SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  86
Télécharger pour lire hors ligne
วิชา แบบธรรมเนียมทหาร

                                วัตถุประสงคของบทเรียน
                เพือให นทน.มีความรูและเขาใจแบบธรรมเนียมทหาร เพือนําไปใชในการปฏิบัติ
                   ่                                              ่
ตนไดอยางถูกตองเหมาะสม

                               วัตถประสงคเชงพฤติกรรม
                                   ุ        ิ
               ให นทน.สามารถทําในขอตอไปนไดอยางถกตอง
                                       ้ี   ู 
                      ๑. บอกความหมายของแบบธรรมเนียมทหาร
                      ๒. ปฏบตตนตาม พ.ร.บ.วาดวยวินัยทหาร พ.ศ.๒๔๗๖
                             ิ ั ิ
                      ๓. ปฏบตตามแบบธรรมเนยมทหารทออกเพมเตม
                            ิ ั ิ           ี         ่ี   ่ิ ิ

                                    เรื่องที่จะศึกษา
                              ๑. ความหมายของแบบธรรมเนียมทหาร
                              ๒. พ.ร.บ.วาดวยวินัยทหาร พ.ศ.๒๔๗๖
หมวดวชาท่ี ๒ การทหาร
                                   ิ
                            วิชา แบบธรรมเนียมทหาร

                             วตถประสงคของบทเรยน
                              ั ุ             ี
        ๑. ให นทน.แตละคนเขาใจ แบบธรรมเนียมทหาร เพอเปนแนวทางในการนําไปประพฤติ
                                                    ่ื 
ปฏิบัติใหถูกตองเหมาะสม
        ๒. ให นทน.แตละคนสามารถแกปญหา อันเกิดจากเหตการณททหารประพฤตผด
                                                       ุ   ่ี          ิิ
แบบธรรมเนียมทหาร

                            วตถประสงคเชงพฤตกรรม
                             ั ุ        ิ   ิ
          ๑.๑ บอกความหมายของแบบธรรมเนียมทหารไดถูกตอง
          ๑.๒ บอกความหมายของวินัยทหารไดถูกตอง
          ๑.๓ บอกชอองคการหรอบคคลทมอํานาจออกแบบธรรมเนยมของทางราชการ
                      ่ื      ื ุ      ่ี ี                  ี
              ไดถกตอง
                   ู 
          ๑.๔ อธิบายทัณฑของทหารที่จะถูกลงทัณฑฐานขัดขืนหรือละเลยไมปฏิบัติตาม
              แบบธรรมเนียมทหาร
          ๑.๕ อธิบายแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับการทําความเคารพไดถกตอง
                                                              ู 
          ๑.๖ อธิบายแบบธรรมเนียมทหารที่เกี่ยวกับการสั่งการและประชาสัมพันธไดถูกตอง
          ๑.๗ อธิบายแบบธรรมเนียมทหารที่เกี่ยวกับการลาไดถูกตอง
          ๑.๘ อธิบายแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับการรายงานตนเองไดถูกตอง
          ๑.๙ อธบายแบบธรรมเนยมทเ่ี กยวกบรายงานเมอตองหาในคดอาญา คดีแพง
                 ิ              ี    ่ี ั           ่ื          ี
              หรือลมละลายไดถูกตอง
         ๑.๑๐ อธิบายแบบธรรมเนียมทหารที่เกี่ยวกับ การคาดกระบี่ การใชถุงมือ
              และการใชผาพันแขนทุกขไดถูกตอง
         ๑.๑๑ อธิบายแบบธรรมเนียมทหารที่เกี่ยวกับ การรบสงหนาทถกตอง
                                                       ั   ่ี ู 
         ๑.๑๒ อธิบายแบบธรรมเนียมทหารที่เกี่ยวกับการแตงกายไดถูกตอง
-๒-

                            เรืองทีศกษา
                               ่ ่ ึ
๑.   ความหมายของแบบธรรมเนียมทหาร
๒.   ผูมีอํานาจและหนาที่ออกแบบธรรมเนียมของทางราชการ
๓.   การขัดขืน และละเลยไมปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมทหาร
๔.   การปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมทหาร
     ๔.๑ การทาความเคารพ
                ํ
     ๔.๒ การสงการและการประชาสัมพนธ
                  ่ั                  ั
     ๔.๓ การลา
     ๔.๔ การรายงานตนเอง
     ๔.๕ การรายงานเมอตองหาในคดอาญา คดีแพง หรือลมละลาย
                       ่ื          ี
     ๔.๖ การรายงาน
     ๔.๗ การรับสงหนาที่
     ๔.๘ การแตงกาย
     ๔.๙ การคาดกระบี่ การใชถุงมือ การใชผาพันแขนทุกข
สารบัญ
                                                                   หนา
                                                                     

สภาพของสังคมโดยทั่วไป                                               ๑
สิ่งทีบงคับใหทหารมีวนย
      ่ ั            ิ ั                                            ๒
มาตรการตอบแทนผกระทาผิดวินย
              ู ํ       ั                                          ๓
ที่มาหรือแหลงกําเนิดแบบธรรมเนียมของทหาร                            ๓
วธรองทกข
 ิี ุ                                                              ๑๕
การเคารพ                                                            ๒๑
การเคารพเมืออยูในความควบคุม
           ่                                                       ๒๔
การผอนผน
     ั                                                             ๒๕
การสั่งการ และการประชาสัมพันธ                                      ๒๗
การลา                                                               ๓๒
การรายงานดวน                                                       ๔๕
การรายงานตนเอง                                                      ๔๗
การรายงานเมือตองหาในคดีอาญา หรือคดีแพง หรือคดีลมละลาย
            ่                                                       ๔๘
การรายงานตวเมอมสถานการณฉกเฉินและการเตรยมพรอม
          ั ่ื ี        ุ            ี                            ๕๐
การรบสงหนาทราชการ
    ั   ่ี                                                        ๕๒
ขาราชการกลาโหมกบการเมอง
                ั     ื                                             ๕๗
การแตงกาย                                                          ๕๙


                           -------------------------------------
แบบธรรมเนียมทหาร
สภาพของสังคมโดยทั่วไป
          ในทุกสังคมจะตองมีโครงสราง ซึ่งหมายถึง ระเบียบปฏิบัติ ระเบียบแบบแผน ที่จะเปน
เครื่องยึดโยง หรือสายใยใหสังคมดํารงสภาพอยูไดไมแตกสลาย เปรียบประดุจตึกหรือบานเรือน
ที่ประกอบดวยสวนตาง ๆ โครงสรางของสังคมก็เชนกันจะตองประกอบไปดวยสิ่งตาง ๆ อันได
แก ระเบียบ ปทัสถาน ความสัมพันธระหวางบุคคล และสถานภาพของบุคคล ซึ่งจักตองควบคุม
โดยสังคมและคานิยมของแตละกลุมสังคม
      ประเพณีหรือแบบธรรมเนยมเปนแนวทางอนหนงทกาหนดใหคนเราดําเนนชวตไปตาม
                           ี           ั ่ึ ่ี ํ                  ิ ีิ
ครรลองของแบบธรรมเนยมประเพณนน ๆ ไมวาจะเปนแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับการอยูรวมกัน
                    ี         ี ้ั
ประกอบกิจการงานรวมกัน ฯลฯ ยอมจะประสบความราบรื่นและปลอดภัยเหมือนกับรถไฟที่แลน
ไปตามรางของมัน
        สังคมจะสรรเสริญคนที่ทาอะไรตามแบบธรรมเนียมหรือสงเสริมรือฟนแบบธรรมเนียมทีดี
                               ํ                                ้                      ่
งาม แตจะตําหนิตเิ ตียนคนทีทาอะไร "แหวก" หรือ "ทาลาย" ขนบธรรมเนียมที่ดีงาม ซึ่งเขาไดวาง
                           ่ ํ                  ํ
ไวใหปฏิบัติอยางดีแลว
สภาพสังคมทหาร
         ในวงสังคมของทหารกเ็ ชนเดยวกนจะตองมโครงสราง หรือระเบียบปฏิบตอนเปนแบบ
                                  ี ั      ี                         ั ิั
แผนซึ่งวิวฒนาการไปในตัวของมันเอง และเปลี่ยนแปลงไปไดตามยุคตามสมัย ถือเปนเอกลักษณ
          ั                                                                
เฉพาะสิ่งเฉพาะอยางที่ในวงการทหารเขาประพฤติ และปฏิบตตอกน อาจผดแผกแตกตางกบ
                                                      ั ิ  ั      ิ           ั
วงสังคมอื่น ๆ ในบางลักษณะ ซงกเ็ ปนของธรรมดาสามญในสภาพหรอภาวะความเปนอยของ
                               ่ึ                 ั           ื              ู
ทหารโดยทัวไป่
ทหารตองมีวินัย
         ความเปนอยูของทหารที่มั่นคงสถาพรมาไดจนถึงตราบทุกวันนี้ อยตรงจดสาคัญที่ทหาร
                                                                     ู ุ ํ
ทกคนตองมี "วนย"
  ุ            ิ ั
อะไรคือวินยทหาร
            ั
         วินัยของทหารจะมีคําจากัดความวาอยางไรนั้น ยังไมมีผูใดกําหนดหรอแจกแจงอธบาย
                             ํ                                            ื          ิ
ใหชดเจน นอกจากที่มีบัญญัติไวในกฎหมายวาดวยวินัยทหาร วา "วินัยทหาร" นัน คือการท่ี
     ั                                                                     ้
ทหารตองประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร ซึ่งก็มีความหมายกวางขวางเหลือเกิน
         นอกจากนี้ ในกฎหมายวาดวยวินัยทหารยังไดเนนหนักไวอีกวา “วินัยทหารเปนหลกสําคัญ
                                                                                 ั
ที่สุดสําหรับทหาร เพราะฉะนั้นทหารทุกคน จักตองรักษาโดยเครงครัดอยูเสมอ ผูใดฝาฝนใหถือวา
ผูนนกระทําผิด”
   ้ั

