และรากทำหน้าที่ดูดซับน้ำเอาไว้ทำให้น้ำ ค่อยๆ ไหลซึมลงสู่แหล่งน้ำใต้ดิน  ลำธาร  และแม่น้ำอย่างช้าๆ  หากมีป่าอุดมสมบูรณ์แหล่งน้ำตามธรรมชาติจะไม่แห้งขอด สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ  (ลำธาร  และแม่น้ำ) สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ  จำแนกตามถิ่นอาศัยที่แตกต่างกัน  แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆดังนี้    - แพลงก์ตอน  (Plankton)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่ล่องลอยอยู่น้ำ  เคลื่อนที่โดยการ เคลื่อนที่ของกระแสน้ำเป็นส่วนใหญ่  แบ่งออกเป็น  2  ชนิด  คือแพลงก์ตอนพืช เช่น  ไดอะตอม  สาหร่าย  และแพลงก์ตอนสัตว์  ได้แก่  โปรโตซัว   - เนคตอน  (Nekton)  เป็นสัตว์ที่ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระ  ได้แก่  แมลง กบ  ปลา   - เบนโทส  (Benthos)  เป็นสัตว์อาศัยอยู่ตามพื้นท้องน้ำ  ได้แก่  หอย  ปลา  แมลง  หนอน      - เพอรไพตอน  (Periphyton)  เป็นพืชหรือสัตว์ที่เกาะหรือปีนป่ายอยู่ตามต้นไม้หรือใบไม้ของพืชน้ำ  ได้แก่  ไฮดรา  หอยกาบเดี่ยวบางชนิด   - นูว์สตอน  (Neuston)  หมายถึง  สัตว์ที่ว่ายอยู่ตามผิวน้ำและพืชที่ลอยอยู่ผิวน้ำ  ได้แก่  จิงโจ้น้ำ ไข่น้ำ  จอกแหน ชุมชนในแหล่งต้นน้ำ แบ่งเป็น  2  แบบ  คือ    - เขตน้ำไหลเชี่ยว  (Rapid  Zone)  เป็นบริเวณตื้นและมีกระแสน้ำไหลแรงทำให้ก้นลำธารใสสะอาด ไม่ค่อยมีการสะสมของตะกอนใต้น้ำ  ได้แก่  น้ำตกและธารน้ำไหล  ซึ่งเหมาะสำหรับการดำรงชีวิตของพวกเบนโทสที่สามารถเกาะติดกับวัตถุใต้น้ำ  และพวกเนคตอนที่มีความแข็งแรงในการว่ายสู้กระแสน้ำ    - เขตน้ำไหลเอื่อย  (Pool  Zone)  เป็นบริเวณที่มีความลึกและความเร็วของกระแสน้ำลดลง  ทำให้มีการตกตะกอน ของอนุภาค ต่างๆบริเวณท้องน้ำ  ได้แก่  แม่น้ำและลำธารขนาดใหญ่  ซึ่งเหมาะสำหรับการดำรงชีวิตของพวกเนคตอนและแพลงก์ตอน ระบบนิเวศในแหล่งน้ำ   ในแหล่งน้ำนี้จะมีกลุ่มสิ่งมีชีวิต  ได้แก่  สัตว์น้ำ  ทั้งตัวเต็มวัย  ตัวอ่อน  และพืชน้ำนานาชนิด  รวมทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก  และจุลินทรีย์จำนวนมากอาศัยอยู่รวมกัน  สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์กันไปตามบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่ม  กล่าวคือ  พืช  แพลงก์ตอนพืช  และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีคลอโรฟิลล์  เป็นพวกที่สร้างอาหารได้เองโดยกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง  จึงเป็นผู้ผลิตและเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญให้แก่สัตว์  ซึ่งจะกินต่อกันเป็นทอดๆจากสัตว์กินพืช  สัตว์กินสัตว์  และสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหารต่อไป  เมื่อสิ่งมีชีวิตทั้งหลายตายลง  ก็จะถูกสิ่งมีชีวิต  เช่น  จุลินทรีย์  ย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารอนินทรีย์กลับคืนสู่แหล่งน้ำและธรรมชาติต่อไป สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแหล่งน้ำ จำแนกตามหน้าที่ดังนี้    - ผู้ผลิต  ได้แก่  พืช  สาหร่าย  แพลงก์ตอนพืช    - ผู้บริโภคปฐมภูมิ  ได้แก่  แพลงก์ตอนสัตว์  ปลาตะเพียน  ปลานิล  ตัวแมลงอ่อน  หอย  กุ้ง    - ผู้บริโภคทุติยภูมิ  ได้แก่  ปลา  กุ้ง  กบ  ปลาช่อน  ปลาดุก  ปลากราย  แมลง    - ผู้บริโภคตติยภูมิ  ได้แก่  ปลาชะโด  จระเข้  นกยาง  งู    - ผู้ย่อยสลาย  ได้แก่  แบคทีเรีย ปัญหาความเสื่อมโทรมของต้นน้ำลำธารและแหล่งน้ำ     ต้นน้ำลำธารมีต้นกำเนิดบนเทือกเขาสูงโดยมีป่าช่วยดูดซับน้ำ  แต่ในปัจจุบันพื้นที่ป่าต้นน้ำเสื่อมโทรมมากโดยมีสาเหตุดังนี้    - การทำลายป่าเพื่อการเกษตรกรรม  เนื่องจากประชากรเพิ่มอย่างรวดเร็วทำให้ขาดที่ดินทำกินและ เกิดจากการ เร่งเพิ่มผลผลิต ทางการเกษตรของพืชไร่บางชนิดเพื่อส่งเสริมสินค้าส่งออก ทำให้มีการบุกรุกทำลายป่าและเปิดเป็นพื้นที่เกษตรกรรม เพิ่มเป็นเงาตามตัว และเกิดจากการที่ผลผลิตทางการเกษตรต่อหน่วยพื้นที่น้อย  จึงต้องใช้พื้นที่เกษตรกรรมมากขึ้น เพื่อให้ได้ ผลผลิตพอกับความต้องการ  ผู้บุกรุกป่ามี  2  กลุ่ม  คือชาวไทยบนพื้นที่ราบและชาวเขาบนพื้นที่สูงภาคเหนือ  ชาวไทยที่ราบ ตัดป่าทำธุรกิจอย่างเห็นแก่ตัว  ชาวเขาตัดป่าเพื่อเพาะปลูก  และชาวเขาจะทำเกษตรซ้ำอยู่ที่เดิมประมาณ  4 – 5 ปี  เมื่อดินหมดความสมบูรณ์  ก็จะเคลื่อนย้ายทำลายป่าเพื่อยึดเป็นพื้นที่เกษตรกรรมแห่งใหม่ต่อไป   - ไฟป่า  มีอิทธิพลต่อดิน  น้ำในบริเวณต้นน้ำลำธาร  ไฟป่าในประเทศไทยเกิดจากฝีมือมนุษย์ทั้งสิ้น เช่น  เผาป่า  ทำไร่  เผาป่าล่าสัตว์  ไฟป่าจะเกิดในฤดูร้อน  ซึ่งสภาพป่าจะแห้งโดยเฉพาะอย่างยิ่งหญ้าและไม้พื้นล่างที่เป็นเชื้อเพลิงอย่างดี ในภาคเหนือและภาคอีสานมีฝนน้อย  ไฟป่าจึงเกิดได้ยาวนานกว่าภาคอื่นๆ ไฟป่าเกิดได้ง่ายในป่าดิบแล้ง  ป่าเต็งรัง และบริเวณทุ่งหญ้า  ซึ่งเกิดจากการทำไร่เลื่อนลอย  ไฟป่าทำให้เศษใบไม้บริเวณผิวหน้าดินถูกเผาผลาญ  ทำให้พื้นดินขาดสิ่งปกคลุมที่ดูดซับน้ำ  เม็ดดินบริเวณผิวหน้าดินเมื่อถูกความร้อนจากไฟจะแห้งเข็งเป็นมัน  ไม่ดูดซับน้ำ เมื่อฝนตกทำให้เกิดการไหลบ่าของหน้าดินมากขึ้นและเกิดการกัดเซาะได้ง่ายอย่างยิ่ง    - การก่อสร้างถนน  ในเขตภูเขาสูงบริเวณต้นน้ำ  ตัวถนนซึ่งเปิดหน้าดินขึ้นมาหรือมูลดินที่เกรดทิ้งไว้ข้างทางจะเป็นแหล่งดินตะกอน  ซึ่งจะถูกกัดชะลงในห้วยลำธาร  ทำลายความเสียหายแก่คุณภาพน้ำได้มาก    - การเลี้ยงสัตว์  ชาวเขาที่อาศัยต้นน้ำจะเลี้ยงสัตว์แทบทุกครอบครัว  จำพวกวัว  ควาย  ม้า  โดยปล่อยให้หากินตามไร่ร้าง  ทำให้ดินแน่นตัว  ลดสมรรถนะในการดูดซับน้ำและทำให้เกิดการไหลบ่าของหน้าดินมากขึ้น    - การทำเหมืองแร่  น้ำที่ปล่อยสู่ลำห้วยจากพื้นที่ทำเหมืองมีตะกอนมาก  การทำเหมืองแร่บนภูเขาสูงทำให้ดินที่เปิดออกถูกกัดชะได้ง่าย  และยากที่จะฟื้นฟูให้เป็นสภาพเดิม  หลังจากการทำเหมืองผ่านไปแล้ว การใช้ยาฆ่าแมลงและวัชพืช  หากใช้มากเกินไปไม่ถูกวิธีทำให้คุณภาพน้ำเสื่อมลง  และเกิดอันตรายแก่ผู้ใช้น้ำทางตอนล่างได้  และการจัดระบบหมู่บ้านบนที่สูงหากไม่ถูกสุขลักษณะก็จะก่อมลภาวะแก่น้ำในลำห้วย  ลำธารได้
  30. ป่าต้นน้ำ    ป่าถือเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำลำธารเพราะบริเวณป่ามีความชุ่มชื้นเนื่องจาก มีฝนตก มากกว่าบริเวณอื่น  เมื่อฝนตกใบไม้จะทำหน้าที่รองรับน้ำฝน  ลำต้นช่วยชะลอการไหลของน้ำฝน  และรากทำหน้าที่ดูดซับน้ำเอาไว้ทำให้น้ำ ค่อยๆ ไหลซึมลงสู่แหล่งน้ำใต้ดิน  ลำธาร  และแม่น้ำอย่างช้าๆ  หากมีป่าอุดมสมบูรณ์แหล่งน้ำตามธรรมชาติจะไม่แห้งขอด สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ  (ลำธาร  และแม่น้ำ) สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ  จำแนกตามถิ่นอาศัยที่แตกต่างกัน  แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆดังนี้    - แพลงก์ตอน  (Plankton)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่ล่องลอยอยู่น้ำ  เคลื่อนที่โดยการ เคลื่อนที่ของกระแสน้ำเป็นส่วนใหญ่  แบ่งออกเป็น  2  ชนิด  คือแพลงก์ตอนพืช เช่น  ไดอะตอม  สาหร่าย  และแพลงก์ตอนสัตว์  ได้แก่  โปรโตซัว   - เนคตอน  (Nekton)  เป็นสัตว์ที่ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระ  ได้แก่  แมลง กบ  ปลา   - เบนโทส  (Benthos)  เป็นสัตว์อาศัยอยู่ตามพื้นท้องน้ำ  ได้แก่  หอย  ปลา  แมลง  หนอน      - เพอรไพตอน  (Periphyton)  เป็นพืชหรือสัตว์ที่เกาะหรือปีนป่ายอยู่ตามต้นไม้หรือใบไม้ของพืชน้ำ  ได้แก่  ไฮดรา  หอยกาบเดี่ยวบางชนิด   - นูว์สตอน  (Neuston)  หมายถึง  สัตว์ที่ว่ายอยู่ตามผิวน้ำและพืชที่ลอยอยู่ผิวน้ำ  ได้แก่  จิงโจ้น้ำ ไข่น้ำ  จอกแหน ชุมชนในแหล่งต้นน้ำ แบ่งเป็น  2  แบบ  คือ    - เขตน้ำไหลเชี่ยว  (Rapid  Zone)  เป็นบริเวณตื้นและมีกระแสน้ำไหลแรงทำให้ก้นลำธารใสสะอาด ไม่ค่อยมีการสะสมของตะกอนใต้น้ำ  ได้แก่  น้ำตกและธารน้ำไหล  ซึ่งเหมาะสำหรับการดำรงชีวิตของพวกเบนโทสที่สามารถเกาะติดกับวัตถุใต้น้ำ  และพวกเนคตอนที่มีความแข็งแรงในการว่ายสู้กระแสน้ำ    - เขตน้ำไหลเอื่อย  (Pool  Zone)  เป็นบริเวณที่มีความลึกและความเร็วของกระแสน้ำลดลง  ทำให้มีการตกตะกอน ของอนุภาค ต่างๆบริเวณท้องน้ำ  ได้แก่  แม่น้ำและลำธารขนาดใหญ่  ซึ่งเหมาะสำหรับการดำรงชีวิตของพวกเนคตอนและแพลงก์ตอน ระบบนิเวศในแหล่งน้ำ   ในแหล่งน้ำนี้จะมีกลุ่มสิ่งมีชีวิต  ได้แก่  สัตว์น้ำ  ทั้งตัวเต็มวัย  ตัวอ่อน  และพืชน้ำนานาชนิด  รวมทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก  และจุลินทรีย์จำนวนมากอาศัยอยู่รวมกัน  สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์กันไปตามบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่ม  กล่าวคือ  พืช  แพลงก์ตอนพืช  และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีคลอโรฟิลล์  เป็นพวกที่สร้างอาหารได้เองโดยกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง  จึงเป็นผู้ผลิตและเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญให้แก่สัตว์  ซึ่งจะกินต่อกันเป็นทอดๆจากสัตว์กินพืช  สัตว์กินสัตว์  และสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหารต่อไป  เมื่อสิ่งมีชีวิตทั้งหลายตายลง  ก็จะถูกสิ่งมีชีวิต  เช่น  จุลินทรีย์  ย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารอนินทรีย์กลับคืนสู่แหล่งน้ำและธรรมชาติต่อไป สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแหล่งน้ำ จำแนกตามหน้าที่ดังนี้    - ผู้ผลิต  ได้แก่  พืช  สาหร่าย  แพลงก์ตอนพืช    - ผู้บริโภคปฐมภูมิ  ได้แก่  แพลงก์ตอนสัตว์  ปลาตะเพียน  ปลานิล  ตัวแมลงอ่อน  หอย  กุ้ง    - ผู้บริโภคทุติยภูมิ  ได้แก่  ปลา  กุ้ง  กบ  ปลาช่อน  ปลาดุก  ปลากราย  แมลง    - ผู้บริโภคตติยภูมิ  ได้แก่  ปลาชะโด  จระเข้  นกยาง  งู    - ผู้ย่อยสลาย  ได้แก่  แบคทีเรีย ปัญหาความเสื่อมโทรมของต้นน้ำลำธารและแหล่งน้ำ     ต้นน้ำลำธารมีต้นกำเนิดบนเทือกเขาสูงโดยมีป่าช่วยดูดซับน้ำ  แต่ในปัจจุบันพื้นที่ป่าต้นน้ำเสื่อมโทรมมากโดยมีสาเหตุดังนี้    - การทำลายป่าเพื่อการเกษตรกรรม  เนื่องจากประชากรเพิ่มอย่างรวดเร็วทำให้ขาดที่ดินทำกินและ เกิดจากการ เร่งเพิ่มผลผลิต ทางการเกษตรของพืชไร่บางชนิดเพื่อส่งเสริมสินค้าส่งออก ทำให้มีการบุกรุกทำลายป่าและเปิดเป็นพื้นที่เกษตรกรรม เพิ่มเป็นเงาตามตัว และเกิดจากการที่ผลผลิตทางการเกษตรต่อหน่วยพื้นที่น้อย  จึงต้องใช้พื้นที่เกษตรกรรมมากขึ้น เพื่อให้ได้ ผลผลิตพอกับความต้องการ  ผู้บุกรุกป่ามี  2  กลุ่ม  คือชาวไทยบนพื้นที่ราบและชาวเขาบนพื้นที่สูงภาคเหนือ  ชาวไทยที่ราบ ตัดป่าทำธุรกิจอย่างเห็นแก่ตัว  ชาวเขาตัดป่าเพื่อเพาะปลูก  และชาวเขาจะทำเกษตรซ้ำอยู่ที่เดิมประมาณ  4 – 5 ปี  เมื่อดินหมดความสมบูรณ์  ก็จะเคลื่อนย้ายทำลายป่าเพื่อยึดเป็นพื้นที่เกษตรกรรมแห่งใหม่ต่อไป   - ไฟป่า  มีอิทธิพลต่อดิน  น้ำในบริเวณต้นน้ำลำธาร  ไฟป่าในประเทศไทยเกิดจากฝีมือมนุษย์ทั้งสิ้น เช่น  เผาป่า  ทำไร่  เผาป่าล่าสัตว์  ไฟป่าจะเกิดในฤดูร้อน  ซึ่งสภาพป่าจะแห้งโดยเฉพาะอย่างยิ่งหญ้าและไม้พื้นล่างที่เป็นเชื้อเพลิงอย่างดี ในภาคเหนือและภาคอีสานมีฝนน้อย  ไฟป่าจึงเกิดได้ยาวนานกว่าภาคอื่นๆ ไฟป่าเกิดได้ง่ายในป่าดิบแล้ง  ป่าเต็งรัง และบริเวณทุ่งหญ้า  ซึ่งเกิดจากการทำไร่เลื่อนลอย  ไฟป่าทำให้เศษใบไม้บริเวณผิวหน้าดินถูกเผาผลาญ  ทำให้พื้นดินขาดสิ่งปกคลุมที่ดูดซับน้ำ  เม็ดดินบริเวณผิวหน้าดินเมื่อถูกความร้อนจากไฟจะแห้งเข็งเป็นมัน  ไม่ดูดซับน้ำ เมื่อฝนตกทำให้เกิดการไหลบ่าของหน้าดินมากขึ้นและเกิดการกัดเซาะได้ง่ายอย่างยิ่ง    - การก่อสร้างถนน  ในเขตภูเขาสูงบริเวณต้นน้ำ  ตัวถนนซึ่งเปิดหน้าดินขึ้นมาหรือมูลดินที่เกรดทิ้งไว้ข้างทางจะเป็นแหล่งดินตะกอน  ซึ่งจะถูกกัดชะลงในห้วยลำธาร  ทำลายความเสียหายแก่คุณภาพน้ำได้มาก    - การเลี้ยงสัตว์  ชาวเขาที่อาศัยต้นน้ำจะเลี้ยงสัตว์แทบทุกครอบครัว  จำพวกวัว  ควาย  ม้า  โดยปล่อยให้หากินตามไร่ร้าง  ทำให้ดินแน่นตัว  ลดสมรรถนะในการดูดซับน้ำและทำให้เกิดการไหลบ่าของหน้าดินมากขึ้น    - การทำเหมืองแร่  น้ำที่ปล่อยสู่ลำห้วยจากพื้นที่ทำเหมืองมีตะกอนมาก  การทำเหมืองแร่บนภูเขาสูงทำให้ดินที่เปิดออกถูกกัดชะได้ง่าย  และยากที่จะฟื้นฟูให้เป็นสภาพเดิม  หลังจากการทำเหมืองผ่านไปแล้ว การใช้ยาฆ่าแมลงและวัชพืช  หากใช้มากเกินไปไม่ถูกวิธีทำให้คุณภาพน้ำเสื่อมลง  และเกิดอันตรายแก่ผู้ใช้น้ำทางตอนล่างได้  และการจัดระบบหมู่บ้านบนที่สูงหากไม่ถูกสุขลักษณะก็จะก่อมลภาวะแก่น้ำในลำห้วย  ลำธารได้
