SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
ความหมายของอินเทอร์เน็ต
             ความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
                     ข้อดีของอินเทอร์เน็ต
                 ข้อจากัดของอินเทอร์เน็ต
ความหมายของอินเทอร์เน็ต
         อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยง
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย
 ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission
 Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ต
 สามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้นิยมใช้
 โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด
ความหมายของอินเทอร์เน็ต
           อินเทอร์เน็ตจึงมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบ WAN แต่มีโครงสร้างการ
 ทางานที่แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ WAN เป็นเครือข่ายที่ถูกสร้างโดย
 องค์กรๆ เดียวหรือกลุ่มองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบที่รับผิดชอบ
 แน่นอน แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์นับล้านๆ เครื่องแบบไม่ถาวร
 ขึ้นอยู่กับเวลานั้นๆ ว่าใครต้องการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตบ้าง ใครจะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้ จึง
 ทาให้ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้งระบบ
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
            อินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถือกาเนิดเมื่อประมาณ 30 ปีที่แล้ว ถือกาเนิด
  ขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทางทหารของสหรัฐอเมริกา ชื่อ
  ว่า ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็นผู้คิดค้นระบบขึ้นมา
  มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ายที่ไม่มีวันตายแม้จะมีสงคราม ระบบการสื่อสารถูก
  ทาลาย หรือตัดขาด แต่ระบบเครือข่ายแบบนี้ยังทางานได้ ซึ่งระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการส่งข้อมูลใน
  รูปของคลื่นไมโครเวฟ ฝ่ายวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ตเวิร์กขึ้นมา เรียกว่า ARPAnet
  ย่อมาจากคาว่า Advance Research Project Agency net ซึ่งประสบความสาเร็จ
  และได้รับความนิยมในหมู่ของหน่วยงานทหาร องค์กร รัฐบาล และสถาบันการศึกษาต่างๆ เป็น
  อย่างมาก
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
   ระบบเครือข่ายแบบเดิม   ระบบเครือข่ายแบบใหม่ที่ติดต่อกันได้อย่างอิสระ
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
           การเชื่อมต่อในภาพแรกแบบเดิม ถ้าระบบเครือข่ายถูกตัดขาด ระบบก็จะเสียหายและทาให้
  การเชื่อมต่อขาดออกจากกัน แต่ในเครือข่ายแบบใหม่ แม้ว่าระบบเครือข่ายหนึ่งถูกตัดขาด เครือข่ายก็
  ยังดาเนินไปได้ไม่เสียหาย เพราะโดยตัวระบบก็หาช่องทางอืนเชื่อมโยงกันจนได้
                                                           ่
           ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบความสาเร็จ ก็มีองค์กรมหาวิทยาลัยต่างๆ ให้ความ
  สนใจเข้ามาร่วมในโครงข่ายมากขึ้น โดยเน้นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Mail )
  ระหว่างกันเป็นหลัก ต่อมาก็ได้ขยายการบริการไปถึงการส่งแฟ้มข้อมูลข่าวสารและส่งข่าวสารความรู้
  ทั่วไป แต่ไม่ได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เน้นการให้บริการด้านวิชาการเป็นหลัก
           ปี พ.ศ. 2523 คนทั่วไปเริ่มสนใจอินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีการนาอินเทอร์เน็ตมาใช้ในเชิง
  พาณิชย์ มีการทาธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต บริษัท ห้างร้านต่างๆ ก็เข้าร่วมเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมากขึ้น
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
           ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ในลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็ก
 ทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต
 หาดใหญ่ (Prince of Songkla University) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถาบันเอไอที (AIT)
 ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย (โครงการ IDP) ซึ่งเป็นการติดต่อเชื่อมโยง
 โดยสายโทรศัพท์ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่
 อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อนเทอร์เน็ต Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเทอร์เน็ตแห่งแรก
                                           ิ
 ของประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC (Thailand) จากัดได้ขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตเพื่อใช้
 ประโยชน์ภายในของบริษัท โดยได้รับที่อยู่อนเทอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คา “th” เป็นส่วนที่เรียกว่า
                                             ิ
 โดเมน (Domain) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยย่อมาจากคาว่า
 Thailand กล่าวได้ว่าการใช้งานอินเทอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ชั่วโมง ในประเทศไทยเกิดขึ้นเป็นครั้ง
 แรกเมื่อเดือน กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสาร
 ความเร็ว 9600 บิตต่อวินาที จากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตที่บริษัท ยูยเู น็ต
 เทคโนโลยี (UUNET Technologies) ประเทศสหรัฐอเมริกา
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
         ในปีเดียวกัน ได้มีหน่วยงานที่เชื่อมต่อแบบออนไลน์กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผ่านจุฬาลงกรณ์
