SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  22
Télécharger pour lire hors ligne
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
หน่วยที่ 4 เมืองหลงของประเทศในอาเซียน
1. มาเลเซีย
2. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
3. ราชอาณาจักรกัมพูชา
4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
5. ราชอาณาจักรไทย
6. สาธารณรัฐสิงคโปร์
7. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
8. รัฐบรูไนดารุสซาลาม
9. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
10. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ผลการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้
เวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 2
จานวน 4 ชั่วโมง
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คาชี้แนะนา ข้อสอบมี 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูก
ที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ
ให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือกตอบ
1. เนปิดอว์ (Naypyidaw) เป็นชื่อเมืองหลวงแห่งใหม่ของประเทศในข้อใด
ก. มาเลเชีย
ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา
ค. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
ง. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
2. ตึกแฝดเปโตรนาส ที่สูงที่สุดในโลกอยู่ที่ประเทศใด
ก. มาเลเซีย
ข. สาธารณรัฐสิงคโปร์
ค. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ง. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
3. เมืองโฮจิมินห์ ซิตี้ เดิมชื่อว่าอย่างไร
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 3
ก. ฮานอย
ข. ไซ่ง่อน
ค. ฮอยอัน
ง. เมืองเว้
4. มหาเจดีย์อุปปตศานติ ในเมืองเนปิดอว์เป็นสถานที่สาคัญของประเทศใด
ก. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา
ค. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
ง. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
5. หากนักท่องเที่ยวจะไปเที่ยวมัสยิดทองคาสไตล์อิตาลี จะไปดูได้ที่ประเทศใด
ก. มาเลเซีย
ข. รัฐบรูไนดารุสซาลาม
ค. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ง. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
6. ก่อนที่ลาวจะย้ายเมืองหลวงมากรุงเวียงจันทน์นั้นเดิมนั้นลาวมีเมืองหลวงชื่อว่าอะไร
ก. ไชยบุลี
ข. จาปาสัก
ค. สะหวันนเขต
ง. หลวงพระบาง
7. สถานที่สาคัญที่เป็นจุดศูนย์กลางของการเดินทางของไทยคือข้อใด
ก. อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
ข. อนุสาวรีย์ชัยประธิปไตย
ค. อนุสาวรีย์ชัยวงเวียนใหญ่
ง. อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ
8. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ อนุสาวรีย์ 3 กษัตริย์พม่ากลางกรุงเนปิดอว์
ก. เจ้าอโนรธา
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 4
ข. พระเจ้าบุเรงนอง
ค. พะเจ้านันทบุเรง
ง. พระเจ้าอลองพญา
9. อนุสาวรีย์ไรซอล มีความสาคัญต่อสาธารณรัฐฟิลิปปินส์อย่างไร
ก. ปลดแอกจากสเปน
ข. ปลดแอกจากฝรั่งเศส
ค. ปลดแอกจากอังกฤษ
ง. ปลดแอกจากเนเธอร์แลนด์
10. กัมพูชา พูดภาษาที่สองได้ดีเนื่องจากเคยเป็นอาณานิคมของประเทศในข้อใด
ก. อาณานิคมของสเปน
ข. อาณานิคมของฝรั่งเศส
ค. อาณานิคมของอังกฤษ
ง. อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ข้อที่ เฉลย ข้อที่ เฉลย
1 ค 6 ง
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 5
2 ก 7 ข
3 ข 8 8
4 ค 9 ก
5 ข 10 ข
หน่วยที่ 8
เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
รายวิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 (สาระเพิ่มเติม)
มัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา 4 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต รวมเวลา 40 ชั่วโมง
…………………......................………………………
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 6
ตอนที่ 1 มาเลเซีย (Malaysia)
กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมืองหลวงของมาเลเซีย ก่อตั้งประมาณ ค.ศ. 1850 (พ.ศ. 2393)
มีเนื้อที่ประมาณ 243 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 1.6 ล้านคน ซึ่งถือว่าเป็นเมืองที่มี
ประชากรมากสุดของประเทศ เมื่อมองทางด้านเชื้อชาติของผู้อาศัยในกรุงกัวลาลัมเปอร์
พบว่า เป็นชาวมาเลย์และชาวจีนเป็นส่วนใหญ่ ขณะที่ชาวอินเดียมีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
สาหรับสัญลักษณ์ยุคใหม่ของกรุงกัวลาลัมเปอร์ ที่ใคร ๆ ก็รู้จัก คงหนีไม่พ้นตึกแฝด
เปโตรนาส อย่างแน่นอน
ตอนที่ 2 สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
(Republic of the Union of the Myanmar)
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 7
กรุงเนปิดอว์ เมืองหลวงแห่งใหม่ของพม่า ซึ่งย้ายมาจากกรุงย่างกุ้งมาตั้งแต่ พ.ศ.
