SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
OP ART
BG : Untitled (Fragment 1) By Bridget Riley 1965
ศิลปะแบบ Op Art คืออะไร ?
BG : encircling-discs By Bridget Riley 1970
ต้นคริสต์ทศวรรษ 1960-กลาง 1960
• จิตรกรรมแบบ อ็อพ อาร์ต (Op Art) จะเด่นมากในการสร้างภาพนามธรรมที่
เน้นรูปทรงเรขาคณิต ที่มีขอบและเส้นรอบนอกที่คมชัด ทิศทางของรูปทรง
และเส้นรอบนอกมักจะหักเห ยักเยื้อง ทาให้ตาของเราเห็นว่ามันเคลื่อนไหว
วูบวาบ โดยเฉพาะเมื่อเราจ้องมองมันนิ่งๆ สักพัก แล้วเหลือบสายตาให้
เคลื่อนไปจากเดิมเล็กน้อย รูปทรงและเส้นที่ศิลปินวางไว้อย่างเหมาะเจาะจะ
ทาปฏิกริยากับการมอง ทาให้เห็นว่ามันเคลื่อนไหววูบวาบนิดๆ หรือในบาง
กรณีรูปทรงที่จิตรกรสร้างขึ้นจะดูนูนสูงขึ้น เว้าต่าลงหรือปูดออกอย่างสมจริง
ทั้งๆ ที่มันเป็นภาพแบนๆ เท่านั้น
BG : black to white disks By Bridget Riley 1961
ศิลปะแบบ Op Art คืออะไร ?
• ลักษณะเด่นอีกสองประการก็คือ ภาพเขียนเหล่านี้มักจะดูเนี้ยบเป็นระเบียบ
ราวกับถูกผลิตด้วยเครื่องจักร ไม่ใช่งานฝีมือมนุษย์ แสดงถึงความสมัยใหม่
ทาให้นึกไปถึงอะไรที่เป็นอุตสาหกรรม เป็นบุคลิกของเมืองใหญ่
• จุดสาคัญที่สุดของภาพแบบนี้คือ เป็นภาพที่มีผลต่อการมอง ทาให้เกิดการ
ลวงตา
ชื่อ อ็อพ อาร์ต (เป็นที่นิยมในยุโรปและสหรัฐฯ) เป็นชื่อที่ย่อมาจากคาว่า
อ็อพติเคิล อาร์ต (optical art) บางทีก็มีการเรียกว่า เรทินัล อาร์ต (retinal
art) หรือ เพอร์เซ็ปชวล แอ็บสแตรคชัน (perceptual abstraction) หรือ
ศิลปะที่เกี่ยวกับสายตาและการมองนั่นเอง
BG : black to white disks By Bridget Riley 1961
ศิลปะแบบ Op Art คืออะไร ?
ประวัติความเป็นมาของ Op Art
BG : Oval Axis By Bridget Riley 1970
• ความเป็นมาของชื่อ อ็อพ อาร์ต เกิดขึ้นในปี 1964 จาก จอร์จ ริคคีย์
(George Rickey) ประติมากรชาวอเมริกัน ที่ออกไอเดียให้ชื่อนี้ขึ้นมาขณะที่
พูดคุยกับ ปีเตอร์ เซลซ์ (Peter Selz) และ วิลเลียม ซีท์ซ (William Seitz)
คิวเรเตอร์ (ภัณฑารักษ์) ของ เดอะ มิวเซียม ออฟ โมเดิร์น อาร์ต ใน
นิวยอร์ค
• อ็อพ อาร์ต มีรากมาจากทฤษฎีการสอนศิลปะของ โจเซ็พ อัลเบอร์ (Josef
Alber) ศิลปินชื่อดังของโลก ที่เคยสอนอยู่ในโรงเรียนศิลปะ บาว์เฮ้าส์ (the
Bauhaus school of art) ในเยอรมนีระหว่างปลายคริสต์ทศวรรษ 1920 อัล
