SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
บทสรุ ปสำหรับผู้บริ หำรปี งบประมำณ 2555 (ตุลำคม 2554 – กันยำยน 2555)

        ปี 2555 มี เรื่ องราวและกิ จกรรมมากมายที่ ท าให้ศูนย์ส ารนิ เทศฯ รู ้ สึ กปลาบปลื้ ม และภาคภูมิ ใ จ
เริ่ ม จากการที่ ศู นย์ฯ ได้รับ พระมหากรุ ณาธิ คุ ณจากสมเด็ จพระเทพรั ตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุ ม ารี
พระราชทานของสะสมส่ วนพระองค์จากประเทศโปรตุเกสให้จดแสดงต่อที่สรรพศาสตร์ สโมสร หลังเสร็ จ
                                                 ั
จากการร่ วมแสดงในนิทรรศการเฉลิมฉลองความสัมพันธ์ 500 ปี ไทย-โปรตุเกส ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จัดโดยคณะอักษรศาสตร์
        อีกกิจกรรมหนึ่ งที่จะไม่กล่าวถึงไม่ได้เลย คือ การได้จดเสวนา “น้ อมรำลึก 50 ปี กำรเสด็จพระรำช
                                                             ั
ดำเนิน พระรำชทำนกระแสพระรำชดำรัส เรื่อง ปัญหำกำรใช้ คำไทย” อันเป็ นที่มาของวันภาษาไทยแห่ งชาติ
29 กรกฎาคม ของทุกปี ซึ่งเมื่อ 50 ปี ก่อน ในวันที่ 29 กรกฎาคม 2505 ชุมนุมภาษาไทยคณะอักษรศาสตร์ ได้
                                                             ่ ั
จัดการประชุมประจาเดือนขึ้น ในครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวฯ ได้เสด็จพระราชดาเนิ นมาทรงร่ วม
อภิป รายด้วยพระองค์เอง และในปี 2542 คณะอักษรศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้ดาเนิ นการให้
รั ฐ บาลประกาศให้ ว น ดัง กล่ า วเป็ นวัน ภาษาไทยแห่ ง ชาติ ข้ ึ น นับ แต่ น้ ัน มา ในวาระครบรอบ 50 ปี นี้
                    ั
มหาวิทยาลัยโดยศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ ได้จดเสวนา โดยเชิญคณาจารย์และศิษย์เก่า
                                                          ั
ที่เคยร่ วมอยูในวโรกาสนั้นมาน้อมราลึ กถึ งเหตุการณ์อนยิ่งใหญ่ในวันนั้น ให้คนรุ่ นหลังได้ซาบซึ้ งในพระ
              ่                                     ั
อัจฉริ ย ภาพด้า นภาษาไทยของพระบาทสมเด็ จพระเจ้า อยู่หัว ศู นย์ฯ ได้รับ ความร่ วมมื ออย่า งดี ยิ่ง จาก
คณาจารย์ร่วมสมัย ได้เล่าถึ งความประทับใจไม่รู้ลืมของแต่ละท่านได้อย่างออกรส ทาให้ผูฟังบรรยายซึ่ ง
                                                                                  ้
ส่ วนหนึ่งก็เป็ นคนร่ วมสมัยได้ลุกขึ้นแบ่งปั นประสบการณ์ และผูที่เยาว์วยกว่าก็แสดงความคิดเห็นต่างๆ ได้
                                                              ้        ั
อย่างน่าฟัง
        ส่ วนรายการในภาคบ่าย ที่จดในวาระเดียวกัน คือ การประกวด “เยำวชนเป็ นปรำชญ์ ด้ วยพระรำช
                                 ั
                                 ่ ั
นิพนธ์ ” ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว 4 เรื่ อง คือ พระมหาชนก นายอินทร์ ผปิดทองหลังพระ ติโต และ
                                                                       ู้
คุ ณทองแดง ของนักเรี ย นมัธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย มี โรงเรี ยนที่ เข้า แข่ง ขันเพี ยง 4 โรงเรี ย น วิทยากรและ
กรรมการตัดสิ น คือ รองศาสตราจารย์ ดร. ตรี ศิลป์ บุญขจร และ อาจารย์ ดร. อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล ได้รับคา
ยกย่องชมเชยจากนักเรี ยน อาจารย์ และผูเ้ ข้าร่ วมฟั งการแข่งขันอย่างมากมาย ถึงกับมีผร่วมฟั งเขียนจดหมาย
                                                                                   ู้
มาชมเชยวิทยากรอย่างซาบซึ้ ง
        จากการที่ศูนย์ฯ ได้ประชาสัมพันธ์การจัดสัมมนาดังกล่าว ทาให้ฝ่ายบริ การความรู ้ทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ซึ่ งมีความร่ วมมือกับ บริ ษท CP All ในการ
                                                                               ั
                                   ั
จัดพิมพ์หนังสื อคุ ณภาพเผยแพร่ ให้กบโรงเรี ยน สถานศึกษา และสถาบันการศึกษาต่างๆ ทัวประเทศ เสนอ
                                                                                 ่
2

ที่จะรับจัดพิมพ์ หนังสื อ บันทึกการเสด็จพระราชดาเนิน พระราชทานกระแสพระราชดาริ เรื่ อง ปัญหำกำรใช้
คำไทย ที่คณะได้กาลังดาเนิ นการขอพระบรมราชานุ ญาตจัดพิมพ์ข้ ึนใหม่ จานวน 2,000 เล่ม แต่ขอเพิ่มเป็ น
4,000 เล่ ม คณะไม่ ข ัด ข้อ ง นับ เป็ นความร่ ว มมื อ กับ เอกชนในการเผยแพร่ พ ระราชอัจ ฉริ ย ภาพของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว และเน้นย้ า ชื่ อเสี ย งของคณะในฐานะที่ เป็ นผูผ ลิ ตบัณฑิ ตภาษาไทยที่ เป็ น
                                                                           ้
ที่ยอมรับในระดับชาติ อีกทั้งยังจะได้เป็ นผูผลิตทรัพยากรองค์ความรู ้ภาษาไทยเพื่อแจกจ่ายทัวประเทศ
                                           ้                                            ่
         การร่ วมมือกับมหาวิทยาลัยในการจัดสัมมนาปาฐกถามิใช่เพียงการจัดการน้อมราลึก 50 ปี ฯ เท่านั้น
แต่เจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ ได้อาสาจัดนิทรรศการให้ รำยกำรเสำหลักของแผ่ นดินในชุ ด 150 ปี สมเด็จกรมพระ
ยำดำรงรำชำนุภำพ 2 ครั้ง และนิ ทรรศการประวัติและผลงานของ หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุ วรรณ อีก
2 ครั้ง ในรายการเสำหลักของแผ่ นดิน ชุ ด 100 ปี ชำตกำล หม่ อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุ วรรณ และมีส่วน
ร่ วมในการวางแผนดาเนิ นการจัด ปาฐกถา ชุ ด 100 ปี ชาตกาลหม่อมหลวงบุญเหลื อ เทพยสุ วรรณ ซึ่ งจัด
รวมทั้งสิ้ น 10 ครั้ ง ให้สาเร็ จลุ ล่วงไปได้ดวยดี เป็ นที่กล่าวขวัญกันมาก ซึ่ งศูนย์ฯ ได้ขอ DVD บันทึกการ
                                              ้
ปาฐกถานี้ ไว้และได้รวบรวม 1 ชุ ด ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ในการดาเนิ นการครั้งนี้ ได้จดทา Facebook กองทุนหม่อมหลวงบุญเหลื อ เทพยสุ วรรณ ไว้เผยแพร่ ผลงาน
                            ั
และเป็ นการประชาสัมพันธ์งานดังกล่าวไปด้วย
         นอกจากจะร่ วมมือกับมหาวิทยาลัย แล้วศูนย์ฯ ยังได้ให้ความร่ วมมือกับมูลนิธินิสิตเก่ ำจุฬำลงกรณ์
มหำวิทยำลัย จัดการอภิปรายเรื่ อง “วิกฤตอภิมหำอุทกภัย : หลำกมิติหลำยมุมมองพร้ อมแนวทำงแก้ ไขอย่ ำง
ยังยืน” โดยดาเนินการจัดหาสถานที่ ประชาสัมพันธ์ รับลงทะเบียนซึ่ งมีผเู ้ ข้าร่ วม 120 คน
  ่
         สิ่ งที่น่าชื่นชมยินดีอย่างยิงที่จะต้องบันทึกไว้ในประวัติของศูนย์ฯ คือการที่ นำงนิรอฮำนี จันทสั งข์
                                      ่
บรรณารักษ์บริ การตอบคาถามของศูนย์ฯ ได้รับคัดเลือกเป็ น บรรณำรั กษ์ วิชำชี พดีเด่ น ซึ่ งจัดการคัดเลือก
                                                                                 ่ ั
โดยมหาวิทยาลัย เป็ นครั้งแรกในปี มหามงคลเฉลิมฉลอง 85 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว นับเ ป็ น
เกียรติประวัติของผูได้รับรางวัล ของศูนย์ฯ และคณะด้วย
                   ้
         การเป็ นที่ยอมรับในการเป็ นแหล่งสารนิ เทศทางมนุ ษยศาสตร์ ของศูนย์ฯ ทาให้เมื่อห้องสมุดใดที่จะ
ปิ ดตัวเองลงและมีหนังสื อในสาขานี้ จะนึ กถึงศูนย์ฯ ว่าเป็ นที่ที่เขาเชื่ อมันว่าเหมาะสมที่หนังสื อทรงคุณค่าที่
                                                                            ่
เขาสั่งสมมาจะได้ใช้ประโยชน์อย่างแท้จริ ง เช่น American University Alumni ได้บริ จาคหนังสื อวรรณคดี
              ั
อเมริกันมาให้กบศูนย์ฯ ทาให้ทรัพยากรทางด้านนี้ ของศูนย์ฯ สมบูรณ์ ข้ ึนอย่างเห็ นได้ชดและศูนย์ฯ ได้รีบ
                                                                                   ั
ดาเนิ นการบันทึ กข้อมูลลงในฐานข้อมูลห้องสมุ ดให้พร้ อมใช้และอาจารย์ในสาขาก็ได้ใช้ประโยชน์จาก
Collection นี้แล้ว
3