2548 มีเนื้อที่ประมาณ 7,024 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 9 แสนคน และเพิ่งเปิดให้
นักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวได้ในปีนี้ (พ.ศ. 2555)
สาหรับการย้ายเมืองหลวงมายังกรุงเนปิดอว์ ยังไม่ทราบเหตุผลที่แน่ชัด แต่เท่าที่
หลายฝ่ายวิเคราะห์ อาจจะเป็นเพราะต้องการตั้งเมืองหลวงในใจกลางประเทศ เพื่อ
ยุทธศาสตร์ทางการทหาร ต่างจากย่างกุ้งที่อยู่ใกล้ทะเลมากเกินไป หรือไม่ก็ต้องการฟื้นฟู
ธรรมเนียมดั้งเดิม เมื่อมีการเปลี่ยนราชวงศ์ก็ต้องย้ายเมืองหลวง
เนปิดอว์ แม้ว่าจะเป็นเมืองที่สร้างใหม่ แต่ก็มีสถานที่ที่น่าสนใจ อาทิ อนุสาวรีย์ 3
กษัตริย์พม่าได้แก่ พระเจ้าอโนรธา แห่งเมืองพุกาม พระเจ้าบุเรงนอง แห่งเมืองหงสาวดี
และพระเจ้าอลองพญาแห่งชเวโบ กลางเมืองเนปิดอว์ นอกจากนี้ ยังจาลองเจดีย์ชเวดากอง
ในเมืองอีกด้วย ชื่อว่า มหาเจดีย์อุปปตศานติ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 8
ตอนที่ 3 ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
พนมเปญ เมืองหลวงของประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้าโขง มีพื้นที่ 678 ตาราง
กิโลเมตร มีประชากรราว 2,250,000 ล้านคน นับว่ามากที่สุดในกัมพูชา และเป็นแหล่ง
เศรษฐกิจที่สาคัญที่สุดของประเทศอีกด้วย
สาหรับประวัติกรุงพนมเปญ ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1372 (พ.ศ. 1915) และเป็นเมือง
หลวงของกัมพูชา ก่อนที่จะย้ายเมืองไปย้ายเมืองมา เนื่องจากถูกรุกรานจากอาณาจักรกรุง
ศรีอยุธยาและเวียดนามสลับกันโจมตี กระทั่งกัมพูชาเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ทาให้
ค.ศ.1865 (พ.ศ. 2408) ในยุคของพระเจ้านโรดมที่ 1 กรุงพนมเปญจึงถูกตั้งเป็นเมืองหลวง
อีกครั้ง
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 9
ตอนที่ 4 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(Lao People’s Democratic Republic)
กรุงเวียงจันทน์ เมืองหลวงของลาว ตั้งอยู่ริมแม่น้าโขง และมีอาณาเขตติดต่อกับ
ประเทศไทย มีเนื้อที่ 3,920 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 7 แสนคน นับว่ามาก
ที่สุดในประเทศ
เดิมนั้นลาวมีเมืองหลวงคือ หลวงพระบาง ทว่าในช่วง ค.ศ. 1563 (พ.ศ. 2106) เป็น
ต้นมา พระเจ้าไชยเชษฐาราชแห่งอาณาจักรล้านช้าง ก็ได้ตั้งเวียงจันทน์เป็นเมืองหลวงแทน
เพื่อหลีกหนีการรุกรานของพระเจ้าบุเรงนองแห่งอาณาจักรหงสาวดี
สาหรับสถานที่สาคัญของกรุงเวียงจันทน์ มีอยู่ 2 สถานที่ด้วยกัน ซึ่งถือว่าเป็น
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 10
สถานที่ที่เป็นประวัติศาสตร์ของเมืองด้วย ได้แก่ หอพระแก้ว ซึ่งเป็นสถานที่ในการเก็บพระ
แก้วของลาว กับวัดพระธาตุหลวง เป็นวัดที่เป็นสัญลักษณ์ของลาว และสร้างพระธาตุหลวง
ด้วยทองคา
ตอนที่ 5 ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของไทย มีเนื้อที่ 1,568 ตารางกิโลเมตร ประชากร
ประมาณ 5.6 ล้านคน นับเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร มีอายุมาแล้วกว่า 230 ปี ก่อตั้งราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 (พุทธ
ศตวรรษที่ 20) มีสถานที่สาคัญอย่างวัดพระแก้ว สนามหลวงเป็นสัญลักษณ์ทาง
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 11
ประวัติศาสตร์ เนื่องจากพื้นที่ตรงนี้เคยเป็นพระบรมมหาราชวังของกษัตริย์ในต้นราชวงศ์
จักรีมาก่อน มีสยามสแควร์ ตลาดนัดสวนจตุจักรเป็นสัญลักษณ์ของการช็อปปิ้ง และมี
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิเป็นจุดศูนย์กลางของการเดินทาง
ตอนที่ 6 สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 12
สิงคโปร์ เป็นประเทศเดียวที่ไม่มีเมืองหลวง เนื่องจากเป็นเกาะขนาด 710 ตาราง
กิโลเมตร จึงบริหารประเทศทั้งหมดเป็นรัฐเดียว มีประชากรราว 5 ล้านคน ก่อตั้งราว
คริสตศตวรรษที่ 2 (พุทธศตวรรษที่ 7)