 มหาวิทยาลัย หลายแห่งด้วยกัน ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบัน
 เทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
 บริหารธุรกิจ โดยเรียกเครือข่ายนี้ว่าเครือข่าย “ไทยเน็ต” (THAInet) ซึ่งนับเป็นเครือข่ายที่มี “ เกตเวย์ “
 (Gateway) หรือประตูสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นแห่งแรกของประเทศไทย (ปัจจุบันเครือข่ายไทยเน็ต
 ประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 4 แห่งเท่านัน ส่วนใหญ่ยายการเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ตโดยผ่านเนคเทค
                                              ้          ้
 (NECTEC) หรือศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ)
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
         ปี พ.ศ. 2535 เช่นกัน เป็นปีเริ่มต้นของการจัดตั้ง
 กลุ่มจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษาและวิจัยโดยมีชื่อว่า
 "เอ็นดับเบิลยูจี" (NWG : NECTEC E-mail Working
 Group) โดยการดูแลของเนคเทค และได้จัดตั้งเครือข่ายชื่อ
 ว่า "ไทยสาร" (ThaiSarn : Thai Social/Scientific
 Academic and Research Network) เพื่อการ
 ติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน โดย
 เริ่มแรกประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 8 แห่ง ปัจจุบัน
 เครือข่ายไทยสารเชื่อมโยงกับสถาบันต่างๆ กว่า 30 แห่ง
 ทั้งสถาบันการศึกษาและหน่วยงานของรัฐ
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
       ปัจจุบันได้มีผู้รู้จักและใช้อินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีอัตราการเติบโต
 มากกว่า 100 % สมาชิกของอินเทอร์เน็ตขยายจากอาจารย์และนิสิต
 นักศึกษาในระดับอุดมศึกษาไปสู่ประชาชนทั่วไป
ข้อดีของอินเทอร์เน็ต
 ค้นคว้าข้อมูลในลักษณะต่างๆ เช่น งานวิจย บทความในหนังสือพิมพ์ ความก้าวหน้าทางการแพทย์ ฯลฯ ได้จากแหล่งข้อมูลทั ่วโลก เช่น ห้องสมุด
                                        ั
    สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจย โดยไม่ตองเสียค่าใช้จ่ายและเสียเวลาในการเดินทางและสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา 24 ชั ่วโมง
                                         ั            ้
   ติดตามความเคลื่อนไหวต่างๆ ทั ่วโลกได้อย่างรวดเร็วจากการรายงานข่าวของสานักข่าวต่างๆ อยู่ รวมทังอ่านบทความเรื่องราวทีลงในนิตยสาร
                                                                                                      ้                    ่
    หรือวารสารต่างๆ ได้ฟรีโดยมีทงข้อความและภาพประกอบด้วย
                                      ั้
   รับส่งไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส์ท ั ่วโลกได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ตองเสียเงินค่าตราไปรษณียากร ถึงแม้จะเป็นการส่งข้อความไปต่างประเทศก็ไม่ตอง
                    ์                                             ้                                                                  ้
    เสียเงินเพิมขึนเหมือนการส่งจดหมาย การส่งไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส์น้ีนอกจากจะส่งข้อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยังสามารถส่ง
               ่ ้                                        ์
    แฟ้มภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงพร้อมกันไปได้ดวย        ้
   สนทนากับผูอ่นทีอยูห่างไกลได้ทงในลักษณะการพิมพ์ขอความและเสียง
                 ้ ื ่ ่                 ั้                     ้
                                                                        ั
    ร่วมกลุ่มอภิปรายหรือกลุ่มข่าวเพื่อแสดงความคิดเห็น หรือพูดคุยถกปญหากับผูทสนใจในเรืองเดียวกัน เป็นการขยายวิสยทัศน์ในเรื่องทีสนใจ
                                                                                 ้ ่ี        ่                      ั            ่
    นันๆ
      ้
   ถ่ายโอนแฟ้มข้อความ ภาพ และเสียงจากทีอ่นๆ รวมทังโปรแกรมต่างๆ ได้จากแหล่งทีมผให้บริการ
                                                     ่ ื    ้                         ่ ี ู้
   ตรวจดูราคาสินค้าและสั ่งซือสินค้ารวมทังบริการต่างๆ ได้โดยไม่ตองเสียเวลาเดินทางไปห้างสรรพสินค้า
                              ้                  ้                  ้
                                                  ั
    ให้ความบันเทิงหลายรูปแบบ เช่น การฟงเพลง รายการวิทยุ การชมรายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ รวมไปถึงการแข่งขันเกมกับผูอ่นได้ท ั ่วโลก
                                                                                                                             ้ ื
   ติดประกาศข้อความทีตองการให้ผอ่นทราบได้อย่างทั ่วถึง
                         ่ ้                ู้ ื
   ให้เสรีภาพในการสื่อสารทุกรูปแบบแก่บุคคลทุกคน
ข้อจากัดของอินเทอร์เน็ต
 อินเทอร์เน็ตเป็นข่ายงานขนาดใหญ่ที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ ทุกคนจึงสามารถ
  สร้างเว็บไซด์หรือติดประกาศข้อความได้ทุกเรื่อง บางครั้งข้อความนั้นอาจจะ
  เป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ได้รับการรับรอง เช่น ข้อมูลด้านการแพทย์
  หรือผลการทดลองต่างๆ จึงเป็นวิจารณญาณของผู้อ่านที่จะต้องไตร่ตรอง
  ข้อความที่อ่านนั้นด้วยว่าควรจะเชื่อถือได้หรือไม่
 นักเรียนและเยาวชนอาจติดต่อเข้าไปในเว็บไซด์ที่ไม่เป็นประโยชน์หรืออาจยั่ว
  ยุอารมณ์ ทาให้เป็นอันตรายตัวตัวเองและสังคม