                                                ่
        ไม่เพียงในประเทศเท่านั้น แต่ในรอบปี ที่ผานมา Dr. K.I. Matics (Information Specialist, Asian
Studies and Development Project) ได้มอบหนังสื อเกี่ยวกับ ASEAN ที่ตนสะสมไว้ใช้อางอิง ระหว่าง
                                                                               ้
ทางานในโครงการให้กบศูนย์ฯ ได้เวลาเหมาะเจาะกับการที่ประเทศไทยจะเข้าสู่ ประชาคม ASEAN และ
                  ั
ศูนย์ฯ กาลังจะสร้าง Collection นี้เพื่อรองรับการศึกษาวิจยในด้านนี้
                                                        ั
        ทายาท Professor Dr. J. Frito Staal ผูเ้ ชี่ยวชาญภาษาบาลี -สันสกฤต ได้มอบหนังสื อ และวำรสำร
ในสำขำบำลี-สั นสกฤต ของบิดาผูล่วงลับให้กบ ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ ลูกศิษย์ซ่ ึ ง
                             ้          ั ้
                   ั                                 ั
ท่านก็ได้มอบต่อให้กบศูนย์ฯ เพื่อเป็ นแหล่งอ้างอิงให้กบคณาจารย์ นิ สิต นักศึกษา แต่เนื่ องจากขาดบุคลากร
ผูรู้ภาษานี้ ทาให้ยงไม่ได้บนทึกข้อมูลลงฐานข้อมูล
  ้                ั       ั
        หนัง สื อประวัติศาสตร์ จีน ทั้งที่ เขี ย นเป็ นภาษาจี นและภาษาอังกฤษจานวนนับพันจากห้องสมุ ด
ส่ วนตัวของ Professor Endymion Wilkinson นักวิจยจาก Fair Bank Center , Harvard University และ
                                               ั
                                                           ั
อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยปั กกิ่ ง ได้ติดต่อขอมอบหนังสื อให้กบศูนย์ฯ โดยขอมาสารวจ Collection ของ
                                                          ั
ศูนย์ฯ ก่ อนจนเชื่ อมันว่าจะเป็ นประโยชน์จริ งก็ได้มอบให้กบศูนย์ฯ และได้ปวารณาตัวที่จะมาสอนและ
                      ่
          ั
บรรยายให้กบคณะ
        เหตุ การณ์ ท่ี ไม่ว่าใครในประเทศก็ได้รับผลกระทบ คื อเหตุ การณ์ น้ าท่วมครั้ งใหญ่ท่ี ยาวนานนับ
เดือนในช่ วงตุลาคม-พฤศจิกายน 2554 ศูนย์ฯ ไม่ได้ถูกน้ าท่วมแต่ผลจากเหตุการณ์น้ ี คือการต้องขนย้าย
หนังสื อจานวนนับหมื่นเล่มจากห้องใต้ดินขึ้นจากชั้นวางหนังสื อที่ต่าที่สุดขึ้นที่สูงเป็ นลาดับตามกระแสข่าว
และในที่สุดต้องขนย้ายขึ้นมาไว้ที่ช้ น 1 นับเป็ นงานหนักที่โกลาหลอย่างยิง แต่นบเป็ นโชคดีของศูนย์ฯ ที่ใน
                                    ั                                  ่     ั
การย้ายแต่ละครั้งจะมีผช่วยที่มีประสิ ทธิ ภาพมาก คือ ในครั้งแรกนักศึกษาจีนจากเฉิ งตู จานวน 16 คนและใน
                      ู้
ครั้งหลังเมื่อต้องขนจากชั้นใต้ดินขึ้นชั้น 1 นั้น ได้รับความกรุ ณาจากคณบดีฝ่ายกิ จการนิ สิต พาอาจารย์ใน
ฝ่ ายและนิ สิตปริ ญญาโทมาช่ วยเมื่อศูนย์ฯ ร้องขอไป ทาให้ขนย้ายได้ทนในเวลาที่กาหนด ไม่เพียงเรื่ องการ
                                                                  ั
ขนย้ายหนังสื อเท่านั้น แต่เจ้าหน้าที่จานวนหนึ่ งไม่สามารถเดินทางมาปฏิบติงานได้ เนื่ องจากที่พกอาศัยถูก
                                                                      ั                      ั
น้ าท่วม เส้นทางการเดินทางมาทางานน้ าท่วม แต่ศูนย์ฯ ก็มิได้ชะงักการทางาน เพราะต้องเตรี ยมการขนย้าย
                   ั ้
เพื่อมอบพื้นที่ให้กบผูรับเหมาปรับปรุ งอาคารมหาวชิราวุธ
        ในที่สุดการดาเนิ นการปรับปรุ งศูนย์ฯ ก็เริ่ มขึ้ นในเดื อนตุลาคม 2554 อุปสรรคนานัปการ ทั้งจาก
ผลกระทบจากการเกิดภัยธรรมชาติ การเป็ นอาคารอนุ รักษ์ทาให้ทุกอย่างล่าช้าไป ไม่สามารถเปิ ดบริ การเต็ม
รู ปแบบในปี 2555 อย่างไรก็ตามการบริ การห้องสมุดก็ยงคงดาเนิ นต่อไปอย่างสม่าเสมอ ส่ วนใดที่เสร็ จก็
                                                  ั
เปิ ดให้บริ การไปเท่าที่ทาได้ ส่ วนสรรพศาสตร์ สโมสรให้บริ การได้ตามปกติและต้องรับภาระหนักกว่าเดิม
เนื่องจากการปรับปรุ งอาคารมหาวชิราวุธไม่แล้วเสร็ จ
4

                                         ่
       จากกิจกรรมต่างๆ ในรอบปี จะเห็นได้วาศูนย์ฯ ได้พยายามหาโอกาสร่ วมมือกับโครงการต่างๆ ของ
มหาวิทยาลัยให้มากขึ้ นโดยเฉพาะในด้านของภาษาไทยซึ่ งเป็ นยุทธศาสตร์ ที่สาคัญของมหาวิทยาลัยที่จะ
รณรงค์ความเป็ นไทยในประชาคม การได้รับบริ จาคหนังสื อจาก 4 แหล่งใหญ่เป็ นเครื่ องยืนยันในศรัทธา
ของผูอื่นที่มีต่อศูนย์ฯ ในเรื่ องของความหลากหลายของทรั พยากรและน่ าจะชี้ นาผูอื่นให้ส่งมอบหนังสื อ
     ้                                                                       ้
ให้กบศูนย์ฯ เมื่ อคราวไม่ตองการใช้ส่วนตัวอี กต่อไป และการที่บุคลากรศูนย์ได้รับเลือกให้เป็ นผูที่มีใจ
    ั                     ้                                                                  ้
                                ู้                                        ่    ั
พร้อมให้บริ การอย่างมีคุณภาพแก่ผรับบริ การทุกระดับ ย่อมจะสร้างความเชื่ อมันให้กบประชาคมว่า ศูนย์
สารนิเทศมนุษยศาสตร์ จะสามารถดารงและสื บทอดบทบาทการเป็ นผูนาด้านสารนิเทศมนุ ษยศาสตร์ ได้อย่าง
                                                         ้
มันคงสื บไปและสามารถทางานได้ตามเป้ าหมายเชิงกลยุทธที่ต้ งไว้
  ่                                                     ั


กำรดำเนินงำนตำมแผนงำน
   1. กำรพัฒนำทรัพยำกรสำรนิเทศ
                       ่                                                                           ั
       1.1 ในรอบปี ที่ผานมาศูนย์ฯ ได้รับหนังสื อและสิ่ งพิมพ์พิเศษที่ทรงคุณค่าเสริ มความสมบูรณ์ให้กบ
           Collection อย่างยิง คือ
                             ่
           1.1.1 หนังสื อ American Studies เป็ นวรรณกรรมจากห้องสมุด AUA (จำนวน 2,060 เล่ม)
           1.1.2 หนังสื อภาษาบาลี-สันสกฤต จากทายาท Professor Staal (จำนวน 1,889 เล่ม)
           1.1.3 หนังสื อ ASEAN จาก Dr. K.I. Matics (จำนวน 940 เล่ม)
           1.1.4 หนังสื อ Chinese History จาก Professor Wilkinson (จำนวน 357 เล่ม )
           1.1.5 หนังสื อพระราชนิ พนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จาก
                   อาจารย์วภาวรรณ มนุญปิ จุ (จำนวน 50 เล่ม)
                           ิ
           1.1.6 หนังสื อเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์จากนางสายใจ บุนนาค (จำนวน 47 เล่ม)
       1.2 Book Fair งาน “เทศกำลงำนออกร้ ำนหนังสื อในสวน” ครั้งที่ 3 วันที่ 11-13 มกราคม 2555
           เพื่อให้นิสิต อาจารย์เลื อกซื้ อและเสนอแนะหนังสื อเข้าห้องสมุด มีร้านค้าเข้าร่ วมงาน 22 ร้าน
           คัดเลื อกหนังสื อได้กว่า 700 รำยกำร จากแบบประเมินความพึงพอใจระดับมากที่สุดและมาก
           รวมร้อยละ 85 .90
       1.3 การแปลงผันหนังสื อ/สิ่ งพิมพ์ จานวน E-Book ที่ผลิต (จำนวน 62 เรื่อง)
       1.4 การแปลงผันสื่ อ DVD ที่ใช้ในการเรี ยนการสอน Upload ขึ้นระบบStreaming (จำนวน 79 เรื่อง)
5

สรุ ปสถิติ
ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ ได้จดหาหนังสื อ วารสาร สื่ อโสตทัศน์ และ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ตามการคัดเลือก
                             ั
ของคณาจารย์ประจาภาคและหลักสู ตร รวมทั้งรับบริ จาค และได้จดระบบทารายการพร้อมให้บริ การ
                                                            ั
ดังตารางที่ 1 และ 2

ตำรำงที่ 1 จานวนทรัพยากรสารนิเทศของศูนย์ฯ ปี งบประมาณ 2554 และ 2555


        ประเภท          หน่ วย    ทรัพยำกรทีจดซื้อ
                                            ่ั            ทรัพยำกรทีได้ รับบริจำค
                                                                    ่                   ทรัพยำกรทีมท้งหมด
                                                                                                  ่ ี ั

                                  2554        2555         2554           2555          2554        2555

 หนังสื อ                เล่ม       2,828       2,307         1,918         6,400       210,952     214,770

 วิทยานิพนธ์/            เล่ม             -           -         418              52       5,379       5,431

 รายงานการวิจย
             ั

 วารสาร                  ชื่อ            75          57         206           184           281         241

 วีดิทศน์
      ั                 เรื่ อง           -           -            -                1     2,770       2,771

 เทปบันทึกเสี ยง        เรื่ อง           -           -            -                -       804         804

 ซี ดีรอม               เรื่ อง          83          23           26             82       1,129       1, 234

 ดีวีดี/วีซีดี          เรื่ อง          14           9           71             60         515         584

 สไลด์                  เรื่ อง           -           -            -                -          11           11

 เครื่ องแต่งกาย /ผ้า    ชิ้น             -           -            -                -       325         325
 ทอมือ

 เกมฝึ กสมอง             เกม              2           2            1                -           5            7
6

ตำรำงที่ 2 ทรัพยากรสารนิเทศที่จดซื้ อในปี งบประมาณ 2555 แยกตามสาขาวิชา (Subject)
                               ั
                 สำขำวิชำ             หนังสือ          วำรสำร              ซีดรอม
                                                                              ี               ดีวด/ี วีซีดี
                                                                                                 ี

                                       (เล่ม)         (ชื่อเรื่ อง)       (ชื่อเรื่ อง)       (ชื่อเรื่ อง)

 การละคร                                        39

 ความรู ้ทวไป
          ั่                                    53                23

 บรรณารักษศาสตร์                                50                    1

 ปรัชญา                                         84                    5

 ประวัติศาสตร์                                  311                   1                   2

 การละคร                                        39

 ความรู ้ทวไป
          ั่                                    53                23

 บรรณารักษศาสตร์                                50                    1

 ปรัชญา                                         84                    5

 ประวัติศาสตร์                                  311                   1                   2

 ภาษาและวรรณคดีเกาหลี                             7                                       3

 ภาษาและวรรณคดีจีน                              210                                   11

 ภาษาและวรรณคดีญี่ปุ่น                          71                    5                   3                   2

 ภาษาและวรรณคดีทิเบต

 ภาษาและวรรณคดีไทย                              365                   1

 ภาษาและวรรณคดีบาลี-สันสกฤต                     14

 ภาษาและวรรณคดีโปรตุเกส                         28

 ภาษาและวรรณคดีฝรั่งเศส                         76                    3

 ภาษาและวรรณคดีพม่า
7



ตำรำงที่ 2 ทรัพยากรสารนิเทศที่จดซื้ อในปี งบประมาณ 2555 แยกตามสาขาวิชา (Subject) (ต่อ)
                               ั


               สำขำวิชำ              หนังสื อ         วำรสำร              ซีดรอม
                                                                             ี               ดีวด/ี วีซีดี
                                                                                                ี

                                      (เล่ม)         (ชื่อเรื่ อง)       (ชื่อเรื่ อง)       (ชื่อเรื่ อง)

 ภาษาและวรรณคดีมาเลย์                           15

 ภาษาและวรรณคดีเยอรมัน                          80                   1

 ภาษาและวรรณคดีรัสเซี ย                         20

 ภาษาและวรรณคดีเวียดนาม                          7

 ภาษาและวรรณคดีสเปน                             44                                       3                   3

 ภาษาและวรรณคดีองกฤษ
                ั                              259                                       1

 ภาษาและวรรณคดีอาหรับ

 ภาษาและวรรณคดีอิตาเลียน                        50

 ภาษาศาสตร์                                    157                   9

 ภูมิศาสตร์                                     51                   4                                       4

 วิทยาศาสตร์                                                         1

 ศาสนา                                          42                   1

 ศิลปะและดนตรี                                  10

 สังคมศาสตร์                                   264                   2

                             รวม         2,307                   57                  23                      9
8