สาหรับสัญลักษณ์ที่สาคัญของสิงคโปร์ ย่อมหนีไม่พ้นเมอร์ไลอ้อน (สิงโตทะเล)
ที่ตั้งอยู่ในเมือง มีหัวเป็นสิงโต ร่างเป็นปลา ยืนอยูบนยอดคลื่น สามารถพ้นน้าออกมาได้
ตอนที่ 7 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
(Socialist Republic of Vietnam)
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 13
ฮานอย เมืองหลวงของเวียดนาม มีพื้นที่ 3,344 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ
6.5 ล้านคน นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศรองจาก โฮจิมินห์ ซิตี้ ถือว่าเป็นเมือง
ที่แปลกมาก เพราะโดยทั่วไปปกติเมืองหลวงมักเป็นเมืองที่มีประชากรมากสุด (ไม่นับเน
ปิดอว์ เพราะเป็นเมืองที่สร้างใหม่)
กรุงฮานอย ถูกสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1010 (พ.ศ. 1553) และเป็นเมืองหลวงของ
อาณาจักรไต้เวียด ก่อนที่จะใช้เมืองเว้ในช่วงราชวงศ์เหงียน และกลับมาใช้ฮานอยเป็นเมือง
หลวงอีกครั้งในยุคที่เป็นอาณานิคมฝรั่งเศส หลัง ค.ศ. 1887 (พ.ศ. 2430) เป็นต้นไป
ด้วยเหตุนี้จึงนับได้ว่า ฮานอยเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุด เป็นเมืองหลวงเวียดนามเกือบพันปี
เลยทีเดียว
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 14
ตอนที่ 8 รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam)
บันดาร์ เสรี เบกาวัน เมืองหลวงของประเทศบรูไน ก่อตั้งเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 8
(พุทธศตวรรษที่ 13) ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของแม่น้าบรูไน มีพื้นที่ 1,395 ตารางกิโลเมตร
มีประชากรประมาณ 1.4 แสนคน โดยมีชาวบรูไนกับมาเลย์เป็นประชากรหลัก และมีชาว
จีนอาศัยเป็นชนกลุ่มน้อย
ด้านสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญของเมืองบันดาร์ เสรี เบกาวัน มีมากมายหลายแนว
แยกเป็นสถานที่สาคัญทางศาสนาก็ต้องไปที่ มัสยิดสุลต่าน โอมาร์ อาลี ไซฟัดดิน ซึ่งเป็น
มัสยิดทองคาสไตล์อิตาลี หรือถ้าหากต้องการชมวิถีชีวิตคนที่นี่ ก็ต้องไปที่ หมู่บ้านริมน้า
Kampong Ayer
ติดแม่น้าบรูไน ยาวกว่า 8 กิโลเมตร ที่แห่งนี้นับว่าถูกบรรจุเป็นมรดกโลก มีผู้อาศัยกว่า
3 หมื่นครัวเรือน และอายุมากกว่า 1 พันปีแล้ว
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 15
ตอนที่ 9 สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of Philippines)
กรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลิปปินส์ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1574 (พ.ศ. 2117) ตั้งอยู่บน
เกาะลูซอน ริมอ่าวมะนิลา มีเนื้อที่ประมาณ 38.55 ตารางกิโลเมตร ซึ่งถือว่าเล็กมาก มี
ประชากรประมาณ 1.6 ล้านคน
สาหรับสัญลักษณ์ของกรุงมะนิลา ได้แก่ อนุเสาวรีย์ไรซอล ที่สวนสาธารณะลูเนต้า
ซึ่งอนุเสาวรีย์ดังกล่าว เป็นอนุเสาวรีย์ของโฆเซ่ ไรซอล บุคคลสาคัญที่ปลุกระดมให้ชาว
ฟิลิปปินส์สู้เพื่อปลดแอกจากสเปนได้ อย่างไรก็ตาม ไรซอลกลับถูกนาไปประหารเสียก่อน
ก่อนที่จะเห็นความสาเร็จตัวเองในภายหลัง
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 16
ตอนที่ 10 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
จาการ์ตา เมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งถือว่าเป็นประเทศที่มีพื้นที่มาก
ที่สุดในอาเซียน ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะชวา ติดทะเลชวา มีเนื้อที่ 740 กิโลเมตร มี
ประชากรประมาณ 10 ล้านคน และเป็นที่ตั้งของสานักงานอาเซียนด้วย
สาหรับกรุงจาการ์ตา ก่อตั้งตั้งแต่ ค.ศ. 397 (พ.ศ. 940) และเป็นเมืองหลวงของ
อินโดนีเซียมาอย่างยาวนานตั้งแต่ก่อนเป็นอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์จนถึงปัจจุบัน
สัญลักษณ์ที่สาคัญที่สุดของกรุงจาการ์ตา ได้แก่ อนุเสาวรีย์ประจาชาติอินโดนีเซีย
