SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
การปรับปรุงกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน ( พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน  ( ฉบับที่  2)  พ . ศ . 2550) สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
โครงสร้างกฎหมาย กฎกระทรวง มาตรฐานการ อนุรักษ์พลังงานในโรงงาน ส่งข้อมูล / บันทึกข้อมูล ( อาคาร / โรงงาน ) กำหนดเป้าหมายและแผน อนุรักษ์พลังงาน ( อาคาร / โรงงาน ) มาตรฐานการ อนุรักษ์พลังงานในอาคาร ยังไม่มีการประกาศใช้ -  ส่งข้อมูลทุก  6  เดือน -  บันทึกข้อมูล นำผลมารายงานใน บพอ .1/ บพร .1 เจ้าของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุม ดำเนินการอนุรักษ์พลังงานให้เป็นไปตามมาตรฐาน -  ตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติ ตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน ( บพอ .1/ บพร .1) -  ส่งเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน วิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนฯ  ( ม .11(5)) บันทึก / ส่งข้อมูลการใช้พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน  ( ม .11(2),(3)) พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่  12  ธ . ค . 2538 พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . 2535 ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน  ( ม .11(1)) ส่งรายงานเป้าหมายและแผน  ( ม .11(4)) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่  17  ก . ค . 2540 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่  3  เม . ย . 2535
พรบ . การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . 2535 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามกฎหมาย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การอนุรักษ์พลังงานจะสำเร็จได้ต้องประกอบด้วย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน  ( ฉบับที่  2)  พ . ศ . 2550 ,[object Object],[object Object]
การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน ,[object Object],1. จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน  ( ผชอ . /  ผชร .) คุณสมบัติ  /  หน้าที่ ผชอ .,  ผชร . 2. การบันทึก การส่งข้อมูลการใช้พลังงาน และการอนุรักษ์พลังงาน  ( บพอ .1, 2 /  บพร .1, 2) 3. การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน 4. การตรวจสอบ วิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมาย และแผนฯ หน้าที่ของเจ้าของอาคาร  /  โรงงานควบคุม กฎหมายใหม่ หน้าที่ของเจ้าของอาคาร  /  โรงงานควบคุม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน  ( ต่อ ) ,[object Object],1. การส่งข้อมูล  /  บันทึกการใช้พลังงานและอนุรักษ์ พลังงาน 2. การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน และการตรวจสอบปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนฯ 3. มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในอาคารควบคุม 4. ไม่มี กฎกระทรวงใหม่ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
โครงสร้างกฎหมายใหม่ พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน  พ . ศ . 2535 ผู้ตรวจสอบพลังงาน มาตรฐานการออกแบบอาคาร พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม กฎกระทรวง มาตรฐานการจัดการพลังงาน คุณสมบัติผู้รับผิดชอบพลังงาน มาตรฐานการออกแบบอาคาร มาตรฐานด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงานในเครื่องจักร อุปกรณ์  กำหนดวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่  12  ธ . ค . 2538 คุณสมบัติผู้ตรวจสอบพลังงาน พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน  ( ฉบับที่  2)  พ . ศ . 2550 การจัดการพลังงาน  ( ม .9(1)) ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน  ( ม .9(2)) กำหนดมาตรฐานด้านประสิทธิภาพ  ( ขั้นต่ำ / สูง ) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่  17  ก . ค . 2540 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่  3  เม . ย . 2535 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่  1  มิ . ย . 2551
