SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลอง
การทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้เช่น การจุด
ระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และ
แนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่ง
อาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งการจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้
ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ
ได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี
ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่อง
พฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น
ตัวย่างหัวข้อโครงงานประเภท “การทดลองทฤษฏี”
โครงงานประเภทการพัฒนาหรือ
การประดิษฐ์
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ทฤษฎีหรือ
ทักษะทางงานไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ มาประดิษฐ์เครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ เพื่อประโยชน์ใช้สอยต่างๆ เพื่ออานวยความ
สะดวกแก่มนุษย์อาจคิดประดิษฐ์ของใหม่ๆ หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูง
ขึ้น ซึ่งมีลักษณะของโครงงานที่้ต้องการกาหนดตัวแปรที่ต้องศึกษา เหมือนกับ โครงงานปรเภททดลอง
แต่ผลของโครงงานประเภทนี้จะได้อุปกรณ์ หรือสิ่งประดิษฐ์ และมีข้อมูลต่างๆ ประกอบซึ่งต่างจาก
โครงงาน
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ส่วนใหญ่จะกาหนดตัวแปรที่จะศึกษา ดังนี้
ตัวแปรต้น ส่วนใหญ่จะศึกษาในด้านรูปทรง หรือ โครงสร้างที่
เหมาะสมของสิ่งประดิษฐ์ ชนิดของ
วัสดุที่เหมาะสมในการทาสิ่งประดิษฐ์
ตัวแปรตาม ส่วนใหญ่จะวัดได้คุณภาพของสิ่งประดิษฐ์ ซึ่งกาหนด
เกณฑ์การวัดต่างๆ กันออกไป
ตามชนิดของการประดิษฐ์
ส่วนตัวแปรที่ต้องควบคุมนั้น จะควบคุมในสิ่งที่จะทาให้ผลการวัดตัว
แปรตามคลาดเคลื่อน จะควบ
คุมอะไรบ้างนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งประดิษฐ์
โครงงานประเภทนี้ อาจจะมีลักษณะเป็นแบบจาลองได้แต่ต้องแสดง
ให้เห็นการทางาน ของแบบ
จาลองนั้นจริงๆ ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ นอกจากจะมีข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการศึกษาทดลอง
ขั้นต้น เพื่อนามาใช้ประกอบในการทาสิ่งประดิษฐ์และมีการวัดประสิทธิภาพของ สิ่งประดิษฐ์แล้งยังมี
สิ่งประดิษฐที่ใช้งานได้จริงๆ หรือแบบจาลองที่แสดงการทางานได้ซึ่งมองเห็นประโยชน์ของการ
นาไปใช้ได้ชัดเจน จึงเป็นโครงงานที่เหมาะสมกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่น่าสนใจ
ตัวอย่างของโครงงานประเภทพัฒนาหรือการประดิษฐ์
จุดหลอด FL ด้วยถ่านไฟฉาย
สัญญาณเตือนภัยอัตโนมัติ
สัญญาณไฟกระพริบ LED 2 สี 2 ดวง
อ้างอิง http://computer607.blogspot.com/2012/08/6.html
http://www.thaigoodview.com
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงานที่ใช้
คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์
สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์
สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือ
อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิม
ที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการ
ของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมี
การทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความ
สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม
และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างโครงงาน
ชื่อโครงงาน การศึกษา Computer Generated
Hologram และ การประยุกต์ใช้งานอย่างง่าย ชื่อ
ผู้ทาโครงงาน นายไพโรจน์ ศิรินามารัตนะ ชื่อ
อาจารย์ที่ปรึกษา ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญญา
แก้ว สถาบันการศึกษา นิสิตระดับปริญญาตรีปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญา
ตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การ
ถ่ายภาพ hologram ด้วยแสงเลเซอร์ (Laser hologram) คือ การบันทึกรูปแบบการแทรกสอด
(Interference pattern) ของแสง 2 ขบวน คือ แสงที่มาจากวัตถุ (Object beam) กับ แสงอ้างอิง
(Reference beam) ลงบนrecording medium โดยการฉายแสงอ้างอิง ที่ตาแหน่งเดิมกับ recording
medium อีกครั้งหนึ่ง ก็จะสามารถเห็นภาพวัตถุเป็นแบบ 3 มิติได้
จากการศึกษาการเกิดภาพ 3 มิติ ด้วยวิธีข้างต้น เกิดจากการที่แสงอ้างอิงผ่าน recording
medium โดยอาศัยหลักการแทรกสอดและเลี้ยวเบนของแสง เมื่อเรารู้ว่าแสงอ้างอิงมีลักษณะ
อย่างไร และเราต้องการวัตถุ 3 มิติแบบไหน เราก็จะจะสามารถคานวณรูปแบบการแทรกสอด
บน recording medium, นั้นได้จากนั้นก็สามารถสร้างรูปแบบการแทรกสอดที่เราคานวณได้ด้วย
วิธี Laser writing หรือ electron Lithography เป็นต้น ซึ่งhologram ที่ได้นี้ถูกเรียกว่า Computer
Generated Hologram (CGH)
การประยุกต์ใช้งาน CGH ที่เห็นได้ชัดก็เช่น การสร้างภาพ 3D holographic Television ซึ่งการ
คานวณ Interference pattern และการ lithographyเพื่อให้ได้ภาพ 3D ที่ชัดเจนเป็นสิ่งที่ทายาก
ส่วนที่ง่ายลงมาก็คือการใช้CGH ในการบังคับลาแสงให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยอาจทา
เป็น Lens รวมแสง,กระจายแสงให้เป็นรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถนาประยุกต์ใช้งาน
เป็น Holographic transmitterใน Optical Wireless LANS Systemหรือการทา Holographic Solar
Concentrator เป็นต้น
อ้างอิง http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7
http://www.slideshare.net/Zikkapoo/ss-13963683
http://www.vcharkarn.com/project/view/689
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้
หรือเพื่อความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิด
อย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้
น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและ
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็น
เกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ
ตัวอย่างโครงงาน
ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับ
โทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภทMobile
Application ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์โรจน์เรือง
มาศ , นางสาว ศุภิสรา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน
1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูก
พัฒนามาจากโปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย
เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้
งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบการพิมพ์คาศัพท์
แบบเดิมอยู่
โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของ
โปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บน
โทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่ายนั้นผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่อง
เซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพคาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วยหลักการการประมวลผลภาพ
และหาความหมายคาศัพท์นั้นจากฐานข้อมูลคาศัพท์จากนั้นจึงส่งความหมายของคาศัพท์กลับมา
ยังโทรศัพท์มือถือ
Image-based Mobile Dictionary Application is developed from the original application which
users have to type a word to be searched for the meaning. This application is easy to use, a
user only need to capture a void using a digital camera on a mobile phone or type it in. In
addition, its system also offers user-friendly interfaces which users can easily understand once
they have seen it.
Image-based Mobile Dictionary Application consists of two functions; software on a mobile
phone and software on a server. A vocabulary, which is typed or captured by users, is
automatically sent via network to the server. If the input is an image file, the software on the
server will recognize each character using image processing and then search for its meaning
from database list. Afterwards, that vocabulary and its meaning will transfered to the mobile
phone.
อ้างอิง http://www.vcharkarn.com/project/search
http://kruoong.blogspot.com