(โมนาส) ซึ่งถือว่าเป็นอนุเสาวรีย์ที่สร้างโดยมีส่วนประกอบของทองคา ในยุคของ
ประธานาธิบดีซูการ์โน ผู้ประกาศเอกราชให้อินโดนีเซียปลดแอกจากเนเธอร์แลนด์ได้
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 17
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คาชี้แนะนา ข้อสอบมี 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด
เพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบให้
ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือกตอบ
1. เนปิดอว์ (Naypyidaw) เป็นชื่อเมืองหลวงแห่งใหม่ของประเทศในข้อใด
ก. มาเลเชีย
ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา
ค. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
ง. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
2. ตึกแฝดเปโตรนาส ที่สูงที่สุดในโลกอยู่ที่ประเทศใด
ก. มาเลเซีย
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 18
ข. สาธารณรัฐสิงคโปร์
ค. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ง. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
3. เมืองโฮจิมินห์ ซิตี้ เดิมชื่อว่าอย่างไร
ก. ฮานอย
ข. ไซ่ง่อน
ค. ฮอยอัน
ง. เมืองเว้
4. มหาเจดีย์อุปปตศานติ ในเมืองเนปิดอว์เป็นสถานที่สาคัญของประเทศใด
ก. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา
ค. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
ง. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
5. หากนักท่องเที่ยวจะไปเที่ยวมัสยิดทองคาสไตล์อิตาลี จะไปดูได้ที่ประเทศใด
ก. มาเลเซีย
ข. รัฐบรูไนดารุสซาลาม
ค. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ง. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
6. ก่อนที่ลาวจะย้ายเมืองหลวงมากรุงเวียงจันทน์นั้นเดิมนั้นลาวมีเมืองหลวงชื่อว่าอะไร
ก. ไชยบุลี
ข. จาปาสัก
ค. สะหวันนเขต
ง. หลวงพระบาง
7. สถานที่สาคัญที่เป็นจุดศูนย์กลางของการเดินทางของไทยคือข้อใด
ก. อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 19
ข. อนุสาวรีย์ชัยประธิปไตย
ค. อนุสาวรีย์ชัยวงเวียนใหญ่
ง. อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ
8. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ อนุสาวรีย์ 3 กษัตริย์พม่ากลางกรุงเนปิดอว์
ก. เจ้าอโนรธา
ข. พระเจ้าบุเรงนอง
ค. พะเจ้านันทบุเรง
ง. พระเจ้าอลองพญา
9. อนุสาวรีย์ไรซอล มีความสาคัญต่อสาธารณรัฐฟิลิปปินส์อย่างไร
ก. ปลดแอกจากสเปน
ข. ปลดแอกจากฝรั่งเศส
ค. ปลดแอกจากอังกฤษ
ง. ปลดแอกจากเนเธอร์แลนด์
10. กัมพูชา พูดภาษาที่สองได้ดีเนื่องจากเคยเป็นอาณานิคมของประเทศในข้อใด
ก. อาณานิคมของสเปน
ข. อาณานิคมของฝรั่งเศส
ค. อาณานิคมของอังกฤษ
ง. อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 20
ข้อที่ เฉลย ข้อที่ เฉลย
1 ค 6 ง
2 ก 7 ข
3 ข 8 8
4 ค 9 ก
5 ข 10 ข
บรรณานุกรม
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 21
กระปุกดอทคอม. http://hilight.kapook.com/view/76316.สืบค้นเมื่อวันที่ 18
เดือน เมษายน พ.ศ. 2555
ประเทศเวียดนาม. http://www.surin.rmuti.ac.th/surin2554/
asean/pdf/vadnam.pdf . สืบค้นเมื่อวันที่ 18 เดือน เมษายน พ.ศ. 2555
สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551). แบบปฏิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม
อาเซียน ม. 1. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551) . แบบปฎิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม
อาเซียน ม. 2. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551) . แบบปฎิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม
อาเซียน ม. 3. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สุระ ดามาพงษ์และคณะ. (2551) . เกร็ดน่ารู้อาเซียน. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิชย์.