  31. ป่าต้นน้ำ    ป่าถือเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำลำธารเพราะบริเวณป่ามีความชุ่มชื้นเนื่องจาก มีฝนตก มากกว่าบริเวณอื่น  เมื่อฝนตกใบไม้จะทำหน้าที่รองรับน้ำฝน  ลำต้นช่วยชะลอการไหลของน้ำฝน  และรากทำหน้าที่ดูดซับน้ำเอาไว้ทำให้น้ำ ค่อยๆ ไหลซึมลงสู่แหล่งน้ำใต้ดิน  ลำธาร  และแม่น้ำอย่างช้าๆ  หากมีป่าอุดมสมบูรณ์แหล่งน้ำตามธรรมชาติจะไม่แห้งขอด สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ  (ลำธาร  และแม่น้ำ) สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ  จำแนกตามถิ่นอาศัยที่แตกต่างกัน  แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆดังนี้    - แพลงก์ตอน  (Plankton)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่ล่องลอยอยู่น้ำ  เคลื่อนที่โดยการ เคลื่อนที่ของกระแสน้ำเป็นส่วนใหญ่  แบ่งออกเป็น  2  ชนิด  คือแพลงก์ตอนพืช เช่น  ไดอะตอม  สาหร่าย  และแพลงก์ตอนสัตว์  ได้แก่  โปรโตซัว   - เนคตอน  (Nekton)  เป็นสัตว์ที่ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระ  ได้แก่  แมลง กบ  ปลา   - เบนโทส  (Benthos)  เป็นสัตว์อาศัยอยู่ตามพื้นท้องน้ำ  ได้แก่  หอย  ปลา  แมลง  หนอน      - เพอรไพตอน  (Periphyton)  เป็นพืชหรือสัตว์ที่เกาะหรือปีนป่ายอยู่ตามต้นไม้หรือใบไม้ของพืชน้ำ  ได้แก่  ไฮดรา  หอยกาบเดี่ยวบางชนิด   - นูว์สตอน  (Neuston)  หมายถึง  สัตว์ที่ว่ายอยู่ตามผิวน้ำและพืชที่ลอยอยู่ผิวน้ำ  ได้แก่  จิงโจ้น้ำ ไข่น้ำ  จอกแหน ชุมชนในแหล่งต้นน้ำ แบ่งเป็น  2  แบบ  คือ    - เขตน้ำไหลเชี่ยว  (Rapid  Zone)  เป็นบริเวณตื้นและมีกระแสน้ำไหลแรงทำให้ก้นลำธารใสสะอาด ไม่ค่อยมีการสะสมของตะกอนใต้น้ำ  ได้แก่  น้ำตกและธารน้ำไหล  ซึ่งเหมาะสำหรับการดำรงชีวิตของพวกเบนโทสที่สามารถเกาะติดกับวัตถุใต้น้ำ  และพวกเนคตอนที่มีความแข็งแรงในการว่ายสู้กระแสน้ำ    - เขตน้ำไหลเอื่อย  (Pool  Zone)  เป็นบริเวณที่มีความลึกและความเร็วของกระแสน้ำลดลง  ทำให้มีการตกตะกอน ของอนุภาค ต่างๆบริเวณท้องน้ำ  ได้แก่  แม่น้ำและลำธารขนาดใหญ่  ซึ่งเหมาะสำหรับการดำรงชีวิตของพวกเนคตอนและแพลงก์ตอน ระบบนิเวศในแหล่งน้ำ   ในแหล่งน้ำนี้จะมีกลุ่มสิ่งมีชีวิต  ได้แก่  สัตว์น้ำ  ทั้งตัวเต็มวัย  ตัวอ่อน  และพืชน้ำนานาชนิด  รวมทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก  และจุลินทรีย์จำนวนมากอาศัยอยู่รวมกัน  สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์กันไปตามบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่ม  กล่าวคือ  พืช  แพลงก์ตอนพืช  และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีคลอโรฟิลล์  เป็นพวกที่สร้างอาหารได้เองโดยกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง  จึงเป็นผู้ผลิตและเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญให้แก่สัตว์  ซึ่งจะกินต่อกันเป็นทอดๆจากสัตว์กินพืช  สัตว์กินสัตว์  และสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหารต่อไป  เมื่อสิ่งมีชีวิตทั้งหลายตายลง  ก็จะถูกสิ่งมีชีวิต  เช่น  จุลินทรีย์  ย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารอนินทรีย์กลับคืนสู่แหล่งน้ำและธรรมชาติต่อไป สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแหล่งน้ำ จำแนกตามหน้าที่ดังนี้    - ผู้ผลิต  ได้แก่  พืช  สาหร่าย  แพลงก์ตอนพืช    - ผู้บริโภคปฐมภูมิ  ได้แก่  แพลงก์ตอนสัตว์  ปลาตะเพียน  ปลานิล  ตัวแมลงอ่อน  หอย  กุ้ง    - ผู้บริโภคทุติยภูมิ  ได้แก่  ปลา  กุ้ง  กบ  ปลาช่อน  ปลาดุก  ปลากราย  แมลง    - ผู้บริโภคตติยภูมิ  ได้แก่  ปลาชะโด  จระเข้  นกยาง  งู    - ผู้ย่อยสลาย  ได้แก่  แบคทีเรีย ปัญหาความเสื่อมโทรมของต้นน้ำลำธารและแหล่งน้ำ     ต้นน้ำลำธารมีต้นกำเนิดบนเทือกเขาสูงโดยมีป่าช่วยดูดซับน้ำ  แต่ในปัจจุบันพื้นที่ป่าต้นน้ำเสื่อมโทรมมากโดยมีสาเหตุดังนี้    - การทำลายป่าเพื่อการเกษตรกรรม  เนื่องจากประชากรเพิ่มอย่างรวดเร็วทำให้ขาดที่ดินทำกินและ เกิดจากการ เร่งเพิ่มผลผลิต ทางการเกษตรของพืชไร่บางชนิดเพื่อส่งเสริมสินค้าส่งออก ทำให้มีการบุกรุกทำลายป่าและเปิดเป็นพื้นที่เกษตรกรรม เพิ่มเป็นเงาตามตัว และเกิดจากการที่ผลผลิตทางการเกษตรต่อหน่วยพื้นที่น้อย  จึงต้องใช้พื้นที่เกษตรกรรมมากขึ้น เพื่อให้ได้ ผลผลิตพอกับความต้องการ  ผู้บุกรุกป่ามี  2  กลุ่ม  คือชาวไทยบนพื้นที่ราบและชาวเขาบนพื้นที่สูงภาคเหนือ  ชาวไทยที่ราบ ตัดป่าทำธุรกิจอย่างเห็นแก่ตัว  ชาวเขาตัดป่าเพื่อเพาะปลูก  และชาวเขาจะทำเกษตรซ้ำอยู่ที่เดิมประมาณ  4 – 5 ปี  เมื่อดินหมดความสมบูรณ์  ก็จะเคลื่อนย้ายทำลายป่าเพื่อยึดเป็นพื้นที่เกษตรกรรมแห่งใหม่ต่อไป   - ไฟป่า  มีอิทธิพลต่อดิน  น้ำในบริเวณต้นน้ำลำธาร  ไฟป่าในประเทศไทยเกิดจากฝีมือมนุษย์ทั้งสิ้น เช่น  เผาป่า  ทำไร่  เผาป่าล่าสัตว์  ไฟป่าจะเกิดในฤดูร้อน  ซึ่งสภาพป่าจะแห้งโดยเฉพาะอย่างยิ่งหญ้าและไม้พื้นล่างที่เป็นเชื้อเพลิงอย่างดี ในภาคเหนือและภาคอีสานมีฝนน้อย  ไฟป่าจึงเกิดได้ยาวนานกว่าภาคอื่นๆ ไฟป่าเกิดได้ง่ายในป่าดิบแล้ง  ป่าเต็งรัง และบริเวณทุ่งหญ้า  ซึ่งเกิดจากการทำไร่เลื่อนลอย  ไฟป่าทำให้เศษใบไม้บริเวณผิวหน้าดินถูกเผาผลาญ  ทำให้พื้นดินขาดสิ่งปกคลุมที่ดูดซับน้ำ  เม็ดดินบริเวณผิวหน้าดินเมื่อถูกความร้อนจากไฟจะแห้งเข็งเป็นมัน  ไม่ดูดซับน้ำ เมื่อฝนตกทำให้เกิดการไหลบ่าของหน้าดินมากขึ้นและเกิดการกัดเซาะได้ง่ายอย่างยิ่ง    - การก่อสร้างถนน  ในเขตภูเขาสูงบริเวณต้นน้ำ  ตัวถนนซึ่งเปิดหน้าดินขึ้นมาหรือมูลดินที่เกรดทิ้งไว้ข้างทางจะเป็นแหล่งดินตะกอน  ซึ่งจะถูกกัดชะลงในห้วยลำธาร  ทำลายความเสียหายแก่คุณภาพน้ำได้มาก    - การเลี้ยงสัตว์  ชาวเขาที่อาศัยต้นน้ำจะเลี้ยงสัตว์แทบทุกครอบครัว  จำพวกวัว  ควาย  ม้า  โดยปล่อยให้หากินตามไร่ร้าง  ทำให้ดินแน่นตัว  ลดสมรรถนะในการดูดซับน้ำและทำให้เกิดการไหลบ่าของหน้าดินมากขึ้น    - การทำเหมืองแร่  น้ำที่ปล่อยสู่ลำห้วยจากพื้นที่ทำเหมืองมีตะกอนมาก  การทำเหมืองแร่บนภูเขาสูงทำให้ดินที่เปิดออกถูกกัดชะได้ง่าย  และยากที่จะฟื้นฟูให้เป็นสภาพเดิม  หลังจากการทำเหมืองผ่านไปแล้ว การใช้ยาฆ่าแมลงและวัชพืช  หากใช้มากเกินไปไม่ถูกวิธีทำให้คุณภาพน้ำเสื่อมลง  และเกิดอันตรายแก่ผู้ใช้น้ำทางตอนล่างได้  และการจัดระบบหมู่บ้านบนที่สูงหากไม่ถูกสุขลักษณะก็จะก่อมลภาวะแก่น้ำในลำห้วย  ลำธารได้
  32. ป่าต้นน้ำ    ป่าถือเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำลำธารเพราะบริเวณป่ามีความชุ่มชื้นเนื่องจาก มีฝนตก มากกว่าบริเวณอื่น  เมื่อฝนตกใบไม้จะทำหน้าที่รองรับน้ำฝน  ลำต้นช่วยชะลอการไหลของน้ำฝน  และรากทำหน้าที่ดูดซับน้ำเอาไว้ทำให้น้ำ ค่อยๆ ไหลซึมลงสู่แหล่งน้ำใต้ดิน  ลำธาร  และแม่น้ำอย่างช้าๆ  หากมีป่าอุดมสมบูรณ์แหล่งน้ำตามธรรมชาติจะไม่แห้งขอด สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ  (ลำธาร  และแม่น้ำ) สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำ  จำแนกตามถิ่นอาศัยที่แตกต่างกัน  แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆดังนี้    - แพลงก์ตอน  (Plankton)  เป็นสิ่งมีชีวิตที่ล่องลอยอยู่น้ำ  เคลื่อนที่โดยการ เคลื่อนที่ของกระแสน้ำเป็นส่วนใหญ่  แบ่งออกเป็น  2  ชนิด  คือแพลงก์ตอนพืช เช่น  ไดอะตอม  สาหร่าย  และแพลงก์ตอนสัตว์  ได้แก่  โปรโตซัว   - เนคตอน  (Nekton)  เป็นสัตว์ที่ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระ  ได้แก่  แมลง กบ  ปลา   - เบนโทส  (Benthos)  เป็นสัตว์อาศัยอยู่ตามพื้นท้องน้ำ  ได้แก่  หอย  ปลา  แมลง  หนอน      - เพอรไพตอน  (Periphyton)  เป็นพืชหรือสัตว์ที่เกาะหรือปีนป่ายอยู่ตามต้นไม้หรือใบไม้ของพืชน้ำ  ได้แก่  ไฮดรา  หอยกาบเดี่ยวบางชนิด   - นูว์สตอน  (Neuston)  หมายถึง  สัตว์ที่ว่ายอยู่ตามผิวน้ำและพืชที่ลอยอยู่ผิวน้ำ  ได้แก่  จิงโจ้น้ำ ไข่น้ำ  จอกแหน ชุมชนในแหล่งต้นน้ำ แบ่งเป็น  2  แบบ  คือ    - เขตน้ำไหลเชี่ยว  (Rapid  Zone)  เป็นบริเวณตื้นและมีกระแสน้ำไหลแรงทำให้ก้นลำธารใสสะอาด ไม่ค่อยมีการสะสมของตะกอนใต้น้ำ  ได้แก่  น้ำตกและธารน้ำไหล  ซึ่งเหมาะสำหรับการดำรงชีวิตของพวกเบนโทสที่สามารถเกาะติดกับวัตถุใต้น้ำ  และพวกเนคตอนที่มีความแข็งแรงในการว่ายสู้กระแสน้ำ    - เขตน้ำไหลเอื่อย  (Pool  Zone)  เป็นบริเวณที่มีความลึกและความเร็วของกระแสน้ำลดลง  ทำให้มีการตกตะกอน ของอนุภาค ต่างๆบริเวณท้องน้ำ  ได้แก่  แม่น้ำและลำธารขนาดใหญ่  ซึ่งเหมาะสำหรับการดำรงชีวิตของพวกเนคตอนและแพลงก์ตอน ระบบนิเวศในแหล่งน้ำ   ในแหล่งน้ำนี้จะมีกลุ่มสิ่งมีชีวิต  ได้แก่  สัตว์น้ำ  ทั้งตัวเต็มวัย  ตัวอ่อน  และพืชน้ำนานาชนิด  รวมทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก  และจุลินทรีย์จำนวนมากอาศัยอยู่รวมกัน  สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์กันไปตามบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่ม  กล่าวคือ  พืช  แพลงก์ตอนพืช  และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีคลอโรฟิลล์  เป็นพวกที่สร้างอาหารได้เองโดยกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง  จึงเป็นผู้ผลิตและเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญให้แก่สัตว์  ซึ่งจะกินต่อกันเป็นทอดๆจากสัตว์กินพืช  สัตว์กินสัตว์  และสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหารต่อไป  เมื่อสิ่งมีชีวิตทั้งหลายตายลง  ก็จะถูกสิ่งมีชีวิต  เช่น  จุลินทรีย์  ย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารอนินทรีย์กลับคืนสู่แหล่งน้ำและธรรมชาติต่อไป สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแหล่งน้ำ จำแนกตามหน้าที่ดังนี้    - ผู้ผลิต  ได้แก่  พืช  สาหร่าย  แพลงก์ตอนพืช    - ผู้บริโภคปฐมภูมิ  ได้แก่  แพลงก์ตอนสัตว์  ปลาตะเพียน  ปลานิล  ตัวแมลงอ่อน  หอย  กุ้ง    - ผู้บริโภคทุติยภูมิ  ได้แก่  ปลา  กุ้ง  กบ  ปลาช่อน  ปลาดุก  ปลากราย  แมลง    - ผู้บริโภคตติยภูมิ  ได้แก่  ปลาชะโด  จระเข้  นกยาง  งู    - ผู้ย่อยสลาย  ได้แก่  แบคทีเรีย ปัญหาความเสื่อมโทรมของต้นน้ำลำธารและแหล่งน้ำ     ต้นน้ำลำธารมีต้นกำเนิดบนเทือกเขาสูงโดยมีป่าช่วยดูดซับน้ำ  แต่ในปัจจุบันพื้นที่ป่าต้นน้ำเสื่อมโทรมมากโดยมีสาเหตุดังนี้    - การทำลายป่าเพื่อการเกษตรกรรม  เนื่องจากประชากรเพิ่มอย่างรวดเร็วทำให้ขาดที่ดินทำกินและ เกิดจากการ เร่งเพิ่มผลผลิต ทางการเกษตรของพืชไร่บางชนิดเพื่อส่งเสริมสินค้าส่งออก ทำให้มีการบุกรุกทำลายป่าและเปิดเป็นพื้นที่เกษตรกรรม เพิ่มเป็นเงาตามตัว และเกิดจากการที่ผลผลิตทางการเกษตรต่อหน่วยพื้นที่น้อย  จึงต้องใช้พื้นที่เกษตรกรรมมากขึ้น เพื่อให้ได้ ผลผลิตพอกับความต้องการ  ผู้บุกรุกป่ามี  2  กลุ่ม  คือชาวไทยบนพื้นที่ราบและชาวเขาบนพื้นที่สูงภาคเหนือ  ชาวไทยที่ราบ ตัดป่าทำธุรกิจอย่างเห็นแก่ตัว  ชาวเขาตัดป่าเพื่อเพาะปลูก  และชาวเขาจะทำเกษตรซ้ำอยู่ที่เดิมประมาณ  4 – 5 ปี  เมื่อดินหมดความสมบูรณ์  ก็จะเคลื่อนย้ายทำลายป่าเพื่อยึดเป็นพื้นที่เกษตรกรรมแห่งใหม่ต่อไป   - ไฟป่า  มีอิทธิพลต่อดิน  น้ำในบริเวณต้นน้ำลำธาร  ไฟป่าในประเทศไทยเกิดจากฝีมือมนุษย์ทั้งสิ้น เช่น  เผาป่า  ทำไร่  เผาป่าล่าสัตว์  ไฟป่าจะเกิดในฤดูร้อน  ซึ่งสภาพป่าจะแห้งโดยเฉพาะอย่างยิ่งหญ้าและไม้พื้นล่างที่เป็นเชื้อเพลิงอย่างดี ในภาคเหนือและภาคอีสานมีฝนน้อย  ไฟป่าจึงเกิดได้ยาวนานกว่าภาคอื่นๆ ไฟป่าเกิดได้ง่ายในป่าดิบแล้ง  ป่าเต็งรัง และบริเวณทุ่งหญ้า  ซึ่งเกิดจากการทำไร่เลื่อนลอย  ไฟป่าทำให้เศษใบไม้บริเวณผิวหน้าดินถูกเผาผลาญ  ทำให้พื้นดินขาดสิ่งปกคลุมที่ดูดซับน้ำ  เม็ดดินบริเวณผิวหน้าดินเมื่อถูกความร้อนจากไฟจะแห้งเข็งเป็นมัน  ไม่ดูดซับน้ำ เมื่อฝนตกทำให้เกิดการไหลบ่าของหน้าดินมากขึ้นและเกิดการกัดเซาะได้ง่ายอย่างยิ่ง    - การก่อสร้างถนน  ในเขตภูเขาสูงบริเวณต้นน้ำ  ตัวถนนซึ่งเปิดหน้าดินขึ้นมาหรือมูลดินที่เกรดทิ้งไว้ข้างทางจะเป็นแหล่งดินตะกอน  ซึ่งจะถูกกัดชะลงในห้วยลำธาร  ทำลายความเสียหายแก่คุณภาพน้ำได้มาก    - การเลี้ยงสัตว์  ชาวเขาที่อาศัยต้นน้ำจะเลี้ยงสัตว์แทบทุกครอบครัว  จำพวกวัว  ควาย  ม้า  โดยปล่อยให้หากินตามไร่ร้าง  ทำให้ดินแน่นตัว  ลดสมรรถนะในการดูดซับน้ำและทำให้เกิดการไหลบ่าของหน้าดินมากขึ้น    - การทำเหมืองแร่  น้ำที่ปล่อยสู่ลำห้วยจากพื้นที่ทำเหมืองมีตะกอนมาก  การทำเหมืองแร่บนภูเขาสูงทำให้ดินที่เปิดออกถูกกัดชะได้ง่าย  และยากที่จะฟื้นฟูให้เป็นสภาพเดิม  หลังจากการทำเหมืองผ่านไปแล้ว การใช้ยาฆ่าแมลงและวัชพืช  หากใช้มากเกินไปไม่ถูกวิธีทำให้คุณภาพน้ำเสื่อมลง  และเกิดอันตรายแก่ผู้ใช้น้ำทางตอนล่างได้  และการจัดระบบหมู่บ้านบนที่สูงหากไม่ถูกสุขลักษณะก็จะก่อมลภาวะแก่น้ำในลำห้วย  ลำธารได้
  33. ป่าชายเลน พบทั่วไปตามพื้นที่ชายฝั่งทะเล  บริเวณปากน้ำ  อ่าว  ทะเลสาบและเกาะซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน  (Tropical Region) โดยป่าชายเลนในประเทศไทยอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่งยาวประมาณ 927  กิโลเมตร  ในเขตชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก  ภาคกลาง  และภาคใต้  ปัจจัยทางกายภาพ   ระบบนิเวศป่าชายเลนเกิดจากการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อมของทะเลและสภาพแวดล้อมของแผ่นดินพื้นที่และการกระจายของป่าชายเลนจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่สำคัญได้แก่  สภาพภูมิอากาศ  สภาพดินและน้ำ   ภูมิอากาศ  โดยทั่วไปแล้วพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต้องกาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า  20 OC  เล็กน้อยและมีความแตกต่างของอากาศในแต่ละฤดูไม่มากกว่า  5  OC  โดยอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญของไม้ในป่าชายเลนจะอยู่ระหว่าง  25-30 OC  ป่าชายเลนสามารถขึ้นในบริเวณพื้นที่ริมฝั่งของภูมิภาคเขตร้อนที่มีปริมาณฝนและความชื้นน้อยไปจนถึงบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนมาก  แต่ป่าชายเลนในบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนและความชื้นมาก  จะมีพัฒนาการเจริญเติบโตได้ดีกว่า  สำหรับประเทศไทยนั้นป่าชายเลนที่พัฒนาดีที่สุดคือ  ป่าชายเลนระยอง  ดิน  ในพื้นที่ป่าชายเลนเกิดขึ้นจากการทับถมของดินตะกอนในแม่น้ำที่ไหลลงสู่บริเวณที่มีน้ำนิ่งซึ่งดินตะกอนจะทับถมกันในสภาพธรรมชาติ  จึงมีปริมาณเกลือสูง  และปริมาณอินทรียวัตถุสูง   น้ำ  ความเค็มของน้ำในป่าชายเลนของประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีความเค็มของน้ำระหว่าง 10-30 ส่วนในพันส่วน ปัจจัยทางชีวภาพ พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีลักษณะ  ดังนี้    - เป็นป่าที่มีความเขียวสดตลอดปี   - ไม่มีการแบ่งชั้นของเรือนยอด  (Canopy)  อย่างชัดเจน    ชนิดของพืชพันธุ์ต่าง ๆ  จะมีความสัมพันธ์กัลป์ปบลักษณะของพื้นที่  ดังนี้ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับแผ่นดินพืชที่พบในน้ำและบริเวณพื้นที่ชื้นแฉะ  จะพบต้นจาก  ส่วนพืชบกจะพบ  โพธิ์ทะเล  โปรง  ตะบูน  พังกา  หัวสุม  และประทะเล บริเวณพื้นที่ตอนบนของป่าชายเลน  พืชที่พบบริเวณนี้  ได้แก่  โกงกางใบเล็ก  โกงกางใบใหญ่  โดยมีแสมดำและแสมขาวขึ้นปะปนกันอยู่  นอกจากนี้ยังมี  ลำพู  เหงือกปลาหมอและถอบแถบ บริเวณตอนล่างของป่าชายเลน  พืชที่พบในบริเวณนี้ได้แก่  แสมดำ  แสมขาว  โกงกางใบเล็กโกงกางใบใหญ่ขึ้นปะปนกันอยู่ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับทะเล  พืชที่พบในบริเวณนี้ส่วนใหญ่คือ  แสม  แต่บางแห่งจะพบโกงกาง ชนิดของสัตว์น้ำและสัตว์บกมีตั้งแต่  จุลินทรีย์  (microorganism)  เช่น  แบคทีเรีย  รา  โปรโตซัว  พวกสัตว์เล็ก  จนถึงสัตว์ใหญ่  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  งู  นก  ลิง  เป็นต้น       สำหรับพวกจุลินทรีย์ต่าง ๆ  เป็นส่วนสำคัญในการกำเนิดห่วงโซ่อาหาร มีรายงานการสำรวจพบว่า  บริเวณป่าชายเลนนั้นมีปลาชนิดต่าง ๆ  รวมกันประมาณ  72  ชนิดที่สำคัญและมีชนิดที่พบได้มาก  ได้แก่  ปลากระบอก  ปลากะพงขาว  และปลานวลจันทร์ทะเล  เป็นต้น  สำหรับกุ้งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงที่พบในป่าชายเลน  เช่น  