กฎกระทรวงการจัดการพลังงาน   ( ใหม่ ) ข้อกำหนด  1. เจ้าของอาคาร  /  โรงงานควบคุมต้องดำเนินการจัดการพลังงาน ดังต่อไปนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กฎกระทรวงการจัดการพลังงาน  ( ต่อ ) 2. ส่งรายงานผลการตรวจสอบ  และรับรองการจัดการพลังงาน ให้ พพ .  ภายในมีนาคมของทุกปี 3. การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน  ต้องดำเนินการโดยผู้ตรวจสอบพลังงานที่ขึ้นทะเบียนกับ พพ . ,[object Object],[object Object]
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน  ( ใหม่ ) ข้อกำหนด 1. เจ้าของอาคาร  /  โรงงานควบคุมต้องจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำที่อาคาร  /  โรงงานควบคุม  แต่ละแห่ง   ( ผชอ . /  ผชร .) 2. จำนวน  /  คุณสมบัติ  ผชอ . /  ผชร .  เป็นไปตามขนาดเครื่องวัดไฟฟ้า  /  หม้อแปลงไฟฟ้าของอาคาร  /  โรงงานควบคุม
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน  ( ต่อ ) อาคาร  /  โรงงานควบคุม    3,000  kW    3,530  kVA คุณสมบัติ    3,000  kW    3,530  kVA จำนวนอย่างน้อย  1  คน จำนวนอย่างน้อย  2  คน คนที่  1 คนที่  2 คุณสมบัติ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ผชอ . ผชร .    3,000  kW ,     3,530  kVA ,[object Object]
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน  ( ต่อ ) ข้อกำหนด  : การแจ้งแต่งตั้ง ผชอ . / ผชร . 1. ผชอ . /  ผชร .  ที่ประจำอาคาร  /  โรงงานควบคุมอยู่เดิมให้เป็น ผชอ . /  ผชร .  ประจำอาคาร  /  โรงงานควบคุมนั้นต่อไปได้ 2. อาคาร  /  โรงงานควบคุม ขนาด     3,000  kW /     3,530  kVA  ที่เกิดหลังกฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ต้องแจ้งแต่งตั้ง ผชอ . /  ผชร .  ภายใน  180  วัน นับแต่วันที่เป็นอาคาร  /  โรงงานควบคุม 3. อาคาร  /  โรงงานควบคุมขนาด     3,000  kW /     3,530  kVA  ต้องแจ้งแต่งตั้ง ผชอ . /  ผชร .  ภายใน  1  ปี นับแต่วันที่กฎกระทรวงมีผลใช้บังคับ หรือ วันที่เป็นอาคาร  /  โรงงานควบคุม
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน  ( ต่อ ) 4. กรณีเปลี่ยน ผชอ . /  ผชร .  ใหม่ ต้องแจ้งเปลี่ยน ผชอ . /  ผชร .  ทั้งคนเก่าและคนใหม่ต่อ พพ . 5. การแจ้งแต่งตั้ง ผชอ . /  ผชร .  ให้แจ้งตามแบบแต่งตั้งตามที่ พพ .  กำหนด
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน  ( ต่อ ) วิธีการส่ง  : 1. ส่งด้วยตนเองที่หน่วยลูกค้าสัมพันธ์  พพ .  อาคาร  8  ชั้น  1 2. ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปที่  พพ . หน้าที่ของ ผชอ . /  ผชร .  : 1. บำรุงรักษาและตรวจสอบประสิทธิภาพเครื่องจักร อุปกรณ์ 2. ปรับปรุงวิธีการใช้พลังงานให้อนุรักษ์พลังงาน 3. ช่วยเจ้าของอาคาร  /  โรงงานควบคุมดำเนินการจัดการพลังงาน 4. ช่วยเจ้าของอาคาร  /  โรงงานควบคุมปฏิบัติตามมาตรา  10
กระทรวงการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน  ( ใหม่ ) ข้อกำหนด   : ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กฎกระทรวงการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน  ( ต่อ ) 3. การใช้พลังงานรวม 4. การใช้พลังงานหมุนเวียนในระบบต่างๆ ของอาคาร 5. แบบอาคารที่ยื่นก่อนกฎกระทรวงนี้มีผลบังคับใช้  ให้ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้
กฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน  ( ใหม่ ) หน้าที่ผู้ตรวจสอบพลังงาน  : ,[object Object],ผู้มีสิทธิเป็นผู้ตรวจสอบพลังงาน  : 1. นิติบุคคลไทย  มีวัตถุประสงค์ประกอบธุรกิจ  หรือให้บริการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน  หรือการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการใช้และการผลิตพลังงาน 2. สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา 3. หน่วยงานภาครัฐ
ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน  ( ต่อ ) คุณสมบัติ  จำนวนบุคลากรของผู้ตรวจสอบพลังงาน  : ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน  ( ต่อ ) เงื่อนไข  : 1. ต้องไม่เป็นผู้ชำนาญการและผู้ช่วยให้กับผู้ตรวจสอบพลังงานรายอื่น 2. ต้องไม่เป็นบุคลากรประจำของโรงงาน  /  อาคารควบคุม ที่เข้าไปดำเนินการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน 3. ผู้ชำนาญการตรวจสอบพลังงาน สามารถตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กับโรงงาน  /  อาคารควบคุม ไม่เกิน  30  แห่ง ในแต่ละรอบของการตรวจสอบ 4. การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานแต่ละแห่ง  ต้องประกอบ ด้วยผู้ชำนาญการอย่างน้อย  1  คน ผู้ช่วยอย่างน้อย  2  คน 5. ผู้ตรวจสอบพลังงานมีอายุ  3  ปี
ตอบข้อซักถาม