2. กำรพัฒนำช่ องทำงกำรเข้ ำถึงและกำรประชำสัมพันธ์
   2.1 ศูนย์ฯ ได้ปรับปรุ งและเพิ่มเนื้อหาบนเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง
   2.2 ปรับปรุ งเพิ่มเติ มข่าวสารบน Facebook ของศูนย์ฯ อย่างสม่ าเสมอ ซึ่ งได้รับความสนใจจาก
       ผูรับบริ การเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ (จำนวน 266 ครั้ง)
         ้
   2.3 แนะนาหนังสื อและวารสารใหม่ น่าอ่าน พร้อมภาพปก ไว้ที่หน้าเว็บไซต์ศูนย์ฯ เพื่อเพิ่มสี สัน
        ให้น่าสนใจ เชิ ญชวนให้นิสิตยืมอ่าน ทุกเดือน
   2.4 จัดทาสื่ อประชาสัมพันธ์กิจกรรม หนังสื อใหม่ และข่าวที่น่าสนใจ เป็ นภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่ อง
        ผ่านจอ LCD ภายในห้องสมุด “สรรพศำสตร์ สโมสร” (จำนวน 103 เรื่อง)


3. พัฒนำบริกำรให้ มีประสิทธิภำพยิงขึ้น
                                 ่
   3.1 การ Upload ภาพยนตร์ ตามที่อาจารย์ประจารายวิชาส่ งมาให้นิสิตดูประกอบการเรี ยนวิชาต่างๆ
       ขึ้นให้บริ การแบบ Streaming ทาให้นิสิตสามารถมาดูภาพยนตร์ ได้ดวยตนเอง โดยไม่ตองยืม
                                                                    ้              ้
       แผ่นแบบเดิม และดูได้ครั้งละหลายคนโดยไม่ตองเสี ยเวลารอ
                                               ้
   3.2 บริ การตูรับคืนหนังสื อนอกเวลาทาการ (Book Drop) มีหนังสื อได้รับคืนเพิ่มขึ้นเป็ น จำนวน
                ้
       1,184 เล่ม


   ผู้เข้ ำใช้ บริกำร จำนวนรวม 91,858 ครั้ง จำแนกได้ ดังนี้
   อำคำรมหำวชิ รำวุธ
                นิสิตปริ ญญาตรี            1,482 คน         14,419     ครั้ง
                นิสิตบัณฑิตศึกษา             488 คน          7,328      ครั้ง
                อาจารย์                      186 คน          1,054      ครั้ง
                ข้าราชการและพนักงาน          135 คน          1,055      ครั้ง
                สมาชิกสมทบ                     21 คน              3    ครั้ง
                บุคคลภายนอก                                    530      ครั้ง
   อำคำรมหำจักรีสิรินธร
                นิสิตปริ ญญาตรี            1,482 คน      60,508       ครั้ง
                นิสิตบัณฑิตศึกษา             488 คน         6,690      ครั้ง
                อาจารย์                      186 คน           216     ครั้ง
                ข้าราชการและพนักงาน          135 คน            55     ครั้ง
9



บริกำรใหม่

1. บริ การโอกาสพิเศษให้ยมหนังสื อไม่จากัดจานวน ในวันที่ 11 เดือน 11 ปี 2011 มีผใช้บริ การรวม
                             ื                                                  ู้
                                        ่
   17 คน (มีผใช้บริ การน้อยเพราะอยูระหว่างวิกฤตน้ าท่วมกรุ งเทพฯ)
                ู้
2. บริ การตูรับคืนหนังสื อนอกเวลาทาการ สาหรับผูใช้บริ การที่นาหนังสื อมาคืนหลังเวลาปิ ดบริ การ
            ้                                       ้
   แล้ว ให้ใส่ ในตูน้ ีได้ มีผนาหนังสื อมาคืน 1,184 เล่ม
                   ้           ู้

    สถิติกำรให้ บริกำรต่ ำงๆ มีรายละเอียด ดังตารางที่ 3
    ตำรำงที่ 3 สถิติการให้บริ การต่างๆ

                                    บริกำร                                  จำนวน          หน่ วย
   บริ การยืม                                                                  38,956       เล่ม
   บริ การยืมระหว่างห้องสมุดในจุฬาฯ ให้อาจารย์และนิสิตบัณฑิตศึกษา                 331       เล่ม
   261 ราย
   บริ การยืมระหว่างห้องสมุดนอกจุฬาฯ 15 ราย                                         15      เล่ม
   บริ การตอบคาถามและช่วยการค้นคว้า                                              4,194    คาถาม
   บริ การสื บค้นฐานข้อมูล                                                          62    หัวเรื่ อง
   จัดนิทรรศการแนะนาหนังสื อใหม่                                                    21      ครั้ง
   ปฐมนิเทศและแนะนาวิธีการสื บค้นข้อมูลแก่นิสิต                                    804      คน
   อบรมวิธีการสื บค้นสารนิเทศออนไลน์แก่นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา                       374      คน
   บริ การสื่ อโสตทัศน์และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ (สรรพศาสตร์สโมสร)                    893      คน
   บริ การสื่ อการสอนประกอบรายวิชา (สรรพศาสตร์สโมสร)                             1,405      คน
   บริ การอินเทอร์ เน็ต (สรรพศาสตร์สโมสร)                                       18,164      ครั้ง
   บริ การเครื่ องพิมพ์คอมพิวเตอร์ (สรรพศาสตร์สโมสร)                               344      ครั้ง
   บริ การห้องชมภาพยนตร์ (สรรพศาสตร์สโมสร)                                        1405      คน
   บริ การห้องอบรม (สรรพศาสตร์สโมสร)                                                16      ครั้ง
   เก็บหนังสื อและสิ่ งพิมพ์ที่มีผหยิบใช้
                                  ู้                                            94,657      เล่ม
   ผูใช้ Wireless Lan
      ้                                                                            525      ครั้ง
   บริ การแจ้งรายชื่อหนังสื อใหม่พร้อมภาพปก                                         26      ครั้ง
                         ั
   ฝึ กงานห้องสมุดให้กบนิสิตสาขาสารนิเทศศึกษา                                       40      คน
                           ั
   ฝึ กงานห้องสมุดให้กบนักศึกษาชาวจีน                                                4      คน
10

4. พัฒนำทำงด้ ำนกำยภำพ ให้ เอื้อต่ อกำรศึกษำค้ นคว้ ำวิจัย
        4.1 อำคำรมหำวชิ รำวุธ
            4.1.1 ปรับปรุ งห้องอ่านในอาคารมหาวชิราวุธ ที่ ชั้น 3 จัดที่นงค้นคว้าเดี่ยว 24 ที่นง
                                                                             ั่                    ั่
                    กั้นห้องทางานอาจารย์พิเศษ 4 ห้อง และห้องค้นคว้าแบบกลุ่ม 13 ห้อง
                                                  ั       ้                        ่ ั
            4.1.2 ขนย้ายหนังสื อ วัสดุและครุ ภณฑ์หองทางาน ชั้น 1 ขึ้นไปอยูช้ น 2 และย้าย
                    วารสารเย็บเล่มมาให้บริ การที่หองโถง ชั้น 2
                                                     ้
            4.1.3 ขนย้ายหนังสื ออ้างอิง เครื่ องแต่งกายและเครื่ องใช้ชนเผ่าไท-กะได จาก ชั้น 3 ลง
                    มาให้บริ การที่ ชั้น 1 ส่ วนหนังสื อที่มีการใช้นอยจัดเก็บที่หองใต้ดิน
                                                                    ้            ้
            4.1.4 ขนย้ายหนังสื อ นวนิยาย เรื่ องสั้น เรื่ องแปล และหนังสื อสาหรับเด็ก มาไว้ที่หอง้
                    หนังสื อภาษาตะวันออก
            4.1.5 จัดโต๊ะนังอ่านหนังสื อที่ระเบียงนอกห้องอ่าน ชั้น 2 เพื่อให้นิสิตมีที่นงเพิ่มขึ้น
                             ่                                                            ั่
            4.1.6 ติดตั้งลิฟต์โดยสาร ชั้น 1-3
            4.1.7 ใช้ถ่ายทารายการโทรทัศน์ 1 ครั้ง
        4.2 สรรพศำสตร์ สโมสร
            4.2.1 เสริ มความแข็งแรงของชั้นหนังสื อ
            4.2.2 เพิ่มชั้นหนังสื ออีก 3 ชั้น
            4.2.3 ใช้ถ่ายทารายการโทรทัศน์ 1 ครั้ง
            4.2.4 ใช้จดนิทรรศการร่ วมกับสถานทูตต่างๆ 2 ครั้ง
                         ั

 5. พัฒนำบุคลำกร
        5.1 อบรมการทางานในฐานข้อมูลห้องสมุด (Innopac Millennium Refreshment) 9 คน
        5.2 ฝึ กอบรมเชิงปฏิบติการเรื่ อง การใช้ Google Doc ที่ศูนย์วทยทรัพยากร 2 คน
                               ั                                    ิ
        5.3 อบรม เรื่ อง การลงรายการด้วย AACR2 และ MARC21 จัดโดยโครงการจัดทาคู่มือ
             มาตรฐานการลงรายการด้วยระบบ MARC และ AACR2 เพื่อปฏิบติงานในห้องสมุด
                                                                           ั
             ห้องอบรม ชั้น 4 ศูนย์วทยทรัพยากร 5 คน
                                   ิ
        5.4 ฝึ กอบรมสัมมนาผูบริ หารระดับต้น สายปฏิบติการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Competent
                                 ้                     ั
             Robust Efficent Agile Manager) CREAM รุ่ นที่ 5 จานวน 1 คน
        5.5 อบรมเชิงปฏิบติการ "การพัฒนาเว็บไซต์ข้ นสู ง ด้วยภาษา PHP" ห้องปฏิบติการ
                           ั                        ั                            ั
             คอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร อปร ชั้น 8 คณะแพทยศาสตร์ 1 คน
        5.6 อบรมเชิงปฏิบติการ "การออกแบบ Template เว็บไซต์สาหรับ Joomla" ห้องปฏิบติการ
                             ั                                                      ั
             คอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร อปร ชั้น 8 คณะแพทยศาสตร์ 1 คน
11

        5.7 ฝึ กอบรมเชิงปฏิบติการ การจัดทาหลักเกณฑ์และแนวปฏิบติในการประเมิน Competency
                                ั                                          ั
             และการจัดทาแผนพัฒนารายบุคคลสาหรับบุคลากรสายปฏิบติการ ฝ่ ายพัฒนาบุคลากร
                                                                             ั
             สานักบริ หารทรัพยากรมนุษย์ ณ อาคารมหิ ตลาธิเบศร จุฬาฯ จานวน 1 คน
        5.8 ฝึ กอบรมเชิงปฏิบติการเรื่ อง การเขียนบันทึกและจดหมายติดต่องาน การเกษียนหนังสื อ รุ่ นที่
                                  ั
             5 วันที่ 11-12 กรกฎาคม 2555 ที่ ห้อง 501 อาคารมหาจักรี สิรินธร 2 คน
        5.9 อบรมเชิงปฏิบติการ "เทคนิคการใช้สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์" ห้องประชุม ชั้น 7 ศูนย์วทย
                             ั                                                                         ิ
             ทรัพยากร 1 คน
        5.10 สัมมนาระดับชาติ เรื่ อง Online Information and Education Conference 2012 จัดโดย
             บริ ษท บุคโปรโมชัน แอนด์ เซอร์ วส จากัด+บริ ษท บุคเน็ท จากัด ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
                   ั ๊              ่                 ิ            ั ๊
             สวนดุสิต 3 คน
        5.11 สัมมนาวิชาการ เรื่ อง นโยบายศาสนา : ของมีค่าที่ถูกลืม จัดโดย คณะกรรมการสภาวิจย          ั
                แห่งชาติ สาขาปรัชญา และ สานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ ณ รร.มิราเคิล แกรนด์
                                                                         ั
                คอนเวนชัน กทม. จานวน 1 คน
                          ่
        5.12 สัมมนา เรื่ อง การผลิตสื่ อ E-Publishing...มิติใหม่ ห้องประชุม 201 ชั้น 2 อาคารวิจยจุฬา
                                                                                                   ั
             ฯ จัดโดย โรงพิมพ์จุฬาฯ 2 คน
        5.13 สัมมนาเครื อข่ายห้องสมุด "ทิศทางการจัดการและการให้บริ การสารสนเทศ : การปรับตัว
             รับการเข้าร่ วมเป็ นประชาคมอาเซี ยน" 6 คน
        5.14 สัมมนาโครงการพัฒนาคุณภาพงานกลุ่มเครื อข่ายแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้วชาชีพสาย
                                                                                   ิ
             ปฏิบติการด้วยแนวคิด Lean รุ่ นที่ 5 จานวน 13 คน
                    ั
        5.15 ร่ วมประชุมวิชาการ ชบอ. เรื่ อง "เทคโนโลยี Cloud Computing เพื่อการดาเนินงาน
             ห้องสมุด" ห้องประชุม ชั้น 7 ศูนย์วทยทรัพยากร 3 คน
                                                        ิ
        5.16 ฟังบรรยาย เรื่ อง Citation Database เพื่อสร้างฐานข้อมูลการอ้างอิงผลงานวิชาการของ
             ประชาคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห้องประชุม 7 ชั้น 3 ศูนย์วทยทรัพยากร จุฬาฯ 1 คน
                                                                               ิ
        5.17 ร่ วมฟังการนาเสนอโครงการปรับลดขั้นตอนการทางานในงาน "ก้าวเล็กๆ ที่ยงใหญ่...       ิ่
             ก้าวใหม่เพื่อจุฬาฯ" ณ หอประชุมจุฬาฯ และ รับเกียรติบตรกลุ่ม Lean 14 คน
                                                                       ั
        5.18 ร่ วมเสวนาเรื่ อง หนังสื อเก่า เล่าเรื่ อง มรดกภูมิปัญญาไทย ห้องประชุม ชั้น 7 ศูนย์วทย
                                                                                                 ิ
             ทรัพยากร 3 คน