Contenu connexe

Tendances

พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdfพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
RabbitBlock
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
Love Plukkie Zaa
 
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ritthiporn Lekdee
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacyHow to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
Utai Sukviwatsirikul
 

Tendances (20)

Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdfพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.pdf
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผูปวย ที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร...
 
Organizational management concepts posdcorb
Organizational management concepts posdcorbOrganizational management concepts posdcorb
Organizational management concepts posdcorb
 
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ลีลาศ
ลีลาศลีลาศ
ลีลาศ
 
Acne vulgaris treatment & management
Acne vulgaris treatment & managementAcne vulgaris treatment & management
Acne vulgaris treatment & management
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacyHow to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
 

Similaire à ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต

3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
Meaw Sukee
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
อิ่' เฉิ่ม
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
อิ่' เฉิ่ม
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
เขมิกา กุลาศรี
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
Sarocha Makranit
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
Pp'dan Phuengkun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
Chaiwit Khempanya
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
jansaowapa
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Wilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Wilaiporn Seehawong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
Prapatsorn Keawnoun
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
Piyanoot Ch
 

Similaire à ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต (20)

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
Lernning 08
Lernning 08Lernning 08
Lernning 08
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 

ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต

  • 1. ความหมายของอินเทอร์เน็ต ความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ต ความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ข้อดีของอินเทอร์เน็ต ข้อจากัดของอินเทอร์เน็ต
  • 2. ความหมายของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ต สามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้นิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด
  • 3. ความหมายของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตจึงมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบ WAN แต่มีโครงสร้างการ ทางานที่แตกต่างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ WAN เป็นเครือข่ายที่ถูกสร้างโดย องค์กรๆ เดียวหรือกลุ่มองค์กร เพื่อวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหนึ่ง และมีผู้ดูแลระบบที่รับผิดชอบ แน่นอน แต่อินเทอร์เน็ตจะเป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์นับล้านๆ เครื่องแบบไม่ถาวร ขึ้นอยู่กับเวลานั้นๆ ว่าใครต้องการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตบ้าง ใครจะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้ จึง ทาให้ระบบอินเทอร์เน็ตไม่มีผู้ใดรับผิดชอบหรือดูแลทั้งระบบ