Contenu connexe

Tendances

ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Lynnie1177
 
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือRevill Noes
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8natnardtaya
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทChanon Saiatit
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8muk Mook
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”namatikan26
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทโปรแกรมประยุกต์gammamcnk
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมJinwara Sriwichai
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Kamonthip Konkaew
 

Tendances (15)

Com project
Com projectCom project
Com project
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่5 โครงงานประเภท พัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
Computer Project
Computer ProjectComputer Project
Computer Project
 
praew
praewpraew
praew
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similaire à ใบงานที่ 6ถึง8

ใบงานที่ 6 duo
ใบงานที่ 6 duoใบงานที่ 6 duo
ใบงานที่ 6 duoChayanit Nontathum
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 6ployprapim
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทChanon Saiatit
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Phakphoom
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทMoomy Momay
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทMoomy Momay
 
ใบงานที่6 เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6  เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏีใบงานที่6  เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6 เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏีRevill Noes
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6bbeammaebb
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6naaikawaii
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Pimnutchaya
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Moo Mild
 
ใบงานท 6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__
ใบงานท   6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__ใบงานท   6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__
ใบงานท 6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__mayuree_jino
 

Similaire à ใบงานที่ 6ถึง8 (20)

ใบงานที่ 6 duo
ใบงานที่ 6 duoใบงานที่ 6 duo
ใบงานที่ 6 duo
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 6
 