6. ทำนุบำรุงรั กษำและอนุรักษ์ ทรั พยำกรสำรนิเทศ
         6.1. ซ่อมหนังสื อชารุ ด จานวน 883 เล่ม
         6.2. สแกน วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจย ตารา หนังสื อหายาก จานวน 140 เล่ม
                                               ั
12

         6.3. แปลงสื่ อโสตทัศน์เป็ นสื่ อดิจิทล 397 แผ่น
                                              ั

7. พัฒนำควำมร่ วมมือกับผู้รับบริ กำรส่ วนต่ ำงๆ
        7.1 ร่ วมมือกับมหำวิทยำลัย
            7.1.1 ร่ วมจัด ปำฐกถำเสำหลักของแผ่ นดิน ชุด 100 ปี ชำตกำล ม.ล.บุญเหลือ เทพยสุ วรรณ
                   ตั้งแต่ 16 มกราคม 2555- 30 กันยายน 2555 (10 ครั้ง)
            7.1.2 จัดนิทรรศกำร 150 ปี สมเด็จฯ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ (1 ครั้ง)
            7.1.3 ร่ วมกับมูลนิธินิสิตเก่าจุฬาฯ จัดกำรสั มมนำเรื่ อง วิกฤตอภิมหำอุทกภัย : หลำกมิติ
                   หลำยมุมมองพร้ อมแนวทำงแก้ ไขอย่ ำงยังยืน ่
            7.1.4 จัดการเสวนาน้ อมรำลึก 50 ปี กำรเสด็จพระรำชดำเนินร่ วมกำรประชุ มทำงวิชำกำร
                   เรื่อง ปัญหำกำรใช้ คำไทย ในวันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2555 ณ ห้อง 111 อาคารมหา
                   จุฬาลงกรณ์ มีผเู ้ ข้าร่ วมประชุม 120 คน
        7.2 ร่ วมมือกับศู นย์ วิทยทรัพยำกร จุฬำฯ
            7.2.1 ร่ วมจัดงาน Chulalinet Fair
            7.2.2 ร่ วมโครงการยกเว้นค่าปรับเพื่อร่ วมบริ จาคเงินทาการกุศล
        7.3 ร่ วมมือกับคณะวิศวกรรมศำสตร์ จุฬำฯ
            7.3.1 ร่ วมมือกับภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในการเผยแพร่ การใช้
                   โปรแกรม Chula Daisy โดยให้อาจารย์และนิสิตที่สนใจฝึ กใช้เพื่อจัดทาหนังสื อเสี ยง
        7.4 ร่ วมมือกับหอสมุดคณะแพทยศำสตร์ จุฬำฯ
            7.4.1 เป็ นวิทยากรอบรมบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่หอสมุดคณะแพทยศาสตร์ เรื่ อง การใช้
                   งานและบันทึกข้อมูลหนังสื อที่จดซื้ อ (order record) ด้วยระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
                                                    ั
            7.4.2 เป็ นวิทยากรอบรมบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่หอสมุดคณะแพทยศาสตร์ เรื่ อง การ
                   ทางานและให้บริ การยืม-รับคืน ด้วยระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
        7.5 ร่ วมกับห้ องสมุดคณะรัฐศำสตร์ จุฬำฯ
            7.5.1 เข้าร่ วมบริ การ LibraryAnywhere ของศูนย์สารสนเทศทางสังคมศาสตร์
        7.6 ร่ วมมือกับฝ่ ำยกิจกำรนิสิต คณะอักษรศำสตร์
            7.6.1 ปฐมนิเทศนิสิตใหม่ระดับปริ ญญาตรี 315 คน บัณฑิตศึกษา 133 คน
                                                                                             ั
            7.6.2 บรรยายเรื่ อง "แนะนาวิธีการสื บค้นฐานข้อมูล e-Book และ e-Journal" ให้กบนิสิต
                   บัณฑิตศึกษา ณ ห้อง 303 อาคารมหาจักรี สิรินธร
        7.7 ร่ วมมือกับภำควิชำภำษำไทยและภำควิชำวรรณคดีเปรียบเทียบ
            7.7.1 จัดการประกวด “เยาวชนเป็ นปราชญ์ดวยพระราชนิพนธ์” ในวันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม
                                                          ้
13

                      2555 ณ ห้อง 111 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
           7.8 ร่ วมมือกับภำควิชำบรรณำรักษศำสตร์
                                             ั
              7.8.1 ฝึ กงานห้องสมุดให้กบนิสิตสาขาวิชาสารนิเทศศึกษา 40 คน
              7.8.2 สอน CU Ref ให้นิสิต ป.ตรี วิชา สารนิเทศในปริ บทสังคม 15 คน
              7.8.3 จัดตูนิทรรศการผลงาน สี่ ศาสตราจารย์ ในโอกาสครบรอบ 100 ปี
                           ้
           7.9 ร่ วมมือกับหน่ วยงำนภำยในและภำยนอก ในกำรอำนวยควำมสะดวกด้ ำนสถำนที่
              7.9.1 ฝ่ ายกิจการนิสิต กรรมการ ก.อศ ขอให้ช่วยนาภาพประชาสัมพันธ์กิจกรรม Arts
                     Singing Contest 2012 วันที่ 13, 15 และ 20 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 16.00-20.30 น.
                     ขึ้นเป็ นพื้นหลังจอคอมพิวเตอร์ ที่ให้บริ การ
              7.9.2 ฝ่ ายวิรัชกิจ ร่ วมกับสถานเอกอัครราชทูตอิหร่ าน จัดงาน "Cultural Week" วันที่ 7-10
                     กุมภาพันธ์ 2555 และขอใช้สรรพศาสตร์ สโมสรจัดนิทรรศการ และแถลงข่าว
                     สื่ อมวลชน วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2555
              7.9.3 ศูนย์บริ การวิชาการ โครงการอบรมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Intensive
                     Thai Program) ระดับ TH 1 ขอจองห้องชมภาพยนตร์ เดือนมกราคม-ธันวาคม 2555
              7.9.4 สาขาวิชาภาษาโปรตุเกส ขอยืมจอ LCD ประกอบการแสดงระบา Capoeira ในงาน
                     สัปดาห์ภาษาและวัฒนธรรมโปรตุเกส 27-31 สิ งหาคม 2555
              7.9.5 ศ.ดร.ธีระพันธ์ เหลืองทองคา ขอใช้ห้อง 104 บันทึกการบอกภาษาชนเผ่า วันที่ 18-
                     19 มกราคม 2555
              7.9.6 ผศ.ดร.ชุ ติมา ประกาศวุฒิสาร ขอใช้สรรพศาสตร์ สโมสร ถ่ายทาเทปการสัมภาษณ์
                     อาจารย์
              7.9.7 อสมท ขอใช้ศูนย์สารนิเทศฯ บันทึกเทปรายการ "หนึ่งในพระราชดาริ " พุธที่ 29
                     กุมภาพันธ์ 2555
              7.9.8 สถาบันขงจื่อ ขอยืมจอ LCD ใช้ในงานเทศกาลวันไหว้พระจันทร์ วันที่ 20 กันยายน 2555
           7.10 ฝึ กอบรมโปรแกรมต่ ำงๆโดยเจ้ ำหน้ ำทีศูนย์ ฯ
                                                        ่
              7.10.1 อบรมการสื บค้นข้อมูลและการประมวลผล ผ่านเครื อข่ายห้องสมุด
              7.10.2 อบรมการใช้โปรแกรม Basic Photoshop & Lightroom Workshop
              7.10.3 อบรมวิธีการใช้งาน CU Reference Database
8. กำรเยียมชมห้ องสมุด
         ่
           8.1 คณะจากประเทศภูฏานเยียมชมสรรพศาสตร์สโมสร ธันวาคม 2554
                                           ่
           8.2 คณบดีและอาจารย์สาขาสเปนพาเจ้าหน้าที่จากสถาบันส่ งเสริ มภาษาและวัฒนธรรมของ
               รัฐบาลสเปน (Instituto Cervantes) มาชมห้องสรรพศาสตร์ฯ และศูนย์สารนิเทศฯ
14

       8.3 ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.หนึ่งฤดี โลหผล อาจารย์จากภาควิชาภาษาตะวันตก (สาขาวิชาภาษาอิตา
              ้
           เลียน) ได้พาศาสตราจารย์ Sangyeob Li อาจารย์ภาควิชาวรรณคดีอิตาเลียน จาก Hankuk
           University of Foreign Studies แวะมาเยียมชมสรรพศาสตร์สโมสร เมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม 2555
                                                   ่
       8.4 อาจารย์ ทิวารี โฆษิตธนเกียรติ อาจารย์ประจาภาควิชาภาษาตะวันออก (สาขาวิชาภาษา
           เวียดนาม) ได้นิมนต์พระสงฆ์จากประเทศเวียดนามและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราช
           วิทยาลัย มาเยียมชมสรรพศาสตร์สโมสร ในวันอังคารที่ 14 สิ งหาคม 2555
                          ่
       8.5 นิสิตเก่าอักษรศาสตร์เยียมชมห้องสมุด พฤศจิกายน 2554
                                    ่
       8.6 นิสิตหลักสู ตรเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ จานวน 5 คน เยียมชมห้องสมุดที่อาคารมหาวชิราวุธและ
                                                              ่
           อาคารมหาจักรี สิรินธร วันที่ 9 ธันวาคม 2554
       8.7 หัวหน้าห้องสมุดคณะ/วิทยาลัย ในจุฬาฯ จานวน 7 คน เยียมชมห้องสมุด “สรรพศาสตร์
                                                                ่
           สโมสร” ที่ อาคารมหาจักรี สิรินธร วันที่ 20 มกราคม 2555
       8.8 ศูนย์บริ การวิชาการจุฬาฯ นา นร. ม.ปลาย โครงการค่ายฤดูร้อนจุฬาฯ รุ่ น 4 จานวน 70 คน เยียม
                                                                                                 ่
           ชมศูนย์ฯ ที่สรรพศาสตร์สโมสร วันที่ 1 พฤษภาคม 2555
       8.9 สถานที่เพื่อจัดตั้งศูนย์ส่งเสริ มภาษาและวัฒนธรรมสเปน วันที่ 4 พฤษภาคม 2555
       8.10 รร. สารสาสน์วิเทศร่ มเกล้า ขอนานักเรี ยน 14 คน เข้าชมห้องสมุดที่ อาคารมหาวชิราวุธ
           และ สรรพศาสตร์สโมสร วันจันทร์ที่ 6 สิ งหาคม 2555