กุ้งแชบ๊วย  กุ้งตะกาด  กุ้งกุลาดำหรือกุ้งตะเข็บ  กุ้งหัวมัน  ปูที่พบในป่าชายเลนมี 54 ชนิดที่สำคัญ  ปูเปรี้ยวหรือปูก้ามดาบหรือปูผู้แทน (Veatorcipata)  ปูแสม (Sesarma  mederi)  ปูทะเลหรือปูดำ หอยมีทั้งชนิดที่เกาะอยู่กับต้นไม้  รากและใบของไม้ในป่าชายเลน  รวมถึงชนิดที่ชอบฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือตามพื้นป่า แมลง  ที่อาศัยอยู่ตามป่าชายเลนมีจำนวน  38  ชนิด  ชนิดที่พบมาก  ได้แก่  ผีเสื้อ  หนอนคืบ  หนอนผีเสื้อขัดใบ  ด้วงหนวดยาว  ยุง  ริ้น  เป็นต้น สัตว์อื่น ๆ ที่พบมาก  ได้แก่     - นก  มีทั้งหมดประมาณ  88  ชนิด    - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 35 ชนิด  เช่น  ค้างคาว  ลิงแสม  นาก  แมวป่า    - สัตว์เลื้อยคลานประมาณ  25  ชนิด  ซึ่งรวมทั้งงูชนิดต่าง ๆ  กิ้งก่า  เต่า  จระเข้  ซึ่งสัตว์เหล่านี้หากินและมีชีวิตเกี่ยวข้องอยู่กับป่าชายเลน   คุณค่าและความสำคัญในระบบนิเวศป่าชายเลน  ด้านป่าไม้  ไม้จากป่าชายเลนได้นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  เช่น ทำฟืนหรือถ่าน    - ใช้ในการก่อสร้าง  เช่น  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน    - ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์    - ใบจากมุงหลังคาและมวนบุหรี่    - ด้านประมง  เป็นแหล่งที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน  เป็นแหล่งที่อยู่และที่หลบภัยของปลาต่าง ๆ    - ความสำคัญของด้านการอนุรักษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเล    - เป็นสถานที่หลบภัยตามธรรมชาติ    - ป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  โดยทำหน้าที่กรองสารปฏิกูล ด้านยารักษาโรค  เช่น    - เปลือกไม้โกงกางใบเล็ก  สามารถนำมาต้มกินแก้ท้องร่วง    - ต้นและรากของต้นเหงือกปลาหมอดอกน้ำเงิน  นำมาต้นน้ำผสมน้ำอาบ  แก้ผดผื่นคัน  โรคผิวหนัง    - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าชายเลน     ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากรมป่าไม้เมื่อปี  2543  แสดงให้เห็นว่า  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าชายเลน  1,526,006.25  ไร่  เพิ่มขึ้นจากการสำรวจเมื่อปี  2539  จำนวน  478,616.25  ไร่  ทั้งที่น่าสังเกตว่า  ในการสำรวจครั้งนี้ได้เพิ่มนราธิวาสเป็นจังหวัดที่ 24  ทีมีพื้นที่ป่าชายเลนด้วยจำนวน  473.5  ไร่  หลังจากที่ตกสำรวจมาเป็นเวลานาน  ขณะเดียวกันการสำรวจครั้งนี้กลับไม่แสดงพื้นที่ป่าชายเลนของจังหวัดสมุทรปราการ  ซึ่งเคยมีจำนวน  1,857.50  ไร่  ในการสำรวจเมื่อปี  2539      โดยภาพรวมป่าชายเลนของไทยนับว่าตกอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม  อันเป็นภาวะที่ต่อเนื่องมานับ 40 ปี  ดังที่ตัวเลขแสดงให้เห็นชัดเจนว่าภายในช่วงเวลาดังกล่าวพื้นที่ป่าชายเลนได้สูญหายไปถึงประมาณ 1 ล้านไร่ สาเหตุของการลดลงของป่าชายเลน    - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  โดยเฉพาะการทำนากุ้ง พื้นที่ป่าชายเลนเป็นแหล่งผลิตอินทรีย์สารและธาตุอาหารที่สำคัญ  สำหรับสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลนซึ่งมีมากมายหลายชนิด  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  เป็นต้น  ดังนั้นการแผ้วถางป่าแล้วจึงขุดบ่อขึ้นภายหลัง  เป็นการทำลายแหล่งแร่ธาตุที่มีการหมุนเวียน  เพื่อให้เกิดการสมดุลตามระบบธรรมชาติในระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน  และการทำนากุ้งวิธีนี้ยังทำความเสียหายแก่พื้นที่ป่าชายเลนมาก  เพราะนอกจากจะตัดไม้ลงแล้ว  ยังต้องขุดรากถอนโคนออกหมด  เป็นการทำลายพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีอยู่ในบริเวณนั้น  การทำลายป่าชายเลนในลักษณะนี้เป็นการเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างถาวร  ซึ่งเป็นการทำลาย  ทรัพยากรป่าไม้และระบบนิเวศป่าชายเลนด้วย    - การทำเหมืองแร่  การทำเหมืองแร่มีส่วนในการทำลายสภาพป่าและความอุดมสมบูรณ์ของป่า  จนยากที่จะฟื้นให้มีความสมบูรณ์เช่นเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้  ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการทำเหมืองแร่  จะต้องขุดให้ลึกจนถึงสายแร่  ดินตะกอน  กรวด  และทรายที่ถูกพลิกขึ้นมาทับถม  ทำให้ป่าชายเลนไม่สามารถฟื้นตัวเกิดได้ดังเช่นเดิม  นอกจากนั้น  คุณภาพของน้ำยังเลวลง  เนื่องจากมีตะกอนขุ่นข้นแขวนลอยอยู่ด้วย  เมื่อตกตะกอนก็จะกลายเป็นดินดอนทำให้น้ำท่วมไม่ถึง  มีแต่ความแห้งแล้ง  ดังนั้น  การทำเหมืองแร่จึงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศป่าชายเลนโดยตรง    - การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่  เมื่อมีการตัดถนนป่าชายเลน  ก็จะมีการถมที่และสร้างอาคารบ้านเรือน  ร้านค้า  ศูนย์การค้า  ที่ทำการ  และสำนักงานบริเวณนั้นติดตามมา ราษฎรที่อยู่ใกล้กับป่าชายเลนก็จะบุกรุกและถือโอกาสครอบครองที่ดินเป็นของตัวเอง    - การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า  การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้าผ่านพื้นที่ป่าชายเลน  จะต้องมีการทำลายป่าชายเลนส่วนที่จะสร้างขึ้น  เป็นเหตุให้ป่าชายเลนลดน้อยลง  ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างอื่นตามมาด้วย  เช่น  สัตว์ในป่าชายเลนไม่มีที่อยู่อาศัย  เป็นต้น  และแนวถนนจะเป็นคันกั้นน้ำทะเล  ทำให้น้ำทะเลไหลลงสู่ป่าชายเลนไม่ได้  ต้นไม้ในป่าชายเลนจะตาย    - การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม  พื้นที่ป่าชายเลนที่อยู่แถบชายฝั่งทะเลส่วนหนึ่งถูกบุกเบิกเพื่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม  ทำให้เสียพื้นที่ป่าชายเลนเป็นจำนวนมาก  และโรงงานอุตสาหกรรมยังปล่อยของเสียลงสู่ป่าชายเลนบริเวณรอบข้าง  ทำให้ระบบนิเวศป่าชายเลนถูกทำลาย    - การทำนาเกลือ  เนื่องจากแสงแดดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาน้ำทะเลให้ระเหยแห้งจนตกผลึกกลายเป็นเกลือ  ดังนั้น  ป่าชายเลนโดยรอบจะถูกตัดฟันจนหมด  เพื่อเปิดพื้นที่ให้โล่งมากที่สุด  จึงเป็นสาเหตุให้ป่าชายเลนถูกทำลายเป็นจำนวนมาก    - การตัดไม้เกินกำลังของป่า  ปริมาณความต้องการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่าชายเลนมีจำนวนมาก  เช่น  การเผาถ่าน  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน  เฟอร์นิเจอร์  เป็นต้น  ซึงมากกว่ากำลังการผลิตของป่าชายเลน  ทำให้ป่าชายเลนถูกบุกรุกเป็นจำนวนมาก 
  34. ป่าชายเลน พบทั่วไปตามพื้นที่ชายฝั่งทะเล  บริเวณปากน้ำ  อ่าว  ทะเลสาบและเกาะซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน  (Tropical Region) โดยป่าชายเลนในประเทศไทยอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่งยาวประมาณ 927  กิโลเมตร  ในเขตชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก  ภาคกลาง  และภาคใต้  ปัจจัยทางกายภาพ   ระบบนิเวศป่าชายเลนเกิดจากการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อมของทะเลและสภาพแวดล้อมของแผ่นดินพื้นที่และการกระจายของป่าชายเลนจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่สำคัญได้แก่  สภาพภูมิอากาศ  สภาพดินและน้ำ   ภูมิอากาศ  โดยทั่วไปแล้วพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต้องกาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า  20 OC  เล็กน้อยและมีความแตกต่างของอากาศในแต่ละฤดูไม่มากกว่า  5  OC  โดยอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญของไม้ในป่าชายเลนจะอยู่ระหว่าง  25-30 OC  ป่าชายเลนสามารถขึ้นในบริเวณพื้นที่ริมฝั่งของภูมิภาคเขตร้อนที่มีปริมาณฝนและความชื้นน้อยไปจนถึงบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนมาก  แต่ป่าชายเลนในบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนและความชื้นมาก  จะมีพัฒนาการเจริญเติบโตได้ดีกว่า  สำหรับประเทศไทยนั้นป่าชายเลนที่พัฒนาดีที่สุดคือ  ป่าชายเลนระยอง  ดิน  ในพื้นที่ป่าชายเลนเกิดขึ้นจากการทับถมของดินตะกอนในแม่น้ำที่ไหลลงสู่บริเวณที่มีน้ำนิ่งซึ่งดินตะกอนจะทับถมกันในสภาพธรรมชาติ  จึงมีปริมาณเกลือสูง  และปริมาณอินทรียวัตถุสูง   น้ำ  ความเค็มของน้ำในป่าชายเลนของประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีความเค็มของน้ำระหว่าง 10-30 ส่วนในพันส่วน ปัจจัยทางชีวภาพ พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีลักษณะ  ดังนี้    - เป็นป่าที่มีความเขียวสดตลอดปี   - ไม่มีการแบ่งชั้นของเรือนยอด  (Canopy)  อย่างชัดเจน    ชนิดของพืชพันธุ์ต่าง ๆ  จะมีความสัมพันธ์กัลป์ปบลักษณะของพื้นที่  ดังนี้ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับแผ่นดินพืชที่พบในน้ำและบริเวณพื้นที่ชื้นแฉะ  จะพบต้นจาก  ส่วนพืชบกจะพบ  โพธิ์ทะเล  โปรง  ตะบูน  พังกา  หัวสุม  และประทะเล บริเวณพื้นที่ตอนบนของป่าชายเลน  พืชที่พบบริเวณนี้  ได้แก่  โกงกางใบเล็ก  โกงกางใบใหญ่  โดยมีแสมดำและแสมขาวขึ้นปะปนกันอยู่  นอกจากนี้ยังมี  ลำพู  เหงือกปลาหมอและถอบแถบ บริเวณตอนล่างของป่าชายเลน  พืชที่พบในบริเวณนี้ได้แก่  แสมดำ  แสมขาว  โกงกางใบเล็กโกงกางใบใหญ่ขึ้นปะปนกันอยู่ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับทะเล  พืชที่พบในบริเวณนี้ส่วนใหญ่คือ  แสม  แต่บางแห่งจะพบโกงกาง ชนิดของสัตว์น้ำและสัตว์บกมีตั้งแต่  จุลินทรีย์  (microorganism)  เช่น  แบคทีเรีย  รา  โปรโตซัว  พวกสัตว์เล็ก  จนถึงสัตว์ใหญ่  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  งู  นก  ลิง  เป็นต้น       สำหรับพวกจุลินทรีย์ต่าง ๆ  เป็นส่วนสำคัญในการกำเนิดห่วงโซ่อาหาร มีรายงานการสำรวจพบว่า  บริเวณป่าชายเลนนั้นมีปลาชนิดต่าง ๆ  รวมกันประมาณ  72  ชนิดที่สำคัญและมีชนิดที่พบได้มาก  ได้แก่  ปลากระบอก  ปลากะพงขาว  และปลานวลจันทร์ทะเล  เป็นต้น  สำหรับกุ้งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงที่พบในป่าชายเลน  เช่น  กุ้งแชบ๊วย  กุ้งตะกาด  กุ้งกุลาดำหรือกุ้งตะเข็บ  กุ้งหัวมัน  ปูที่พบในป่าชายเลนมี 54 ชนิดที่สำคัญ  ปูเปรี้ยวหรือปูก้ามดาบหรือปูผู้แทน (Veatorcipata)  ปูแสม (Sesarma  mederi)  ปูทะเลหรือปูดำ หอยมีทั้งชนิดที่เกาะอยู่กับต้นไม้  รากและใบของไม้ในป่าชายเลน  รวมถึงชนิดที่ชอบฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือตามพื้นป่า แมลง  ที่อาศัยอยู่ตามป่าชายเลนมีจำนวน  38  ชนิด  ชนิดที่พบมาก  ได้แก่  ผีเสื้อ  หนอนคืบ  หนอนผีเสื้อขัดใบ  ด้วงหนวดยาว  ยุง  ริ้น  เป็นต้น สัตว์อื่น ๆ ที่พบมาก  ได้แก่     - นก  มีทั้งหมดประมาณ  88  ชนิด    - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 35 ชนิด  เช่น  ค้างคาว  ลิงแสม  นาก  แมวป่า    - สัตว์เลื้อยคลานประมาณ  25  ชนิด  ซึ่งรวมทั้งงูชนิดต่าง ๆ  กิ้งก่า  เต่า  จระเข้  ซึ่งสัตว์เหล่านี้หากินและมีชีวิตเกี่ยวข้องอยู่กับป่าชายเลน   คุณค่าและความสำคัญในระบบนิเวศป่าชายเลน  ด้านป่าไม้  ไม้จากป่าชายเลนได้นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  เช่น ทำฟืนหรือถ่าน    - ใช้ในการก่อสร้าง  เช่น  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน    - ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์    - ใบจากมุงหลังคาและมวนบุหรี่    - ด้านประมง  เป็นแหล่งที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน  เป็นแหล่งที่อยู่และที่หลบภัยของปลาต่าง ๆ    - ความสำคัญของด้านการอนุรักษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเล    - เป็นสถานที่หลบภัยตามธรรมชาติ    - ป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  โดยทำหน้าที่กรองสารปฏิกูล ด้านยารักษาโรค  เช่น    - เปลือกไม้โกงกางใบเล็ก  สามารถนำมาต้มกินแก้ท้องร่วง    - ต้นและรากของต้นเหงือกปลาหมอดอกน้ำเงิน  นำมาต้นน้ำผสมน้ำอาบ  แก้ผดผื่นคัน  โรคผิวหนัง    - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าชายเลน     ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากรมป่าไม้เมื่อปี  2543  แสดงให้เห็นว่า  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าชายเลน  1,526,006.25  ไร่  เพิ่มขึ้นจากการสำรวจเมื่อปี  2539  จำนวน  478,616.25  ไร่  ทั้งที่น่าสังเกตว่า  ในการสำรวจครั้งนี้ได้เพิ่มนราธิวาสเป็นจังหวัดที่ 24  ทีมีพื้นที่ป่าชายเลนด้วยจำนวน  473.5  ไร่  หลังจากที่ตกสำรวจมาเป็นเวลานาน  ขณะเดียวกันการสำรวจครั้งนี้กลับไม่แสดงพื้นที่ป่าชายเลนของจังหวัดสมุทรปราการ  ซึ่งเคยมีจำนวน  1,857.50  ไร่  ในการสำรวจเมื่อปี  2539      โดยภาพรวมป่าชายเลนของไทยนับว่าตกอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม  อันเป็นภาวะที่ต่อเนื่องมานับ 40 ปี  ดังที่ตัวเลขแสดงให้เห็นชัดเจนว่าภายในช่วงเวลาดังกล่าวพื้นที่ป่าชายเลนได้สูญหายไปถึงประมาณ 1 ล้านไร่ สาเหตุของการลดลงของป่าชายเลน    - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  โดยเฉพาะการทำนากุ้ง พื้นที่ป่าชายเลนเป็นแหล่งผลิตอินทรีย์สารและธาตุอาหารที่สำคัญ  สำหรับสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลนซึ่งมีมากมายหลายชนิด  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  เป็นต้น  ดังนั้นการแผ้วถางป่าแล้วจึงขุดบ่อขึ้นภายหลัง  เป็นการทำลายแหล่งแร่ธาตุที่มีการหมุนเวียน  เพื่อให้เกิดการสมดุลตามระบบธรรมชาติในระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน  และการทำนากุ้งวิธีนี้ยังทำความเสียหายแก่พื้นที่ป่าชายเลนมาก  เพราะนอกจากจะตัดไม้ลงแล้ว  ยังต้องขุดรากถอนโคนออกหมด  เป็นการทำลายพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีอยู่ในบริเวณนั้น  การทำลายป่าชายเลนในลักษณะนี้เป็นการเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างถาวร  ซึ่งเป็นการทำลาย  ทรัพยากรป่าไม้และระบบนิเวศป่าชายเลนด้วย    - การทำเหมืองแร่  การทำเหมืองแร่มีส่วนในการทำลายสภาพป่าและความอุดมสมบูรณ์ของป่า  จนยากที่จะฟื้นให้มีความสมบูรณ์เช่นเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้  ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการทำเหมืองแร่  จะต้องขุดให้ลึกจนถึงสายแร่  ดินตะกอน  กรวด  และทรายที่ถูกพลิกขึ้นมาทับถม  ทำให้ป่าชายเลนไม่สามารถฟื้นตัวเกิดได้ดังเช่นเดิม  นอกจากนั้น  คุณภาพของน้ำยังเลวลง  เนื่องจากมีตะกอนขุ่นข้นแขวนลอยอยู่ด้วย  เมื่อตกตะกอนก็จะกลายเป็นดินดอนทำให้น้ำท่วมไม่ถึง  มีแต่ความแห้งแล้ง  ดังนั้น  การทำเหมืองแร่จึงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศป่าชายเลนโดยตรง    - การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่  เมื่อมีการตัดถนนป่าชายเลน  ก็จะมีการถมที่และสร้างอาคารบ้านเรือน  ร้านค้า  ศูนย์การค้า  ที่ทำการ  และสำนักงานบริเวณนั้นติดตามมา ราษฎรที่อยู่ใกล้กับป่าชายเลนก็จะบุกรุกและถือโอกาสครอบครองที่ดินเป็นของตัวเอง    - การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า  การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้าผ่านพื้นที่ป่าชายเลน  จะต้องมีการทำลายป่าชายเลนส่วนที่จะสร้างขึ้น  เป็นเหตุให้ป่าชายเลนลดน้อยลง  ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างอื่นตามมาด้วย  เช่น  สัตว์ในป่าชายเลนไม่มีที่อยู่อาศัย  เป็นต้น  และแนวถนนจะเป็นคันกั้นน้ำทะเล  ทำให้น้ำทะเลไหลลงสู่ป่าชายเลนไม่ได้  ต้นไม้ในป่าชายเลนจะตาย    - การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม  พื้นที่ป่าชายเลนที่อยู่แถบชายฝั่งทะเลส่วนหนึ่งถูกบุกเบิกเพื่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม  ทำให้เสียพื้นที่ป่าชายเลนเป็นจำนวนมาก  และโรงงานอุตสาหกรรมยังปล่อยของเสียลงสู่ป่าชายเลนบริเวณรอบข้าง  ทำให้ระบบนิเวศป่าชายเลนถูกทำลาย    - การทำนาเกลือ  เนื่องจากแสงแดดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาน้ำทะเลให้ระเหยแห้งจนตกผลึกกลายเป็นเกลือ  ดังนั้น  ป่าชายเลนโดยรอบจะถูกตัดฟันจนหมด  เพื่อเปิดพื้นที่ให้โล่งมากที่สุด  จึงเป็นสาเหตุให้ป่าชายเลนถูกทำลายเป็นจำนวนมาก    - การตัดไม้เกินกำลังของป่า  ปริมาณความต้องการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่าชายเลนมีจำนวนมาก  เช่น  การเผาถ่าน  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน  เฟอร์นิเจอร์  เป็นต้น  ซึงมากกว่ากำลังการผลิตของป่าชายเลน  ทำให้ป่าชายเลนถูกบุกรุกเป็นจำนวนมาก 