  • 4. ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถือกาเนิดเมื่อประมาณ 30 ปีที่แล้ว ถือกาเนิด ขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทางทหารของสหรัฐอเมริกา ชื่อ ว่า ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็นผู้คิดค้นระบบขึ้นมา มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ายที่ไม่มีวันตายแม้จะมีสงคราม ระบบการสื่อสารถูก ทาลาย หรือตัดขาด แต่ระบบเครือข่ายแบบนี้ยังทางานได้ ซึ่งระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการส่งข้อมูลใน รูปของคลื่นไมโครเวฟ ฝ่ายวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ตเวิร์กขึ้นมา เรียกว่า ARPAnet ย่อมาจากคาว่า Advance Research Project Agency net ซึ่งประสบความสาเร็จ และได้รับความนิยมในหมู่ของหน่วยงานทหาร องค์กร รัฐบาล และสถาบันการศึกษาต่างๆ เป็น อย่างมาก
  • 5. ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายแบบเดิม ระบบเครือข่ายแบบใหม่ที่ติดต่อกันได้อย่างอิสระ
  • 6. ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต การเชื่อมต่อในภาพแรกแบบเดิม ถ้าระบบเครือข่ายถูกตัดขาด ระบบก็จะเสียหายและทาให้ การเชื่อมต่อขาดออกจากกัน แต่ในเครือข่ายแบบใหม่ แม้ว่าระบบเครือข่ายหนึ่งถูกตัดขาด เครือข่ายก็ ยังดาเนินไปได้ไม่เสียหาย เพราะโดยตัวระบบก็หาช่องทางอืนเชื่อมโยงกันจนได้ ่ ในระยะแรก เมื่อ ARPAnet ประสบความสาเร็จ ก็มีองค์กรมหาวิทยาลัยต่างๆ ให้ความ สนใจเข้ามาร่วมในโครงข่ายมากขึ้น โดยเน้นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Mail ) ระหว่างกันเป็นหลัก ต่อมาก็ได้ขยายการบริการไปถึงการส่งแฟ้มข้อมูลข่าวสารและส่งข่าวสารความรู้ ทั่วไป แต่ไม่ได้ใช้ในเชิงพาณิชย์ เน้นการให้บริการด้านวิชาการเป็นหลัก ปี พ.ศ. 2523 คนทั่วไปเริ่มสนใจอินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีการนาอินเทอร์เน็ตมาใช้ในเชิง พาณิชย์ มีการทาธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต บริษัท ห้างร้านต่างๆ ก็เข้าร่วมเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมากขึ้น
  • 7. ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตในปี พ.ศ. 2530 ในลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็ก ทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ (Prince of Songkla University) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถาบันเอไอที (AIT) ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย (โครงการ IDP) ซึ่งเป็นการติดต่อเชื่อมโยง โดยสายโทรศัพท์ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อนเทอร์เน็ต Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเทอร์เน็ตแห่งแรก ิ ของประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2534 บริษัท DEC (Thailand) จากัดได้ขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตเพื่อใช้ ประโยชน์ภายในของบริษัท โดยได้รับที่อยู่อนเทอร์เน็ตเป็น dect.co.th โดยที่คา “th” เป็นส่วนที่เรียกว่า ิ โดเมน (Domain) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงโซนของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยย่อมาจากคาว่า Thailand กล่าวได้ว่าการใช้งานอินเทอร์เน็ตชนิดเต็มรูปแบบตลอด 24 ชั่วโมง ในประเทศไทยเกิดขึ้นเป็นครั้ง แรกเมื่อเดือน กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2535 โดยสถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสาร ความเร็ว 9600 บิตต่อวินาที จากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตที่บริษัท ยูยเู น็ต เทคโนโลยี (UUNET Technologies) ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 8. ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ในปีเดียวกัน ได้มีหน่วยงานที่เชื่อมต่อแบบออนไลน์กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผ่านจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย หลายแห่งด้วยกัน ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ บริหารธุรกิจ โดยเรียกเครือข่ายนี้ว่าเครือข่าย “ไทยเน็ต” (THAInet) ซึ่งนับเป็นเครือข่ายที่มี “ เกตเวย์ “ (Gateway) หรือประตูสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นแห่งแรกของประเทศไทย (ปัจจุบันเครือข่ายไทยเน็ต ประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 4 แห่งเท่านัน ส่วนใหญ่ยายการเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ตโดยผ่านเนคเทค ้ ้ (NECTEC) หรือศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ)