เบอร์ สอนเกี่ยวกับทฤษฎีสีและการทดลองเกี่ยวกับภาพและการมอง
BG : Fete By Bridget Riley 1989
ประวัติของ Op Art
• แม้ อัลเบอร์ จะไม่ได้ทางานในลักษณะลวงสายตาอย่างวูบวาบแบบ อ็อพ
อาร์ต โดยตรง แต่เขาเขียนภาพนามธรรมที่ใช้สีไม่กี่สี รูปทรงสี่เหลี่ยม
เรียบง่าย แต่ให้ผลเป็นระยะเป็นมิติที่ลวงตาแบบนิ่งๆ มาตลอดชีวิต
• นอกจากนี้ลักษณะเด่นของจิตรกรรมโดย บัลล่า (Balla) ศิลปินชาวอิตาลี
ในกลุ่ม ฟิวเจอริสม์ (Futurism) เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 ก็มีอิทธิพลต่อ
อ็อพ อาร์ต ด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะในแง่ที่ ฟิวเจอริสม์ ชอบภาพที่แสดง
พลังความเคลื่อนไหว สีสันที่สดฉูดฉาดแสดงพลัง และทัศนคติที่เห็นดีเห็น
งามไปกับเครื่องจักรกลไกที่แสดงความเจริญทันสมัย
BG : Fete By Bridget Riley 1989
ประวัติของ Op Art
ศิลปิน Op Art
BG : Blaze Study By Bridget Riley 1962
Bridjet Riley
เกิดวันที่ 24 April 1931 ในนอร์วูล กรุง
ลอนดอน เธอเข้าเรียน เธอเรียนที่โรงเรียน
Cheltenham Ladies College (1946-1949) และต่อ
ด้วย Goldsmiths วิทยาลัยลอนดอน (1949-1952)
และต่อมาที่วิทยาลัยศิลปะ (1952-1955) หลังจาก
ออกจากราชวิทยาลัยในปี ค.ศ. 1955 บริดเจ็ทก็ได้
ร่างกายทรุดโทรมลงในปี 1956 บริดเจ็ทได้เห็นการ
นิทรรศการในลอนดอนเลยมีกาลังใจขึ้นมาอีกครั้ง
บริดเจ็ทเริ่มต้นในการวาดในรูปแบบอื่น ๆ และ
ตัดสินใจว่าชีวิตของเธออยู่ในโลกศิลปะตลอดไป
ศิลปิน Op Art
BG : Compostition with circles 5 By Bridget Riley 2005
Bridjet Riley
ศิลปิน Op Art
Bridjet Riley
ศิลปิน Op Art
Bridjet Riley
ศิลปิน Op Art
ศิลปิน Op Art
Victor Vasarely
เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ.1908 ในกรุงปูดา
เบสต์ ประเทศฮังการี ศึกษาศิลปะที่สถาบันศิลปะใน
ประเทศฮังการี จากนั้นก็ย้ายเข้ามาสู่ประเทศฝรั่งเศส
ผลงานแรกเริ่มของเขา จะเป็นเส้นเรขาคณิต ในรูปแบบ
นามธรรมเรขาคณิต ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงและ
เคลื่อนไหวด้วยลายเส้นและสีที่มีผลต่อสายตาผู้ดูงานของ
วาซาร์ลี แต่ละชิ้นจะสร้างออกมาเป็นชุดๆมีการจัด
องค์ประกอบของภาพ ที่แตกต่างกันเล็กน้อยในแต่ละ
ภาพ วิคเตอร์ วาซาร์ลี ได้รับการับยอมรับและถือว่าเป็น
บิดาแห่งงานศิลปะแบบ อ็อป อาร์ต