  35. ป่าชายเลน พบทั่วไปตามพื้นที่ชายฝั่งทะเล  บริเวณปากน้ำ  อ่าว  ทะเลสาบและเกาะซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน  (Tropical Region) โดยป่าชายเลนในประเทศไทยอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่งยาวประมาณ 927  กิโลเมตร  ในเขตชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก  ภาคกลาง  และภาคใต้  ปัจจัยทางกายภาพ   ระบบนิเวศป่าชายเลนเกิดจากการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อมของทะเลและสภาพแวดล้อมของแผ่นดินพื้นที่และการกระจายของป่าชายเลนจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่สำคัญได้แก่  สภาพภูมิอากาศ  สภาพดินและน้ำ   ภูมิอากาศ  โดยทั่วไปแล้วพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต้องกาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า  20 OC  เล็กน้อยและมีความแตกต่างของอากาศในแต่ละฤดูไม่มากกว่า  5  OC  โดยอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญของไม้ในป่าชายเลนจะอยู่ระหว่าง  25-30 OC  ป่าชายเลนสามารถขึ้นในบริเวณพื้นที่ริมฝั่งของภูมิภาคเขตร้อนที่มีปริมาณฝนและความชื้นน้อยไปจนถึงบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนมาก  แต่ป่าชายเลนในบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนและความชื้นมาก  จะมีพัฒนาการเจริญเติบโตได้ดีกว่า  สำหรับประเทศไทยนั้นป่าชายเลนที่พัฒนาดีที่สุดคือ  ป่าชายเลนระยอง  ดิน  ในพื้นที่ป่าชายเลนเกิดขึ้นจากการทับถมของดินตะกอนในแม่น้ำที่ไหลลงสู่บริเวณที่มีน้ำนิ่งซึ่งดินตะกอนจะทับถมกันในสภาพธรรมชาติ  จึงมีปริมาณเกลือสูง  และปริมาณอินทรียวัตถุสูง   น้ำ  ความเค็มของน้ำในป่าชายเลนของประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีความเค็มของน้ำระหว่าง 10-30 ส่วนในพันส่วน ปัจจัยทางชีวภาพ พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีลักษณะ  ดังนี้    - เป็นป่าที่มีความเขียวสดตลอดปี   - ไม่มีการแบ่งชั้นของเรือนยอด  (Canopy)  อย่างชัดเจน    ชนิดของพืชพันธุ์ต่าง ๆ  จะมีความสัมพันธ์กัลป์ปบลักษณะของพื้นที่  ดังนี้ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับแผ่นดินพืชที่พบในน้ำและบริเวณพื้นที่ชื้นแฉะ  จะพบต้นจาก  ส่วนพืชบกจะพบ  โพธิ์ทะเล  โปรง  ตะบูน  พังกา  หัวสุม  และประทะเล บริเวณพื้นที่ตอนบนของป่าชายเลน  พืชที่พบบริเวณนี้  ได้แก่  โกงกางใบเล็ก  โกงกางใบใหญ่  โดยมีแสมดำและแสมขาวขึ้นปะปนกันอยู่  นอกจากนี้ยังมี  ลำพู  เหงือกปลาหมอและถอบแถบ บริเวณตอนล่างของป่าชายเลน  พืชที่พบในบริเวณนี้ได้แก่  แสมดำ  แสมขาว  โกงกางใบเล็กโกงกางใบใหญ่ขึ้นปะปนกันอยู่ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับทะเล  พืชที่พบในบริเวณนี้ส่วนใหญ่คือ  แสม  แต่บางแห่งจะพบโกงกาง ชนิดของสัตว์น้ำและสัตว์บกมีตั้งแต่  จุลินทรีย์  (microorganism)  เช่น  แบคทีเรีย  รา  โปรโตซัว  พวกสัตว์เล็ก  จนถึงสัตว์ใหญ่  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  งู  นก  ลิง  เป็นต้น       สำหรับพวกจุลินทรีย์ต่าง ๆ  เป็นส่วนสำคัญในการกำเนิดห่วงโซ่อาหาร มีรายงานการสำรวจพบว่า  บริเวณป่าชายเลนนั้นมีปลาชนิดต่าง ๆ  รวมกันประมาณ  72  ชนิดที่สำคัญและมีชนิดที่พบได้มาก  ได้แก่  ปลากระบอก  ปลากะพงขาว  และปลานวลจันทร์ทะเล  เป็นต้น  สำหรับกุ้งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงที่พบในป่าชายเลน  เช่น  กุ้งแชบ๊วย  กุ้งตะกาด  กุ้งกุลาดำหรือกุ้งตะเข็บ  กุ้งหัวมัน  ปูที่พบในป่าชายเลนมี 54 ชนิดที่สำคัญ  ปูเปรี้ยวหรือปูก้ามดาบหรือปูผู้แทน (Veatorcipata)  ปูแสม (Sesarma  mederi)  ปูทะเลหรือปูดำ หอยมีทั้งชนิดที่เกาะอยู่กับต้นไม้  รากและใบของไม้ในป่าชายเลน  รวมถึงชนิดที่ชอบฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือตามพื้นป่า แมลง  ที่อาศัยอยู่ตามป่าชายเลนมีจำนวน  38  ชนิด  ชนิดที่พบมาก  ได้แก่  ผีเสื้อ  หนอนคืบ  หนอนผีเสื้อขัดใบ  ด้วงหนวดยาว  ยุง  ริ้น  เป็นต้น สัตว์อื่น ๆ ที่พบมาก  ได้แก่     - นก  มีทั้งหมดประมาณ  88  ชนิด    - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 35 ชนิด  เช่น  ค้างคาว  ลิงแสม  นาก  แมวป่า    - สัตว์เลื้อยคลานประมาณ  25  ชนิด  ซึ่งรวมทั้งงูชนิดต่าง ๆ  กิ้งก่า  เต่า  จระเข้  ซึ่งสัตว์เหล่านี้หากินและมีชีวิตเกี่ยวข้องอยู่กับป่าชายเลน   คุณค่าและความสำคัญในระบบนิเวศป่าชายเลน  ด้านป่าไม้  ไม้จากป่าชายเลนได้นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  เช่น ทำฟืนหรือถ่าน    - ใช้ในการก่อสร้าง  เช่น  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน    - ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์    - ใบจากมุงหลังคาและมวนบุหรี่    - ด้านประมง  เป็นแหล่งที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน  เป็นแหล่งที่อยู่และที่หลบภัยของปลาต่าง ๆ    - ความสำคัญของด้านการอนุรักษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเล    - เป็นสถานที่หลบภัยตามธรรมชาติ    - ป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  โดยทำหน้าที่กรองสารปฏิกูล ด้านยารักษาโรค  เช่น    - เปลือกไม้โกงกางใบเล็ก  สามารถนำมาต้มกินแก้ท้องร่วง    - ต้นและรากของต้นเหงือกปลาหมอดอกน้ำเงิน  นำมาต้นน้ำผสมน้ำอาบ  แก้ผดผื่นคัน  โรคผิวหนัง    - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าชายเลน     ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากรมป่าไม้เมื่อปี  2543  แสดงให้เห็นว่า  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าชายเลน  1,526,006.25  ไร่  เพิ่มขึ้นจากการสำรวจเมื่อปี  2539  จำนวน  478,616.25  ไร่  ทั้งที่น่าสังเกตว่า  ในการสำรวจครั้งนี้ได้เพิ่มนราธิวาสเป็นจังหวัดที่ 24  ทีมีพื้นที่ป่าชายเลนด้วยจำนวน  473.5  ไร่  หลังจากที่ตกสำรวจมาเป็นเวลานาน  ขณะเดียวกันการสำรวจครั้งนี้กลับไม่แสดงพื้นที่ป่าชายเลนของจังหวัดสมุทรปราการ  ซึ่งเคยมีจำนวน  1,857.50  ไร่  ในการสำรวจเมื่อปี  2539      โดยภาพรวมป่าชายเลนของไทยนับว่าตกอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม  อันเป็นภาวะที่ต่อเนื่องมานับ 40 ปี  ดังที่ตัวเลขแสดงให้เห็นชัดเจนว่าภายในช่วงเวลาดังกล่าวพื้นที่ป่าชายเลนได้สูญหายไปถึงประมาณ 1 ล้านไร่ สาเหตุของการลดลงของป่าชายเลน    - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  โดยเฉพาะการทำนากุ้ง พื้นที่ป่าชายเลนเป็นแหล่งผลิตอินทรีย์สารและธาตุอาหารที่สำคัญ  สำหรับสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลนซึ่งมีมากมายหลายชนิด  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  เป็นต้น  ดังนั้นการแผ้วถางป่าแล้วจึงขุดบ่อขึ้นภายหลัง  เป็นการทำลายแหล่งแร่ธาตุที่มีการหมุนเวียน  เพื่อให้เกิดการสมดุลตามระบบธรรมชาติในระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน  และการทำนากุ้งวิธีนี้ยังทำความเสียหายแก่พื้นที่ป่าชายเลนมาก  เพราะนอกจากจะตัดไม้ลงแล้ว  ยังต้องขุดรากถอนโคนออกหมด  เป็นการทำลายพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีอยู่ในบริเวณนั้น  การทำลายป่าชายเลนในลักษณะนี้เป็นการเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างถาวร  ซึ่งเป็นการทำลาย  ทรัพยากรป่าไม้และระบบนิเวศป่าชายเลนด้วย    - การทำเหมืองแร่  การทำเหมืองแร่มีส่วนในการทำลายสภาพป่าและความอุดมสมบูรณ์ของป่า  จนยากที่จะฟื้นให้มีความสมบูรณ์เช่นเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้  ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการทำเหมืองแร่  จะต้องขุดให้ลึกจนถึงสายแร่  ดินตะกอน  กรวด  และทรายที่ถูกพลิกขึ้นมาทับถม  ทำให้ป่าชายเลนไม่สามารถฟื้นตัวเกิดได้ดังเช่นเดิม  นอกจากนั้น  คุณภาพของน้ำยังเลวลง  เนื่องจากมีตะกอนขุ่นข้นแขวนลอยอยู่ด้วย  เมื่อตกตะกอนก็จะกลายเป็นดินดอนทำให้น้ำท่วมไม่ถึง  มีแต่ความแห้งแล้ง  ดังนั้น  การทำเหมืองแร่จึงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศป่าชายเลนโดยตรง    - การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่  เมื่อมีการตัดถนนป่าชายเลน  ก็จะมีการถมที่และสร้างอาคารบ้านเรือน  ร้านค้า  ศูนย์การค้า  ที่ทำการ  และสำนักงานบริเวณนั้นติดตามมา ราษฎรที่อยู่ใกล้กับป่าชายเลนก็จะบุกรุกและถือโอกาสครอบครองที่ดินเป็นของตัวเอง    - การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า  การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้าผ่านพื้นที่ป่าชายเลน  จะต้องมีการทำลายป่าชายเลนส่วนที่จะสร้างขึ้น  เป็นเหตุให้ป่าชายเลนลดน้อยลง  ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างอื่นตามมาด้วย  เช่น  สัตว์ในป่าชายเลนไม่มีที่อยู่อาศัย  เป็นต้น  และแนวถนนจะเป็นคันกั้นน้ำทะเล  ทำให้น้ำทะเลไหลลงสู่ป่าชายเลนไม่ได้  ต้นไม้ในป่าชายเลนจะตาย    - การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม  พื้นที่ป่าชายเลนที่อยู่แถบชายฝั่งทะเลส่วนหนึ่งถูกบุกเบิกเพื่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม  ทำให้เสียพื้นที่ป่าชายเลนเป็นจำนวนมาก  และโรงงานอุตสาหกรรมยังปล่อยของเสียลงสู่ป่าชายเลนบริเวณรอบข้าง  ทำให้ระบบนิเวศป่าชายเลนถูกทำลาย    - การทำนาเกลือ  เนื่องจากแสงแดดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาน้ำทะเลให้ระเหยแห้งจนตกผลึกกลายเป็นเกลือ  ดังนั้น  ป่าชายเลนโดยรอบจะถูกตัดฟันจนหมด  เพื่อเปิดพื้นที่ให้โล่งมากที่สุด  จึงเป็นสาเหตุให้ป่าชายเลนถูกทำลายเป็นจำนวนมาก    - การตัดไม้เกินกำลังของป่า  ปริมาณความต้องการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่าชายเลนมีจำนวนมาก  เช่น  การเผาถ่าน  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน  เฟอร์นิเจอร์  เป็นต้น  ซึงมากกว่ากำลังการผลิตของป่าชายเลน  ทำให้ป่าชายเลนถูกบุกรุกเป็นจำนวนมาก 
  36. ป่าชายเลน พบทั่วไปตามพื้นที่ชายฝั่งทะเล  บริเวณปากน้ำ  อ่าว  ทะเลสาบและเกาะซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน  (Tropical Region) โดยป่าชายเลนในประเทศไทยอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่งยาวประมาณ 927  กิโลเมตร  ในเขตชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก  ภาคกลาง  และภาคใต้  ปัจจัยทางกายภาพ   ระบบนิเวศป่าชายเลนเกิดจากการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อมของทะเลและสภาพแวดล้อมของแผ่นดินพื้นที่และการกระจายของป่าชายเลนจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่สำคัญได้แก่  สภาพภูมิอากาศ  สภาพดินและน้ำ   ภูมิอากาศ  โดยทั่วไปแล้วพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต้องกาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า  20 OC  เล็กน้อยและมีความแตกต่างของอากาศในแต่ละฤดูไม่มากกว่า  5  OC  โดยอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญของไม้ในป่าชายเลนจะอยู่ระหว่าง  25-30 OC  ป่าชายเลนสามารถขึ้นในบริเวณพื้นที่ริมฝั่งของภูมิภาคเขตร้อนที่มีปริมาณฝนและความชื้นน้อยไปจนถึงบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนมาก  แต่ป่าชายเลนในบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนและความชื้นมาก  จะมีพัฒนาการเจริญเติบโตได้ดีกว่า  สำหรับประเทศไทยนั้นป่าชายเลนที่พัฒนาดีที่สุดคือ  ป่าชายเลนระยอง  ดิน  ในพื้นที่ป่าชายเลนเกิดขึ้นจากการทับถมของดินตะกอนในแม่น้ำที่ไหลลงสู่บริเวณที่มีน้ำนิ่งซึ่งดินตะกอนจะทับถมกันในสภาพธรรมชาติ  จึงมีปริมาณเกลือสูง  และปริมาณอินทรียวัตถุสูง   น้ำ  ความเค็มของน้ำในป่าชายเลนของประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีความเค็มของน้ำระหว่าง 10-30 ส่วนในพันส่วน ปัจจัยทางชีวภาพ พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีลักษณะ  ดังนี้    - เป็นป่าที่มีความเขียวสดตลอดปี   - ไม่มีการแบ่งชั้นของเรือนยอด  (Canopy)  อย่างชัดเจน    ชนิดของพืชพันธุ์ต่าง ๆ  จะมีความสัมพันธ์กัลป์ปบลักษณะของพื้นที่  ดังนี้ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับแผ่นดินพืชที่พบในน้ำและบริเวณพื้นที่ชื้นแฉะ  