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 22

Contenu connexe

Plus de หรร 'ษๅ

แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน หรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนหรร 'ษๅ
 

Plus de หรร 'ษๅ (20)

แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
 

เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน

  • 1. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเมืองหลวงของประเทศในอาเซียน หน่วยที่ 4 เมืองหลงของประเทศในอาเซียน 1. มาเลเซีย 2. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 3. ราชอาณาจักรกัมพูชา 4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 5. ราชอาณาจักรไทย 6. สาธารณรัฐสิงคโปร์ 7. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 8. รัฐบรูไนดารุสซาลาม 9. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 10. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
  • 2. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 2 จานวน 4 ชั่วโมง แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คาชี้แนะนา ข้อสอบมี 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูก ที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ ให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือกตอบ 1. เนปิดอว์ (Naypyidaw) เป็นชื่อเมืองหลวงแห่งใหม่ของประเทศในข้อใด ก. มาเลเชีย ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา ค. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ง. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2. ตึกแฝดเปโตรนาส ที่สูงที่สุดในโลกอยู่ที่ประเทศใด ก. มาเลเซีย ข. สาธารณรัฐสิงคโปร์ ค. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ง. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 3. เมืองโฮจิมินห์ ซิตี้ เดิมชื่อว่าอย่างไร
  • 3. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 3 ก. ฮานอย ข. ไซ่ง่อน ค. ฮอยอัน ง. เมืองเว้ 4. มหาเจดีย์อุปปตศานติ ในเมืองเนปิดอว์เป็นสถานที่สาคัญของประเทศใด ก. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา ค. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ง. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 5. หากนักท่องเที่ยวจะไปเที่ยวมัสยิดทองคาสไตล์อิตาลี จะไปดูได้ที่ประเทศใด ก. มาเลเซีย ข. รัฐบรูไนดารุสซาลาม ค. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ง. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 6. ก่อนที่ลาวจะย้ายเมืองหลวงมากรุงเวียงจันทน์นั้นเดิมนั้นลาวมีเมืองหลวงชื่อว่าอะไร ก. ไชยบุลี ข. จาปาสัก ค. สะหวันนเขต ง. หลวงพระบาง 7. สถานที่สาคัญที่เป็นจุดศูนย์กลางของการเดินทางของไทยคือข้อใด ก. อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ข. อนุสาวรีย์ชัยประธิปไตย ค. อนุสาวรีย์ชัยวงเวียนใหญ่ ง. อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ 8. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ อนุสาวรีย์ 3 กษัตริย์พม่ากลางกรุงเนปิดอว์ ก. เจ้าอโนรธา
  • 4. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 4 ข. พระเจ้าบุเรงนอง ค. พะเจ้านันทบุเรง ง. พระเจ้าอลองพญา 9. อนุสาวรีย์ไรซอล มีความสาคัญต่อสาธารณรัฐฟิลิปปินส์อย่างไร ก. ปลดแอกจากสเปน ข. ปลดแอกจากฝรั่งเศส ค. ปลดแอกจากอังกฤษ ง. ปลดแอกจากเนเธอร์แลนด์ 10. กัมพูชา พูดภาษาที่สองได้ดีเนื่องจากเคยเป็นอาณานิคมของประเทศในข้อใด ก. อาณานิคมของสเปน ข. อาณานิคมของฝรั่งเศส ค. อาณานิคมของอังกฤษ ง. อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ข้อที่ เฉลย ข้อที่ เฉลย 1 ค 6 ง
  • 5. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 5 2 ก 7 ข 3 ข 8 8 4 ค 9 ก 5 ข 10 ข หน่วยที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน รายวิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 (สาระเพิ่มเติม) มัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 4 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต รวมเวลา 40 ชั่วโมง …………………......................………………………