BG : Vasarely relief metal By Victor Vasarely 2005
Victor Vasarely
ศิลปิน Op Art
Victor Vasarely
ศิลปิน Op Art
Victor Vasarely
ศิลปิน Op Art
Victor Vasarely
ศิลปิน Op Art
ศิลปิน Op Art
Richard Anuszkiewicz
เกิดวันที่ 23 พฤศภาคม พ.ศ. 1930 ที่ มล
รัฐเพนซีลวาเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงานของ
เขาเป็นงานที่หลอกนัยน์ตา โดยอาศัยสีที่มีความเข้ม
ต่างกัน(ทฤษฏีการวางสีที่ใกล้เคียงกัน) ร่วมกับการ
ใช้รูปทรงเรขาคณิต เช่น รูปสีเหลี่ยมนามาสร้างเป็น
ภาพที่เกิดจากตาข่ายร่างแห และใช้ระยะความเข้ม
อ่อนแก่ของสีทาให้เกิดการหลอกนัยน์ตาขณะที่กาลัง
มองดูภาพ งานของเขาคล้ายกับ เจฟ อัลเบอร์ส
(Josef Albers) ศิลปินในกลุ่ม Op Art อีกคนหนึ่ง
ซึ่งเป็นอาจาร์ยของเขา
BG : Translumina Trinity II By Richard Anuszkiewicz 1986
ศิลปิน Op Art
Maurits Cornelis Escher
เกิดเมื่อ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1898 ที่ประเทศ
เนเธอร์แลนด์ ถึงแก่กรรม 27 มีนาคม ค.ศ. 1972 เมื่ออายุ
ได้ 74 ปี เป็นศิลปินสาขาเลขศิลป์ผู้มีผลงานที่ใช้หลักการ
ทางเรขาคณิต ไม่ว่าจะเป็นรูปทรง มิติ ภาพลวงตา และเทส
เซลเลชัน เขาได้เข้าศึกษาสถาปัตยกรรม ที่โรงเรียน
สถาปัตยกรรมและมัณฑนศิลป์ (ค.ศ. 1919 – 1922) ในเมือง
ฮาร์เลม เริ่มสนใจงานกราฟิก และเดินทางท่องเที่ยว เพื่อ
สเกตช์ภาพทั่วยุโรป เป็นเวลาหลายปี ทางานเป็นนักร่าง
แบบ วาดภาพประกอบหนังสือ นักออกแบบผ้าทอ และวาด
จิตรกรรมฝาผนัง
BG : Sky water By Maurits Cornelis Escher
Josef Albers
เกิดที่เมืองเวสท์ฟาเลีย ประเทศ
เยอรมันนีในปี ค.ศ. 1888 ตอนแรกเขาเข้าเรียน
หนังสือเพื่อจะมาเป็นครู แล้วเขาก็ได้เป็นครูสอน
เด็กประถมในเมืองเวสท์ฟาเลีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1908-
1913 และในตอนนั้นเองที่เขาเริ่มสนใจในศิลปะและ
หันมาเป็นครูศิลปะในปี 1915 เขาได้ฝึกทักษะและ
เรียนรู้เกี่ยวกับศิลปะ Op Art จนได้กลายเป็น
ศิลปินไปในที่สุด เขาเป็นอาจารย์ของ Richard
Anuszkiewicz
ศิลปิน Op Art
BG : Homage to the Square : Sentinel By Josef Albers 1967
จัดทาโดย
นางสาว กนกวรรณ วัฒนมงคลสุข ม.6/3 เลขที่ 28
นางสาว ชลรักษ์ หยาดพิรุณธรรม ม.6/3 เลขที่ 31
นางสาว ญาศุมินทร์ แก่นวงษ์ ม.6/3 เลขที่ 33
THE END
BG : Kiss By Bridget Riley 1961