9. กำรจัดเก็บรำยได้ ส่งคณะฯ
       9.1 ค่าเข้าใช้รายวัน                              12,000.00 บาท
       9.2 ค่าปรับส่ งหนังสื อเกินกาหนด                  68,948.00 บาท
       9.3 ค่าพิมพ์ขอมูลจากคอมพิวเตอร์
                      ้                                   8,614.00 บาท
                        รวมเป็ นเงินทั้งสิ้ น            89,562.00 บาท
                            (แปดหมื่นเก้าพันห้าร้อยหกสิ บสองบาทถ้วน)

Contenu connexe

Plus de Humanities Information Center

รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556Humanities Information Center
 
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"Humanities Information Center
 
สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556
สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556
สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556Humanities Information Center
 
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2555Humanities Information Center
 
แผนผังการแบ่งส่วนงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย...
แผนผังการแบ่งส่วนงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย...แผนผังการแบ่งส่วนงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย...
แผนผังการแบ่งส่วนงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย...Humanities Information Center
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555Humanities Information Center
 

Plus de Humanities Information Center (20)

รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2556
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2556
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2556
 
การจัดการเอกสาร
การจัดการเอกสารการจัดการเอกสาร
การจัดการเอกสาร
 
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
10 สุดยอดกวีอาเซียน "รางวัลสุนทรภู่"
 
สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556
สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556
สรุปผลการประเมินการจัดเทศกาลงานออกร้านหนังสือในสวนประจำปี 2556
 
สรุปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมินสรุปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมิน
 
สรุปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมินสรุปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมิน
 
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
ผลการดำเนินงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ประจำปีงบประมาณ 2554
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กันยายน 2555
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน สิงหาคม 2555
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กรกฎาคม 2555
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มิถุนายน 2555
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน พฤษภาคม 2555
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน เมษายน 2555
 
Nb april 55
Nb april 55Nb april 55
Nb april 55
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน มีนาคม 2555
 
Nb 2march55
Nb 2march55Nb 2march55
Nb 2march55
 
แผนผังการแบ่งส่วนงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย...
แผนผังการแบ่งส่วนงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย...แผนผังการแบ่งส่วนงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย...
แผนผังการแบ่งส่วนงานศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย...
 
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555
รายชื่อหนังสือที่จัดซื้อใหม่ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555
 

บทสรุปสำหรับผู้บริหารปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – กันยายน 2555)