  • 6. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 6 ตอนที่ 1 มาเลเซีย (Malaysia) กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมืองหลวงของมาเลเซีย ก่อตั้งประมาณ ค.ศ. 1850 (พ.ศ. 2393) มีเนื้อที่ประมาณ 243 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 1.6 ล้านคน ซึ่งถือว่าเป็นเมืองที่มี ประชากรมากสุดของประเทศ เมื่อมองทางด้านเชื้อชาติของผู้อาศัยในกรุงกัวลาลัมเปอร์ พบว่า เป็นชาวมาเลย์และชาวจีนเป็นส่วนใหญ่ ขณะที่ชาวอินเดียมีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น สาหรับสัญลักษณ์ยุคใหม่ของกรุงกัวลาลัมเปอร์ ที่ใคร ๆ ก็รู้จัก คงหนีไม่พ้นตึกแฝด เปโตรนาส อย่างแน่นอน ตอนที่ 2 สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (Republic of the Union of the Myanmar)
  • 7. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 7 กรุงเนปิดอว์ เมืองหลวงแห่งใหม่ของพม่า ซึ่งย้ายมาจากกรุงย่างกุ้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2548 มีเนื้อที่ประมาณ 7,024 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 9 แสนคน และเพิ่งเปิดให้ นักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวได้ในปีนี้ (พ.ศ. 2555) สาหรับการย้ายเมืองหลวงมายังกรุงเนปิดอว์ ยังไม่ทราบเหตุผลที่แน่ชัด แต่เท่าที่ หลายฝ่ายวิเคราะห์ อาจจะเป็นเพราะต้องการตั้งเมืองหลวงในใจกลางประเทศ เพื่อ ยุทธศาสตร์ทางการทหาร ต่างจากย่างกุ้งที่อยู่ใกล้ทะเลมากเกินไป หรือไม่ก็ต้องการฟื้นฟู ธรรมเนียมดั้งเดิม เมื่อมีการเปลี่ยนราชวงศ์ก็ต้องย้ายเมืองหลวง เนปิดอว์ แม้ว่าจะเป็นเมืองที่สร้างใหม่ แต่ก็มีสถานที่ที่น่าสนใจ อาทิ อนุสาวรีย์ 3 กษัตริย์พม่าได้แก่ พระเจ้าอโนรธา แห่งเมืองพุกาม พระเจ้าบุเรงนอง แห่งเมืองหงสาวดี และพระเจ้าอลองพญาแห่งชเวโบ กลางเมืองเนปิดอว์ นอกจากนี้ ยังจาลองเจดีย์ชเวดากอง ในเมืองอีกด้วย ชื่อว่า มหาเจดีย์อุปปตศานติ
  • 8. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 8 ตอนที่ 3 ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) พนมเปญ เมืองหลวงของประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้าโขง มีพื้นที่ 678 ตาราง กิโลเมตร มีประชากรราว 2,250,000 ล้านคน นับว่ามากที่สุดในกัมพูชา และเป็นแหล่ง เศรษฐกิจที่สาคัญที่สุดของประเทศอีกด้วย สาหรับประวัติกรุงพนมเปญ ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1372 (พ.ศ. 1915) และเป็นเมือง หลวงของกัมพูชา ก่อนที่จะย้ายเมืองไปย้ายเมืองมา เนื่องจากถูกรุกรานจากอาณาจักรกรุง ศรีอยุธยาและเวียดนามสลับกันโจมตี กระทั่งกัมพูชาเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ทาให้ ค.ศ.1865 (พ.ศ. 2408) ในยุคของพระเจ้านโรดมที่ 1 กรุงพนมเปญจึงถูกตั้งเป็นเมืองหลวง อีกครั้ง
  • 9. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 9 ตอนที่ 4 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) กรุงเวียงจันทน์ เมืองหลวงของลาว ตั้งอยู่ริมแม่น้าโขง และมีอาณาเขตติดต่อกับ ประเทศไทย มีเนื้อที่ 3,920 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 7 แสนคน นับว่ามาก ที่สุดในประเทศ เดิมนั้นลาวมีเมืองหลวงคือ หลวงพระบาง ทว่าในช่วง ค.ศ. 1563 (พ.ศ. 2106) เป็น ต้นมา พระเจ้าไชยเชษฐาราชแห่งอาณาจักรล้านช้าง ก็ได้ตั้งเวียงจันทน์เป็นเมืองหลวงแทน เพื่อหลีกหนีการรุกรานของพระเจ้าบุเรงนองแห่งอาณาจักรหงสาวดี สาหรับสถานที่สาคัญของกรุงเวียงจันทน์ มีอยู่ 2 สถานที่ด้วยกัน ซึ่งถือว่าเป็น
  • 10. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 10 สถานที่ที่เป็นประวัติศาสตร์ของเมืองด้วย ได้แก่ หอพระแก้ว ซึ่งเป็นสถานที่ในการเก็บพระ แก้วของลาว กับวัดพระธาตุหลวง เป็นวัดที่เป็นสัญลักษณ์ของลาว และสร้างพระธาตุหลวง ด้วยทองคา ตอนที่ 5 ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของไทย มีเนื้อที่ 1,568 ตารางกิโลเมตร ประชากร ประมาณ 5.6 ล้านคน นับเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไทย กรุงเทพมหานคร มีอายุมาแล้วกว่า 230 ปี ก่อตั้งราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 (พุทธ ศตวรรษที่ 20) มีสถานที่สาคัญอย่างวัดพระแก้ว สนามหลวงเป็นสัญลักษณ์ทาง