Contenu connexe

Tendances

เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
Tanchanok Pps
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
พัน พัน
 
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
kkrunuch
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
Jeerapob Seangboonme
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
peter dontoom
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
Jariya Jaiyot
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
พัน พัน
 

Tendances (20)

เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาบทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Plus de Horania Vengran

Plus de Horania Vengran (6)

การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH) การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
 
Reading passage(no answer)
Reading passage(no answer)Reading passage(no answer)
Reading passage(no answer)
 
ธาตุ Palladium (TH)
ธาตุ Palladium (TH)ธาตุ Palladium (TH)
ธาตุ Palladium (TH)
 
K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)
K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)
K. Animalia : P.Chordata : C.Amphibia+Reptilia+Aves(TH)
 
ศิลปะสมัยทวารวดี(TH)
ศิลปะสมัยทวารวดี(TH)ศิลปะสมัยทวารวดี(TH)
ศิลปะสมัยทวารวดี(TH)
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 

ศิลปะแบบ Op-Art (TH)

  • 1. OP ART BG : Untitled (Fragment 1) By Bridget Riley 1965
  • 2. ศิลปะแบบ Op Art คืออะไร ? BG : encircling-discs By Bridget Riley 1970
  • 3. ต้นคริสต์ทศวรรษ 1960-กลาง 1960 • จิตรกรรมแบบ อ็อพ อาร์ต (Op Art) จะเด่นมากในการสร้างภาพนามธรรมที่ เน้นรูปทรงเรขาคณิต ที่มีขอบและเส้นรอบนอกที่คมชัด ทิศทางของรูปทรง และเส้นรอบนอกมักจะหักเห ยักเยื้อง ทาให้ตาของเราเห็นว่ามันเคลื่อนไหว วูบวาบ โดยเฉพาะเมื่อเราจ้องมองมันนิ่งๆ สักพัก แล้วเหลือบสายตาให้ เคลื่อนไปจากเดิมเล็กน้อย รูปทรงและเส้นที่ศิลปินวางไว้อย่างเหมาะเจาะจะ ทาปฏิกริยากับการมอง ทาให้เห็นว่ามันเคลื่อนไหววูบวาบนิดๆ หรือในบาง กรณีรูปทรงที่จิตรกรสร้างขึ้นจะดูนูนสูงขึ้น เว้าต่าลงหรือปูดออกอย่างสมจริง ทั้งๆ ที่มันเป็นภาพแบนๆ เท่านั้น BG : black to white disks By Bridget Riley 1961 ศิลปะแบบ Op Art คืออะไร ?