                                                                       Back
-๒-

สิ่งทีบงคับใหทหารมีวนย
      ่ ั            ิ ั
         แมแตในกฎหมายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ใชบังคับอยูในปจจุบันนี้
และถือวาเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ ก็ยังไมลืมในเรื่องนี้เพราะเล็งเห็นวาเปนสิ่งสําคญของ
                                                                                     ั
ทหาร จึงไดบญญตไวในมาตรา ๔๔ ใจความวา "บุคคลซึ่งเปนทหาร ยอมมีสิทธิและเสรีภาพตาม
              ั ัิ 
รัฐธรรมนูญ เชนเดียวกับประชาชนพลเมือง เวนแตทไดจํากัดไวในเรืองวาดวย วนย "ซึ่งก็หมาย
                                              ่ี               ่             ิ ั
ความวา ทหารนั้นแมจะมีสิทธิและเสรีภาพโดยสมบูรณในฐานะประชาชนคนธรรมดาแตตองอยู
ในกรอบของวินัยทหารอยางหลีกเลี่ยงไมได
         พระราชบญญตระเบยบขาราชการทหาร พ.ศ.๒๕๒๑ ซึ่งเปนกฎหมายสรางมาตรการตาง ๆ
                   ั ั ิ ี 
ในวงการทหารใหเปนเอกเทศขึ้นมาเปนสัดสวน ไมตองอาศัยหรือแอบอิงระบบของขาราชการ
                                                 
พลเรือนอยางแตกอนก็ยงบัญญัตไวในมาตรา ๑๕ วา "วินัยของขาราชการทหาร ทหารกอง
                      ั     ิ
ประจําการ และนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม ใหเปนตามกฎหมายวาดวย วินัยทหาร
ขอบังคับ และระเบียบแบบแผนที่กระทรวงกลาโหมกําหนด"

ผูใดควบคุมดูแลใหทหารมีวินัย
         เปนหนาที่ของผูบังคับบัญชา ที่จะตองจัดการระวัง ใหทหารในบังคับบัญชาไดรักษาวินัย
โดยเครงครัด ถาหากวาในการรักษาวินัยทหารใหคงอยูนั้น จําเปนตองใชอาวธเพอทาการปราบ
                                                                  ุ ่ื ํ
ปรามทหารผกอการกาเรบกดี หรือเพื่อบังคับทหารผูละทิ้งหนาที่ใหกลับทําหนาทีของตนก็ดี
             ู      ํ ิ ็                                                 ่
ผูบังคับบัญชา และผูที่ชวยเหลือในการนั้นจะไมตองรับโทษในการที่ตนไดกระทําไปโดยความจํา
เปนนั้นเลย แตเ มอเหตดงกลาวน้ี ผบงคบบญชาจกตองรายงานไปยงผบงคบบญชาเหนอตน และ
                  ่ื ุ ั            ู ั ั ั    ั              ั ู ั ั ั     ื
รายงานตอไปตามลําดบชนจนถงรฐมนตรวาการกระทรวงกลาโหมโดยเรว
                        ั ้ั     ึ ั        ี                          ็
ตัวอยางทกฎหมายถอวากระทําผิดวินยทหาร มดงน้ี
         ่ี           ื          ั        ีั
        ๑. ดอ ขดขน หลีกเลี่ยง หรือละเลยไมปฏิบัติตามคําสงผบงคบบญชาเหนอตน
             ้ื ั ื                                      ่ั ู ั ั ั    ื
        ๒. ไมรักษาระเบียบการเคารพ ระหวางผูใหญผนอย
                                                   ู 
        ๓. ไมรักษามรรยาทใหถูกตองตามแบบธรรมเนียมของทหาร
        ๔. กอใหแตกความสามัคคีในคณะทหาร
        ๕. เกียจคราน ละทิ้ง หรอเลนเลอตอหนาทราชการ
                               ื ิ    ่ี
        ๖. กลาวคําเทจ  ็
        ๗. ใชกิริยาวาจาไมสมควร หรือประพฤติไมสมควร
        ๘. ไมตกเตือนสังสอน หรือลงทัณฑผูใตบังคับบัญชาที่กระทําผดตามโทษานโทษ
                ั         ่                                        ิ       ุ
        ๙. เสพเครองดองของเมาจนถงเสยกรยา
                   ่ื               ึ ี ิิ


                                                              Back
-๓-

มาตรการตอบแทนผกระทําผิดวินัย
              ู
       ทหารผูใดกระทาผดตอวนยทหารจกตองรบทณฑตามวธทบญญตไวในกฎหมายวาดวย
                      ํ ิ  ิ ั      ั  ั ั  ิ ี ่ี ั ั ิ              
วินัยทหาร แลวยังอาจตองถูกปลดออกจากประจําการ หรอถกถอดจากยศทหารดวย ทั้งนี้สุดแลวแต
                                            ื ู             
ความเสียหายรายแรงแหงการกระทําผดวนยนน ๆ
                                ิ ิ ั ้ั
อะไรคือแบบธรรมเนยมทหาร ี
         เปนที่ทราบแลววา วินัยทหาร คอการททหารตองประพฤตตามแบบธรรมเนยมทหารดงได
                                       ื    ่ี              ิ             ี        ั
กลาวไวขางตน การที่จะใหคาจากัดความถึงถอยคําวา แบบธรรมเนียม มีความหมายอยางไรนั้น
                              ํ ํ
จึงเปนการยากโดยเฉพาะ "แบบธรรมเนียมทหาร" แตก็พอจะสรุปเปนใจความโดยยอใหเขาใจได
ดังนี้
         แบบธรรมเนียมทหาร หมายถึง แนวทางปฏิบัติซึ่งผูบังคับบัญชาหรือหัวหนาสวน
ราชการ ตลอดจนผูมอานาจหนาที่ไดวางไวเปนหลักสําหรับปฏิบัติ
                     ีํ
         ในท่ีน้ีจะเนนหนกไปในเรองของแบบธรรมเนยมของทหาร ที่กําหนดไวเปนลายลักษณ
                       ั         ่ื               ี
อักษร และเฉพาะที่เกี่ยวกับสายงานสารบรรณ ทควรทราบเพอยดถอเปนแนวทางปฏบตโดยสวน
                                               ่ี      ่ื ึ ื            ิ ั ิ   
รวม
ที่มาหรือแหลงกําเนิดแบบธรรมเนียมของทางราชการ
        ๑. กฎหมายรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งกําหนดรปแบบู
และหลักการปกครอง ตลอดจนวิธีการดําเนนการปกครองประเทศไวอยางเปนระเบยบ รวมทัง
                                      ิ                             ี        ้
กําหนดหนาที่ของประชาชนที่พึงกระทําตอรัฐ กับรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ซงรฐจะ
                                                                           ่ึ ั
ละเมิดมิไดดวย
        ๒. พระราชบัญญัติ ไดแกกฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยคําแนะนํา
และยินยอมของรัฐสภา คือ วุฒิสภา และสภาผูแทนราษฎร
        ๓. พระราชกําหนด เปนกฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยคาแนะนําของคณะ
                                                                      ํ
รัฐมนตรี โดยนายกรฐมนตรเี ปนผรบสนองพระบรมราชโองการ กระทําไดใน ๒ กรณดงตอไปน้ี
                      ั     ู ั                                             ีั 
            ๓.๑ ในกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปนรบดวนในอนจะรกษาความปลอดภยของประเทศ
                                            ี        ั     ั            ั
หรือความปลอดภัยสาธารณะ จะตราพระราชกําหนดใหใชบงคบดงเชนพระราชบญญตกได เมือมี
                                                     ั ั ั            ั ั ิ็      ่
การประชุมรัฐสภาคราวตอไป ใหคณะรฐมนตรเี สนอพระราชกําหนดนันตอรัฐสภาเพือพิจารณา
                                   ั                           ้           ่
โดยไมชกชา ถาสภาผูแทนราษฎรไมอนุมัติ หรือสภาผูแทนราษฎรอนุมติ แตวฒสภาไมอนมติ
       ั                                                       ั ุ ิ        ุ ั
และสภาผูแทนยืนยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงไมมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมด
ใหพระราชกําหนดนนตกไป แตทั้งนี้ไมกระทบกระเทือนกิจการที่ไดเปนไปในระหวางที่ใช
                   ้ั
พระราชกําหนดนน  ้ั
-๔-