  • 1. บทสรุ ปสำหรับผู้บริ หำรปี งบประมำณ 2555 (ตุลำคม 2554 – กันยำยน 2555) ปี 2555 มี เรื่ องราวและกิ จกรรมมากมายที่ ท าให้ศูนย์ส ารนิ เทศฯ รู ้ สึ กปลาบปลื้ ม และภาคภูมิ ใ จ เริ่ ม จากการที่ ศู นย์ฯ ได้รับ พระมหากรุ ณาธิ คุ ณจากสมเด็ จพระเทพรั ตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุ ม ารี พระราชทานของสะสมส่ วนพระองค์จากประเทศโปรตุเกสให้จดแสดงต่อที่สรรพศาสตร์ สโมสร หลังเสร็ จ ั จากการร่ วมแสดงในนิทรรศการเฉลิมฉลองความสัมพันธ์ 500 ปี ไทย-โปรตุเกส ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโดยคณะอักษรศาสตร์ อีกกิจกรรมหนึ่ งที่จะไม่กล่าวถึงไม่ได้เลย คือ การได้จดเสวนา “น้ อมรำลึก 50 ปี กำรเสด็จพระรำช ั ดำเนิน พระรำชทำนกระแสพระรำชดำรัส เรื่อง ปัญหำกำรใช้ คำไทย” อันเป็ นที่มาของวันภาษาไทยแห่ งชาติ 29 กรกฎาคม ของทุกปี ซึ่งเมื่อ 50 ปี ก่อน ในวันที่ 29 กรกฎาคม 2505 ชุมนุมภาษาไทยคณะอักษรศาสตร์ ได้ ่ ั จัดการประชุมประจาเดือนขึ้น ในครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวฯ ได้เสด็จพระราชดาเนิ นมาทรงร่ วม อภิป รายด้วยพระองค์เอง และในปี 2542 คณะอักษรศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้ดาเนิ นการให้ รั ฐ บาลประกาศให้ ว น ดัง กล่ า วเป็ นวัน ภาษาไทยแห่ ง ชาติ ข้ ึ น นับ แต่ น้ ัน มา ในวาระครบรอบ 50 ปี นี้ ั มหาวิทยาลัยโดยศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ ได้จดเสวนา โดยเชิญคณาจารย์และศิษย์เก่า ั ที่เคยร่ วมอยูในวโรกาสนั้นมาน้อมราลึ กถึ งเหตุการณ์อนยิ่งใหญ่ในวันนั้น ให้คนรุ่ นหลังได้ซาบซึ้ งในพระ ่ ั อัจฉริ ย ภาพด้า นภาษาไทยของพระบาทสมเด็ จพระเจ้า อยู่หัว ศู นย์ฯ ได้รับ ความร่ วมมื ออย่า งดี ยิ่ง จาก คณาจารย์ร่วมสมัย ได้เล่าถึ งความประทับใจไม่รู้ลืมของแต่ละท่านได้อย่างออกรส ทาให้ผูฟังบรรยายซึ่ ง ้ ส่ วนหนึ่งก็เป็ นคนร่ วมสมัยได้ลุกขึ้นแบ่งปั นประสบการณ์ และผูที่เยาว์วยกว่าก็แสดงความคิดเห็นต่างๆ ได้ ้ ั อย่างน่าฟัง ส่ วนรายการในภาคบ่าย ที่จดในวาระเดียวกัน คือ การประกวด “เยำวชนเป็ นปรำชญ์ ด้ วยพระรำช ั ่ ั นิพนธ์ ” ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว 4 เรื่ อง คือ พระมหาชนก นายอินทร์ ผปิดทองหลังพระ ติโต และ ู้ คุ ณทองแดง ของนักเรี ย นมัธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย มี โรงเรี ยนที่ เข้า แข่ง ขันเพี ยง 4 โรงเรี ย น วิทยากรและ กรรมการตัดสิ น คือ รองศาสตราจารย์ ดร. ตรี ศิลป์ บุญขจร และ อาจารย์ ดร. อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล ได้รับคา ยกย่องชมเชยจากนักเรี ยน อาจารย์ และผูเ้ ข้าร่ วมฟั งการแข่งขันอย่างมากมาย ถึงกับมีผร่วมฟั งเขียนจดหมาย ู้ มาชมเชยวิทยากรอย่างซาบซึ้ ง จากการที่ศูนย์ฯ ได้ประชาสัมพันธ์การจัดสัมมนาดังกล่าว ทาให้ฝ่ายบริ การความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ซึ่ งมีความร่ วมมือกับ บริ ษท CP All ในการ ั ั จัดพิมพ์หนังสื อคุ ณภาพเผยแพร่ ให้กบโรงเรี ยน สถานศึกษา และสถาบันการศึกษาต่างๆ ทัวประเทศ เสนอ ่
  • 2. 2 ที่จะรับจัดพิมพ์ หนังสื อ บันทึกการเสด็จพระราชดาเนิน พระราชทานกระแสพระราชดาริ เรื่ อง ปัญหำกำรใช้ คำไทย ที่คณะได้กาลังดาเนิ นการขอพระบรมราชานุ ญาตจัดพิมพ์ข้ ึนใหม่ จานวน 2,000 เล่ม แต่ขอเพิ่มเป็ น 4,000 เล่ ม คณะไม่ ข ัด ข้อ ง นับ เป็ นความร่ ว มมื อ กับ เอกชนในการเผยแพร่ พ ระราชอัจ ฉริ ย ภาพของ พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว และเน้นย้ า ชื่ อเสี ย งของคณะในฐานะที่ เป็ นผูผ ลิ ตบัณฑิ ตภาษาไทยที่ เป็ น ้ ที่ยอมรับในระดับชาติ อีกทั้งยังจะได้เป็ นผูผลิตทรัพยากรองค์ความรู ้ภาษาไทยเพื่อแจกจ่ายทัวประเทศ ้ ่ การร่ วมมือกับมหาวิทยาลัยในการจัดสัมมนาปาฐกถามิใช่เพียงการจัดการน้อมราลึก 50 ปี ฯ เท่านั้น แต่เจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯ ได้อาสาจัดนิทรรศการให้ รำยกำรเสำหลักของแผ่ นดินในชุ ด 150 ปี สมเด็จกรมพระ ยำดำรงรำชำนุภำพ 2 ครั้ง และนิ ทรรศการประวัติและผลงานของ หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุ วรรณ อีก 2 ครั้ง ในรายการเสำหลักของแผ่ นดิน ชุ ด 100 ปี ชำตกำล หม่ อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุ วรรณ และมีส่วน ร่ วมในการวางแผนดาเนิ นการจัด ปาฐกถา ชุ ด 100 ปี ชาตกาลหม่อมหลวงบุญเหลื อ เทพยสุ วรรณ ซึ่ งจัด รวมทั้งสิ้ น 10 ครั้ ง ให้สาเร็ จลุ ล่วงไปได้ดวยดี เป็ นที่กล่าวขวัญกันมาก ซึ่ งศูนย์ฯ ได้ขอ DVD บันทึกการ ้ ปาฐกถานี้ ไว้และได้รวบรวม 1 ชุ ด ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในการดาเนิ นการครั้งนี้ ได้จดทา Facebook กองทุนหม่อมหลวงบุญเหลื อ เทพยสุ วรรณ ไว้เผยแพร่ ผลงาน ั และเป็ นการประชาสัมพันธ์งานดังกล่าวไปด้วย นอกจากจะร่ วมมือกับมหาวิทยาลัย แล้วศูนย์ฯ ยังได้ให้ความร่ วมมือกับมูลนิธินิสิตเก่ ำจุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย จัดการอภิปรายเรื่ อง “วิกฤตอภิมหำอุทกภัย : หลำกมิติหลำยมุมมองพร้ อมแนวทำงแก้ ไขอย่ ำง ยังยืน” โดยดาเนินการจัดหาสถานที่ ประชาสัมพันธ์ รับลงทะเบียนซึ่ งมีผเู ้ ข้าร่ วม 120 คน ่ สิ่ งที่น่าชื่นชมยินดีอย่างยิงที่จะต้องบันทึกไว้ในประวัติของศูนย์ฯ คือการที่ นำงนิรอฮำนี จันทสั งข์ ่ บรรณารักษ์บริ การตอบคาถามของศูนย์ฯ ได้รับคัดเลือกเป็ น บรรณำรั กษ์ วิชำชี พดีเด่ น ซึ่ งจัดการคัดเลือก ่ ั โดยมหาวิทยาลัย เป็ นครั้งแรกในปี มหามงคลเฉลิมฉลอง 85 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว นับเ ป็ น เกียรติประวัติของผูได้รับรางวัล ของศูนย์ฯ และคณะด้วย ้ การเป็ นที่ยอมรับในการเป็ นแหล่งสารนิ เทศทางมนุ ษยศาสตร์ ของศูนย์ฯ ทาให้เมื่อห้องสมุดใดที่จะ ปิ ดตัวเองลงและมีหนังสื อในสาขานี้ จะนึ กถึงศูนย์ฯ ว่าเป็ นที่ที่เขาเชื่ อมันว่าเหมาะสมที่หนังสื อทรงคุณค่าที่ ่ เขาสั่งสมมาจะได้ใช้ประโยชน์อย่างแท้จริ ง เช่น American University Alumni ได้บริ จาคหนังสื อวรรณคดี ั อเมริกันมาให้กบศูนย์ฯ ทาให้ทรัพยากรทางด้านนี้ ของศูนย์ฯ สมบูรณ์ ข้ ึนอย่างเห็ นได้ชดและศูนย์ฯ ได้รีบ ั ดาเนิ นการบันทึ กข้อมูลลงในฐานข้อมูลห้องสมุ ดให้พร้ อมใช้และอาจารย์ในสาขาก็ได้ใช้ประโยชน์จาก Collection นี้แล้ว
  • 3. 3 ่ ไม่เพียงในประเทศเท่านั้น แต่ในรอบปี ที่ผานมา Dr. K.I. Matics (Information Specialist, Asian Studies and Development Project) ได้มอบหนังสื อเกี่ยวกับ ASEAN ที่ตนสะสมไว้ใช้อางอิง ระหว่าง ้ ทางานในโครงการให้กบศูนย์ฯ ได้เวลาเหมาะเจาะกับการที่ประเทศไทยจะเข้าสู่ ประชาคม ASEAN และ ั ศูนย์ฯ กาลังจะสร้าง Collection นี้เพื่อรองรับการศึกษาวิจยในด้านนี้ ั ทายาท Professor Dr. J. Frito Staal ผูเ้ ชี่ยวชาญภาษาบาลี -สันสกฤต ได้มอบหนังสื อ และวำรสำร ในสำขำบำลี-สั นสกฤต ของบิดาผูล่วงลับให้กบ ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ ลูกศิษย์ซ่ ึ ง ้ ั ้ ั ั ท่านก็ได้มอบต่อให้กบศูนย์ฯ เพื่อเป็ นแหล่งอ้างอิงให้กบคณาจารย์ นิ สิต นักศึกษา แต่เนื่ องจากขาดบุคลากร ผูรู้ภาษานี้ ทาให้ยงไม่ได้บนทึกข้อมูลลงฐานข้อมูล ้ ั ั หนัง สื อประวัติศาสตร์ จีน ทั้งที่ เขี ย นเป็ นภาษาจี นและภาษาอังกฤษจานวนนับพันจากห้องสมุ ด ส่ วนตัวของ Professor Endymion Wilkinson นักวิจยจาก Fair Bank Center , Harvard University และ ั ั อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยปั กกิ่ ง ได้ติดต่อขอมอบหนังสื อให้กบศูนย์ฯ โดยขอมาสารวจ Collection ของ ั ศูนย์ฯ ก่ อนจนเชื่ อมันว่าจะเป็ นประโยชน์จริ งก็ได้มอบให้กบศูนย์ฯ และได้ปวารณาตัวที่จะมาสอนและ ่ ั บรรยายให้กบคณะ เหตุ การณ์ ท่ี ไม่ว่าใครในประเทศก็ได้รับผลกระทบ คื อเหตุ การณ์ น้ าท่วมครั้ งใหญ่ท่ี ยาวนานนับ เดือนในช่ วงตุลาคม-พฤศจิกายน 2554 ศูนย์ฯ ไม่ได้ถูกน้ าท่วมแต่ผลจากเหตุการณ์น้ ี คือการต้องขนย้าย หนังสื อจานวนนับหมื่นเล่มจากห้องใต้ดินขึ้นจากชั้นวางหนังสื อที่ต่าที่สุดขึ้นที่สูงเป็ นลาดับตามกระแสข่าว และในที่สุดต้องขนย้ายขึ้นมาไว้ที่ช้ น 1 นับเป็ นงานหนักที่โกลาหลอย่างยิง แต่นบเป็ นโชคดีของศูนย์ฯ ที่ใน ั ่ ั การย้ายแต่ละครั้งจะมีผช่วยที่มีประสิ ทธิ ภาพมาก คือ ในครั้งแรกนักศึกษาจีนจากเฉิ งตู จานวน 16 คนและใน ู้ ครั้งหลังเมื่อต้องขนจากชั้นใต้ดินขึ้นชั้น 1 นั้น ได้รับความกรุ ณาจากคณบดีฝ่ายกิ จการนิ สิต พาอาจารย์ใน ฝ่ ายและนิ สิตปริ ญญาโทมาช่ วยเมื่อศูนย์ฯ ร้องขอไป ทาให้ขนย้ายได้ทนในเวลาที่กาหนด ไม่เพียงเรื่ องการ ั ขนย้ายหนังสื อเท่านั้น แต่เจ้าหน้าที่จานวนหนึ่ งไม่สามารถเดินทางมาปฏิบติงานได้ เนื่ องจากที่พกอาศัยถูก ั ั น้ าท่วม เส้นทางการเดินทางมาทางานน้ าท่วม แต่ศูนย์ฯ ก็มิได้ชะงักการทางาน เพราะต้องเตรี ยมการขนย้าย ั ้ เพื่อมอบพื้นที่ให้กบผูรับเหมาปรับปรุ งอาคารมหาวชิราวุธ ในที่สุดการดาเนิ นการปรับปรุ งศูนย์ฯ ก็เริ่ มขึ้ นในเดื อนตุลาคม 2554 อุปสรรคนานัปการ ทั้งจาก ผลกระทบจากการเกิดภัยธรรมชาติ การเป็ นอาคารอนุ รักษ์ทาให้ทุกอย่างล่าช้าไป ไม่สามารถเปิ ดบริ การเต็ม รู ปแบบในปี 2555 อย่างไรก็ตามการบริ การห้องสมุดก็ยงคงดาเนิ นต่อไปอย่างสม่าเสมอ ส่ วนใดที่เสร็ จก็ ั เปิ ดให้บริ การไปเท่าที่ทาได้ ส่ วนสรรพศาสตร์ สโมสรให้บริ การได้ตามปกติและต้องรับภาระหนักกว่าเดิม เนื่องจากการปรับปรุ งอาคารมหาวชิราวุธไม่แล้วเสร็ จ