  • 4. • ลักษณะเด่นอีกสองประการก็คือ ภาพเขียนเหล่านี้มักจะดูเนี้ยบเป็นระเบียบ ราวกับถูกผลิตด้วยเครื่องจักร ไม่ใช่งานฝีมือมนุษย์ แสดงถึงความสมัยใหม่ ทาให้นึกไปถึงอะไรที่เป็นอุตสาหกรรม เป็นบุคลิกของเมืองใหญ่ • จุดสาคัญที่สุดของภาพแบบนี้คือ เป็นภาพที่มีผลต่อการมอง ทาให้เกิดการ ลวงตา ชื่อ อ็อพ อาร์ต (เป็นที่นิยมในยุโรปและสหรัฐฯ) เป็นชื่อที่ย่อมาจากคาว่า อ็อพติเคิล อาร์ต (optical art) บางทีก็มีการเรียกว่า เรทินัล อาร์ต (retinal art) หรือ เพอร์เซ็ปชวล แอ็บสแตรคชัน (perceptual abstraction) หรือ ศิลปะที่เกี่ยวกับสายตาและการมองนั่นเอง BG : black to white disks By Bridget Riley 1961 ศิลปะแบบ Op Art คืออะไร ?
  • 6. • ความเป็นมาของชื่อ อ็อพ อาร์ต เกิดขึ้นในปี 1964 จาก จอร์จ ริคคีย์ (George Rickey) ประติมากรชาวอเมริกัน ที่ออกไอเดียให้ชื่อนี้ขึ้นมาขณะที่ พูดคุยกับ ปีเตอร์ เซลซ์ (Peter Selz) และ วิลเลียม ซีท์ซ (William Seitz) คิวเรเตอร์ (ภัณฑารักษ์) ของ เดอะ มิวเซียม ออฟ โมเดิร์น อาร์ต ใน นิวยอร์ค • อ็อพ อาร์ต มีรากมาจากทฤษฎีการสอนศิลปะของ โจเซ็พ อัลเบอร์ (Josef Alber) ศิลปินชื่อดังของโลก ที่เคยสอนอยู่ในโรงเรียนศิลปะ บาว์เฮ้าส์ (the Bauhaus school of art) ในเยอรมนีระหว่างปลายคริสต์ทศวรรษ 1920 อัล เบอร์ สอนเกี่ยวกับทฤษฎีสีและการทดลองเกี่ยวกับภาพและการมอง BG : Fete By Bridget Riley 1989 ประวัติของ Op Art
  • 7. • แม้ อัลเบอร์ จะไม่ได้ทางานในลักษณะลวงสายตาอย่างวูบวาบแบบ อ็อพ อาร์ต โดยตรง แต่เขาเขียนภาพนามธรรมที่ใช้สีไม่กี่สี รูปทรงสี่เหลี่ยม เรียบง่าย แต่ให้ผลเป็นระยะเป็นมิติที่ลวงตาแบบนิ่งๆ มาตลอดชีวิต • นอกจากนี้ลักษณะเด่นของจิตรกรรมโดย บัลล่า (Balla) ศิลปินชาวอิตาลี ในกลุ่ม ฟิวเจอริสม์ (Futurism) เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 ก็มีอิทธิพลต่อ อ็อพ อาร์ต ด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะในแง่ที่ ฟิวเจอริสม์ ชอบภาพที่แสดง พลังความเคลื่อนไหว สีสันที่สดฉูดฉาดแสดงพลัง และทัศนคติที่เห็นดีเห็น งามไปกับเครื่องจักรกลไกที่แสดงความเจริญทันสมัย BG : Fete By Bridget Riley 1989 ประวัติของ Op Art
  • 8. ศิลปิน Op Art BG : Blaze Study By Bridget Riley 1962
  • 9. Bridjet Riley เกิดวันที่ 24 April 1931 ในนอร์วูล กรุง ลอนดอน เธอเข้าเรียน เธอเรียนที่โรงเรียน Cheltenham Ladies College (1946-1949) และต่อ ด้วย Goldsmiths วิทยาลัยลอนดอน (1949-1952) และต่อมาที่วิทยาลัยศิลปะ (1952-1955) หลังจาก ออกจากราชวิทยาลัยในปี ค.ศ. 1955 บริดเจ็ทก็ได้ ร่างกายทรุดโทรมลงในปี 1956 บริดเจ็ทได้เห็นการ นิทรรศการในลอนดอนเลยมีกาลังใจขึ้นมาอีกครั้ง บริดเจ็ทเริ่มต้นในการวาดในรูปแบบอื่น ๆ และ ตัดสินใจว่าชีวิตของเธออยู่ในโลกศิลปะตลอดไป ศิลปิน Op Art BG : Compostition with circles 5 By Bridget Riley 2005
  • 13.