        ถาวุฒิสภาและสภาผูแทนราษฎรอนุมัติพระราชกําหนดนน หรือถาวุฒสภาไมอนุมติ
                                                           ้ั           ิ        ั
และสภาผูแทนราษฎรยืนยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมด
ใหพระราชกําหนดนนมผลใชบงคบเปนพระราชบญญตตอไป
                   ้ั ี  ั ั                 ั ั ิ 
        การอนุมัติหรือไมอนมตพระราชกาหนด ใหนายกรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
                          ุ ั ิ         ํ
ในกรณีไมอนุมัติ ใหมีผลตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
        ในการพิจารณาพระราชกาหนดของวุฒิสภาและของสภาผูแทนราษฎร ในกรณียืนยัน
                                  ํ
การอนุมัติพระราชกําหนด จะตองทาในโอกาสแรกที่มีการประชุมสภานั้น ๆ
                                ํ
             ๓.๒ ในระหวางสมัยประชุมรัฐสภา ถามีความจาเปนตองมกฎหมาย เกี่ยวดวยการ
                                                       ํ   ี
ภาษีอากรหรือเงินตรา ซงจะตองไดรบการพจารณาโดยดวนและกบเพอรกษาผลประโยชนของ
                       ่ึ   ั            ิ                 ั ่ื ั           
แผนดิน จะตราพระราชกําหนดใหใชบังคับดังเชน พระราชบัญญัตก็ได ิ
             พระราชกําหนดทไดตราขนตามความในขอ ๓.๒ จะตองนําเสนอตอสภาผแทนราษฎร
                             ่ี  ้ึ                                      ู
ภายในสามวัน นับแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา และใหนําขนตอน และวิธีการ
                                                                     ้ั
ปฏิบตตาง ๆ ในขอ ๓.๑ มาใชบังคับโดยอนุโลม
    ัิ
           ๔. พระราชกฤษฎีกา เปนกฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยคําแนะนําของ
คณะรัฐมนตรี แบงออกเปน ๒ ประเภท
                           
               ๔.๑ พระราชกฤษฎีกา ทีออกโดยอาศัยอํานาจแหงกฎหมาย เชน พระราชบัญญัตทมี
                                     ่                                                          ิ ่ี
บทบัญญัติมอบใหฝายบริหาร คือ คณะรัฐมนตรี ไปออกพระราชกฤษฎกา หรือกฎกระทรวงกําหนด
                                                                         ี
รายละเอียดเพื่อดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายนั้น
               ๔.๒ พระราชกฤษฎีกา ที่พระมหากษัตริยใชพระราชอํานาจ โดยคําแนะนําของ
คณะรฐมนตรี ตามที่รฐมนตรีเกียวของเสนอมา เชน พระราชกฤษฎีกา วาดวยการเบิก
       ั                ั         ่
จายคารักษาพยาบาล ฯลฯ
           ๕. กฎกระทรวง เปนกฎหมายทออกโดยรฐมนตรเี จากระทรวงผรกษาการตามพระราช
                                           ่ี         ั                     ู ั
บัญญัตฉบับใด ฉบับหนึ่ง ออกโดยอาศัยอานาจตามทพระราชบญญตนน ๆ ใหอํานาจไวกฎ
         ิ                                    ํ         ่ี          ั ั ิ ้ั      
กระทรวง จะจดตอกฎหมายหรอนอกเหนอจากทพระราชบญญตอนกฎกระทรวงอาศยเปน แมบท
                 ั             ื        ื         ่ี         ั ั ิั                     ั 
จะกระทาไมได
           ํ
           การออกพระราชกฤษฎีกา หรอกฎกระทรวงนน เพื่อเปนการกําหนดรายละเอียด และเปน
                                       ื                   ้ั
กฎหมายที่สะดวกแกการแกไข เมื่อแกไขงายจะทําใหกฎหมายหลัก คือ พระราชบญญตซงกาหนด      ั ั ิ ่ึ ํ
เฉพาะหลักเกณฑใหญทันสมัยอยูเสมอ ถาเรื่องใดสําคัญก็ออกพระราชกฤษฎีกาสาคัญนอยก็ออก    ํ
กฎกระทรวง
           ๖. ขอบังคับ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอานาจหนาที่กาหนดใหใชโดยอาศยอํานาจของ
                                                 ํ              ํ                 ั
กฎหมายที่บัญญัติใหกระทําได
-๕-

         ขอควรสงเกต ในการตราขอบังคับเพื่อใชบังคับบุคคลที่อยูในอํานาจศาลทหาร ในเวลา
                      ั
ปกติจะตองเปนการตราขนโดยสมควรแกกาลสมย และชอบดวยพระราชกําหนดกฎหมาย หรือจะ
                                ้ึ                              ั
กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือขอบังคับนั้นจะตองเหมาะสมกับกาลสมัย ไมขัดตอความรูสึกของประชาชน
ทั่วไป หรือไมขัดกับจารีตประเพณีที่บุคคลเหลานั้นนิยมใชกันมา กับทั้งไมขัดตอพระราชกําหนด
กฎหมายที่ออกบังคับใชอยูในขณะนั้น หรือถาจะกลาวโดยสรุปแลว ขอบังคับทีตรานันตองอยูภาย ่ ้            
ในขอบเขตที่กาหนดใหอํานาจ มิฉะนั้นแลวขอบังคับเหลานั้นอาจไมมีผลใชบังคับบุคคลที่อยูใน
                     ํ
อํานาจศาลทหารไดเลย
         บรรดาขอบังคับที่ใชกันอยูในอดีต เรยกชอแตกตางกนไปแลวแตวาขอบงคบนนเปนสวน
                                                             ี ่ื      ั           ั ั ้ั  
ของราชการใดใชบังคับ ซึ่งอาจแยกไดเปน ๗ อยางดวยกันคือ
               ๖.๑ ขอบังคับทหารบก รฐมนตรวาการกระทรวงกลาโหม เปนผตราขนเพอใชบงคบแต
                                               ั             ี                      ู ้ึ ่ื  ั ั
บุคคลที่สังกัดอยูในราชการทหารบกและทหารอากาศ (ขณะนั้นทหารอากาศยังไมไดแยกออกจาก
ทหารบก)
               ๖.๒ ขอบังคับทหารเรือ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมเปนผูตราขึนเพือใชบงคับ
                                                                                        ้ ่         ั
แกบคคลทอยในราชการทหารเรอ
     ุ      ่ี ู                     ื
               ๖.๓ ขอบังคับทหาร รฐมนตรวาการกระทรวงกลาโหมเปนผตราขนเพอใชบงคบแก
                                           ั            ี                        ู ้ึ ่ื  ั ั
บุคคลที่อยูในราชการทหารบก ทหารเรอและทหารอากาศ   ื
               ๖.๔ ขอบังคับกองทัพบก ผบญชาการทหารบกเปนผตราขน เพื่อใชบังคับแกบุคคลที่
                                                   ู ั                    ู ้ึ
สังกัดอยูในกองทัพบก
               ๖.๕ ขอบงคบกองทพเรอ ผูบญชาการทหารเรือเปนผูตราขึน เพื่อใชบังคับแกบุคคลที่
                             ั ั         ั ื  ั                               ้
สังกัดอยูในกองทัพเรือ
               ๖.๖ ขอบังคับกองทัพอากาศ ผูบญชาการทหารอากาศเปนผูตราขึน เพื่อใชบังคับแก
                                                          ั                        ้
บุคคลที่สังกัดอยูในกองทัพอากาศ
               ๖.๗ ขอบังคับกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมเปนผูตราขึนเพือ
                                                                                                ้ ่
ใชบังคับแกบุคคลที่อยูในอํานาจศาลทหาร
               ฉะนั้น จึงเห็นไดวาขอบังคับที่ใชกันอยูในอดีตมีมากอยางดวยกัน ตอมาเมือ    ่
พ.ศ.๒๔๙๒ กระทรวงกลาโหม ไดตราขอบังคับกระทรวงกลาโหมวาดวยระเบียบจัดการทางคดี
(ฉบับที่ ๒)พ.ศ.๒๔๙๒ ออกใช ไดกาหนดอํานาจและหนาที่ไววา ถาจะตราขอบังคับตาง ๆ เพื่อใช
                                             ํ
บังคับแกบุคคลที่อยูในอํานาจศาลทหารในเวลาปกติ ตามความหมายแหงประมวลกฎหมายอาญา
ทหารแลวใหตราขึนไดแตเฉพาะขอบังคับกระทรวงกลาโหมโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
                         ้                                                            
เปนผูตราขึ้นเทานั้น ตังแตนนมาจนถึงปจจุบนนี้ การตราขอบงคบขนในราชการทหารจงเปน
                           ้        ้ั                     ั             ั ั ้ึ                  ึ 
- ๖-