  • 4. 4 ่ จากกิจกรรมต่างๆ ในรอบปี จะเห็นได้วาศูนย์ฯ ได้พยายามหาโอกาสร่ วมมือกับโครงการต่างๆ ของ มหาวิทยาลัยให้มากขึ้ นโดยเฉพาะในด้านของภาษาไทยซึ่ งเป็ นยุทธศาสตร์ ที่สาคัญของมหาวิทยาลัยที่จะ รณรงค์ความเป็ นไทยในประชาคม การได้รับบริ จาคหนังสื อจาก 4 แหล่งใหญ่เป็ นเครื่ องยืนยันในศรัทธา ของผูอื่นที่มีต่อศูนย์ฯ ในเรื่ องของความหลากหลายของทรั พยากรและน่ าจะชี้ นาผูอื่นให้ส่งมอบหนังสื อ ้ ้ ให้กบศูนย์ฯ เมื่ อคราวไม่ตองการใช้ส่วนตัวอี กต่อไป และการที่บุคลากรศูนย์ได้รับเลือกให้เป็ นผูที่มีใจ ั ้ ้ ู้ ่ ั พร้อมให้บริ การอย่างมีคุณภาพแก่ผรับบริ การทุกระดับ ย่อมจะสร้างความเชื่ อมันให้กบประชาคมว่า ศูนย์ สารนิเทศมนุษยศาสตร์ จะสามารถดารงและสื บทอดบทบาทการเป็ นผูนาด้านสารนิเทศมนุ ษยศาสตร์ ได้อย่าง ้ มันคงสื บไปและสามารถทางานได้ตามเป้ าหมายเชิงกลยุทธที่ต้ งไว้ ่ ั กำรดำเนินงำนตำมแผนงำน 1. กำรพัฒนำทรัพยำกรสำรนิเทศ ่ ั 1.1 ในรอบปี ที่ผานมาศูนย์ฯ ได้รับหนังสื อและสิ่ งพิมพ์พิเศษที่ทรงคุณค่าเสริ มความสมบูรณ์ให้กบ Collection อย่างยิง คือ ่ 1.1.1 หนังสื อ American Studies เป็ นวรรณกรรมจากห้องสมุด AUA (จำนวน 2,060 เล่ม) 1.1.2 หนังสื อภาษาบาลี-สันสกฤต จากทายาท Professor Staal (จำนวน 1,889 เล่ม) 1.1.3 หนังสื อ ASEAN จาก Dr. K.I. Matics (จำนวน 940 เล่ม) 1.1.4 หนังสื อ Chinese History จาก Professor Wilkinson (จำนวน 357 เล่ม ) 1.1.5 หนังสื อพระราชนิ พนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จาก อาจารย์วภาวรรณ มนุญปิ จุ (จำนวน 50 เล่ม) ิ 1.1.6 หนังสื อเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์จากนางสายใจ บุนนาค (จำนวน 47 เล่ม) 1.2 Book Fair งาน “เทศกำลงำนออกร้ ำนหนังสื อในสวน” ครั้งที่ 3 วันที่ 11-13 มกราคม 2555 เพื่อให้นิสิต อาจารย์เลื อกซื้ อและเสนอแนะหนังสื อเข้าห้องสมุด มีร้านค้าเข้าร่ วมงาน 22 ร้าน คัดเลื อกหนังสื อได้กว่า 700 รำยกำร จากแบบประเมินความพึงพอใจระดับมากที่สุดและมาก รวมร้อยละ 85 .90 1.3 การแปลงผันหนังสื อ/สิ่ งพิมพ์ จานวน E-Book ที่ผลิต (จำนวน 62 เรื่อง) 1.4 การแปลงผันสื่ อ DVD ที่ใช้ในการเรี ยนการสอน Upload ขึ้นระบบStreaming (จำนวน 79 เรื่อง)
  • 5. 5 สรุ ปสถิติ ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ ได้จดหาหนังสื อ วารสาร สื่ อโสตทัศน์ และ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ตามการคัดเลือก ั ของคณาจารย์ประจาภาคและหลักสู ตร รวมทั้งรับบริ จาค และได้จดระบบทารายการพร้อมให้บริ การ ั ดังตารางที่ 1 และ 2 ตำรำงที่ 1 จานวนทรัพยากรสารนิเทศของศูนย์ฯ ปี งบประมาณ 2554 และ 2555 ประเภท หน่ วย ทรัพยำกรทีจดซื้อ ่ั ทรัพยำกรทีได้ รับบริจำค ่ ทรัพยำกรทีมท้งหมด ่ ี ั 2554 2555 2554 2555 2554 2555 หนังสื อ เล่ม 2,828 2,307 1,918 6,400 210,952 214,770 วิทยานิพนธ์/ เล่ม - - 418 52 5,379 5,431 รายงานการวิจย ั วารสาร ชื่อ 75 57 206 184 281 241 วีดิทศน์ ั เรื่ อง - - - 1 2,770 2,771 เทปบันทึกเสี ยง เรื่ อง - - - - 804 804 ซี ดีรอม เรื่ อง 83 23 26 82 1,129 1, 234 ดีวีดี/วีซีดี เรื่ อง 14 9 71 60 515 584 สไลด์ เรื่ อง - - - - 11 11 เครื่ องแต่งกาย /ผ้า ชิ้น - - - - 325 325 ทอมือ เกมฝึ กสมอง เกม 2 2 1 - 5 7
  • 6. 6 ตำรำงที่ 2 ทรัพยากรสารนิเทศที่จดซื้ อในปี งบประมาณ 2555 แยกตามสาขาวิชา (Subject) ั สำขำวิชำ หนังสือ วำรสำร ซีดรอม ี ดีวด/ี วีซีดี ี (เล่ม) (ชื่อเรื่ อง) (ชื่อเรื่ อง) (ชื่อเรื่ อง) การละคร 39 ความรู ้ทวไป ั่ 53 23 บรรณารักษศาสตร์ 50 1 ปรัชญา 84 5 ประวัติศาสตร์ 311 1 2 การละคร 39 ความรู ้ทวไป ั่ 53 23 บรรณารักษศาสตร์ 50 1 ปรัชญา 84 5 ประวัติศาสตร์ 311 1 2 ภาษาและวรรณคดีเกาหลี 7 3 ภาษาและวรรณคดีจีน 210 11 ภาษาและวรรณคดีญี่ปุ่น 71 5 3 2 ภาษาและวรรณคดีทิเบต ภาษาและวรรณคดีไทย 365 1 ภาษาและวรรณคดีบาลี-สันสกฤต 14 ภาษาและวรรณคดีโปรตุเกส 28 ภาษาและวรรณคดีฝรั่งเศส 76 3 ภาษาและวรรณคดีพม่า
  • 7. 7 ตำรำงที่ 2 ทรัพยากรสารนิเทศที่จดซื้ อในปี งบประมาณ 2555 แยกตามสาขาวิชา (Subject) (ต่อ) ั สำขำวิชำ หนังสื อ วำรสำร ซีดรอม ี ดีวด/ี วีซีดี ี (เล่ม) (ชื่อเรื่ อง) (ชื่อเรื่ อง) (ชื่อเรื่ อง) ภาษาและวรรณคดีมาเลย์ 15 ภาษาและวรรณคดีเยอรมัน 80 1 ภาษาและวรรณคดีรัสเซี ย 20 ภาษาและวรรณคดีเวียดนาม 7 ภาษาและวรรณคดีสเปน 44 3 3 ภาษาและวรรณคดีองกฤษ ั 259 1 ภาษาและวรรณคดีอาหรับ ภาษาและวรรณคดีอิตาเลียน 50 ภาษาศาสตร์ 157 9 ภูมิศาสตร์ 51 4 4 วิทยาศาสตร์ 1 ศาสนา 42 1 ศิลปะและดนตรี 10 สังคมศาสตร์ 264 2 รวม 2,307 57 23 9
  • 8. 8 2. กำรพัฒนำช่ องทำงกำรเข้ ำถึงและกำรประชำสัมพันธ์ 2.1 ศูนย์ฯ ได้ปรับปรุ งและเพิ่มเนื้อหาบนเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง 2.2 ปรับปรุ งเพิ่มเติ มข่าวสารบน Facebook ของศูนย์ฯ อย่างสม่ าเสมอ ซึ่ งได้รับความสนใจจาก ผูรับบริ การเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ (จำนวน 266 ครั้ง) ้ 2.3 แนะนาหนังสื อและวารสารใหม่ น่าอ่าน พร้อมภาพปก ไว้ที่หน้าเว็บไซต์ศูนย์ฯ เพื่อเพิ่มสี สัน ให้น่าสนใจ เชิ ญชวนให้นิสิตยืมอ่าน ทุกเดือน 2.4 จัดทาสื่ อประชาสัมพันธ์กิจกรรม หนังสื อใหม่ และข่าวที่น่าสนใจ เป็ นภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่ อง ผ่านจอ LCD ภายในห้องสมุด “สรรพศำสตร์ สโมสร” (จำนวน 103 เรื่อง) 3. พัฒนำบริกำรให้ มีประสิทธิภำพยิงขึ้น ่ 3.1 การ Upload ภาพยนตร์ ตามที่อาจารย์ประจารายวิชาส่ งมาให้นิสิตดูประกอบการเรี ยนวิชาต่างๆ ขึ้นให้บริ การแบบ Streaming ทาให้นิสิตสามารถมาดูภาพยนตร์ ได้ดวยตนเอง โดยไม่ตองยืม ้ ้ แผ่นแบบเดิม และดูได้ครั้งละหลายคนโดยไม่ตองเสี ยเวลารอ ้ 3.2 บริ การตูรับคืนหนังสื อนอกเวลาทาการ (Book Drop) มีหนังสื อได้รับคืนเพิ่มขึ้นเป็ น จำนวน ้ 1,184 เล่ม ผู้เข้ ำใช้ บริกำร จำนวนรวม 91,858 ครั้ง จำแนกได้ ดังนี้ อำคำรมหำวชิ รำวุธ นิสิตปริ ญญาตรี 1,482 คน 14,419 ครั้ง นิสิตบัณฑิตศึกษา 488 คน 7,328 ครั้ง อาจารย์ 186 คน 1,054 ครั้ง ข้าราชการและพนักงาน 135 คน 1,055 ครั้ง สมาชิกสมทบ 21 คน 3 ครั้ง บุคคลภายนอก 530 ครั้ง อำคำรมหำจักรีสิรินธร นิสิตปริ ญญาตรี 1,482 คน 60,508 ครั้ง นิสิตบัณฑิตศึกษา 488 คน 6,690 ครั้ง อาจารย์ 186 คน 216 ครั้ง ข้าราชการและพนักงาน 135 คน 55 ครั้ง
  • 9. 9 บริกำรใหม่ 1. บริ การโอกาสพิเศษให้ยมหนังสื อไม่จากัดจานวน ในวันที่ 11 เดือน 11 ปี 2011 มีผใช้บริ การรวม ื ู้ ่ 17 คน (มีผใช้บริ การน้อยเพราะอยูระหว่างวิกฤตน้ าท่วมกรุ งเทพฯ) ู้ 2. บริ การตูรับคืนหนังสื อนอกเวลาทาการ สาหรับผูใช้บริ การที่นาหนังสื อมาคืนหลังเวลาปิ ดบริ การ ้ ้ แล้ว ให้ใส่ ในตูน้ ีได้ มีผนาหนังสื อมาคืน 1,184 เล่ม ้ ู้ สถิติกำรให้ บริกำรต่ ำงๆ มีรายละเอียด ดังตารางที่ 3 ตำรำงที่ 3 สถิติการให้บริ การต่างๆ บริกำร จำนวน หน่ วย บริ การยืม 38,956 เล่ม บริ การยืมระหว่างห้องสมุดในจุฬาฯ ให้อาจารย์และนิสิตบัณฑิตศึกษา 331 เล่ม 261 ราย บริ การยืมระหว่างห้องสมุดนอกจุฬาฯ 15 ราย 15 เล่ม บริ การตอบคาถามและช่วยการค้นคว้า 4,194 คาถาม บริ การสื บค้นฐานข้อมูล 62 หัวเรื่ อง จัดนิทรรศการแนะนาหนังสื อใหม่ 21 ครั้ง ปฐมนิเทศและแนะนาวิธีการสื บค้นข้อมูลแก่นิสิต 804 คน อบรมวิธีการสื บค้นสารนิเทศออนไลน์แก่นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา 374 คน บริ การสื่ อโสตทัศน์และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ (สรรพศาสตร์สโมสร) 893 คน บริ การสื่ อการสอนประกอบรายวิชา (สรรพศาสตร์สโมสร) 1,405 คน บริ การอินเทอร์ เน็ต (สรรพศาสตร์สโมสร) 18,164 ครั้ง บริ การเครื่ องพิมพ์คอมพิวเตอร์ (สรรพศาสตร์สโมสร) 344 ครั้ง บริ การห้องชมภาพยนตร์ (สรรพศาสตร์สโมสร) 1405 คน บริ การห้องอบรม (สรรพศาสตร์สโมสร) 16 ครั้ง เก็บหนังสื อและสิ่ งพิมพ์ที่มีผหยิบใช้ ู้ 94,657 เล่ม ผูใช้ Wireless Lan ้ 525 ครั้ง บริ การแจ้งรายชื่อหนังสื อใหม่พร้อมภาพปก 26 ครั้ง ั ฝึ กงานห้องสมุดให้กบนิสิตสาขาสารนิเทศศึกษา 40 คน ั ฝึ กงานห้องสมุดให้กบนักศึกษาชาวจีน 4 คน
  • 10. 10 4. พัฒนำทำงด้ ำนกำยภำพ ให้ เอื้อต่ อกำรศึกษำค้ นคว้ ำวิจัย 4.1 อำคำรมหำวชิ รำวุธ 4.1.1 ปรับปรุ งห้องอ่านในอาคารมหาวชิราวุธ ที่ ชั้น 3 จัดที่นงค้นคว้าเดี่ยว 24 ที่นง ั่ ั่ กั้นห้องทางานอาจารย์พิเศษ 4 ห้อง และห้องค้นคว้าแบบกลุ่ม 13 ห้อง ั ้ ่ ั 4.1.2 ขนย้ายหนังสื อ วัสดุและครุ ภณฑ์หองทางาน ชั้น 1 ขึ้นไปอยูช้ น 2 และย้าย วารสารเย็บเล่มมาให้บริ การที่หองโถง ชั้น 2 ้ 4.1.3 ขนย้ายหนังสื ออ้างอิง เครื่ องแต่งกายและเครื่ องใช้ชนเผ่าไท-กะได จาก ชั้น 3 ลง มาให้บริ การที่ ชั้น 1 ส่ วนหนังสื อที่มีการใช้นอยจัดเก็บที่หองใต้ดิน ้ ้ 4.1.4 ขนย้ายหนังสื อ นวนิยาย เรื่ องสั้น เรื่ องแปล และหนังสื อสาหรับเด็ก มาไว้ที่หอง้ หนังสื อภาษาตะวันออก 4.1.5 จัดโต๊ะนังอ่านหนังสื อที่ระเบียงนอกห้องอ่าน ชั้น 2 เพื่อให้นิสิตมีที่นงเพิ่มขึ้น ่ ั่ 4.1.6 ติดตั้งลิฟต์โดยสาร ชั้น 1-3 4.1.7 ใช้ถ่ายทารายการโทรทัศน์ 1 ครั้ง 4.2 สรรพศำสตร์ สโมสร 4.2.1 เสริ มความแข็งแรงของชั้นหนังสื อ 4.2.2 เพิ่มชั้นหนังสื ออีก 3 ชั้น 4.2.3 ใช้ถ่ายทารายการโทรทัศน์ 1 ครั้ง 4.2.4 ใช้จดนิทรรศการร่ วมกับสถานทูตต่างๆ 2 ครั้ง ั 5. พัฒนำบุคลำกร 5.1 อบรมการทางานในฐานข้อมูลห้องสมุด (Innopac Millennium Refreshment) 9 คน 5.2 ฝึ กอบรมเชิงปฏิบติการเรื่ อง การใช้ Google Doc ที่ศูนย์วทยทรัพยากร 2 คน ั ิ 5.3 อบรม เรื่ อง การลงรายการด้วย AACR2 และ MARC21 จัดโดยโครงการจัดทาคู่มือ มาตรฐานการลงรายการด้วยระบบ MARC และ AACR2 เพื่อปฏิบติงานในห้องสมุด ั ห้องอบรม ชั้น 4 ศูนย์วทยทรัพยากร 5 คน ิ 5.4 ฝึ กอบรมสัมมนาผูบริ หารระดับต้น สายปฏิบติการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Competent ้ ั Robust Efficent Agile Manager) CREAM รุ่ นที่ 5 จานวน 1 คน 5.5 อบรมเชิงปฏิบติการ "การพัฒนาเว็บไซต์ข้ นสู ง ด้วยภาษา PHP" ห้องปฏิบติการ ั ั ั คอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร อปร ชั้น 8 คณะแพทยศาสตร์ 1 คน 5.6 อบรมเชิงปฏิบติการ "การออกแบบ Template เว็บไซต์สาหรับ Joomla" ห้องปฏิบติการ ั ั คอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร อปร ชั้น 8 คณะแพทยศาสตร์ 1 คน