จะพบต้นจาก  ส่วนพืชบกจะพบ  โพธิ์ทะเล  โปรง  ตะบูน  พังกา  หัวสุม  และประทะเล บริเวณพื้นที่ตอนบนของป่าชายเลน  พืชที่พบบริเวณนี้  ได้แก่  โกงกางใบเล็ก  โกงกางใบใหญ่  โดยมีแสมดำและแสมขาวขึ้นปะปนกันอยู่  นอกจากนี้ยังมี  ลำพู  เหงือกปลาหมอและถอบแถบ บริเวณตอนล่างของป่าชายเลน  พืชที่พบในบริเวณนี้ได้แก่  แสมดำ  แสมขาว  โกงกางใบเล็กโกงกางใบใหญ่ขึ้นปะปนกันอยู่ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับทะเล  พืชที่พบในบริเวณนี้ส่วนใหญ่คือ  แสม  แต่บางแห่งจะพบโกงกาง ชนิดของสัตว์น้ำและสัตว์บกมีตั้งแต่  จุลินทรีย์  (microorganism)  เช่น  แบคทีเรีย  รา  โปรโตซัว  พวกสัตว์เล็ก  จนถึงสัตว์ใหญ่  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  งู  นก  ลิง  เป็นต้น       สำหรับพวกจุลินทรีย์ต่าง ๆ  เป็นส่วนสำคัญในการกำเนิดห่วงโซ่อาหาร มีรายงานการสำรวจพบว่า  บริเวณป่าชายเลนนั้นมีปลาชนิดต่าง ๆ  รวมกันประมาณ  72  ชนิดที่สำคัญและมีชนิดที่พบได้มาก  ได้แก่  ปลากระบอก  ปลากะพงขาว  และปลานวลจันทร์ทะเล  เป็นต้น  สำหรับกุ้งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงที่พบในป่าชายเลน  เช่น  กุ้งแชบ๊วย  กุ้งตะกาด  กุ้งกุลาดำหรือกุ้งตะเข็บ  กุ้งหัวมัน  ปูที่พบในป่าชายเลนมี 54 ชนิดที่สำคัญ  ปูเปรี้ยวหรือปูก้ามดาบหรือปูผู้แทน (Veatorcipata)  ปูแสม (Sesarma  mederi)  ปูทะเลหรือปูดำ หอยมีทั้งชนิดที่เกาะอยู่กับต้นไม้  รากและใบของไม้ในป่าชายเลน  รวมถึงชนิดที่ชอบฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือตามพื้นป่า แมลง  ที่อาศัยอยู่ตามป่าชายเลนมีจำนวน  38  ชนิด  ชนิดที่พบมาก  ได้แก่  ผีเสื้อ  หนอนคืบ  หนอนผีเสื้อขัดใบ  ด้วงหนวดยาว  ยุง  ริ้น  เป็นต้น สัตว์อื่น ๆ ที่พบมาก  ได้แก่     - นก  มีทั้งหมดประมาณ  88  ชนิด    - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 35 ชนิด  เช่น  ค้างคาว  ลิงแสม  นาก  แมวป่า    - สัตว์เลื้อยคลานประมาณ  25  ชนิด  ซึ่งรวมทั้งงูชนิดต่าง ๆ  กิ้งก่า  เต่า  จระเข้  ซึ่งสัตว์เหล่านี้หากินและมีชีวิตเกี่ยวข้องอยู่กับป่าชายเลน   คุณค่าและความสำคัญในระบบนิเวศป่าชายเลน  ด้านป่าไม้  ไม้จากป่าชายเลนได้นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  เช่น ทำฟืนหรือถ่าน    - ใช้ในการก่อสร้าง  เช่น  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน    - ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์    - ใบจากมุงหลังคาและมวนบุหรี่    - ด้านประมง  เป็นแหล่งที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน  เป็นแหล่งที่อยู่และที่หลบภัยของปลาต่าง ๆ    - ความสำคัญของด้านการอนุรักษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเล    - เป็นสถานที่หลบภัยตามธรรมชาติ    - ป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  โดยทำหน้าที่กรองสารปฏิกูล ด้านยารักษาโรค  เช่น    - เปลือกไม้โกงกางใบเล็ก  สามารถนำมาต้มกินแก้ท้องร่วง    - ต้นและรากของต้นเหงือกปลาหมอดอกน้ำเงิน  นำมาต้นน้ำผสมน้ำอาบ  แก้ผดผื่นคัน  โรคผิวหนัง    - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าชายเลน     ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากรมป่าไม้เมื่อปี  2543  แสดงให้เห็นว่า  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าชายเลน  1,526,006.25  ไร่  เพิ่มขึ้นจากการสำรวจเมื่อปี  2539  จำนวน  478,616.25  ไร่  ทั้งที่น่าสังเกตว่า  ในการสำรวจครั้งนี้ได้เพิ่มนราธิวาสเป็นจังหวัดที่ 24  ทีมีพื้นที่ป่าชายเลนด้วยจำนวน  473.5  ไร่  หลังจากที่ตกสำรวจมาเป็นเวลานาน  ขณะเดียวกันการสำรวจครั้งนี้กลับไม่แสดงพื้นที่ป่าชายเลนของจังหวัดสมุทรปราการ  ซึ่งเคยมีจำนวน  1,857.50  ไร่  ในการสำรวจเมื่อปี  2539      โดยภาพรวมป่าชายเลนของไทยนับว่าตกอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม  อันเป็นภาวะที่ต่อเนื่องมานับ 40 ปี  ดังที่ตัวเลขแสดงให้เห็นชัดเจนว่าภายในช่วงเวลาดังกล่าวพื้นที่ป่าชายเลนได้สูญหายไปถึงประมาณ 1 ล้านไร่ สาเหตุของการลดลงของป่าชายเลน    - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  โดยเฉพาะการทำนากุ้ง พื้นที่ป่าชายเลนเป็นแหล่งผลิตอินทรีย์สารและธาตุอาหารที่สำคัญ  สำหรับสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลนซึ่งมีมากมายหลายชนิด  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  เป็นต้น  ดังนั้นการแผ้วถางป่าแล้วจึงขุดบ่อขึ้นภายหลัง  เป็นการทำลายแหล่งแร่ธาตุที่มีการหมุนเวียน  เพื่อให้เกิดการสมดุลตามระบบธรรมชาติในระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน  และการทำนากุ้งวิธีนี้ยังทำความเสียหายแก่พื้นที่ป่าชายเลนมาก  เพราะนอกจากจะตัดไม้ลงแล้ว  ยังต้องขุดรากถอนโคนออกหมด  เป็นการทำลายพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีอยู่ในบริเวณนั้น  การทำลายป่าชายเลนในลักษณะนี้เป็นการเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างถาวร  ซึ่งเป็นการทำลาย  ทรัพยากรป่าไม้และระบบนิเวศป่าชายเลนด้วย    - การทำเหมืองแร่  การทำเหมืองแร่มีส่วนในการทำลายสภาพป่าและความอุดมสมบูรณ์ของป่า  จนยากที่จะฟื้นให้มีความสมบูรณ์เช่นเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้  ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการทำเหมืองแร่  จะต้องขุดให้ลึกจนถึงสายแร่  ดินตะกอน  กรวด  และทรายที่ถูกพลิกขึ้นมาทับถม  ทำให้ป่าชายเลนไม่สามารถฟื้นตัวเกิดได้ดังเช่นเดิม  นอกจากนั้น  คุณภาพของน้ำยังเลวลง  เนื่องจากมีตะกอนขุ่นข้นแขวนลอยอยู่ด้วย  เมื่อตกตะกอนก็จะกลายเป็นดินดอนทำให้น้ำท่วมไม่ถึง  มีแต่ความแห้งแล้ง  ดังนั้น  การทำเหมืองแร่จึงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศป่าชายเลนโดยตรง    - การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่  เมื่อมีการตัดถนนป่าชายเลน  ก็จะมีการถมที่และสร้างอาคารบ้านเรือน  ร้านค้า  ศูนย์การค้า  ที่ทำการ  และสำนักงานบริเวณนั้นติดตามมา ราษฎรที่อยู่ใกล้กับป่าชายเลนก็จะบุกรุกและถือโอกาสครอบครองที่ดินเป็นของตัวเอง    - การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า  การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้าผ่านพื้นที่ป่าชายเลน  จะต้องมีการทำลายป่าชายเลนส่วนที่จะสร้างขึ้น  เป็นเหตุให้ป่าชายเลนลดน้อยลง  ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างอื่นตามมาด้วย  เช่น  สัตว์ในป่าชายเลนไม่มีที่อยู่อาศัย  เป็นต้น  และแนวถนนจะเป็นคันกั้นน้ำทะเล  ทำให้น้ำทะเลไหลลงสู่ป่าชายเลนไม่ได้  ต้นไม้ในป่าชายเลนจะตาย    - การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม  พื้นที่ป่าชายเลนที่อยู่แถบชายฝั่งทะเลส่วนหนึ่งถูกบุกเบิกเพื่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม  ทำให้เสียพื้นที่ป่าชายเลนเป็นจำนวนมาก  และโรงงานอุตสาหกรรมยังปล่อยของเสียลงสู่ป่าชายเลนบริเวณรอบข้าง  ทำให้ระบบนิเวศป่าชายเลนถูกทำลาย    - การทำนาเกลือ  เนื่องจากแสงแดดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาน้ำทะเลให้ระเหยแห้งจนตกผลึกกลายเป็นเกลือ  ดังนั้น  ป่าชายเลนโดยรอบจะถูกตัดฟันจนหมด  เพื่อเปิดพื้นที่ให้โล่งมากที่สุด  จึงเป็นสาเหตุให้ป่าชายเลนถูกทำลายเป็นจำนวนมาก    - การตัดไม้เกินกำลังของป่า  ปริมาณความต้องการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่าชายเลนมีจำนวนมาก  เช่น  การเผาถ่าน  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน  เฟอร์นิเจอร์  เป็นต้น  ซึงมากกว่ากำลังการผลิตของป่าชายเลน  ทำให้ป่าชายเลนถูกบุกรุกเป็นจำนวนมาก 
  37. ป่าชายเลน พบทั่วไปตามพื้นที่ชายฝั่งทะเล  บริเวณปากน้ำ  อ่าว  ทะเลสาบและเกาะซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน  (Tropical Region) โดยป่าชายเลนในประเทศไทยอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่งยาวประมาณ 927  กิโลเมตร  ในเขตชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก  ภาคกลาง  และภาคใต้  ปัจจัยทางกายภาพ   ระบบนิเวศป่าชายเลนเกิดจากการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อมของทะเลและสภาพแวดล้อมของแผ่นดินพื้นที่และการกระจายของป่าชายเลนจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่สำคัญได้แก่  สภาพภูมิอากาศ  สภาพดินและน้ำ   ภูมิอากาศ  โดยทั่วไปแล้วพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต้องกาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า  20 OC  เล็กน้อยและมีความแตกต่างของอากาศในแต่ละฤดูไม่มากกว่า  5  OC  โดยอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญของไม้ในป่าชายเลนจะอยู่ระหว่าง  25-30 OC  ป่าชายเลนสามารถขึ้นในบริเวณพื้นที่ริมฝั่งของภูมิภาคเขตร้อนที่มีปริมาณฝนและความชื้นน้อยไปจนถึงบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนมาก  แต่ป่าชายเลนในบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนและความชื้นมาก  จะมีพัฒนาการเจริญเติบโตได้ดีกว่า  สำหรับประเทศไทยนั้นป่าชายเลนที่พัฒนาดีที่สุดคือ  ป่าชายเลนระยอง  ดิน  ในพื้นที่ป่าชายเลนเกิดขึ้นจากการทับถมของดินตะกอนในแม่น้ำที่ไหลลงสู่บริเวณที่มีน้ำนิ่งซึ่งดินตะกอนจะทับถมกันในสภาพธรรมชาติ  จึงมีปริมาณเกลือสูง  และปริมาณอินทรียวัตถุสูง   น้ำ  ความเค็มของน้ำในป่าชายเลนของประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีความเค็มของน้ำระหว่าง 10-30 ส่วนในพันส่วน ปัจจัยทางชีวภาพ พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีลักษณะ  ดังนี้    - เป็นป่าที่มีความเขียวสดตลอดปี   - ไม่มีการแบ่งชั้นของเรือนยอด  (Canopy)  อย่างชัดเจน    ชนิดของพืชพันธุ์ต่าง ๆ  จะมีความสัมพันธ์กัลป์ปบลักษณะของพื้นที่  ดังนี้ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับแผ่นดินพืชที่พบในน้ำและบริเวณพื้นที่ชื้นแฉะ  จะพบต้นจาก  ส่วนพืชบกจะพบ  โพธิ์ทะเล  โปรง  ตะบูน  พังกา  หัวสุม  และประทะเล บริเวณพื้นที่ตอนบนของป่าชายเลน  พืชที่พบบริเวณนี้  ได้แก่  โกงกางใบเล็ก  โกงกางใบใหญ่  โดยมีแสมดำและแสมขาวขึ้นปะปนกันอยู่  นอกจากนี้ยังมี  ลำพู  เหงือกปลาหมอและถอบแถบ บริเวณตอนล่างของป่าชายเลน  พืชที่พบในบริเวณนี้ได้แก่  แสมดำ  แสมขาว  โกงกางใบเล็กโกงกางใบใหญ่ขึ้นปะปนกันอยู่ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับทะเล  พืชที่พบในบริเวณนี้ส่วนใหญ่คือ  แสม  แต่บางแห่งจะพบโกงกาง ชนิดของสัตว์น้ำและสัตว์บกมีตั้งแต่  จุลินทรีย์  (microorganism)  เช่น  แบคทีเรีย  รา  โปรโตซัว  พวกสัตว์เล็ก  จนถึงสัตว์ใหญ่  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  งู  นก  ลิง  เป็นต้น       สำหรับพวกจุลินทรีย์ต่าง ๆ  เป็นส่วนสำคัญในการกำเนิดห่วงโซ่อาหาร มีรายงานการสำรวจพบว่า  บริเวณป่าชายเลนนั้นมีปลาชนิดต่าง ๆ  รวมกันประมาณ  72  ชนิดที่สำคัญและมีชนิดที่พบได้มาก  ได้แก่  ปลากระบอก  ปลากะพงขาว  และปลานวลจันทร์ทะเล  เป็นต้น  สำหรับกุ้งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงที่พบในป่าชายเลน  เช่น  กุ้งแชบ๊วย  กุ้งตะกาด  กุ้งกุลาดำหรือกุ้งตะเข็บ  กุ้งหัวมัน  ปูที่พบในป่าชายเลนมี 54 ชนิดที่สำคัญ  ปูเปรี้ยวหรือปูก้ามดาบหรือปูผู้แทน (Veatorcipata)  ปูแสม (Sesarma  mederi)  ปูทะเลหรือปูดำ หอยมีทั้งชนิดที่เกาะอยู่กับต้นไม้  รากและใบของไม้ในป่าชายเลน  รวมถึงชนิดที่ชอบฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือตามพื้นป่า แมลง  ที่อาศัยอยู่ตามป่าชายเลนมีจำนวน  38  ชนิด  ชนิดที่พบมาก  ได้แก่  ผีเสื้อ  หนอนคืบ  หนอนผีเสื้อขัดใบ  ด้วงหนวดยาว  ยุง  ริ้น  เป็นต้น สัตว์อื่น ๆ ที่พบมาก  ได้แก่     - นก  มีทั้งหมดประมาณ  88  ชนิด    - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 35 ชนิด  เช่น  ค้างคาว  ลิงแสม  นาก  แมวป่า    - สัตว์เลื้อยคลานประมาณ  25  ชนิด  ซึ่งรวมทั้งงูชนิดต่าง ๆ  กิ้งก่า  เต่า  จระเข้  ซึ่งสัตว์เหล่านี้หากินและมีชีวิตเกี่ยวข้องอยู่กับป่าชายเลน   คุณค่าและความสำคัญในระบบนิเวศป่าชายเลน  ด้านป่าไม้  ไม้จากป่าชายเลนได้นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  เช่น ทำฟืนหรือถ่าน    - ใช้ในการก่อสร้าง  เช่น  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน    - ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์    - ใบจากมุงหลังคาและมวนบุหรี่    - ด้านประมง  เป็นแหล่งที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน  เป็นแหล่งที่อยู่และที่หลบภัยของปลาต่าง ๆ    - ความสำคัญของด้านการอนุรักษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเล    - เป็นสถานที่หลบภัยตามธรรมชาติ    - ป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  โดยทำหน้าที่กรองสารปฏิกูล ด้านยารักษาโรค  เช่น    - เปลือกไม้โกงกางใบเล็ก  สามารถนำมาต้มกินแก้ท้องร่วง    - ต้นและรากของต้นเหงือกปลาหมอดอกน้ำเงิน  นำมาต้นน้ำผสมน้ำอาบ  แก้ผดผื่นคัน  โรคผิวหนัง    - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าชายเลน     ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากรมป่าไม้เมื่อปี  2543  แสดงให้เห็นว่า  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าชายเลน  1,526,006.25  ไร่  เพิ่มขึ้นจากการสำรวจเมื่อปี  2539  จำนวน  478,616.25  ไร่  ทั้งที่น่าสังเกตว่า  ในการสำรวจครั้งนี้ได้เพิ่มนราธิวาสเป็นจังหวัดที่ 24  ทีมีพื้นที่ป่าชายเลนด้วยจำนวน  473.5  ไร่  หลังจากที่ตกสำรวจมาเป็นเวลานาน  ขณะเดียวกันการสำรวจครั้งนี้กลับไม่แสดงพื้นที่ป่าชายเลนของจังหวัดสมุทรปราการ  ซึ่งเคยมีจำนวน  1,857.50  ไร่  ในการสำรวจเมื่อปี  2539      โดยภาพรวมป่าชายเลนของไทยนับว่าตกอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม  อันเป็นภาวะที่ต่อเนื่องมานับ 40 ปี  ดังที่ตัวเลขแสดงให้เห็นชัดเจนว่าภายในช่วงเวลาดังกล่าวพื้นที่ป่าชายเลนได้สูญหายไปถึงประมาณ 1 ล้านไร่ สาเหตุของการลดลงของป่าชายเลน    - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  โดยเฉพาะการทำนากุ้ง พื้นที่ป่าชายเลนเป็นแหล่งผลิตอินทรีย์สารและธาตุอาหารที่สำคัญ  สำหรับสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลนซึ่งมีมากมายหลายชนิด  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  เป็นต้น  ดังนั้นการแผ้วถางป่าแล้วจึงขุดบ่อขึ้นภายหลัง  เป็นการทำลายแหล่งแร่ธาตุที่มีการหมุนเวียน  เพื่อให้เกิดการสมดุลตามระบบธรรมชาติในระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน  และการทำนากุ้งวิธีนี้ยังทำความเสียหายแก่พื้นที่ป่าชายเลนมาก  เพราะนอกจากจะตัดไม้ลงแล้ว  ยังต้องขุดรากถอนโคนออกหมด  เป็นการทำลายพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีอยู่ในบริเวณนั้น  การทำลายป่าชายเลนในลักษณะนี้เป็นการเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างถาวร  ซึ่งเป็นการทำลาย  ทรัพยากรป่าไม้และระบบนิเวศป่าชายเลนด้วย    - การทำเหมืองแร่  การทำเหมืองแร่มีส่วนในการทำลายสภาพป่าและความอุดมสมบูรณ์ของป่า  จนยากที่จะฟื้นให้มีความสมบูรณ์เช่นเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้  ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการทำเหมืองแร่  จะต้องขุดให้ลึกจนถึงสายแร่  ดินตะกอน  กรวด  และทรายที่ถูกพลิกขึ้นมาทับถม  ทำให้ป่าชายเลนไม่สามารถฟื้นตัวเกิดได้ดังเช่นเดิม  นอกจากนั้น  คุณภาพของน้ำยังเลวลง  เนื่องจากมีตะกอนขุ่นข้นแขวนลอยอยู่ด้วย  เมื่อตกตะกอนก็จะกลายเป็นดินดอนทำให้น้ำท่วมไม่ถึง  มีแต่ความแห้งแล้ง  ดังนั้น  การทำเหมืองแร่จึงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศป่าชายเลนโดยตรง    - การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่  เมื่อมีการตัดถนนป่าชายเลน  ก็จะมีการถมที่และสร้างอาคารบ้านเรือน  ร้านค้า  ศูนย์การค้า  ที่ทำการ  และสำนักงานบริเวณนั้นติดตามมา ราษฎรที่อยู่ใกล้กับป่าชายเลนก็จะบุกรุกและถือโอกาสครอบครองที่ดินเป็นของตัวเอง    - การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า  การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้าผ่านพื้นที่ป่าชายเลน  จะต้องมีการทำลายป่าชายเลนส่วนที่จะสร้างขึ้น  เป็นเหตุให้ป่าชายเลนลดน้อยลง  ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างอื่นตามมาด้วย  เช่น  สัตว์ในป่าชายเลนไม่มีที่อยู่อาศัย  เป็นต้น  และแนวถนนจะเป็นคันกั้นน้ำทะเล  ทำให้น้ำทะเลไหลลงสู่ป่าชายเลนไม่ได้  ต้นไม้ในป่าชายเลนจะตาย    - การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม  พื้นที่ป่าชายเลนที่อยู่แถบชายฝั่งทะเลส่วนหนึ่งถูกบุกเบิกเพื่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม  ทำให้เสียพื้นที่ป่าชายเลนเป็นจำนวนมาก  และโรงงานอุตสาหกรรมยังปล่อยของเสียลงสู่ป่าชายเลนบริเวณรอบข้าง  ทำให้ระบบนิเวศป่าชายเลนถูกทำลาย    - การทำนาเกลือ  เนื่องจากแสงแดดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาน้ำทะเลให้ระเหยแห้งจนตกผลึกกลายเป็นเกลือ  ดังนั้น  ป่าชายเลนโดยรอบจะถูกตัดฟันจนหมด  เพื่อเปิดพื้นที่ให้โล่งมากที่สุด  จึงเป็นสาเหตุให้ป่าชายเลนถูกทำลายเป็นจำนวนมาก    - การตัดไม้เกินกำลังของป่า  ปริมาณความต้องการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่าชายเลนมีจำนวนมาก  เช่น  การเผาถ่าน  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน  เฟอร์นิเจอร์  เป็นต้น  ซึงมากกว่ากำลังการผลิตของป่าชายเลน  ทำให้ป่าชายเลนถูกบุกรุกเป็นจำนวนมาก 
  38. ป่าชายเลน พบทั่วไปตามพื้นที่ชายฝั่งทะเล  บริเวณปากน้ำ  อ่าว  ทะเลสาบและเกาะซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน  (Tropical Region) โดยป่าชายเลนในประเทศไทยอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่งยาวประมาณ 927  กิโลเมตร  ในเขตชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก  ภาคกลาง  และภาคใต้  ปัจจัยทางกายภาพ   ระบบนิเวศป่าชายเลนเกิดจากการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อมของทะเลและสภาพแวดล้อมของแผ่นดินพื้นที่และการกระจายของป่าชายเลนจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่สำคัญได้แก่  สภาพภูมิอากาศ  สภาพดินและน้ำ   ภูมิอากาศ  โดยทั่วไปแล้วพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต้องกาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า  20 OC  เล็กน้อยและมีความแตกต่างของอากาศในแต่ละฤดูไม่มากกว่า  5  OC  โดยอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญของไม้ในป่าชายเลนจะอยู่ระหว่าง  25-30 OC  ป่าชายเลนสามารถขึ้นในบริเวณพื้นที่ริมฝั่งของภูมิภาคเขตร้อนที่มีปริมาณฝนและความชื้นน้อยไปจนถึงบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนมาก  แต่ป่าชายเลนในบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนและความชื้นมาก  จะมีพัฒนาการเจริญเติบโตได้ดีกว่า  สำหรับประเทศไทยนั้นป่าชายเลนที่พัฒนาดีที่สุดคือ  ป่าชายเลนระยอง  ดิน  ในพื้นที่ป่าชายเลนเกิดขึ้นจากการทับถมของดินตะกอนในแม่น้ำที่ไหลลงสู่บริเวณที่มีน้ำนิ่งซึ่งดินตะกอนจะทับถมกันในสภาพธรรมชาติ  จึงมีปริมาณเกลือสูง  และปริมาณอินทรียวัตถุสูง   น้ำ  ความเค็มของน้ำในป่าชายเลนของประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีความเค็มของน้ำระหว่าง 10-30 ส่วนในพันส่วน ปัจจัยทางชีวภาพ พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีลักษณะ  ดังนี้    - เป็นป่าที่มีความเขียวสดตลอดปี   - ไม่มีการแบ่งชั้นของเรือนยอด  (Canopy)  อย่างชัดเจน    ชนิดของพืชพันธุ์ต่าง ๆ  จะมีความสัมพันธ์กัลป์ปบลักษณะของพื้นที่  ดังนี้ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับแผ่นดินพืชที่พบในน้ำและบริเวณพื้นที่ชื้นแฉะ  จะพบต้นจาก  ส่วนพืชบกจะพบ  โพธิ์ทะเล  โปรง  ตะบูน  พังกา  หัวสุม  และประทะเล บริเวณพื้นที่ตอนบนของป่าชายเลน  พืชที่พบบริเวณนี้  ได้แก่  โกงกางใบเล็ก  โกงกางใบใหญ่  โดยมีแสมดำและแสมขาวขึ้นปะปนกันอยู่  นอกจากนี้ยังมี  ลำพู  เหงือกปลาหมอและถอบแถบ บริเวณตอนล่างของป่าชายเลน  พืชที่พบในบริเวณนี้ได้แก่  แสมดำ  แสมขาว  โกงกางใบเล็กโกงกางใบใหญ่ขึ้นปะปนกันอยู่ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับทะเล  พืชที่พบในบริเวณนี้ส่วนใหญ่คือ  แสม  แต่บางแห่งจะพบโกงกาง ชนิดของสัตว์น้ำและสัตว์บกมีตั้งแต่  จุลินทรีย์  (microorganism)  เช่น  แบคทีเรีย  รา  โปรโตซัว  พวกสัตว์เล็ก  จนถึงสัตว์ใหญ่  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  งู  นก  ลิง  เป็นต้น       สำหรับพวกจุลินทรีย์ต่าง ๆ  เป็นส่วนสำคัญในการกำเนิดห่วงโซ่อาหาร มีรายงานการสำรวจพบว่า  บริเวณป่าชายเลนนั้นมีปลาชนิดต่าง ๆ  รวมกันประมาณ  72  ชนิดที่สำคัญและมีชนิดที่พบได้มาก  ได้แก่  ปลากระบอก  ปลากะพงขาว  และปลานวลจันทร์ทะเล  เป็นต้น  สำหรับกุ้งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงที่พบในป่าชายเลน  เช่น  กุ้งแชบ๊วย  กุ้งตะกาด  กุ้งกุลาดำหรือกุ้งตะเข็บ  กุ้งหัวมัน  ปูที่พบในป่าชายเลนมี 54 ชนิดที่สำคัญ  ปูเปรี้ยวหรือปูก้ามดาบหรือปูผู้แทน (Veatorcipata)  ปูแสม (Sesarma  mederi)  ปูทะเลหรือปูดำ หอยมีทั้งชนิดที่เกาะอยู่กับต้นไม้  รากและใบของไม้ในป่าชายเลน  รวมถึงชนิดที่ชอบฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือตามพื้นป่า แมลง  ที่อาศัยอยู่ตามป่าชายเลนมีจำนวน  38  ชนิด  ชนิดที่พบมาก  ได้แก่  ผีเสื้อ  หนอนคืบ  หนอนผีเสื้อขัดใบ  ด้วงหนวดยาว  ยุง  ริ้น  เป็นต้น สัตว์อื่น ๆ ที่พบมาก  ได้แก่     - นก  มีทั้งหมดประมาณ  88  ชนิด    - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 35 ชนิด  เช่น  ค้างคาว  ลิงแสม  นาก  แมวป่า    - สัตว์เลื้อยคลานประมาณ  25  ชนิด  ซึ่งรวมทั้งงูชนิดต่าง ๆ  กิ้งก่า  เต่า  จระเข้  ซึ่งสัตว์เหล่านี้หากินและมีชีวิตเกี่ยวข้องอยู่กับป่าชายเลน   คุณค่าและความสำคัญในระบบนิเวศป่าชายเลน  ด้านป่าไม้  ไม้จากป่าชายเลนได้นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  เช่น ทำฟืนหรือถ่าน    - ใช้ในการก่อสร้าง  เช่น  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน    - ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์    - ใบจากมุงหลังคาและมวนบุหรี่    - ด้านประมง  เป็นแหล่งที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน  เป็นแหล่งที่อยู่และที่หลบภัยของปลาต่าง ๆ    - ความสำคัญของด้านการอนุรักษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเล    - เป็นสถานที่หลบภัยตามธรรมชาติ    - ป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  โดยทำหน้าที่กรองสารปฏิกูล ด้านยารักษาโรค  เช่น    - เปลือกไม้โกงกางใบเล็ก  สามารถนำมาต้มกินแก้ท้องร่วง    - ต้นและรากของต้นเหงือกปลาหมอดอกน้ำเงิน  นำมาต้นน้ำผสมน้ำอาบ  แก้ผดผื่นคัน  โรคผิวหนัง    - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าชายเลน     ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากรมป่าไม้เมื่อปี  2543  แสดงให้เห็นว่า  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าชายเลน  1,526,006.25  ไร่  เพิ่มขึ้นจากการสำรวจเมื่อปี  2539  จำนวน  478,616.25  ไร่  ทั้งที่น่าสังเกตว่า  ในการสำรวจครั้งนี้ได้เพิ่มนราธิวาสเป็นจังหวัดที่ 24  ทีมีพื้นที่ป่าชายเลนด้วยจำนวน  473.5  ไร่  หลังจากที่ตกสำรวจมาเป็นเวลานาน  ขณะเดียวกันการสำรวจครั้งนี้กลับไม่แสดงพื้นที่ป่าชายเลนของจังหวัดสมุทรปราการ  ซึ่งเคยมีจำนวน  1,857.50  ไร่  ในการสำรวจเมื่อปี  2539      โดยภาพรวมป่าชายเลนของไทยนับว่าตกอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม  อันเป็นภาวะที่ต่อเนื่องมานับ 40 ปี  ดังที่ตัวเลขแสดงให้เห็นชัดเจนว่าภายในช่วงเวลาดังกล่าวพื้นที่ป่าชายเลนได้สูญหายไปถึงประมาณ 1 ล้านไร่ สาเหตุของการลดลงของป่าชายเลน    - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  โดยเฉพาะการทำนากุ้ง พื้นที่ป่าชายเลนเป็นแหล่งผลิตอินทรีย์สารและธาตุอาหารที่สำคัญ  สำหรับสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลนซึ่งมีมากมายหลายชนิด  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  เป็นต้น  ดังนั้นการแผ้วถางป่าแล้วจึงขุดบ่อขึ้นภายหลัง  เป็นการทำลายแหล่งแร่ธาตุที่มีการหมุนเวียน  เพื่อให้เกิดการสมดุลตามระบบธรรมชาติในระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน  และการทำนากุ้งวิธีนี้ยังทำความเสียหายแก่พื้นที่ป่าชายเลนมาก  เพราะนอกจากจะตัดไม้ลงแล้ว  ยังต้องขุดรากถอนโคนออกหมด  เป็นการทำลายพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีอยู่ในบริเวณนั้น  การทำลายป่าชายเลนในลักษณะนี้เป็นการเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างถาวร  ซึ่งเป็นการทำลาย  ทรัพยากรป่าไม้และระบบนิเวศป่าชายเลนด้วย    - การทำเหมืองแร่  การทำเหมืองแร่มีส่วนในการทำลายสภาพป่าและความอุดมสมบูรณ์ของป่า  จนยากที่จะฟื้นให้มีความสมบูรณ์เช่นเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้  ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการทำเหมืองแร่  จะต้องขุดให้ลึกจนถึงสายแร่  ดินตะกอน  กรวด  และทรายที่ถูกพลิกขึ้นมาทับถม  ทำให้ป่าชายเลนไม่สามารถฟื้นตัวเกิดได้ดังเช่นเดิม  นอกจากนั้น  คุณภาพของน้ำยังเลวลง  เนื่องจากมีตะกอนขุ่นข้นแขวนลอยอยู่ด้วย  เมื่อตกตะกอนก็จะกลายเป็นดินดอนทำให้น้ำท่วมไม่ถึง  มีแต่ความแห้งแล้ง  ดังนั้น  การทำเหมืองแร่จึงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศป่าชายเลนโดยตรง    - การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่  เมื่อมีการตัดถนนป่าชายเลน  ก็จะมีการถมที่และสร้างอาคารบ้านเรือน  ร้านค้า  ศูนย์การค้า  ที่ทำการ  และสำนักงานบริเวณนั้นติดตามมา ราษฎรที่อยู่ใกล้กับป่าชายเลนก็จะบุกรุกและถือโอกาสครอบครองที่ดินเป็นของตัวเอง    - การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า  การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้าผ่านพื้นที่ป่าชายเลน  จะต้องมีการทำลายป่าชายเลนส่วนที่จะสร้างขึ้น  เป็นเหตุให้ป่าชายเลนลดน้อยลง  ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างอื่นตามมาด้วย  เช่น  สัตว์ในป่าชายเลนไม่มีที่อยู่อาศัย  เป็นต้น  และแนวถนนจะเป็นคันกั้นน้ำทะเล  ทำให้น้ำทะเลไหลลงสู่ป่าชายเลนไม่ได้  ต้นไม้ในป่าชายเลนจะตาย    - การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม  พื้นที่ป่าชายเลนที่อยู่แถบชายฝั่งทะเลส่วนหนึ่งถูกบุกเบิกเพื่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม  ทำให้เสียพื้นที่ป่าชายเลนเป็นจำนวนมาก  และโรงงานอุตสาหกรรมยังปล่อยของเสียลงสู่ป่าชายเลนบริเวณรอบข้าง  ทำให้ระบบนิเวศป่าชายเลนถูกทำลาย    - การทำนาเกลือ  เนื่องจากแสงแดดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาน้ำทะเลให้ระเหยแห้งจนตกผลึกกลายเป็นเกลือ  ดังนั้น  ป่าชายเลนโดยรอบจะถูกตัดฟันจนหมด  เพื่อเปิดพื้นที่ให้โล่งมากที่สุด  จึงเป็นสาเหตุให้ป่าชายเลนถูกทำลายเป็นจำนวนมาก    - การตัดไม้เกินกำลังของป่า  ปริมาณความต้องการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่าชายเลนมีจำนวนมาก  เช่น  การเผาถ่าน  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน  เฟอร์นิเจอร์  เป็นต้น  ซึงมากกว่ากำลังการผลิตของป่าชายเลน  ทำให้ป่าชายเลนถูกบุกรุกเป็นจำนวนมาก 