อํานาจของรฐมนตรวาการกระทรวงกลาโหมแตผเู ดยว และเรียกชื่อขอบังคับนั้นวา ขอบังคับ
                ั    ี                          ี
กระทรวงกลาโหม
         สําหรับสวนราชการอืนใดถาประสงค หรือเห็นสมควรทีตราขอบังคับขึนในกรณีใด ๆ
                                 ่                             ่             ้
ก็ตามตองรายงานขึ้นไปตามลาดับชันจนถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมเพือพิจารณา
                               ํ   ้                                          ่
และตราขนเปนขอบงคบกระทรวงกลาโหมตอไป
          ้ึ   ั ั                         
         อนึ่ง แมวาการตราขอบงคบตงแตป ๒๔๙๒ เปนตนมา เปนอํานาจของรัฐมนตรีวาการ
                               ั ั ้ั                                               
กระทรวงกลาโหมแตผูเดียวก็จริง แตก็ยังคงถือวาขอบังคับอื่นใดที่ออกใชบังคับอยูกอนแลวก็ยังคง
มีผลบังคับใชอยูตอไป
         ๗. คําสั่ง คือ บรรดาขอความที่ผูบังคับบัญชาสั่งการใหปฏิบัติโดยชอบดวยกฎหมาย
ขอท่ีควรพจารณาคอคาวา "ผูซึ่งบังคับบัญชาทหาร" ตามความหมายแหงขอบังคับและคําสั่งนั้น
              ิ     ื ํ
แยกออกพจารณาไดดงนคอ
            ิ         ั ้ี ื
           ผูซึ่งบังคับบัญชาทหาร หมายถึง ผซงมอํานาจบงคบบญชาตามพระราชบญญตวาดวย
                                                     ู ่ึ ี   ั ั ั                    ั ั ิ 
วินัยทหาร สวนคําวา ทหาร ตามพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาทหาร
(ฉบับที่ ๗) พ.ศ.๒๔๙๗ มาตรา ๓ บัญญัตคาวา ทหาร หมายความวา บุคคลซึ่งอยูใน
                                               ิํ
อํานาจกฎหมายฝายทหาร ดังนั้นคําวาผูซึ่งบังคับบัญชาทหาร จึงหมายความรวมถึงผูมีอานาจ          ํ
บังคับบัญชาทหาร ขาราชการกลาโหมพลเรอน และลูกจางประจําที่อยูในอํานาจกฎหมายฝาย
                                                   ื
ทหารนนดวย้ั 
           เทาที่กลาวมาแลวชี้ใหเห็นวา คําสั่ง หมายความวาอยางไร คําสั่ง ตามนัยขางตน สําหรบ     ั
กระทรวงกลาโหมไดแยกออกเปน ๒ ประเภท คือ
                                    
                  ๗.๑ คําสั่งทั่วไป เปนคําสั่งที่ใหสวนราชการ หรือผูอยูในบังคับบัญชาทั่วไปปฏิบัติ
และทราบทั่วกัน
                  ๗.๒ คําสั่งเฉพาะ เปนคําสั่งที่สั่งใหสวนราชการหรือผูอยูในบังคับบัญชาผูมีหนาที่
เกี่ยวของโดยเฉพาะปฏิบัติ
           คําสั่งทั้ง ๒ ประเภท ที่กลาวมาแลวขางตน สําหรับกองทัพอากาศไดนามาพิจารณาแยก
                                                                                      ํ
รายละเอียดออกไปอีก ทั้งนี้เพื่อสะดวกในทางปฏิบัติและเพื่อเปนแนวทางเดียวกันและเรื่องใดควร
จะอยูในคําสั่งประเภทใดดังนี้
-๗-

           - คําสั่งกองทัพอากาศ (ทั่วไป) ถาจําเปนจะตองออกเปนคาสั่งรูปนี้แลว จะตองพจารณาวา
                                                               ํ                  ิ          
เรื่องนั้นเปนเรื่องที่ตองเก็บไวเปนหลักฐานทางประวัติ ตํานาน และการตรวจสอบทางทะเบียนพล
หรือไม หากเปนเรื่องที่จะตองปฏิบัติการดังกลาว ก็ใหจัดอยูในประเภทคําสั่งกองทัพอากาศ
(ทั่วไป) คําสั่งประเภทนี้จะตองสงสําเนาใหกับกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการทหารสูงสุด
กองทัพบก กองทัพเรือดวย
           - คําสั่งกองทัพอากาศ (เฉพาะ) ทเ่ี ปนแบบธรรมเนยม คําสั่งประเภทนี้ ตองถือเปน
                                                           ี
แบบธรรมเนยมตลอดไปจะมคาสั่งเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิก
                ี                ีํ
           - คําสั่งกองทัพอากาศ (เฉพาะ) ทีไมเปนแบบธรรมเนียม คําสั่งที่ผูรับปฏิบัติไดปฏิบัติโดย
                                             ่
สมบูรณแลว ผูปฏิบัติยอมหมดพันธกรณี หรือหมดหนาทีไปโดยปริยาย ไมจาเปนตอง
                                                              ่               ํ
ปฏิบัติหรือกระทําการนนตอไปอก้ั       ี
       ๘. ระเบยบ คือ บรรดาขอความทผมอํานาจหนาที่ไดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจ
                ี                          ่ี ู ี
ของกฎหมายหรือไมก็ได เพื่อถือเปนหลักปฏิบัติงานเปนการประจํา
       ๙. ประกาศ คือ บรรดาขอความททางราชการประกาศหรอชแจงใหทราบ หรือ
                                        ่ี                   ื ้ี     
แนะแนวทางปฏิบัติ
       ๑๐. แถลงการณ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการแถลงเพื่อทําความเขาใจใน
กิจการของทางราชการ หรือเหตุการณ หรือในกรณีใด ๆ ใหทราบชดเจนโดยทวไป
                                                           ั            ่ั
       ๑๑. มตคณะรฐมนตรี คือ ความคิดความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
              ิ    ั
       ๑๒. ขาว คือ บรรดาขอความททางราชการเหนสมควรเผยแพรใหทราบ
                                     ่ี            ็               
      ผูมีอํานาจและหนาที่ออกแบบธรรมเนียมของทางราชการได คือ
      ๑. รัฐสภา ประกอบดวยวุฒิสภา และสภาผูแทน ฯ
          ๑.๑ วุฒิสภา มาจากการเลือกตั้ง
          ๑.๒ สภาผูแทน ฯ ประกอบดวยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง มจํานวนตามเกณฑทบญญติ
                                                            ี              ่ี ั ั
ไวในรฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกรไทย
   ั                          ั
      รัฐสภา มีอํานาจหนาทีออกระเบียบแบบธรรมเนียมขึนไวโดยตรง เปนพระราชบญญติ
                             ่                     ้                     ั ั
       ๒. คณะรัฐมนตรี หมายถึง คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริยไดทรงตั้งขึ้น ประกอบดวย
                                                                              