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
Phattarawan Wai
 
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
native
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
Tatthep Deesukon
 

What's hot (20)

ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
AnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titrationAnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titration
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
ใบความรู้ เรื่องตรีโกณมิติ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
Polymer and lipid
Polymer and lipidPolymer and lipid
Polymer and lipid
 
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7 ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 

Similar to กฎกระทรวงใหม่

เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
nuchida suwapaet
 
C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1
maebchanthuk
 

Similar to กฎกระทรวงใหม่ (8)

SAVE WORLD SAVE ENERGY
SAVE WORLD SAVE ENERGYSAVE WORLD SAVE ENERGY
SAVE WORLD SAVE ENERGY
 
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงานกรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
 
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงานกรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
 
กฟภ 1
กฟภ 1กฟภ 1
กฟภ 1
 
C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1
 
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
 
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงานประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
 

กฎกระทรวงใหม่

  • 1. การปรับปรุงกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน ( พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ( ฉบับที่ 2) พ . ศ . 2550) สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
  • 2. โครงสร้างกฎหมาย กฎกระทรวง มาตรฐานการ อนุรักษ์พลังงานในโรงงาน ส่งข้อมูล / บันทึกข้อมูล ( อาคาร / โรงงาน ) กำหนดเป้าหมายและแผน อนุรักษ์พลังงาน ( อาคาร / โรงงาน ) มาตรฐานการ อนุรักษ์พลังงานในอาคาร ยังไม่มีการประกาศใช้ - ส่งข้อมูลทุก 6 เดือน - บันทึกข้อมูล นำผลมารายงานใน บพอ .1/ บพร .1 เจ้าของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุม ดำเนินการอนุรักษ์พลังงานให้เป็นไปตามมาตรฐาน - ตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติ ตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน ( บพอ .1/ บพร .1) - ส่งเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน วิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนฯ ( ม .11(5)) บันทึก / ส่งข้อมูลการใช้พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน ( ม .11(2),(3)) พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ . ค . 2538 พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . 2535 ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ( ม .11(1)) ส่งรายงานเป้าหมายและแผน ( ม .11(4)) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก . ค . 2540 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 3 เม . ย . 2535