6
66
6
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6  เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่6 เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6  เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏีใบงานที่6  เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏี
ใบงานที่6 เรื่องโครงงานประเภท การทดลองทฤษฏี
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานท 6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__
ใบงานท   6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__ใบงานท   6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__
ใบงานท 6 เร__อง โครงงานประเภท _การทดลองทฤษฎ__
 

Plus de Hathaithip Khitsaochum

ใบงานที่ 2 บทความลูกชุบ
ใบงานที่ 2 บทความลูกชุบใบงานที่ 2 บทความลูกชุบ
ใบงานที่ 2 บทความลูกชุบHathaithip Khitsaochum
 
ใบงานที่ 2 บทความ
ใบงานที่ 2 บทความใบงานที่ 2 บทความ
ใบงานที่ 2 บทความHathaithip Khitsaochum
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Hathaithip Khitsaochum
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)Hathaithip Khitsaochum
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Hathaithip Khitsaochum
 

Plus de Hathaithip Khitsaochum (9)

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
History of the world
History of the worldHistory of the world
History of the world
 
ใบงานที่2-5
ใบงานที่2-5ใบงานที่2-5
ใบงานที่2-5
 
ใบงานที่ 2 บทความลูกชุบ
ใบงานที่ 2 บทความลูกชุบใบงานที่ 2 บทความลูกชุบ
ใบงานที่ 2 บทความลูกชุบ
 
ใบงานที่ 2 บทความ
ใบงานที่ 2 บทความใบงานที่ 2 บทความ
ใบงานที่ 2 บทความ
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