  39. ป่าชายเลน พบทั่วไปตามพื้นที่ชายฝั่งทะเล  บริเวณปากน้ำ  อ่าว  ทะเลสาบและเกาะซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน  (Tropical Region) โดยป่าชายเลนในประเทศไทยอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่งยาวประมาณ 927  กิโลเมตร  ในเขตชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก  ภาคกลาง  และภาคใต้  ปัจจัยทางกายภาพ   ระบบนิเวศป่าชายเลนเกิดจากการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อมของทะเลและสภาพแวดล้อมของแผ่นดินพื้นที่และการกระจายของป่าชายเลนจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่สำคัญได้แก่  สภาพภูมิอากาศ  สภาพดินและน้ำ   ภูมิอากาศ  โดยทั่วไปแล้วพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต้องกาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า  20 OC  เล็กน้อยและมีความแตกต่างของอากาศในแต่ละฤดูไม่มากกว่า  5  OC  โดยอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญของไม้ในป่าชายเลนจะอยู่ระหว่าง  25-30 OC  ป่าชายเลนสามารถขึ้นในบริเวณพื้นที่ริมฝั่งของภูมิภาคเขตร้อนที่มีปริมาณฝนและความชื้นน้อยไปจนถึงบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนมาก  แต่ป่าชายเลนในบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนและความชื้นมาก  จะมีพัฒนาการเจริญเติบโตได้ดีกว่า  สำหรับประเทศไทยนั้นป่าชายเลนที่พัฒนาดีที่สุดคือ  ป่าชายเลนระยอง  ดิน  ในพื้นที่ป่าชายเลนเกิดขึ้นจากการทับถมของดินตะกอนในแม่น้ำที่ไหลลงสู่บริเวณที่มีน้ำนิ่งซึ่งดินตะกอนจะทับถมกันในสภาพธรรมชาติ  จึงมีปริมาณเกลือสูง  และปริมาณอินทรียวัตถุสูง   น้ำ  ความเค็มของน้ำในป่าชายเลนของประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีความเค็มของน้ำระหว่าง 10-30 ส่วนในพันส่วน ปัจจัยทางชีวภาพ พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีลักษณะ  ดังนี้    - เป็นป่าที่มีความเขียวสดตลอดปี   - ไม่มีการแบ่งชั้นของเรือนยอด  (Canopy)  อย่างชัดเจน    ชนิดของพืชพันธุ์ต่าง ๆ  จะมีความสัมพันธ์กัลป์ปบลักษณะของพื้นที่  ดังนี้ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับแผ่นดินพืชที่พบในน้ำและบริเวณพื้นที่ชื้นแฉะ  จะพบต้นจาก  ส่วนพืชบกจะพบ  โพธิ์ทะเล  โปรง  ตะบูน  พังกา  หัวสุม  และประทะเล บริเวณพื้นที่ตอนบนของป่าชายเลน  พืชที่พบบริเวณนี้  ได้แก่  โกงกางใบเล็ก  โกงกางใบใหญ่  โดยมีแสมดำและแสมขาวขึ้นปะปนกันอยู่  นอกจากนี้ยังมี  ลำพู  เหงือกปลาหมอและถอบแถบ บริเวณตอนล่างของป่าชายเลน  พืชที่พบในบริเวณนี้ได้แก่  แสมดำ  แสมขาว  โกงกางใบเล็กโกงกางใบใหญ่ขึ้นปะปนกันอยู่ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับทะเล  พืชที่พบในบริเวณนี้ส่วนใหญ่คือ  แสม  แต่บางแห่งจะพบโกงกาง ชนิดของสัตว์น้ำและสัตว์บกมีตั้งแต่  จุลินทรีย์  (microorganism)  เช่น  แบคทีเรีย  รา  โปรโตซัว  พวกสัตว์เล็ก  จนถึงสัตว์ใหญ่  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  งู  นก  ลิง  เป็นต้น       สำหรับพวกจุลินทรีย์ต่าง ๆ  เป็นส่วนสำคัญในการกำเนิดห่วงโซ่อาหาร มีรายงานการสำรวจพบว่า  บริเวณป่าชายเลนนั้นมีปลาชนิดต่าง ๆ  รวมกันประมาณ  72  ชนิดที่สำคัญและมีชนิดที่พบได้มาก  ได้แก่  ปลากระบอก  ปลากะพงขาว  และปลานวลจันทร์ทะเล  เป็นต้น  สำหรับกุ้งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงที่พบในป่าชายเลน  เช่น  กุ้งแชบ๊วย  กุ้งตะกาด  กุ้งกุลาดำหรือกุ้งตะเข็บ  กุ้งหัวมัน  ปูที่พบในป่าชายเลนมี 54 ชนิดที่สำคัญ  ปูเปรี้ยวหรือปูก้ามดาบหรือปูผู้แทน (Veatorcipata)  ปูแสม (Sesarma  mederi)  ปูทะเลหรือปูดำ หอยมีทั้งชนิดที่เกาะอยู่กับต้นไม้  รากและใบของไม้ในป่าชายเลน  รวมถึงชนิดที่ชอบฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือตามพื้นป่า แมลง  ที่อาศัยอยู่ตามป่าชายเลนมีจำนวน  38  ชนิด  ชนิดที่พบมาก  ได้แก่  ผีเสื้อ  หนอนคืบ  หนอนผีเสื้อขัดใบ  ด้วงหนวดยาว  ยุง  ริ้น  เป็นต้น สัตว์อื่น ๆ ที่พบมาก  ได้แก่     - นก  มีทั้งหมดประมาณ  88  ชนิด    - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 35 ชนิด  เช่น  ค้างคาว  ลิงแสม  นาก  แมวป่า    - สัตว์เลื้อยคลานประมาณ  25  ชนิด  ซึ่งรวมทั้งงูชนิดต่าง ๆ  กิ้งก่า  เต่า  จระเข้  ซึ่งสัตว์เหล่านี้หากินและมีชีวิตเกี่ยวข้องอยู่กับป่าชายเลน   คุณค่าและความสำคัญในระบบนิเวศป่าชายเลน  ด้านป่าไม้  ไม้จากป่าชายเลนได้นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  เช่น ทำฟืนหรือถ่าน    - ใช้ในการก่อสร้าง  เช่น  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน    - ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์    - ใบจากมุงหลังคาและมวนบุหรี่    - ด้านประมง  เป็นแหล่งที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน  เป็นแหล่งที่อยู่และที่หลบภัยของปลาต่าง ๆ    - ความสำคัญของด้านการอนุรักษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเล    - เป็นสถานที่หลบภัยตามธรรมชาติ    - ป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  โดยทำหน้าที่กรองสารปฏิกูล ด้านยารักษาโรค  เช่น    - เปลือกไม้โกงกางใบเล็ก  สามารถนำมาต้มกินแก้ท้องร่วง    - ต้นและรากของต้นเหงือกปลาหมอดอกน้ำเงิน  นำมาต้นน้ำผสมน้ำอาบ  แก้ผดผื่นคัน  โรคผิวหนัง    - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าชายเลน     ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากรมป่าไม้เมื่อปี  2543  แสดงให้เห็นว่า  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าชายเลน  1,526,006.25  ไร่  เพิ่มขึ้นจากการสำรวจเมื่อปี  2539  จำนวน  478,616.25  ไร่  ทั้งที่น่าสังเกตว่า  ในการสำรวจครั้งนี้ได้เพิ่มนราธิวาสเป็นจังหวัดที่ 24  ทีมีพื้นที่ป่าชายเลนด้วยจำนวน  473.5  ไร่  หลังจากที่ตกสำรวจมาเป็นเวลานาน  ขณะเดียวกันการสำรวจครั้งนี้กลับไม่แสดงพื้นที่ป่าชายเลนของจังหวัดสมุทรปราการ  ซึ่งเคยมีจำนวน  1,857.50  ไร่  ในการสำรวจเมื่อปี  2539      โดยภาพรวมป่าชายเลนของไทยนับว่าตกอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม  อันเป็นภาวะที่ต่อเนื่องมานับ 40 ปี  ดังที่ตัวเลขแสดงให้เห็นชัดเจนว่าภายในช่วงเวลาดังกล่าวพื้นที่ป่าชายเลนได้สูญหายไปถึงประมาณ 1 ล้านไร่ สาเหตุของการลดลงของป่าชายเลน    - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  โดยเฉพาะการทำนากุ้ง พื้นที่ป่าชายเลนเป็นแหล่งผลิตอินทรีย์สารและธาตุอาหารที่สำคัญ  สำหรับสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลนซึ่งมีมากมายหลายชนิด  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  เป็นต้น  ดังนั้นการแผ้วถางป่าแล้วจึงขุดบ่อขึ้นภายหลัง  เป็นการทำลายแหล่งแร่ธาตุที่มีการหมุนเวียน  เพื่อให้เกิดการสมดุลตามระบบธรรมชาติในระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน  และการทำนากุ้งวิธีนี้ยังทำความเสียหายแก่พื้นที่ป่าชายเลนมาก  เพราะนอกจากจะตัดไม้ลงแล้ว  ยังต้องขุดรากถอนโคนออกหมด  เป็นการทำลายพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีอยู่ในบริเวณนั้น  การทำลายป่าชายเลนในลักษณะนี้เป็นการเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างถาวร  ซึ่งเป็นการทำลาย  ทรัพยากรป่าไม้และระบบนิเวศป่าชายเลนด้วย    - การทำเหมืองแร่  การทำเหมืองแร่มีส่วนในการทำลายสภาพป่าและความอุดมสมบูรณ์ของป่า  จนยากที่จะฟื้นให้มีความสมบูรณ์เช่นเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้  ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการทำเหมืองแร่  จะต้องขุดให้ลึกจนถึงสายแร่  ดินตะกอน  กรวด  และทรายที่ถูกพลิกขึ้นมาทับถม  ทำให้ป่าชายเลนไม่สามารถฟื้นตัวเกิดได้ดังเช่นเดิม  นอกจากนั้น  คุณภาพของน้ำยังเลวลง  เนื่องจากมีตะกอนขุ่นข้นแขวนลอยอยู่ด้วย  เมื่อตกตะกอนก็จะกลายเป็นดินดอนทำให้น้ำท่วมไม่ถึง  มีแต่ความแห้งแล้ง  ดังนั้น  การทำเหมืองแร่จึงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศป่าชายเลนโดยตรง    - การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่  เมื่อมีการตัดถนนป่าชายเลน  ก็จะมีการถมที่และสร้างอาคารบ้านเรือน  ร้านค้า  ศูนย์การค้า  ที่ทำการ  และสำนักงานบริเวณนั้นติดตามมา ราษฎรที่อยู่ใกล้กับป่าชายเลนก็จะบุกรุกและถือโอกาสครอบครองที่ดินเป็นของตัวเอง    - การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า  การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้าผ่านพื้นที่ป่าชายเลน  จะต้องมีการทำลายป่าชายเลนส่วนที่จะสร้างขึ้น  เป็นเหตุให้ป่าชายเลนลดน้อยลง  ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างอื่นตามมาด้วย  เช่น  สัตว์ในป่าชายเลนไม่มีที่อยู่อาศัย  เป็นต้น  และแนวถนนจะเป็นคันกั้นน้ำทะเล  ทำให้น้ำทะเลไหลลงสู่ป่าชายเลนไม่ได้  ต้นไม้ในป่าชายเลนจะตาย    - การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม  พื้นที่ป่าชายเลนที่อยู่แถบชายฝั่งทะเลส่วนหนึ่งถูกบุกเบิกเพื่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม  ทำให้เสียพื้นที่ป่าชายเลนเป็นจำนวนมาก  และโรงงานอุตสาหกรรมยังปล่อยของเสียลงสู่ป่าชายเลนบริเวณรอบข้าง  ทำให้ระบบนิเวศป่าชายเลนถูกทำลาย    - การทำนาเกลือ  เนื่องจากแสงแดดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาน้ำทะเลให้ระเหยแห้งจนตกผลึกกลายเป็นเกลือ  ดังนั้น  ป่าชายเลนโดยรอบจะถูกตัดฟันจนหมด  เพื่อเปิดพื้นที่ให้โล่งมากที่สุด  จึงเป็นสาเหตุให้ป่าชายเลนถูกทำลายเป็นจำนวนมาก    - การตัดไม้เกินกำลังของป่า  ปริมาณความต้องการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่าชายเลนมีจำนวนมาก  เช่น  การเผาถ่าน  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน  เฟอร์นิเจอร์  เป็นต้น  ซึงมากกว่ากำลังการผลิตของป่าชายเลน  ทำให้ป่าชายเลนถูกบุกรุกเป็นจำนวนมาก 
  40. ป่าชายเลน พบทั่วไปตามพื้นที่ชายฝั่งทะเล  บริเวณปากน้ำ  อ่าว  ทะเลสาบและเกาะซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน  (Tropical Region) โดยป่าชายเลนในประเทศไทยอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่งยาวประมาณ 927  กิโลเมตร  ในเขตชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก  ภาคกลาง  และภาคใต้  ปัจจัยทางกายภาพ   ระบบนิเวศป่าชายเลนเกิดจากการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อมของทะเลและสภาพแวดล้อมของแผ่นดินพื้นที่และการกระจายของป่าชายเลนจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่สำคัญได้แก่  สภาพภูมิอากาศ  สภาพดินและน้ำ   ภูมิอากาศ  โดยทั่วไปแล้วพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต้องกาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า  20 OC  เล็กน้อยและมีความแตกต่างของอากาศในแต่ละฤดูไม่มากกว่า  5  OC  โดยอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญของไม้ในป่าชายเลนจะอยู่ระหว่าง  25-30 OC  ป่าชายเลนสามารถขึ้นในบริเวณพื้นที่ริมฝั่งของภูมิภาคเขตร้อนที่มีปริมาณฝนและความชื้นน้อยไปจนถึงบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนมาก  แต่ป่าชายเลนในบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนและความชื้นมาก  จะมีพัฒนาการเจริญเติบโตได้ดีกว่า  สำหรับประเทศไทยนั้นป่าชายเลนที่พัฒนาดีที่สุดคือ  ป่าชายเลนระยอง  ดิน  ในพื้นที่ป่าชายเลนเกิดขึ้นจากการทับถมของดินตะกอนในแม่น้ำที่ไหลลงสู่บริเวณที่มีน้ำนิ่งซึ่งดินตะกอนจะทับถมกันในสภาพธรรมชาติ  จึงมีปริมาณเกลือสูง  และปริมาณอินทรียวัตถุสูง   น้ำ  ความเค็มของน้ำในป่าชายเลนของประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีความเค็มของน้ำระหว่าง 10-30 ส่วนในพันส่วน ปัจจัยทางชีวภาพ พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีลักษณะ  ดังนี้    - เป็นป่าที่มีความเขียวสดตลอดปี   - ไม่มีการแบ่งชั้นของเรือนยอด  (Canopy)  อย่างชัดเจน    ชนิดของพืชพันธุ์ต่าง ๆ  จะมีความสัมพันธ์กัลป์ปบลักษณะของพื้นที่  ดังนี้ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับแผ่นดินพืชที่พบในน้ำและบริเวณพื้นที่ชื้นแฉะ  จะพบต้นจาก  ส่วนพืชบกจะพบ  โพธิ์ทะเล  โปรง  ตะบูน  พังกา  หัวสุม  และประทะเล บริเวณพื้นที่ตอนบนของป่าชายเลน  พืชที่พบบริเวณนี้  ได้แก่  โกงกางใบเล็ก  โกงกางใบใหญ่  โดยมีแสมดำและแสมขาวขึ้นปะปนกันอยู่  นอกจากนี้ยังมี  ลำพู  เหงือกปลาหมอและถอบแถบ บริเวณตอนล่างของป่าชายเลน  พืชที่พบในบริเวณนี้ได้แก่  แสมดำ  แสมขาว  โกงกางใบเล็กโกงกางใบใหญ่ขึ้นปะปนกันอยู่ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับทะเล  พืชที่พบในบริเวณนี้ส่วนใหญ่คือ  แสม  แต่บางแห่งจะพบโกงกาง ชนิดของสัตว์น้ำและสัตว์บกมีตั้งแต่  จุลินทรีย์  (microorganism)  เช่น  แบคทีเรีย  รา  โปรโตซัว  พวกสัตว์เล็ก  จนถึงสัตว์ใหญ่  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  งู  นก  ลิง  เป็นต้น       สำหรับพวกจุลินทรีย์ต่าง ๆ  เป็นส่วนสำคัญในการกำเนิดห่วงโซ่อาหาร มีรายงานการสำรวจพบว่า  บริเวณป่าชายเลนนั้นมีปลาชนิดต่าง ๆ  รวมกันประมาณ  72  ชนิดที่สำคัญและมีชนิดที่พบได้มาก  ได้แก่  ปลากระบอก  ปลากะพงขาว  และปลานวลจันทร์ทะเล  เป็นต้น  สำหรับกุ้งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงที่พบในป่าชายเลน  เช่น  กุ้งแชบ๊วย  กุ้งตะกาด  กุ้งกุลาดำหรือกุ้งตะเข็บ  กุ้งหัวมัน  ปูที่พบในป่าชายเลนมี 54 ชนิดที่สำคัญ  ปูเปรี้ยวหรือปูก้ามดาบหรือปูผู้แทน (Veatorcipata)  ปูแสม (Sesarma  mederi)  ปูทะเลหรือปูดำ หอยมีทั้งชนิดที่เกาะอยู่กับต้นไม้  รากและใบของไม้ในป่าชายเลน  รวมถึงชนิดที่ชอบฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือตามพื้นป่า แมลง  ที่อาศัยอยู่ตามป่าชายเลนมีจำนวน  38  ชนิด  ชนิดที่พบมาก  ได้แก่  ผีเสื้อ  หนอนคืบ  หนอนผีเสื้อขัดใบ  ด้วงหนวดยาว  ยุง  ริ้น  เป็นต้น สัตว์อื่น ๆ ที่พบมาก  ได้แก่     - นก  มีทั้งหมดประมาณ  88  ชนิด    - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 35 ชนิด  เช่น  ค้างคาว  ลิงแสม  นาก  แมวป่า    - สัตว์เลื้อยคลานประมาณ  25  ชนิด  ซึ่งรวมทั้งงูชนิดต่าง ๆ  กิ้งก่า  เต่า  จระเข้  ซึ่งสัตว์เหล่านี้หากินและมีชีวิตเกี่ยวข้องอยู่กับป่าชายเลน   คุณค่าและความสำคัญในระบบนิเวศป่าชายเลน  ด้านป่าไม้  ไม้จากป่าชายเลนได้นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  เช่น ทำฟืนหรือถ่าน    - ใช้ในการก่อสร้าง  เช่น  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน    - ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์    - ใบจากมุงหลังคาและมวนบุหรี่    - ด้านประมง  เป็นแหล่งที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน  เป็นแหล่งที่อยู่และที่หลบภัยของปลาต่าง ๆ    - ความสำคัญของด้านการอนุรักษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเล    - เป็นสถานที่หลบภัยตามธรรมชาติ    - ป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  โดยทำหน้าที่กรองสารปฏิกูล ด้านยารักษาโรค  เช่น    - เปลือกไม้โกงกางใบเล็ก  สามารถนำมาต้มกินแก้ท้องร่วง    - ต้นและรากของต้นเหงือกปลาหมอดอกน้ำเงิน  นำมาต้นน้ำผสมน้ำอาบ  