นายกรฐมนตรี และคณะรฐมนตรี ตามรฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกรไทย มีอํานาจหนาท่ี
     ั                ั         ั                   ั                     
ออกแบบธรรมเนียมได ดังนี้
          ๒.๑ พระราชกาหนด ํ
-๘-

           ๒.๒ พระราชกฤษฎีกา
           ๒.๓ กฎสานักนายกรัฐมนตรี
                      ํ
           ๒.๔ มติ
           ๒.๕ ขอบังคับ
           ๒.๖ แถลงการณ
           ๒.๗ ระเบียบ
           ๒.๘ ประกาศ
           ๒.๙ ขาว
           ๒.๑๐ คําสั่ง
          ๓. กระทรวง กลาวโดยเฉพาะกระทรวงกลาโหม มีรฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
                                                             ั       
เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ และรัฐมนตรีชวยวาการ ฯ หรือรัฐมนตรีสงการ ฯ เปนผูชวยและมี
                                                                  ่ั
อํานาจหนาทีออกแบบธรรมเนียมได ดังนี้
              ่
              ๓.๑ กฎกระทรวง
              ๓.๒ ขอบังคับ
              ๓.๓ แถลงการณ
              ๓.๔ คําสั่ง
              ๓.๕ ระเบียบ
              ๓.๖ ประกาศ
              ๓.๗ ขาว
          ๔. สวนราชการขึนตรงตอกระทรวงกลาโหม คือ
                            ้
              ๔.๑ สํานกงานเลขานการรฐมนตรี
                       ั           ุ ั
              ๔.๒ สํานักงานปลัดกระทรวง
              ๔.๓ กรมราชองครักษ
              ๔.๔ กองบัญชาการทหารสูงสุด
                  - สํานกงานเลขานการรฐมนตรี มีหนาที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง
                          ั           ุ ั
มีเลขานุการรฐมนตรี เปนผูบงคับบัญชารับผิดชอบ แบงสวนราชการออกเปนดังนี้
                ั              ั
                    - แผนกการเมือง
                    - แผนกตรวจสอบเรองราวและความเหน
                                        ่ื               ็
                  - สํานักงานปลัดกระทรวง มีหนาที่เกี่ยวกับราชการประจําทั่วไปของ
กระทรวง มีปลัดกระทรวง เปนผูบงคับบัญชารับผิดชอบ แบงสวนราชการออกเปนดังนี้
                                   ั
-๙-

                  - สํานักปลัดกระทรวงกลาโหม
                  - สํานักนโยบายและแผนกลาโหม
                  - กรมเสมียนตรา
                  - กรมพระธรรมนูญ
                  - กรมการเงินกลาโหม
                  - ศูนยการอุตสาหกรรมปองกันประเทศและพลังงานทหาร
                  - สํานกงานตรวจบญชกลาโหม
                           ั         ั ี
                - กรมราชองครักษ มีหนาที่ตามกฎหมายวาดวยราชองครักษ และกฎหมาย
วาดวยนายตํารวจราชองครกษ มีสมุหราชองครักษเปนผูบงคับบัญชารับผิดชอบ แบงสวนราชการ
                            ั                      ั
ออกเปน  
                  - สํานกงานราชองครกษประจํา
                         ั             ั 
                  - สํานักงานรักษาความปลอดภัย
                  - สํานักนโยบายและแผน
                  - สํานักยุทธบริการ
                - กองบัญชาการทหารสูงสุด มีหนาทเ่ี ตรยมรบ และปองกันราชอาณาจักร
                                                      ี
มีผูบัญชาการทหารสูงสุด เปนผูบงคับบัญชารับผิดชอบ แบงสวนราชการออกเปนดังนี้
                                ั
                  - กองทัพบก
                  - กองทัพเรือ
                  - กองทัพอากาศ
                  - สํานักผูบัญชาการทหารสูงสุด
                  - กรมกําลังพลทหาร
                  - กรมขาวทหาร
                  - กรมยุทธการทหาร
                  - กรมสงกําลังบารุงทหาร
                                   ํ
                  - กรมการสื่อสารทหาร
                  - กรมกิจการพลเรือนทหาร
                  - สํานักงานปลัดบัญชีทหาร
                  - หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
                  - ศูนยรักษาความปลอดภัย
                  - กรมสารบรรณทหาร
- ๑๐ -

                   - กรมการเงนทหาร
                                ิ
                   - กรมแผนที่ทหาร
                   - ศูนยวิจัยและพัฒนาการทหาร
                   - กรมการสรรพกําลังทหาร
                   - กรมยุทธบริการทหาร
                   - กรมการสนเทศทหาร
                   - สถาบันวิชาการปองกันประเทศ
                   - กรมยุทธศึกษาทหาร
        ๕. สวนราชการขึนตรงตอกระทรวงกลาโหม กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ
                           ้
มีอํานาจและหนาทออกแบบธรรมเนยมไดดงน้ี
               ่ี                 ี    ั
           ๕.๑ แถลงการณ
           ๕.๒ คําสั่ง
           ๕.๓ ระเบียบ
           ๕.๔ ประกาศ
           ๕.๕ ขาว
       ๖. สวนราชการรอง ๆ ลงไป หมายถึงสวนราชการรอง ๆ ลงไปจากสวนราชการที่ขึ้นตรง
ตอกระทรวงกลาโหม กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ มีอํานาจหนาทออกแบบธรรม
                                                                 ่ี
เนยมไดดงน้ี
   ี  ั
            ๖.๑ คําสั่ง
            ๖.๒ ระเบียบ
            ๖.๓ ประกาศ
            ๖.๔ ขาว

             ขอบเขตและอํานาจการออกแบบธรรมเนยม     ี
             ผูมีอํานาจและหนาที่ที่จะออกแบบธรรมเนียมของทางราชการไดนั้น ตองออกมาใน
รูปและขอบเขตซึงตนมีอํานาจเทานัน เชน
                   ่                 ้ 
             กระทรวง จะออกในรูปแบบพระราชบัญญัติ พระราชกาหนด หรือพระราชกฤษฎีกา
                                                             ํ
ใชบังคับเปนกฎหมายไมได
             สวนราชการทขนตรงตอกระทรวงกลาโหม กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพ
                           ่ี ้ึ      
อากาศจะออกพระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎ กระทรวง หรือขอบังคับ
ไมได
- ๑๑ -

         สวนราชการรอง ๆ ลงไปนอกจากที่กลาวขางตนมีอํานาจและหนาทออกระเบยบแบบธรรม
                                                                  ่ี       ี
เนียมไดก็เฉพาะ คําสั่ง ระเบียบ ประกาศ และขาว เทานน สวนพระราชบัญญัติ พระราชกาหนด
                                                  ้ั                         ํ
พระราชกฤษฎีกา กฎ ขอบังคับ และแถลงการณ ไมมีอานาจหนาทีออกได
                                                   ํ       ่
         ฉะนั้น การออกระเบยบแบบธรรมเนยมจะตองอยภายในขอบเขตทสวนราชการนนมี
                              ี            ี       ู             ่ี          ้ั
อํานาจเทานัน หากจะออกระเบยบแบบธรรมเนยมเกนกวาทตนมอํานาจอยู ระเบียบแบบธรรม
            ้                   ี            ี ิ  ่ี ี
เนียมนั้นยอมไมมีผลใชบังคับ