ใบงานที่ 6ถึง8

  • 1. ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี” โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลอง การทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้เช่น การจุด ระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และ แนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่ง อาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งการจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ ได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่อง พฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น ตัวย่างหัวข้อโครงงานประเภท “การทดลองทฤษฏี” โครงงานประเภทการพัฒนาหรือ การประดิษฐ์ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ทฤษฎีหรือ ทักษะทางงานไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ มาประดิษฐ์เครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ เพื่อประโยชน์ใช้สอยต่างๆ เพื่ออานวยความ สะดวกแก่มนุษย์อาจคิดประดิษฐ์ของใหม่ๆ หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูง ขึ้น ซึ่งมีลักษณะของโครงงานที่้ต้องการกาหนดตัวแปรที่ต้องศึกษา เหมือนกับ โครงงานปรเภททดลอง แต่ผลของโครงงานประเภทนี้จะได้อุปกรณ์ หรือสิ่งประดิษฐ์ และมีข้อมูลต่างๆ ประกอบซึ่งต่างจาก โครงงาน ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ส่วนใหญ่จะกาหนดตัวแปรที่จะศึกษา ดังนี้ ตัวแปรต้น ส่วนใหญ่จะศึกษาในด้านรูปทรง หรือ โครงสร้างที่
  • 2. เหมาะสมของสิ่งประดิษฐ์ ชนิดของ วัสดุที่เหมาะสมในการทาสิ่งประดิษฐ์ ตัวแปรตาม ส่วนใหญ่จะวัดได้คุณภาพของสิ่งประดิษฐ์ ซึ่งกาหนด เกณฑ์การวัดต่างๆ กันออกไป ตามชนิดของการประดิษฐ์ ส่วนตัวแปรที่ต้องควบคุมนั้น จะควบคุมในสิ่งที่จะทาให้ผลการวัดตัว แปรตามคลาดเคลื่อน จะควบ คุมอะไรบ้างนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งประดิษฐ์ โครงงานประเภทนี้ อาจจะมีลักษณะเป็นแบบจาลองได้แต่ต้องแสดง ให้เห็นการทางาน ของแบบ จาลองนั้นจริงๆ ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ นอกจากจะมีข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการศึกษาทดลอง ขั้นต้น เพื่อนามาใช้ประกอบในการทาสิ่งประดิษฐ์และมีการวัดประสิทธิภาพของ สิ่งประดิษฐ์แล้งยังมี สิ่งประดิษฐที่ใช้งานได้จริงๆ หรือแบบจาลองที่แสดงการทางานได้ซึ่งมองเห็นประโยชน์ของการ นาไปใช้ได้ชัดเจน จึงเป็นโครงงานที่เหมาะสมกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่น่าสนใจ ตัวอย่างของโครงงานประเภทพัฒนาหรือการประดิษฐ์ จุดหลอด FL ด้วยถ่านไฟฉาย สัญญาณเตือนภัยอัตโนมัติ สัญญาณไฟกระพริบ LED 2 สี 2 ดวง อ้างอิง http://computer607.blogspot.com/2012/08/6.html http://www.thaigoodview.com
  • 3. ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงานที่ใช้ คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์ สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์ สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือ อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิม ที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการ ของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมี การทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความ สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโครงงาน ชื่อโครงงาน การศึกษา Computer Generated Hologram และ การประยุกต์ใช้งานอย่างง่าย ชื่อ ผู้ทาโครงงาน นายไพโรจน์ ศิรินามารัตนะ ชื่อ อาจารย์ที่ปรึกษา ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญญา แก้ว สถาบันการศึกษา นิสิตระดับปริญญาตรีปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญา ตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การ ถ่ายภาพ hologram ด้วยแสงเลเซอร์ (Laser hologram) คือ การบันทึกรูปแบบการแทรกสอด (Interference pattern) ของแสง 2 ขบวน คือ แสงที่มาจากวัตถุ (Object beam) กับ แสงอ้างอิง (Reference beam) ลงบนrecording medium โดยการฉายแสงอ้างอิง ที่ตาแหน่งเดิมกับ recording medium อีกครั้งหนึ่ง ก็จะสามารถเห็นภาพวัตถุเป็นแบบ 3 มิติได้ จากการศึกษาการเกิดภาพ 3 มิติ ด้วยวิธีข้างต้น เกิดจากการที่แสงอ้างอิงผ่าน recording medium โดยอาศัยหลักการแทรกสอดและเลี้ยวเบนของแสง เมื่อเรารู้ว่าแสงอ้างอิงมีลักษณะ อย่างไร และเราต้องการวัตถุ 3 มิติแบบไหน เราก็จะจะสามารถคานวณรูปแบบการแทรกสอด
  • 4. บน recording medium, นั้นได้จากนั้นก็สามารถสร้างรูปแบบการแทรกสอดที่เราคานวณได้ด้วย วิธี Laser writing หรือ electron Lithography เป็นต้น ซึ่งhologram ที่ได้นี้ถูกเรียกว่า Computer Generated Hologram (CGH) การประยุกต์ใช้งาน CGH ที่เห็นได้ชัดก็เช่น การสร้างภาพ 3D holographic Television ซึ่งการ คานวณ Interference pattern และการ lithographyเพื่อให้ได้ภาพ 3D ที่ชัดเจนเป็นสิ่งที่ทายาก ส่วนที่ง่ายลงมาก็คือการใช้CGH ในการบังคับลาแสงให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยอาจทา เป็น Lens รวมแสง,กระจายแสงให้เป็นรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถนาประยุกต์ใช้งาน เป็น Holographic transmitterใน Optical Wireless LANS Systemหรือการทา Holographic Solar Concentrator เป็นต้น อ้างอิง http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7 http://www.slideshare.net/Zikkapoo/ss-13963683 http://www.vcharkarn.com/project/view/689
  • 5. ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์” โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ หรือเพื่อความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิด อย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้ น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็น เกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ ตัวอย่างโครงงาน ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับ โทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภทMobile Application ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์โรจน์เรือง มาศ , นางสาว ศุภิสรา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูก พัฒนามาจากโปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้ งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบการพิมพ์คาศัพท์ แบบเดิมอยู่ โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของ โปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บน โทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่ายนั้นผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่อง เซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพคาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วยหลักการการประมวลผลภาพ และหาความหมายคาศัพท์นั้นจากฐานข้อมูลคาศัพท์จากนั้นจึงส่งความหมายของคาศัพท์กลับมา ยังโทรศัพท์มือถือ
  • 6. Image-based Mobile Dictionary Application is developed from the original application which users have to type a word to be searched for the meaning. This application is easy to use, a user only need to capture a void using a digital camera on a mobile phone or type it in. In addition, its system also offers user-friendly interfaces which users can easily understand once they have seen it. Image-based Mobile Dictionary Application consists of two functions; software on a mobile phone and software on a server. A vocabulary, which is typed or captured by users, is automatically sent via network to the server. If the input is an image file, the software on the server will recognize each character using image processing and then search for its meaning from database list. Afterwards, that vocabulary and its meaning will transfered to the mobile phone. อ้างอิง http://www.vcharkarn.com/project/search http://kruoong.blogspot.com