  • 14. ศิลปิน Op Art Victor Vasarely เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ.1908 ในกรุงปูดา เบสต์ ประเทศฮังการี ศึกษาศิลปะที่สถาบันศิลปะใน ประเทศฮังการี จากนั้นก็ย้ายเข้ามาสู่ประเทศฝรั่งเศส ผลงานแรกเริ่มของเขา จะเป็นเส้นเรขาคณิต ในรูปแบบ นามธรรมเรขาคณิต ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงและ เคลื่อนไหวด้วยลายเส้นและสีที่มีผลต่อสายตาผู้ดูงานของ วาซาร์ลี แต่ละชิ้นจะสร้างออกมาเป็นชุดๆมีการจัด องค์ประกอบของภาพ ที่แตกต่างกันเล็กน้อยในแต่ละ ภาพ วิคเตอร์ วาซาร์ลี ได้รับการับยอมรับและถือว่าเป็น บิดาแห่งงานศิลปะแบบ อ็อป อาร์ต BG : Vasarely relief metal By Victor Vasarely 2005
  • 19. ศิลปิน Op Art Richard Anuszkiewicz เกิดวันที่ 23 พฤศภาคม พ.ศ. 1930 ที่ มล รัฐเพนซีลวาเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงานของ เขาเป็นงานที่หลอกนัยน์ตา โดยอาศัยสีที่มีความเข้ม ต่างกัน(ทฤษฏีการวางสีที่ใกล้เคียงกัน) ร่วมกับการ ใช้รูปทรงเรขาคณิต เช่น รูปสีเหลี่ยมนามาสร้างเป็น ภาพที่เกิดจากตาข่ายร่างแห และใช้ระยะความเข้ม อ่อนแก่ของสีทาให้เกิดการหลอกนัยน์ตาขณะที่กาลัง มองดูภาพ งานของเขาคล้ายกับ เจฟ อัลเบอร์ส (Josef Albers) ศิลปินในกลุ่ม Op Art อีกคนหนึ่ง ซึ่งเป็นอาจาร์ยของเขา BG : Translumina Trinity II By Richard Anuszkiewicz 1986
  • 20.
  • 21. ศิลปิน Op Art Maurits Cornelis Escher เกิดเมื่อ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1898 ที่ประเทศ เนเธอร์แลนด์ ถึงแก่กรรม 27 มีนาคม ค.ศ. 1972 เมื่ออายุ ได้ 74 ปี เป็นศิลปินสาขาเลขศิลป์ผู้มีผลงานที่ใช้หลักการ ทางเรขาคณิต ไม่ว่าจะเป็นรูปทรง มิติ ภาพลวงตา และเทส เซลเลชัน เขาได้เข้าศึกษาสถาปัตยกรรม ที่โรงเรียน สถาปัตยกรรมและมัณฑนศิลป์ (ค.ศ. 1919 – 1922) ในเมือง ฮาร์เลม เริ่มสนใจงานกราฟิก และเดินทางท่องเที่ยว เพื่อ สเกตช์ภาพทั่วยุโรป เป็นเวลาหลายปี ทางานเป็นนักร่าง แบบ วาดภาพประกอบหนังสือ นักออกแบบผ้าทอ และวาด จิตรกรรมฝาผนัง BG : Sky water By Maurits Cornelis Escher
  • 22.
  • 23. Josef Albers เกิดที่เมืองเวสท์ฟาเลีย ประเทศ เยอรมันนีในปี ค.ศ. 1888 ตอนแรกเขาเข้าเรียน หนังสือเพื่อจะมาเป็นครู แล้วเขาก็ได้เป็นครูสอน เด็กประถมในเมืองเวสท์ฟาเลีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1908- 1913 และในตอนนั้นเองที่เขาเริ่มสนใจในศิลปะและ หันมาเป็นครูศิลปะในปี 1915 เขาได้ฝึกทักษะและ เรียนรู้เกี่ยวกับศิลปะ Op Art จนได้กลายเป็น ศิลปินไปในที่สุด เขาเป็นอาจารย์ของ Richard Anuszkiewicz ศิลปิน Op Art BG : Homage to the Square : Sentinel By Josef Albers 1967
  • 24.
  • 25. จัดทาโดย นางสาว กนกวรรณ วัฒนมงคลสุข ม.6/3 เลขที่ 28 นางสาว ชลรักษ์ หยาดพิรุณธรรม ม.6/3 เลขที่ 31 นางสาว ญาศุมินทร์ แก่นวงษ์ ม.6/3 เลขที่ 33 THE END BG : Kiss By Bridget Riley 1961