  • 11. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 11 ประวัติศาสตร์ เนื่องจากพื้นที่ตรงนี้เคยเป็นพระบรมมหาราชวังของกษัตริย์ในต้นราชวงศ์ จักรีมาก่อน มีสยามสแควร์ ตลาดนัดสวนจตุจักรเป็นสัญลักษณ์ของการช็อปปิ้ง และมี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิเป็นจุดศูนย์กลางของการเดินทาง ตอนที่ 6 สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
  • 12. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 12 สิงคโปร์ เป็นประเทศเดียวที่ไม่มีเมืองหลวง เนื่องจากเป็นเกาะขนาด 710 ตาราง กิโลเมตร จึงบริหารประเทศทั้งหมดเป็นรัฐเดียว มีประชากรราว 5 ล้านคน ก่อตั้งราว คริสตศตวรรษที่ 2 (พุทธศตวรรษที่ 7) สาหรับสัญลักษณ์ที่สาคัญของสิงคโปร์ ย่อมหนีไม่พ้นเมอร์ไลอ้อน (สิงโตทะเล) ที่ตั้งอยู่ในเมือง มีหัวเป็นสิงโต ร่างเป็นปลา ยืนอยูบนยอดคลื่น สามารถพ้นน้าออกมาได้ ตอนที่ 7 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
  • 13. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 13 ฮานอย เมืองหลวงของเวียดนาม มีพื้นที่ 3,344 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 6.5 ล้านคน นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศรองจาก โฮจิมินห์ ซิตี้ ถือว่าเป็นเมือง ที่แปลกมาก เพราะโดยทั่วไปปกติเมืองหลวงมักเป็นเมืองที่มีประชากรมากสุด (ไม่นับเน ปิดอว์ เพราะเป็นเมืองที่สร้างใหม่) กรุงฮานอย ถูกสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1010 (พ.ศ. 1553) และเป็นเมืองหลวงของ อาณาจักรไต้เวียด ก่อนที่จะใช้เมืองเว้ในช่วงราชวงศ์เหงียน และกลับมาใช้ฮานอยเป็นเมือง หลวงอีกครั้งในยุคที่เป็นอาณานิคมฝรั่งเศส หลัง ค.ศ. 1887 (พ.ศ. 2430) เป็นต้นไป ด้วยเหตุนี้จึงนับได้ว่า ฮานอยเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุด เป็นเมืองหลวงเวียดนามเกือบพันปี เลยทีเดียว
  • 14. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 14 ตอนที่ 8 รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) บันดาร์ เสรี เบกาวัน เมืองหลวงของประเทศบรูไน ก่อตั้งเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 8 (พุทธศตวรรษที่ 13) ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของแม่น้าบรูไน มีพื้นที่ 1,395 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 1.4 แสนคน โดยมีชาวบรูไนกับมาเลย์เป็นประชากรหลัก และมีชาว จีนอาศัยเป็นชนกลุ่มน้อย ด้านสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญของเมืองบันดาร์ เสรี เบกาวัน มีมากมายหลายแนว แยกเป็นสถานที่สาคัญทางศาสนาก็ต้องไปที่ มัสยิดสุลต่าน โอมาร์ อาลี ไซฟัดดิน ซึ่งเป็น มัสยิดทองคาสไตล์อิตาลี หรือถ้าหากต้องการชมวิถีชีวิตคนที่นี่ ก็ต้องไปที่ หมู่บ้านริมน้า Kampong Ayer ติดแม่น้าบรูไน ยาวกว่า 8 กิโลเมตร ที่แห่งนี้นับว่าถูกบรรจุเป็นมรดกโลก มีผู้อาศัยกว่า 3 หมื่นครัวเรือน และอายุมากกว่า 1 พันปีแล้ว
  • 15. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 15 ตอนที่ 9 สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of Philippines) กรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลิปปินส์ ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1574 (พ.ศ. 2117) ตั้งอยู่บน เกาะลูซอน ริมอ่าวมะนิลา มีเนื้อที่ประมาณ 38.55 ตารางกิโลเมตร ซึ่งถือว่าเล็กมาก มี ประชากรประมาณ 1.6 ล้านคน สาหรับสัญลักษณ์ของกรุงมะนิลา ได้แก่ อนุเสาวรีย์ไรซอล ที่สวนสาธารณะลูเนต้า ซึ่งอนุเสาวรีย์ดังกล่าว เป็นอนุเสาวรีย์ของโฆเซ่ ไรซอล บุคคลสาคัญที่ปลุกระดมให้ชาว ฟิลิปปินส์สู้เพื่อปลดแอกจากสเปนได้ อย่างไรก็ตาม ไรซอลกลับถูกนาไปประหารเสียก่อน ก่อนที่จะเห็นความสาเร็จตัวเองในภายหลัง
  • 16. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 16 ตอนที่ 10 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) จาการ์ตา เมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งถือว่าเป็นประเทศที่มีพื้นที่มาก ที่สุดในอาเซียน ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะชวา ติดทะเลชวา มีเนื้อที่ 740 กิโลเมตร มี ประชากรประมาณ 10 ล้านคน และเป็นที่ตั้งของสานักงานอาเซียนด้วย สาหรับกรุงจาการ์ตา ก่อตั้งตั้งแต่ ค.ศ. 397 (พ.ศ. 940) และเป็นเมืองหลวงของ อินโดนีเซียมาอย่างยาวนานตั้งแต่ก่อนเป็นอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์จนถึงปัจจุบัน สัญลักษณ์ที่สาคัญที่สุดของกรุงจาการ์ตา ได้แก่ อนุเสาวรีย์ประจาชาติอินโดนีเซีย (โมนาส) ซึ่งถือว่าเป็นอนุเสาวรีย์ที่สร้างโดยมีส่วนประกอบของทองคา ในยุคของ ประธานาธิบดีซูการ์โน ผู้ประกาศเอกราชให้อินโดนีเซียปลดแอกจากเนเธอร์แลนด์ได้