  • 9. ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2535 เช่นกัน เป็นปีเริ่มต้นของการจัดตั้ง กลุ่มจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษาและวิจัยโดยมีชื่อว่า "เอ็นดับเบิลยูจี" (NWG : NECTEC E-mail Working Group) โดยการดูแลของเนคเทค และได้จัดตั้งเครือข่ายชื่อ ว่า "ไทยสาร" (ThaiSarn : Thai Social/Scientific Academic and Research Network) เพื่อการ ติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน โดย เริ่มแรกประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 8 แห่ง ปัจจุบัน เครือข่ายไทยสารเชื่อมโยงกับสถาบันต่างๆ กว่า 30 แห่ง ทั้งสถาบันการศึกษาและหน่วยงานของรัฐ
  • 10. ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปัจจุบันได้มีผู้รู้จักและใช้อินเทอร์เน็ตมากขึ้น มีอัตราการเติบโต มากกว่า 100 % สมาชิกของอินเทอร์เน็ตขยายจากอาจารย์และนิสิต นักศึกษาในระดับอุดมศึกษาไปสู่ประชาชนทั่วไป
  • 11. ข้อดีของอินเทอร์เน็ต  ค้นคว้าข้อมูลในลักษณะต่างๆ เช่น งานวิจย บทความในหนังสือพิมพ์ ความก้าวหน้าทางการแพทย์ ฯลฯ ได้จากแหล่งข้อมูลทั ่วโลก เช่น ห้องสมุด ั สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจย โดยไม่ตองเสียค่าใช้จ่ายและเสียเวลาในการเดินทางและสามารถสืบค้นได้ตลอดเวลา 24 ชั ่วโมง ั ้  ติดตามความเคลื่อนไหวต่างๆ ทั ่วโลกได้อย่างรวดเร็วจากการรายงานข่าวของสานักข่าวต่างๆ อยู่ รวมทังอ่านบทความเรื่องราวทีลงในนิตยสาร ้ ่ หรือวารสารต่างๆ ได้ฟรีโดยมีทงข้อความและภาพประกอบด้วย ั้  รับส่งไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส์ท ั ่วโลกได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ตองเสียเงินค่าตราไปรษณียากร ถึงแม้จะเป็นการส่งข้อความไปต่างประเทศก็ไม่ตอง ์ ้ ้ เสียเงินเพิมขึนเหมือนการส่งจดหมาย การส่งไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส์น้ีนอกจากจะส่งข้อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยังสามารถส่ง ่ ้ ์ แฟ้มภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงพร้อมกันไปได้ดวย ้  สนทนากับผูอ่นทีอยูห่างไกลได้ทงในลักษณะการพิมพ์ขอความและเสียง ้ ื ่ ่ ั้ ้  ั ร่วมกลุ่มอภิปรายหรือกลุ่มข่าวเพื่อแสดงความคิดเห็น หรือพูดคุยถกปญหากับผูทสนใจในเรืองเดียวกัน เป็นการขยายวิสยทัศน์ในเรื่องทีสนใจ ้ ่ี ่ ั ่ นันๆ ้  ถ่ายโอนแฟ้มข้อความ ภาพ และเสียงจากทีอ่นๆ รวมทังโปรแกรมต่างๆ ได้จากแหล่งทีมผให้บริการ ่ ื ้ ่ ี ู้  ตรวจดูราคาสินค้าและสั ่งซือสินค้ารวมทังบริการต่างๆ ได้โดยไม่ตองเสียเวลาเดินทางไปห้างสรรพสินค้า ้ ้ ้  ั ให้ความบันเทิงหลายรูปแบบ เช่น การฟงเพลง รายการวิทยุ การชมรายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ รวมไปถึงการแข่งขันเกมกับผูอ่นได้ท ั ่วโลก ้ ื  ติดประกาศข้อความทีตองการให้ผอ่นทราบได้อย่างทั ่วถึง ่ ้ ู้ ื  ให้เสรีภาพในการสื่อสารทุกรูปแบบแก่บุคคลทุกคน
  • 12. ข้อจากัดของอินเทอร์เน็ต  อินเทอร์เน็ตเป็นข่ายงานขนาดใหญ่ที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ ทุกคนจึงสามารถ สร้างเว็บไซด์หรือติดประกาศข้อความได้ทุกเรื่อง บางครั้งข้อความนั้นอาจจะ เป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ได้รับการรับรอง เช่น ข้อมูลด้านการแพทย์ หรือผลการทดลองต่างๆ จึงเป็นวิจารณญาณของผู้อ่านที่จะต้องไตร่ตรอง ข้อความที่อ่านนั้นด้วยว่าควรจะเชื่อถือได้หรือไม่  นักเรียนและเยาวชนอาจติดต่อเข้าไปในเว็บไซด์ที่ไม่เป็นประโยชน์หรืออาจยั่ว ยุอารมณ์ ทาให้เป็นอันตรายตัวตัวเองและสังคม