         การขัดขืนหรือละเลยไมปฏิบัติตามแบบธรรมเนียม
         แบบธรรมเนียมที่กลาวมาแลว หากผูใดขัดขืนหรือละเลยไมปฏิบัติตามแบบธรรมเนียม
ผูบังคับบัญชามีอานาจหนาทพจารณาลงทณฑหรอลงโทษไดดงตอไปน้ี
                 ํ       ่ี ิ         ั  ื           ั 
           ๑. แบบธรรมเนยมทเ่ี ปนกฎหมาย จะตองไดรบโทษตามพระราชกาหนดกฎหมายที่ได
                        ี                         ั                      ํ
บัญญัตไวิ
           ๒. แบบธรรมเนียมทีเ่ ปนขอบังคับ และคําสั่ง ถึงแมวาแบบธรรมเนียมที่เปนขอบังคับ
และคําสั่งจะไมมีลักษณะ เปนตวบทกฎหมายโดยตรงกตาม แตตามประมวลกฎหมายลักษณะอาญา
                            ั                        ็
ทหาร มาตรา ๓๐ ถึง ๓๓ บญญตไววา เปนความผิดและมีโทษทางอาญา ซึ่งอยูในอํานาจของ
                          ั ัิ 
ผูบังคับบัญชาสมควรจะนําคดีขนฟองรองตอศาลทหารหรือไม ฉะนั้น จึงเห็นไดวาถาขัดขืน หรือ
                               ้ึ
ละเลยไมปฏิบัติตามขอบังคับและคาสั่งแลวผูบังคับบัญชาก็มีอานาจพิจารณาวาจะสมควรฟองรอง
                                        ํ                     ํ
ตอศาลทหารหรือไม นอกจากนผทเ่ี ปนทหารอาจจะไดรบทณฑทางวนยตามพระราชบญญตวาดวย
                                  ้ี ู                ั ั  ิ ั                  ั ั ิ 
วินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ รวมทั้งที่ไดแกไขเพิ่มเติมใหมอีกดวย สวนผูที่เปนขาราชการ
กลาโหมพลเรือน ลูกจาง อาจจะไดรบการพจารณา ลงโทษตามขอบังคับทหารวาดวย ขาราชการ
                                          ั   ิ
กลาโหมพลเรือน พ.ศ.๒๔๘๒ หรอขอบงคบกระทรวงกลาโหม วาดวย ลูกจางประจํา พ.ศ.๒๕๒๘
                                       ื  ั ั

       ทหาร ผูกระทําผิดจะไดรับทัณฑทางวินัย ดังนี้
       ๑. ภาคทัณฑ
       ๒. ทัณฑกรรม
       ๓. กัก
       ๔. ขัง
       ๕. จําขัง
- ๑๒ -

        ๑. ภาคทัณฑ หมายถึง ผูกระทําผิด มีความผิดอันควรตองรับทัณฑสถานหนึ่งสถานใด
ดังกลาวมาแลว แตมเี หตุอนควรปราณี จงเปนแตแสดงความผดของผนนใหปรากฏหรอใหทําทัณฑ
                        ั           ึ                ิ      ู ้ั        ื 
บนไว
       ๒. ทัณฑกรรม หมายถึง ใหกระทําการสุขา การโยธา ฯลฯ เพิ่มจากหนาที่ประจําซึ่งตน
จะตองปฏิบัติอยูแลว หรือปรับใหอยูเ วรยามนอกจากงานในหนาทีประจํา
                                                             ่
          ๓. กัก หมายถึง กกตวไวในบรเิ วณใดบรเิ วณหนงตามแตจะกาหนดให
                          ั ั                     ่ึ     ํ
          ๔. ขง หมายถึง ขังในที่ควบคุมแตเฉพาะคนเดียวหรือรวมกันหลายคนแลวแตจะไดมี
              ั
คําสั่ง
          ๕. จาขัง หมายถึง ขังโดยสงไปฝากใหอยูในความควบคุมของเรือนจําทหาร
              ํ
          นอกจากทัณฑที่กลาวไวนี้ หามมิใหคิดขึ้นใหมหรือใชวิธีลงทัณฑอยางอื่นเปนอันขาด
ผูมีอํานาจบังคับบัญชาซึ่งลงทัณฑแกผูกระทําผิดไดนั้น คือ
        (๑) ผูบังคับบัญชา หรือ
        (๒) ผูซงไดรบมอบอํานาจใหบังคับบัญชาตามที่กระทรวงกลาโหม สวนราชการทีขนตรง
                  ่ึ  ั                                                             ่ ้ึ
ตอกระทรวงกลาโหม กองทัพบก กองทัพเรือ หรอกองทพอากาศ
                                               ื       ั
        ในการที่จะลงทัณฑนั้น         ใหกระทําไดแตเฉพาะตามกําหนดในตารางกาหนดทัณฑทาย
                                                                            ํ
พระราชบัญญัตน้ี ิ
        สวนผูมอานาจบังคับบัญชาชั้นใดจะมีอํานาจเปนผูลงทัณฑชั้นใด และผูอยูในบังคับบัญชา
                ีํ
ชั้นใดจะเปนผูรับทัณฑชั้นใด ใหถือเกณฑเทียบดังตอไปนี้
- ๑๓ -

                         ตําแหนงชั้น                               เปนผูลงทัณฑชั้น เปนผูรับทัณฑชั้น
๑. รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
                                                                          ๑                    -
๒. แมทัพ                                                                  ๒                    -
๓. ผูบญชาการกองพล ผูบังคับการกองเรือ
        ั                                                                 ๓                    -
  ผูบญชาการกองพลบิน
     ั
๔. ผูบังคับการกรม ผูบังคับหมวดเรือ ผูบังคับการกองบิน                    ๔                    ก
๕. ผูบังคับหมูเรือชั้น ๑                                                 ๕                    ข
๖. ผูบังคับกองพัน ผูบังคับหมูเรือชั้น ๒ ผูบังคับการเรือชั้น ๑          ๖                    ค
   ผูบังคับฝูงบิน
๗. ผูบังคับหมูเรือชั้น ๓ ผูบังคับการเรือชั้น ๒ ตนเรือชั้น ๑            ๗                    ง
   ผูบังคับหมวดบินชั้น ๑
๘. ผูบังคับกองรอย ผูบังคับการเรือชั้น ๓ ตนเรือชั้น ๒                   ๘                    จ
   นายกราบเรือ ผูบังคับหมวดบินชั้น ๒
๙. ผูบังคับหมวด ตนเรือชั้น ๓ ผูบังคับหมวดบินชั้น ๓                      ๙                    ฉ
๑๐. ผูบังคับหมู นายตอน                                                   -                    ช
๑๑. นักเรียนทหารซึงเมือสําเรจการศึกษาแลวจะไดเ ปนนายทหาร
                     ่ ่         ็             
   สัญญาบัตร บุคคลผูซึ่งอยูในระหวางเขารับการฝกวิชาทหาร
   โดยคาสังรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมตามกฎหมาย
           ํ ่           
   วาดวยการสงเสริมการฝกวิชาทหาร                                         -                   ซ
๑๒. นักเรียนทหารซึงเมือสําเรจการศึกษาแลวจะไดเ ปนนายทหาร
                       ่ ่         ็                                       -                   ฌ
   ประทวน ลูกแถว
- ๑๔ -