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9. โครงสร้างกฎหมายใหม่ พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ . ศ . 2535 ผู้ตรวจสอบพลังงาน มาตรฐานการออกแบบอาคาร พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม กฎกระทรวง มาตรฐานการจัดการพลังงาน คุณสมบัติผู้รับผิดชอบพลังงาน มาตรฐานการออกแบบอาคาร มาตรฐานด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงานในเครื่องจักร อุปกรณ์ กำหนดวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ . ค . 2538 คุณสมบัติผู้ตรวจสอบพลังงาน พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ( ฉบับที่ 2) พ . ศ . 2550 การจัดการพลังงาน ( ม .9(1)) ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ( ม .9(2)) กำหนดมาตรฐานด้านประสิทธิภาพ ( ขั้นต่ำ / สูง ) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก . ค . 2540 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 3 เม . ย . 2535 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ . ย . 2551
  • 10.
  • 11.
  • 12. กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ( ใหม่ ) ข้อกำหนด 1. เจ้าของอาคาร / โรงงานควบคุมต้องจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำที่อาคาร / โรงงานควบคุม แต่ละแห่ง ( ผชอ . / ผชร .) 2. จำนวน / คุณสมบัติ ผชอ . / ผชร . เป็นไปตามขนาดเครื่องวัดไฟฟ้า / หม้อแปลงไฟฟ้าของอาคาร / โรงงานควบคุม
  • 13.
  • 14. กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ( ต่อ ) ข้อกำหนด : การแจ้งแต่งตั้ง ผชอ . / ผชร . 1. ผชอ . / ผชร . ที่ประจำอาคาร / โรงงานควบคุมอยู่เดิมให้เป็น ผชอ . / ผชร . ประจำอาคาร / โรงงานควบคุมนั้นต่อไปได้ 2. อาคาร / โรงงานควบคุม ขนาด  3,000 kW /  3,530 kVA ที่เกิดหลังกฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ต้องแจ้งแต่งตั้ง ผชอ . / ผชร . ภายใน 180 วัน นับแต่วันที่เป็นอาคาร / โรงงานควบคุม 3. อาคาร / โรงงานควบคุมขนาด  3,000 kW /  3,530 kVA ต้องแจ้งแต่งตั้ง ผชอ . / ผชร . ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่กฎกระทรวงมีผลใช้บังคับ หรือ วันที่เป็นอาคาร / โรงงานควบคุม
  • 15. กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ( ต่อ ) 4. กรณีเปลี่ยน ผชอ . / ผชร . ใหม่ ต้องแจ้งเปลี่ยน ผชอ . / ผชร . ทั้งคนเก่าและคนใหม่ต่อ พพ . 5. การแจ้งแต่งตั้ง ผชอ . / ผชร . ให้แจ้งตามแบบแต่งตั้งตามที่ พพ . กำหนด
  • 16. กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ( ต่อ ) วิธีการส่ง : 1. ส่งด้วยตนเองที่หน่วยลูกค้าสัมพันธ์ พพ . อาคาร 8 ชั้น 1 2. ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปที่ พพ . หน้าที่ของ ผชอ . / ผชร . : 1. บำรุงรักษาและตรวจสอบประสิทธิภาพเครื่องจักร อุปกรณ์ 2. ปรับปรุงวิธีการใช้พลังงานให้อนุรักษ์พลังงาน 3. ช่วยเจ้าของอาคาร / โรงงานควบคุมดำเนินการจัดการพลังงาน 4. ช่วยเจ้าของอาคาร / โรงงานควบคุมปฏิบัติตามมาตรา 10
  • 17.
  • 18. กฎกระทรวงการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ( ต่อ ) 3. การใช้พลังงานรวม 4. การใช้พลังงานหมุนเวียนในระบบต่างๆ ของอาคาร 5. แบบอาคารที่ยื่นก่อนกฎกระทรวงนี้มีผลบังคับใช้ ให้ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้
  • 19.
  • 20.
  • 21. ร่างกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน ( ต่อ ) เงื่อนไข : 1. ต้องไม่เป็นผู้ชำนาญการและผู้ช่วยให้กับผู้ตรวจสอบพลังงานรายอื่น 2. ต้องไม่เป็นบุคลากรประจำของโรงงาน / อาคารควบคุม ที่เข้าไปดำเนินการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน 3. ผู้ชำนาญการตรวจสอบพลังงาน สามารถตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กับโรงงาน / อาคารควบคุม ไม่เกิน 30 แห่ง ในแต่ละรอบของการตรวจสอบ 4. การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานแต่ละแห่ง ต้องประกอบ ด้วยผู้ชำนาญการอย่างน้อย 1 คน ผู้ช่วยอย่างน้อย 2 คน 5. ผู้ตรวจสอบพลังงานมีอายุ 3 ปี