  • 17. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 17 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คาชี้แนะนา ข้อสอบมี 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุด เพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบให้ ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือกตอบ 1. เนปิดอว์ (Naypyidaw) เป็นชื่อเมืองหลวงแห่งใหม่ของประเทศในข้อใด ก. มาเลเชีย ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา ค. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ง. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2. ตึกแฝดเปโตรนาส ที่สูงที่สุดในโลกอยู่ที่ประเทศใด ก. มาเลเซีย
  • 18. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 18 ข. สาธารณรัฐสิงคโปร์ ค. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ง. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 3. เมืองโฮจิมินห์ ซิตี้ เดิมชื่อว่าอย่างไร ก. ฮานอย ข. ไซ่ง่อน ค. ฮอยอัน ง. เมืองเว้ 4. มหาเจดีย์อุปปตศานติ ในเมืองเนปิดอว์เป็นสถานที่สาคัญของประเทศใด ก. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ข. ราชอาณาจักรกัมพูชา ค. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ง. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 5. หากนักท่องเที่ยวจะไปเที่ยวมัสยิดทองคาสไตล์อิตาลี จะไปดูได้ที่ประเทศใด ก. มาเลเซีย ข. รัฐบรูไนดารุสซาลาม ค. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ง. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 6. ก่อนที่ลาวจะย้ายเมืองหลวงมากรุงเวียงจันทน์นั้นเดิมนั้นลาวมีเมืองหลวงชื่อว่าอะไร ก. ไชยบุลี ข. จาปาสัก ค. สะหวันนเขต ง. หลวงพระบาง 7. สถานที่สาคัญที่เป็นจุดศูนย์กลางของการเดินทางของไทยคือข้อใด ก. อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
  • 19. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 19 ข. อนุสาวรีย์ชัยประธิปไตย ค. อนุสาวรีย์ชัยวงเวียนใหญ่ ง. อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ 8. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ อนุสาวรีย์ 3 กษัตริย์พม่ากลางกรุงเนปิดอว์ ก. เจ้าอโนรธา ข. พระเจ้าบุเรงนอง ค. พะเจ้านันทบุเรง ง. พระเจ้าอลองพญา 9. อนุสาวรีย์ไรซอล มีความสาคัญต่อสาธารณรัฐฟิลิปปินส์อย่างไร ก. ปลดแอกจากสเปน ข. ปลดแอกจากฝรั่งเศส ค. ปลดแอกจากอังกฤษ ง. ปลดแอกจากเนเธอร์แลนด์ 10. กัมพูชา พูดภาษาที่สองได้ดีเนื่องจากเคยเป็นอาณานิคมของประเทศในข้อใด ก. อาณานิคมของสเปน ข. อาณานิคมของฝรั่งเศส ค. อาณานิคมของอังกฤษ ง. อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 20. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 20 ข้อที่ เฉลย ข้อที่ เฉลย 1 ค 6 ง 2 ก 7 ข 3 ข 8 8 4 ค 9 ก 5 ข 10 ข บรรณานุกรม
  • 21. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 21 กระปุกดอทคอม. http://hilight.kapook.com/view/76316.สืบค้นเมื่อวันที่ 18 เดือน เมษายน พ.ศ. 2555 ประเทศเวียดนาม. http://www.surin.rmuti.ac.th/surin2554/ asean/pdf/vadnam.pdf . สืบค้นเมื่อวันที่ 18 เดือน เมษายน พ.ศ. 2555 สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551). แบบปฏิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน ม. 1. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551) . แบบปฎิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน ม. 2. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551) . แบบปฎิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน ม. 3. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. สุระ ดามาพงษ์และคณะ. (2551) . เกร็ดน่ารู้อาเซียน. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิชย์.