       ผูลงทัณฑ หรอผรบทณฑ ถาตําแหนงไมตรงตามความในมาตรา ๑๐ แหงหมวดนแลว ให
                      ื ู ั ั                                             ้ี 
ถือตามที่ไดเทียบตําแหนงไวในขอบังคับสําหรบทหาร
                                            ั
       กําหนดอานาจลงทัณฑตามที่ตราไวนี้ ผมอํานาจลงทัณฑ สั่งลงทัณฑเต็มที่ไดสถานใด
                 ํ                             ู ี
สถานหนึ่งแตสถานเดียว ถาสั่งลงทัณฑทั้งสองสถานพรอมกัน ตองกําหนดทัณฑไวเพียงกึ่งหนึ่ง
ของอัตราในสถานนั้น ๆ หามมิใหลงทัณฑคราวเดียวมากกวาสองสถาน
การพจารณาลงทณฑ
      ิ               ั
          กอนที่ผูมีอานาจลงทัณฑจะลงทัณฑครั้งคราวใดก็ดี ใหพจารณาใหถวนถแนนอนวา ผูที่
                            ํ                                                                  ิ              ่ี          
จะตองรับทัณฑนั้นมีความผิดจริงแลว จึงสั่งลงทัณฑนั้น ตองระวังอยาใหเปนการลงทัณฑไปโดย
โทษจริต หรือลงทัณฑแกผูที่ไมมีความผิดโดยชัดเจนนั้นเปนอันขาด เพอพจารณาความผดละเอยด                 ่ื ิ                ิ         ี
แลวตองชี้แจงใหผูกระทํานั้นทราบวากระทําผิดในขอใด เพราะเหตใด แลวจึงลงทัณฑ                 ุ
          ถาผูมีอํานาจบังคับบัญชาไดลงทัณฑขาราชการชั้นสัญญาบัตร ตองสงรายงานการลงทัณฑ
นั้นเสนอตามลําดบชนจนถงรฐมนตรวาการกระทรวงกลาโหม
                        ั ้ั            ึ ั                     ี
          เมื่อผูมีอํานาจบังคับบัญชาไดทราบวา ผูซึ่งอยูในบังคับบัญชาของตนมีความผิดจนปรากฏ
แนนอนแลวแตความผิดนันควรรับทัณฑทเ่ี หนืออํานาจจะสั่งกระทําได ก็ใหรายงานชี้แจงความผิด
                                    ้
นั้น ทั้งออกความเห็นวาควรลงทัณฑเพียงใด เสนอตามลาดับชั้นจนถึงผูมีอานาจลงทัณฑไดพอกับ
                                                                                   ํ                       ํ
ความผดเพอขอใหผนนสงการตอไป
        ิ ่ื              ู ้ั ่ั                   
          ถาเปนความผิดซึ่งมีวิธีวางอัตรากําหนดทณฑไวโดยแนนอนแลว เชนฐานขาด หนราชการ
                                                                           ั                                            ี
ทหาร เปนตน หากกําหนดทณฑนนเหนออํานาจของผูบังคับบัญชาที่จะสั่งลงทัณฑได ก็ใหนาเสนอ
                                             ั  ้ั                ื                                                            ํ
เพียงชั้นที่กลาวตอไปนี้
          (๑) ฝายทหารบก ผมอํานาจบังคับบัญชาตําแหนงชั้นผูบังคับการกรม หรอชนผบงคบกอง
                                              ู ี                                                                ื ้ั ู ั ั
พันที่อยูตางทองถิ่นกับผูมีอานาจบังคับบัญชาชั้นผูบังคับการกรม
                                         ํ
          (๒) ฝายทหารเรือ ผมอํานาจบังคับบัญชาตําแหนงผูบงคับหมวดเรือ หรอชนผบงคบกอง
                                                   ู ี                               ั                         ื ้ั ู ั ั
พันที่อยูตางทองถิ่นกับผูมีอานาจบงคบบญชาชนผบงคบหมวดเรอ
                                           ํ                 ั ั ั     ้ั ู ั ั           ื
          (๓) ฝายทหารอากาศ ผมอํานาจบังคับบัญชาตําแหนงชั้นผูบังคับกองบิน
                                                        ู ี
          แมวากําหนดทัณฑนนจะเหนืออํานาจกดี ก็ใหผูบังคับบัญชาชั้นที่กลาวมานี้มีอํานาจ ลง
                                                ้ั                       ็
ทัณฑไดทีเดียว ไมตองนาเสนอตามลําดับชันตอไปอีก
                             ํ                                     ้
          นายทหารทีเ่ ปนหัวหนาทําการควบคุมทหารไปโดยลําพัง ใหมอํานาจที่จะสั่งลงทัณฑผูอยู       ี
ใตอํานาจในระหวางเวลาที่ควบคุมอยูนั้นเสมอ ผมอํานาจเหนือจากตําแหนงของตนขนไปอกชน
                                                                              ู ี                                    ้ึ         ี ้ั
หน่ึงไดเวนแตนายทหารซงมอํานาจเปนผูลงทัณฑชั้น ๒ ขึ้นไป จงไมตองเพม
                                    ่ึ ี                                                   ึ   ่ิ



                                                                                                     Back
- ๑๕ -

การเพิมทัณฑหรือลดทัณฑ
        ่
            ถาผูมอานาจลงทัณฑไดสั่งลงทัณฑผูกระทาผิดในฐานขังแลว และผูรับทัณฑขังนั้นกระทา
                    ีํ                                   ํ                                             ํ
ผิดซ้ําอีกผูมีอานาจลงทัณฑจะสั่งเพิ่มทัณฑ ก็ใหพิจารณาดูกาหนดทณฑทไดสงไวแตเ ดมนนกอน
                    ํ                                                ํ        ั  ่ี  ่ั  ิ ้ั 
หามมิใหกาหนดเวลาใหผูตองถูกขัง ทั้งกาหนดเดิมและกําหนดที่เพิ่มใหมรวมกันเกินกวากําหนด
              ํ                                      ํ
อํานาจของผูสั่งลงทัณฑนั้นเปนอันขาด หากผูกระทาผดนนควรรบทณฑเ กนกวากาหนดอํานาจของ
                                                            ํ ิ ้ั        ั ั       ิ  ํ
ผูที่จะสั่งลงทัณฑนั้นแลวก็ใหรายงานชี้แจงความผิดนั้น ทั้งออกความเห็นวาควรลงทัณฑเพียงใด
เสนอตามลาดับชั้นจนถึงผูมีอานาจลงทัณฑไดพอกับความผิด เพอขอใหผนนสงการตอไป
                ํ                   ํ                                  ่ื       ู ้ั ่ั     
            นับตั้งแตวันที่ปรากฏหลักฐานแหงความผิดของผูกระทําผิด ซึ่งจะตองรับทัณฑตาม พระ
ราชบัญญัตินี้โดยแนนอนแลว                ถาผูมีอํานาจลงทัณฑมิไดจัดการที่จะใหผูนั้นไดรับทัณฑภายใน
กําหนดสามเดือน เปนอันนับวาลวงเลยเวลาที่จะลงทัณฑตามพระราชบัญญัตินี้เสียแลว จะสั่งลง
ทัณฑโดยอํานาจตนเองมได เวนเสียแตผูที่กระทําผิดนันขาดหนีราชการเสียแตเมือครบกําหนดสาม
                              ิ                                ้                          ่
เดือน จึงมใหนบวนทขาดนเ้ี ขาในกําหนดเวลาลวงเลย ใหนับตั้งแตวันที่ไดตัวผูนั้นกลับมายังที่รับ
                  ิ  ั ั ่ี          
ราชการ
            เมื่อผูมีอํานาจไดสั่งลงทัณฑตามพระราชบัญญัตินี้แลว ผูที่สั่งลงทัณฑหรือผูมีอํานาจบังคับ
บัญชาเหนือผูที่สั่งลงทัณฑนั้นมีอานาจที่จะเพิ่มทัณฑ หรือลดทัณฑหรือยกทัณฑเสียก็ได แตถา
                                        ํ
เพิ่มทัณฑแลวทัณฑที่สั่งเพิ่มขึ้นนั้นรวมกับที่สั่งไวแลวเดิม ตองมใหเ กนอํานาจของผูที่สั่งใหมนั้น
                                                                    ิ ิ

                                               รองทกข
                                                 ุ
วิธรองทกข
    ี ุ
           ในการที่จะรักษาวินัยทหารใหเปนระเบียบเรียบรอยอยูเสมอยอมเปนการจําเปนที่ผูบังคับ
บัญชาจักตองมีอํานาจในการบังคับบัญชา หรอลงทณฑอยเู องเปนธรรมดา แตผูบังคับบัญชาบาง
                                             ื    ั           
คนอาจใชอํานาจในทางที่ผิด ไมยุติธรรม ซึ่งเปนการสมควรที่จะใหผูใตบังคับบัญชามีโอกาสรอง
ทุกขไดในทางเปนระเบียบไมกาวกาย
           คําชี้แจงของทหารวา ผูบังคับบัญชากระทําแกตนดวยการอนไมเ ปนยตธรรม หรือผิด
                                                                  ั      ุ ิ
กฎหมายหรือแบบธรรมเนยมทหารวา ตนมไดรบผลประโยชนหรอสทธตามทควรจะไดรบราชการ
                           ี              ิ ั             ื ิ ิ         ่ี        ั
นั้น เรยกวา “รองทกข”
       ี   ุ
           (๑) ทหารจะตองรองทุกขไดแตสาหรับตนเองเทานัน หามมใหรองทกขแทนผอนเปน อน
                                         ํ               ้  ิ  ุ              ู ่ื  ั
ขาดและหามมิใหลงชื่อรวมกัน หรอเขามารองทกขพรอมกนหลายคน และหามมิใหประชุมกันเพื่อ
                                 ื   ุ   ั
หารือเรองจะรองทกข
        ่ื         ุ
- ๑๖ -