  • 11. 11 5.7 ฝึ กอบรมเชิงปฏิบติการ การจัดทาหลักเกณฑ์และแนวปฏิบติในการประเมิน Competency ั ั และการจัดทาแผนพัฒนารายบุคคลสาหรับบุคลากรสายปฏิบติการ ฝ่ ายพัฒนาบุคลากร ั สานักบริ หารทรัพยากรมนุษย์ ณ อาคารมหิ ตลาธิเบศร จุฬาฯ จานวน 1 คน 5.8 ฝึ กอบรมเชิงปฏิบติการเรื่ อง การเขียนบันทึกและจดหมายติดต่องาน การเกษียนหนังสื อ รุ่ นที่ ั 5 วันที่ 11-12 กรกฎาคม 2555 ที่ ห้อง 501 อาคารมหาจักรี สิรินธร 2 คน 5.9 อบรมเชิงปฏิบติการ "เทคนิคการใช้สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์" ห้องประชุม ชั้น 7 ศูนย์วทย ั ิ ทรัพยากร 1 คน 5.10 สัมมนาระดับชาติ เรื่ อง Online Information and Education Conference 2012 จัดโดย บริ ษท บุคโปรโมชัน แอนด์ เซอร์ วส จากัด+บริ ษท บุคเน็ท จากัด ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ั ๊ ่ ิ ั ๊ สวนดุสิต 3 คน 5.11 สัมมนาวิชาการ เรื่ อง นโยบายศาสนา : ของมีค่าที่ถูกลืม จัดโดย คณะกรรมการสภาวิจย ั แห่งชาติ สาขาปรัชญา และ สานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ ณ รร.มิราเคิล แกรนด์ ั คอนเวนชัน กทม. จานวน 1 คน ่ 5.12 สัมมนา เรื่ อง การผลิตสื่ อ E-Publishing...มิติใหม่ ห้องประชุม 201 ชั้น 2 อาคารวิจยจุฬา ั ฯ จัดโดย โรงพิมพ์จุฬาฯ 2 คน 5.13 สัมมนาเครื อข่ายห้องสมุด "ทิศทางการจัดการและการให้บริ การสารสนเทศ : การปรับตัว รับการเข้าร่ วมเป็ นประชาคมอาเซี ยน" 6 คน 5.14 สัมมนาโครงการพัฒนาคุณภาพงานกลุ่มเครื อข่ายแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้วชาชีพสาย ิ ปฏิบติการด้วยแนวคิด Lean รุ่ นที่ 5 จานวน 13 คน ั 5.15 ร่ วมประชุมวิชาการ ชบอ. เรื่ อง "เทคโนโลยี Cloud Computing เพื่อการดาเนินงาน ห้องสมุด" ห้องประชุม ชั้น 7 ศูนย์วทยทรัพยากร 3 คน ิ 5.16 ฟังบรรยาย เรื่ อง Citation Database เพื่อสร้างฐานข้อมูลการอ้างอิงผลงานวิชาการของ ประชาคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห้องประชุม 7 ชั้น 3 ศูนย์วทยทรัพยากร จุฬาฯ 1 คน ิ 5.17 ร่ วมฟังการนาเสนอโครงการปรับลดขั้นตอนการทางานในงาน "ก้าวเล็กๆ ที่ยงใหญ่... ิ่ ก้าวใหม่เพื่อจุฬาฯ" ณ หอประชุมจุฬาฯ และ รับเกียรติบตรกลุ่ม Lean 14 คน ั 5.18 ร่ วมเสวนาเรื่ อง หนังสื อเก่า เล่าเรื่ อง มรดกภูมิปัญญาไทย ห้องประชุม ชั้น 7 ศูนย์วทย ิ ทรัพยากร 3 คน 6. ทำนุบำรุงรั กษำและอนุรักษ์ ทรั พยำกรสำรนิเทศ 6.1. ซ่อมหนังสื อชารุ ด จานวน 883 เล่ม 6.2. สแกน วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจย ตารา หนังสื อหายาก จานวน 140 เล่ม ั
  • 12. 12 6.3. แปลงสื่ อโสตทัศน์เป็ นสื่ อดิจิทล 397 แผ่น ั 7. พัฒนำควำมร่ วมมือกับผู้รับบริ กำรส่ วนต่ ำงๆ 7.1 ร่ วมมือกับมหำวิทยำลัย 7.1.1 ร่ วมจัด ปำฐกถำเสำหลักของแผ่ นดิน ชุด 100 ปี ชำตกำล ม.ล.บุญเหลือ เทพยสุ วรรณ ตั้งแต่ 16 มกราคม 2555- 30 กันยายน 2555 (10 ครั้ง) 7.1.2 จัดนิทรรศกำร 150 ปี สมเด็จฯ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ (1 ครั้ง) 7.1.3 ร่ วมกับมูลนิธินิสิตเก่าจุฬาฯ จัดกำรสั มมนำเรื่ อง วิกฤตอภิมหำอุทกภัย : หลำกมิติ หลำยมุมมองพร้ อมแนวทำงแก้ ไขอย่ ำงยังยืน ่ 7.1.4 จัดการเสวนาน้ อมรำลึก 50 ปี กำรเสด็จพระรำชดำเนินร่ วมกำรประชุ มทำงวิชำกำร เรื่อง ปัญหำกำรใช้ คำไทย ในวันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2555 ณ ห้อง 111 อาคารมหา จุฬาลงกรณ์ มีผเู ้ ข้าร่ วมประชุม 120 คน 7.2 ร่ วมมือกับศู นย์ วิทยทรัพยำกร จุฬำฯ 7.2.1 ร่ วมจัดงาน Chulalinet Fair 7.2.2 ร่ วมโครงการยกเว้นค่าปรับเพื่อร่ วมบริ จาคเงินทาการกุศล 7.3 ร่ วมมือกับคณะวิศวกรรมศำสตร์ จุฬำฯ 7.3.1 ร่ วมมือกับภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในการเผยแพร่ การใช้ โปรแกรม Chula Daisy โดยให้อาจารย์และนิสิตที่สนใจฝึ กใช้เพื่อจัดทาหนังสื อเสี ยง 7.4 ร่ วมมือกับหอสมุดคณะแพทยศำสตร์ จุฬำฯ 7.4.1 เป็ นวิทยากรอบรมบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่หอสมุดคณะแพทยศาสตร์ เรื่ อง การใช้ งานและบันทึกข้อมูลหนังสื อที่จดซื้ อ (order record) ด้วยระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ั 7.4.2 เป็ นวิทยากรอบรมบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่หอสมุดคณะแพทยศาสตร์ เรื่ อง การ ทางานและให้บริ การยืม-รับคืน ด้วยระบบห้องสมุดอัตโนมัติ 7.5 ร่ วมกับห้ องสมุดคณะรัฐศำสตร์ จุฬำฯ 7.5.1 เข้าร่ วมบริ การ LibraryAnywhere ของศูนย์สารสนเทศทางสังคมศาสตร์ 7.6 ร่ วมมือกับฝ่ ำยกิจกำรนิสิต คณะอักษรศำสตร์ 7.6.1 ปฐมนิเทศนิสิตใหม่ระดับปริ ญญาตรี 315 คน บัณฑิตศึกษา 133 คน ั 7.6.2 บรรยายเรื่ อง "แนะนาวิธีการสื บค้นฐานข้อมูล e-Book และ e-Journal" ให้กบนิสิต บัณฑิตศึกษา ณ ห้อง 303 อาคารมหาจักรี สิรินธร 7.7 ร่ วมมือกับภำควิชำภำษำไทยและภำควิชำวรรณคดีเปรียบเทียบ 7.7.1 จัดการประกวด “เยาวชนเป็ นปราชญ์ดวยพระราชนิพนธ์” ในวันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม ้
  • 13. 13 2555 ณ ห้อง 111 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 7.8 ร่ วมมือกับภำควิชำบรรณำรักษศำสตร์ ั 7.8.1 ฝึ กงานห้องสมุดให้กบนิสิตสาขาวิชาสารนิเทศศึกษา 40 คน 7.8.2 สอน CU Ref ให้นิสิต ป.ตรี วิชา สารนิเทศในปริ บทสังคม 15 คน 7.8.3 จัดตูนิทรรศการผลงาน สี่ ศาสตราจารย์ ในโอกาสครบรอบ 100 ปี ้ 7.9 ร่ วมมือกับหน่ วยงำนภำยในและภำยนอก ในกำรอำนวยควำมสะดวกด้ ำนสถำนที่ 7.9.1 ฝ่ ายกิจการนิสิต กรรมการ ก.อศ ขอให้ช่วยนาภาพประชาสัมพันธ์กิจกรรม Arts Singing Contest 2012 วันที่ 13, 15 และ 20 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 16.00-20.30 น. ขึ้นเป็ นพื้นหลังจอคอมพิวเตอร์ ที่ให้บริ การ 7.9.2 ฝ่ ายวิรัชกิจ ร่ วมกับสถานเอกอัครราชทูตอิหร่ าน จัดงาน "Cultural Week" วันที่ 7-10 กุมภาพันธ์ 2555 และขอใช้สรรพศาสตร์ สโมสรจัดนิทรรศการ และแถลงข่าว สื่ อมวลชน วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2555 7.9.3 ศูนย์บริ การวิชาการ โครงการอบรมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Intensive Thai Program) ระดับ TH 1 ขอจองห้องชมภาพยนตร์ เดือนมกราคม-ธันวาคม 2555 7.9.4 สาขาวิชาภาษาโปรตุเกส ขอยืมจอ LCD ประกอบการแสดงระบา Capoeira ในงาน สัปดาห์ภาษาและวัฒนธรรมโปรตุเกส 27-31 สิ งหาคม 2555 7.9.5 ศ.ดร.ธีระพันธ์ เหลืองทองคา ขอใช้ห้อง 104 บันทึกการบอกภาษาชนเผ่า วันที่ 18- 19 มกราคม 2555 7.9.6 ผศ.ดร.ชุ ติมา ประกาศวุฒิสาร ขอใช้สรรพศาสตร์ สโมสร ถ่ายทาเทปการสัมภาษณ์ อาจารย์ 7.9.7 อสมท ขอใช้ศูนย์สารนิเทศฯ บันทึกเทปรายการ "หนึ่งในพระราชดาริ " พุธที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 7.9.8 สถาบันขงจื่อ ขอยืมจอ LCD ใช้ในงานเทศกาลวันไหว้พระจันทร์ วันที่ 20 กันยายน 2555 7.10 ฝึ กอบรมโปรแกรมต่ ำงๆโดยเจ้ ำหน้ ำทีศูนย์ ฯ ่ 7.10.1 อบรมการสื บค้นข้อมูลและการประมวลผล ผ่านเครื อข่ายห้องสมุด 7.10.2 อบรมการใช้โปรแกรม Basic Photoshop & Lightroom Workshop 7.10.3 อบรมวิธีการใช้งาน CU Reference Database 8. กำรเยียมชมห้ องสมุด ่ 8.1 คณะจากประเทศภูฏานเยียมชมสรรพศาสตร์สโมสร ธันวาคม 2554 ่ 8.2 คณบดีและอาจารย์สาขาสเปนพาเจ้าหน้าที่จากสถาบันส่ งเสริ มภาษาและวัฒนธรรมของ รัฐบาลสเปน (Instituto Cervantes) มาชมห้องสรรพศาสตร์ฯ และศูนย์สารนิเทศฯ
  • 14. 14 8.3 ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.หนึ่งฤดี โลหผล อาจารย์จากภาควิชาภาษาตะวันตก (สาขาวิชาภาษาอิตา ้ เลียน) ได้พาศาสตราจารย์ Sangyeob Li อาจารย์ภาควิชาวรรณคดีอิตาเลียน จาก Hankuk University of Foreign Studies แวะมาเยียมชมสรรพศาสตร์สโมสร เมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม 2555 ่ 8.4 อาจารย์ ทิวารี โฆษิตธนเกียรติ อาจารย์ประจาภาควิชาภาษาตะวันออก (สาขาวิชาภาษา เวียดนาม) ได้นิมนต์พระสงฆ์จากประเทศเวียดนามและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราช วิทยาลัย มาเยียมชมสรรพศาสตร์สโมสร ในวันอังคารที่ 14 สิ งหาคม 2555 ่ 8.5 นิสิตเก่าอักษรศาสตร์เยียมชมห้องสมุด พฤศจิกายน 2554 ่ 8.6 นิสิตหลักสู ตรเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ จานวน 5 คน เยียมชมห้องสมุดที่อาคารมหาวชิราวุธและ ่ อาคารมหาจักรี สิรินธร วันที่ 9 ธันวาคม 2554 8.7 หัวหน้าห้องสมุดคณะ/วิทยาลัย ในจุฬาฯ จานวน 7 คน เยียมชมห้องสมุด “สรรพศาสตร์ ่ สโมสร” ที่ อาคารมหาจักรี สิรินธร วันที่ 20 มกราคม 2555 8.8 ศูนย์บริ การวิชาการจุฬาฯ นา นร. ม.ปลาย โครงการค่ายฤดูร้อนจุฬาฯ รุ่ น 4 จานวน 70 คน เยียม ่ ชมศูนย์ฯ ที่สรรพศาสตร์สโมสร วันที่ 1 พฤษภาคม 2555 8.9 สถานที่เพื่อจัดตั้งศูนย์ส่งเสริ มภาษาและวัฒนธรรมสเปน วันที่ 4 พฤษภาคม 2555 8.10 รร. สารสาสน์วิเทศร่ มเกล้า ขอนานักเรี ยน 14 คน เข้าชมห้องสมุดที่ อาคารมหาวชิราวุธ และ สรรพศาสตร์สโมสร วันจันทร์ที่ 6 สิ งหาคม 2555 9. กำรจัดเก็บรำยได้ ส่งคณะฯ 9.1 ค่าเข้าใช้รายวัน 12,000.00 บาท 9.2 ค่าปรับส่ งหนังสื อเกินกาหนด 68,948.00 บาท 9.3 ค่าพิมพ์ขอมูลจากคอมพิวเตอร์ ้ 8,614.00 บาท รวมเป็ นเงินทั้งสิ้ น 89,562.00 บาท (แปดหมื่นเก้าพันห้าร้อยหกสิ บสองบาทถ้วน)