แก้ผดผื่นคัน  โรคผิวหนัง    - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าชายเลน     ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากรมป่าไม้เมื่อปี  2543  แสดงให้เห็นว่า  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าชายเลน  1,526,006.25  ไร่  เพิ่มขึ้นจากการสำรวจเมื่อปี  2539  จำนวน  478,616.25  ไร่  ทั้งที่น่าสังเกตว่า  ในการสำรวจครั้งนี้ได้เพิ่มนราธิวาสเป็นจังหวัดที่ 24  ทีมีพื้นที่ป่าชายเลนด้วยจำนวน  473.5  ไร่  หลังจากที่ตกสำรวจมาเป็นเวลานาน  ขณะเดียวกันการสำรวจครั้งนี้กลับไม่แสดงพื้นที่ป่าชายเลนของจังหวัดสมุทรปราการ  ซึ่งเคยมีจำนวน  1,857.50  ไร่  ในการสำรวจเมื่อปี  2539      โดยภาพรวมป่าชายเลนของไทยนับว่าตกอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม  อันเป็นภาวะที่ต่อเนื่องมานับ 40 ปี  ดังที่ตัวเลขแสดงให้เห็นชัดเจนว่าภายในช่วงเวลาดังกล่าวพื้นที่ป่าชายเลนได้สูญหายไปถึงประมาณ 1 ล้านไร่ สาเหตุของการลดลงของป่าชายเลน    - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  โดยเฉพาะการทำนากุ้ง พื้นที่ป่าชายเลนเป็นแหล่งผลิตอินทรีย์สารและธาตุอาหารที่สำคัญ  สำหรับสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลนซึ่งมีมากมายหลายชนิด  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  เป็นต้น  ดังนั้นการแผ้วถางป่าแล้วจึงขุดบ่อขึ้นภายหลัง  เป็นการทำลายแหล่งแร่ธาตุที่มีการหมุนเวียน  เพื่อให้เกิดการสมดุลตามระบบธรรมชาติในระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน  และการทำนากุ้งวิธีนี้ยังทำความเสียหายแก่พื้นที่ป่าชายเลนมาก  เพราะนอกจากจะตัดไม้ลงแล้ว  ยังต้องขุดรากถอนโคนออกหมด  เป็นการทำลายพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีอยู่ในบริเวณนั้น  การทำลายป่าชายเลนในลักษณะนี้เป็นการเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างถาวร  ซึ่งเป็นการทำลาย  ทรัพยากรป่าไม้และระบบนิเวศป่าชายเลนด้วย    - การทำเหมืองแร่  การทำเหมืองแร่มีส่วนในการทำลายสภาพป่าและความอุดมสมบูรณ์ของป่า  จนยากที่จะฟื้นให้มีความสมบูรณ์เช่นเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้  ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการทำเหมืองแร่  จะต้องขุดให้ลึกจนถึงสายแร่  ดินตะกอน  กรวด  และทรายที่ถูกพลิกขึ้นมาทับถม  ทำให้ป่าชายเลนไม่สามารถฟื้นตัวเกิดได้ดังเช่นเดิม  นอกจากนั้น  คุณภาพของน้ำยังเลวลง  เนื่องจากมีตะกอนขุ่นข้นแขวนลอยอยู่ด้วย  เมื่อตกตะกอนก็จะกลายเป็นดินดอนทำให้น้ำท่วมไม่ถึง  มีแต่ความแห้งแล้ง  ดังนั้น  การทำเหมืองแร่จึงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศป่าชายเลนโดยตรง    - การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่  เมื่อมีการตัดถนนป่าชายเลน  ก็จะมีการถมที่และสร้างอาคารบ้านเรือน  ร้านค้า  ศูนย์การค้า  ที่ทำการ  และสำนักงานบริเวณนั้นติดตามมา ราษฎรที่อยู่ใกล้กับป่าชายเลนก็จะบุกรุกและถือโอกาสครอบครองที่ดินเป็นของตัวเอง    - การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า  การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้าผ่านพื้นที่ป่าชายเลน  จะต้องมีการทำลายป่าชายเลนส่วนที่จะสร้างขึ้น  เป็นเหตุให้ป่าชายเลนลดน้อยลง  ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างอื่นตามมาด้วย  เช่น  สัตว์ในป่าชายเลนไม่มีที่อยู่อาศัย  เป็นต้น  และแนวถนนจะเป็นคันกั้นน้ำทะเล  ทำให้น้ำทะเลไหลลงสู่ป่าชายเลนไม่ได้  ต้นไม้ในป่าชายเลนจะตาย    - การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม  พื้นที่ป่าชายเลนที่อยู่แถบชายฝั่งทะเลส่วนหนึ่งถูกบุกเบิกเพื่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม  ทำให้เสียพื้นที่ป่าชายเลนเป็นจำนวนมาก  และโรงงานอุตสาหกรรมยังปล่อยของเสียลงสู่ป่าชายเลนบริเวณรอบข้าง  ทำให้ระบบนิเวศป่าชายเลนถูกทำลาย    - การทำนาเกลือ  เนื่องจากแสงแดดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาน้ำทะเลให้ระเหยแห้งจนตกผลึกกลายเป็นเกลือ  ดังนั้น  ป่าชายเลนโดยรอบจะถูกตัดฟันจนหมด  เพื่อเปิดพื้นที่ให้โล่งมากที่สุด  จึงเป็นสาเหตุให้ป่าชายเลนถูกทำลายเป็นจำนวนมาก    - การตัดไม้เกินกำลังของป่า  ปริมาณความต้องการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่าชายเลนมีจำนวนมาก  เช่น  การเผาถ่าน  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน  เฟอร์นิเจอร์  เป็นต้น  ซึงมากกว่ากำลังการผลิตของป่าชายเลน  ทำให้ป่าชายเลนถูกบุกรุกเป็นจำนวนมาก 
  41. ป่าชายเลน พบทั่วไปตามพื้นที่ชายฝั่งทะเล  บริเวณปากน้ำ  อ่าว  ทะเลสาบและเกาะซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำท่วมถึงของประเทศในแถบโซนร้อน  (Tropical Region) โดยป่าชายเลนในประเทศไทยอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่งยาวประมาณ 927  กิโลเมตร  ในเขตชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก  ภาคกลาง  และภาคใต้  ปัจจัยทางกายภาพ   ระบบนิเวศป่าชายเลนเกิดจากการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อมของทะเลและสภาพแวดล้อมของแผ่นดินพื้นที่และการกระจายของป่าชายเลนจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยของสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่สำคัญได้แก่  สภาพภูมิอากาศ  สภาพดินและน้ำ   ภูมิอากาศ  โดยทั่วไปแล้วพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต้องกาอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า  20 OC  เล็กน้อยและมีความแตกต่างของอากาศในแต่ละฤดูไม่มากกว่า  5  OC  โดยอากาศที่เหมาะสมสำหรับการเจริญของไม้ในป่าชายเลนจะอยู่ระหว่าง  25-30 OC  ป่าชายเลนสามารถขึ้นในบริเวณพื้นที่ริมฝั่งของภูมิภาคเขตร้อนที่มีปริมาณฝนและความชื้นน้อยไปจนถึงบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนมาก  แต่ป่าชายเลนในบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนและความชื้นมาก  จะมีพัฒนาการเจริญเติบโตได้ดีกว่า  สำหรับประเทศไทยนั้นป่าชายเลนที่พัฒนาดีที่สุดคือ  ป่าชายเลนระยอง  ดิน  ในพื้นที่ป่าชายเลนเกิดขึ้นจากการทับถมของดินตะกอนในแม่น้ำที่ไหลลงสู่บริเวณที่มีน้ำนิ่งซึ่งดินตะกอนจะทับถมกันในสภาพธรรมชาติ  จึงมีปริมาณเกลือสูง  และปริมาณอินทรียวัตถุสูง   น้ำ  ความเค็มของน้ำในป่าชายเลนของประเทศไทยส่วนใหญ่จะมีความเค็มของน้ำระหว่าง 10-30 ส่วนในพันส่วน ปัจจัยทางชีวภาพ พืชพันธุ์ในพื้นที่ป่าชายเลนจะมีลักษณะ  ดังนี้    - เป็นป่าที่มีความเขียวสดตลอดปี   - ไม่มีการแบ่งชั้นของเรือนยอด  (Canopy)  อย่างชัดเจน    ชนิดของพืชพันธุ์ต่าง ๆ  จะมีความสัมพันธ์กัลป์ปบลักษณะของพื้นที่  ดังนี้ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับแผ่นดินพืชที่พบในน้ำและบริเวณพื้นที่ชื้นแฉะ  จะพบต้นจาก  ส่วนพืชบกจะพบ  โพธิ์ทะเล  โปรง  ตะบูน  พังกา  หัวสุม  และประทะเล บริเวณพื้นที่ตอนบนของป่าชายเลน  พืชที่พบบริเวณนี้  ได้แก่  โกงกางใบเล็ก  โกงกางใบใหญ่  โดยมีแสมดำและแสมขาวขึ้นปะปนกันอยู่  นอกจากนี้ยังมี  ลำพู  เหงือกปลาหมอและถอบแถบ บริเวณตอนล่างของป่าชายเลน  พืชที่พบในบริเวณนี้ได้แก่  แสมดำ  แสมขาว  โกงกางใบเล็กโกงกางใบใหญ่ขึ้นปะปนกันอยู่ บริเวณช่วงต่อระหว่างป่าชายเลนกับทะเล  พืชที่พบในบริเวณนี้ส่วนใหญ่คือ  แสม  แต่บางแห่งจะพบโกงกาง ชนิดของสัตว์น้ำและสัตว์บกมีตั้งแต่  จุลินทรีย์  (microorganism)  เช่น  แบคทีเรีย  รา  โปรโตซัว  พวกสัตว์เล็ก  จนถึงสัตว์ใหญ่  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  งู  นก  ลิง  เป็นต้น       สำหรับพวกจุลินทรีย์ต่าง ๆ  เป็นส่วนสำคัญในการกำเนิดห่วงโซ่อาหาร มีรายงานการสำรวจพบว่า  บริเวณป่าชายเลนนั้นมีปลาชนิดต่าง ๆ  รวมกันประมาณ  72  ชนิดที่สำคัญและมีชนิดที่พบได้มาก  ได้แก่  ปลากระบอก  ปลากะพงขาว  และปลานวลจันทร์ทะเล  เป็นต้น  สำหรับกุ้งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงที่พบในป่าชายเลน  เช่น  กุ้งแชบ๊วย  กุ้งตะกาด  กุ้งกุลาดำหรือกุ้งตะเข็บ  กุ้งหัวมัน  ปูที่พบในป่าชายเลนมี 54 ชนิดที่สำคัญ  ปูเปรี้ยวหรือปูก้ามดาบหรือปูผู้แทน (Veatorcipata)  ปูแสม (Sesarma  mederi)  ปูทะเลหรือปูดำ หอยมีทั้งชนิดที่เกาะอยู่กับต้นไม้  รากและใบของไม้ในป่าชายเลน  รวมถึงชนิดที่ชอบฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือตามพื้นป่า แมลง  ที่อาศัยอยู่ตามป่าชายเลนมีจำนวน  38  ชนิด  ชนิดที่พบมาก  ได้แก่  ผีเสื้อ  หนอนคืบ  หนอนผีเสื้อขัดใบ  ด้วงหนวดยาว  ยุง  ริ้น  เป็นต้น สัตว์อื่น ๆ ที่พบมาก  ได้แก่     - นก  มีทั้งหมดประมาณ  88  ชนิด    - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 35 ชนิด  เช่น  ค้างคาว  ลิงแสม  นาก  แมวป่า    - สัตว์เลื้อยคลานประมาณ  25  ชนิด  ซึ่งรวมทั้งงูชนิดต่าง ๆ  กิ้งก่า  เต่า  จระเข้  ซึ่งสัตว์เหล่านี้หากินและมีชีวิตเกี่ยวข้องอยู่กับป่าชายเลน   คุณค่าและความสำคัญในระบบนิเวศป่าชายเลน  ด้านป่าไม้  ไม้จากป่าชายเลนได้นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง  เช่น ทำฟืนหรือถ่าน    - ใช้ในการก่อสร้าง  เช่น  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน    - ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์    - ใบจากมุงหลังคาและมวนบุหรี่    - ด้านประมง  เป็นแหล่งที่วางไข่และอนุบาลตัวอ่อน  เป็นแหล่งที่อยู่และที่หลบภัยของปลาต่าง ๆ    - ความสำคัญของด้านการอนุรักษ์พื้นที่ชายฝั่งทะเล    - เป็นสถานที่หลบภัยตามธรรมชาติ    - ป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ  โดยทำหน้าที่กรองสารปฏิกูล ด้านยารักษาโรค  เช่น    - เปลือกไม้โกงกางใบเล็ก  สามารถนำมาต้มกินแก้ท้องร่วง    - ต้นและรากของต้นเหงือกปลาหมอดอกน้ำเงิน  นำมาต้นน้ำผสมน้ำอาบ  แก้ผดผื่นคัน  โรคผิวหนัง    - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานการณ์ปัจจุบันของระบบนิเวศป่าชายเลน     ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากรมป่าไม้เมื่อปี  2543  แสดงให้เห็นว่า  ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าชายเลน  1,526,006.25  ไร่  เพิ่มขึ้นจากการสำรวจเมื่อปี  2539  จำนวน  478,616.25  ไร่  ทั้งที่น่าสังเกตว่า  ในการสำรวจครั้งนี้ได้เพิ่มนราธิวาสเป็นจังหวัดที่ 24  ทีมีพื้นที่ป่าชายเลนด้วยจำนวน  473.5  ไร่  หลังจากที่ตกสำรวจมาเป็นเวลานาน  ขณะเดียวกันการสำรวจครั้งนี้กลับไม่แสดงพื้นที่ป่าชายเลนของจังหวัดสมุทรปราการ  ซึ่งเคยมีจำนวน  1,857.50  ไร่  ในการสำรวจเมื่อปี  2539      โดยภาพรวมป่าชายเลนของไทยนับว่าตกอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม  อันเป็นภาวะที่ต่อเนื่องมานับ 40 ปี  ดังที่ตัวเลขแสดงให้เห็นชัดเจนว่าภายในช่วงเวลาดังกล่าวพื้นที่ป่าชายเลนได้สูญหายไปถึงประมาณ 1 ล้านไร่ สาเหตุของการลดลงของป่าชายเลน    - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  โดยเฉพาะการทำนากุ้ง พื้นที่ป่าชายเลนเป็นแหล่งผลิตอินทรีย์สารและธาตุอาหารที่สำคัญ  สำหรับสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในป่าชายเลนซึ่งมีมากมายหลายชนิด  เช่น  กุ้ง  หอย  ปู  ปลา  เป็นต้น  ดังนั้นการแผ้วถางป่าแล้วจึงขุดบ่อขึ้นภายหลัง  เป็นการทำลายแหล่งแร่ธาตุที่มีการหมุนเวียน  เพื่อให้เกิดการสมดุลตามระบบธรรมชาติในระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน  และการทำนากุ้งวิธีนี้ยังทำความเสียหายแก่พื้นที่ป่าชายเลนมาก  เพราะนอกจากจะตัดไม้ลงแล้ว  ยังต้องขุดรากถอนโคนออกหมด  เป็นการทำลายพันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่มีอยู่ในบริเวณนั้น  การทำลายป่าชายเลนในลักษณะนี้เป็นการเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างถาวร  ซึ่งเป็นการทำลาย  ทรัพยากรป่าไม้และระบบนิเวศป่าชายเลนด้วย    - การทำเหมืองแร่  การทำเหมืองแร่มีส่วนในการทำลายสภาพป่าและความอุดมสมบูรณ์ของป่า  จนยากที่จะฟื้นให้มีความสมบูรณ์เช่นเดิมในระยะเวลาอันสั้นได้  ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการทำเหมืองแร่  จะต้องขุดให้ลึกจนถึงสายแร่  ดินตะกอน  กรวด  และทรายที่ถูกพลิกขึ้นมาทับถม  ทำให้ป่าชายเลนไม่สามารถฟื้นตัวเกิดได้ดังเช่นเดิม  นอกจากนั้น  คุณภาพของน้ำยังเลวลง  เนื่องจากมีตะกอนขุ่นข้นแขวนลอยอยู่ด้วย  เมื่อตกตะกอนก็จะกลายเป็นดินดอนทำให้น้ำท่วมไม่ถึง  มีแต่ความแห้งแล้ง  ดังนั้น  การทำเหมืองแร่จึงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศป่าชายเลนโดยตรง    - การก่อสร้างบ้านเรือนขึ้นใหม่  เมื่อมีการตัดถนนป่าชายเลน  ก็จะมีการถมที่และสร้างอาคารบ้านเรือน  ร้านค้า  ศูนย์การค้า  ที่ทำการ  และสำนักงานบริเวณนั้นติดตามมา ราษฎรที่อยู่ใกล้กับป่าชายเลนก็จะบุกรุกและถือโอกาสครอบครองที่ดินเป็นของตัวเอง    - การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้า  การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้าผ่านพื้นที่ป่าชายเลน  จะต้องมีการทำลายป่าชายเลนส่วนที่จะสร้างขึ้น  เป็นเหตุให้ป่าชายเลนลดน้อยลง  ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างอื่นตามมาด้วย  เช่น  สัตว์ในป่าชายเลนไม่มีที่อยู่อาศัย  เป็นต้น  และแนวถนนจะเป็นคันกั้นน้ำทะเล  ทำให้น้ำทะเลไหลลงสู่ป่าชายเลนไม่ได้  ต้นไม้ในป่าชายเลนจะตาย    - การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม  พื้นที่ป่าชายเลนที่อยู่แถบชายฝั่งทะเลส่วนหนึ่งถูกบุกเบิกเพื่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม  ทำให้เสียพื้นที่ป่าชายเลนเป็นจำนวนมาก  และโรงงานอุตสาหกรรมยังปล่อยของเสียลงสู่ป่าชายเลนบริเวณรอบข้าง  ทำให้ระบบนิเวศป่าชายเลนถูกทำลาย    - การทำนาเกลือ  เนื่องจากแสงแดดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาน้ำทะเลให้ระเหยแห้งจนตกผลึกกลายเป็นเกลือ  ดังนั้น  ป่าชายเลนโดยรอบจะถูกตัดฟันจนหมด  เพื่อเปิดพื้นที่ให้โล่งมากที่สุด  จึงเป็นสาเหตุให้ป่าชายเลนถูกทำลายเป็นจำนวนมาก    - การตัดไม้เกินกำลังของป่า  ปริมาณความต้องการใช้ประโยชน์จากไม้ในป่าชายเลนมีจำนวนมาก  เช่น  การเผาถ่าน  ทำเสาเข็ม  ไม้ค้ำยัน  เฟอร์นิเจอร์  เป็นต้น  ซึงมากกว่ากำลังการผลิตของป่าชายเลน  ทำให้ป่าชายเลนถูกบุกรุกเป็นจำนวนมาก