             (๒) หามมิใหรองทุกขในเวลาที่ตนกําลังเขาแถว หรือในขณะที่กําลังทาหนาที่ราชการ       ํ
อยางใดอยางหนึ่ง เชน เวลาเปนยาม เปนเวร ดงนเ้ี ปน และหามมิใหรองทุกขกอนเวลาลวงไปแลว
                                                      ั 
ยี่สิบสี่ชั่วโมง นบตงแตทมเี หตจะตองทกขเ กดขน
                      ั ้ั  ่ี ุ  ุ ิ ้ึ
             (๓) หามมิใหรองทุกขวา ผูบังคับบัญชาลงทัณฑแรงเกินไป ถาหากวาผูบังคับบัญชานั้นมิ
ไดลงทัณฑเกินอํานาจที่จะทาใหตามความในหมวด ๓ แหงพระราชบญญตน้ี
                                         ํ                                         ั ั ิ
             (๔) ถาจะกลาวโทษผูใดใหรองทุกขตอผูบังคับบัญชาโดยตรงของผูนั้น จะรองทกขจดขอ          ุ  
ความสําคญของเรองทรองทกขนนใหผรองทกขลงลายมอชอไวเ ปนหลกฐานดวย
              ั         ่ื ่ี  ุ  ้ั  ู  ุ                    ื ่ื         ั        
             ถาหากวาผรองทกขไมทราบชดเจน ตนไดรบความเดือดรอนเพราะผูใดแน ก็ใหรองทุกข
                              ู  ุ               ั         ั                             
ตอผูบังคับบัญชาโดยตรงของตน เพือเสนอไปตามลําดับชั้น จนถึงที่สุด คือผูที่จะสั่งการไตสวน
                                                   ่
และแกความเดือดรอนนันได           ้
             (๕) ถาเขียนความรองทุกขเปนจดหมายแลว จดหมายนนตองลงลายมอชอของผรองทกข
                                                                                 ้ั           ื ่ื      ู  ุ
ในรองทุกขฉบับใดไมมีลายมือชื่อ ผูบังคับบัญชาไมมีหนาที่จะตองพิจารณา
             (๖) เมื่อผูใดไดรองทุกขตอผูบังคับบัญชาตามระเบียบที่วามานี้แลวและเวลาลวงพนไป
สิบหาวัน ยังไมไดรับความชี้แจงประการใด ทั้งความเดือดรอนก็ยังไมปลดเปลื้องไป ใหรองทุกข
ใหมตอ ผูบังคับบัญชาชั้นที่สูงถัดขึ้นไปเปนลําดบอก และในการรองทุกขครั้งนี้ใหชี้แจงดวยวาได
                                                           ั ี
รองทุกขตอผูบังคับบัญชาชั้นใดมาแลวแตอยางใด
             (๗) ถาผบงคบบญชาไดรบเรองรองทกขเ มอใด ตองรีบไตสวนและจัดการแกไขความ
                            ู ั ั ั            ั ่ื  ุ ่ื
เดือดรอนหรือชี้แจงใหผูยื่นใบรองทุกขเขาใจ จะเพิกเฉยเลยไมไดเปนอันขาด ผูใดเพิกเฉยนับวา
กระทําผดตอวนยทหาร
            ิ  ิ ั
             (๘) ถาผบงคบบญชาทไดรบเรองรองทกขไดชแจงใหผรองทกขทราบแลว แตผรองทุกข
                          ู ั ั ั           ่ี  ั ่ื  ุ   ้ี           ู  ุ                      ู 
ยังไมหมดความสงสัย กใหรองทกขตอผบงคบบญชาชนเหนอขนไปไดและตองชแจงดวยวาไดรอง
                                      ็   ุ   ู ั ั ั       ้ั      ื ้ึ             ้ี    
ทุกขนี้ตอผูใดและไดรับคําชี้แจงอยางไรแลวดวย
การรองทุกขเท็จ
        ถาหากปรากฏชัดวา ขอความทรองทกขเ ปนความเทจ หรอการรองทกขนนกระทําไปโดย
                                       ่ี  ุ    ็   ื    ุ  ้ั
ผิดระเบียบที่กลาววา ผรองทกขจะตองมความผดฐานกระทาผดตอวนยทหาร
                         ู  ุ   ี         ิ  ํ ิ  ิ ั
คุณและโทษของการททหารตงมนอยในวนย และขาดวินัย
                      ่ี       ้ั ่ั ู ิ ั
- ๑๗ -

       ผลดีของการทีทหารตังมันอยูในวินย
                               ่     ้ ่     ั
       ๑. ทาใหทหารปกครองบังคับบัญชากันได
             ํ
       ๒. ทาใหทหารสามารถควบคุมกันเปนปกแผนมั่นคง
                             ํ
       ๓. ทาใหทหารมีความสามัคคีกลมเกลียวกัน
                ํ
       ๔. ทาใหทหารปฏิบัติหนาที่ไดผลดี
                    ํ
       ๕. ทาใหทหารเขมแขง สามารถจะมีอิทธิพลเปนที่เกรงขามแกผูที่จะมารุกราน
                          ํ       ็
       ๖. ทาใหทหารสงเกยรติ เปนที่รักใครไววางใจของประชาชน
               ํ                ู ี
       ผลรายของการที่ทหารขาดวินัย
       ๑. ทาใหทหารขาดความเคารพเชอฟง
            ํ                             ่ื 
       ๒. ทาใหกองทหารกลายเปนกองโจรได
                           ํ
       ๓. ทาใหทหารเสื่อมเสีย ขาดความไววางใจของประชาชนพลเมือง
                        ํ
       ๔. ทาใหกองทัพขาดสมรรถภาพ
                  ํ
       ๕. ทาใหประเทศชาติเสื่อมสลายในที่สุด
                      ํ




เอกสารอางอิง พ.ร.บ. วินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร

Contenu connexe

Tendances

ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสารdnavaroj
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์tabparid
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ SineKat Suksrikong
 

Tendances (20)

ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
1 อิศรญาณภาษิต ok
1 อิศรญาณภาษิต  ok1 อิศรญาณภาษิต  ok
1 อิศรญาณภาษิต ok
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร02แบบจำลองอนุภาคของสาร
02แบบจำลองอนุภาคของสาร
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 

Plus de i_cavalry

ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติi_cavalry
 
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556i_cavalry
 
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพหลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพi_cavalry
 
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการเอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการi_cavalry
 
โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์i_cavalry
 
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555i_cavalry
 
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 i_cavalry
 
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหารi_cavalry
 
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนi_cavalry
 
Cobragold 2013
Cobragold 2013Cobragold 2013
Cobragold 2013i_cavalry
 
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารการประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารi_cavalry
 
Negative thinking
Negative thinkingNegative thinking
Negative thinkingi_cavalry
 
Introduction of horse
Introduction of horseIntroduction of horse
Introduction of horsei_cavalry
 
งาน ..
งาน .. งาน ..
งาน .. i_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกi_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกi_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกi_cavalry
 
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ i_cavalry
 

Plus de i_cavalry (20)

ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
 
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
 
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพหลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
 
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการเอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
 
โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์
 
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
 
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
 
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
 
Culture
CultureCulture
Culture
 
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
 
Cobragold 2013
Cobragold 2013Cobragold 2013
Cobragold 2013
 
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารการประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
 
Negative thinking
Negative thinkingNegative thinking
Negative thinking
 
Introduction of horse
Introduction of horseIntroduction of horse
Introduction of horse
 
งาน ..
งาน .. งาน ..
งาน ..
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
 
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
 
Retreat s.
Retreat s.Retreat s.
Retreat s.
 

Lแบบธรรมเนียมทหาร

  • 1. วิชา แบบธรรมเนียมทหาร วัตถุประสงคของบทเรียน เพือให นทน.มีความรูและเขาใจแบบธรรมเนียมทหาร เพือนําไปใชในการปฏิบัติ ่ ่ ตนไดอยางถูกตองเหมาะสม วัตถประสงคเชงพฤติกรรม ุ ิ ให นทน.สามารถทําในขอตอไปนไดอยางถกตอง   ้ี   ู  ๑. บอกความหมายของแบบธรรมเนียมทหาร ๒. ปฏบตตนตาม พ.ร.บ.วาดวยวินัยทหาร พ.ศ.๒๔๗๖ ิ ั ิ ๓. ปฏบตตามแบบธรรมเนยมทหารทออกเพมเตม ิ ั ิ ี ่ี ่ิ ิ เรื่องที่จะศึกษา ๑. ความหมายของแบบธรรมเนียมทหาร ๒. พ.ร.บ.วาดวยวินัยทหาร พ.ศ.๒๔๗๖
  • 2. หมวดวชาท่ี ๒ การทหาร ิ วิชา แบบธรรมเนียมทหาร วตถประสงคของบทเรยน ั ุ ี ๑. ให นทน.แตละคนเขาใจ แบบธรรมเนียมทหาร เพอเปนแนวทางในการนําไปประพฤติ ่ื  ปฏิบัติใหถูกตองเหมาะสม ๒. ให นทน.แตละคนสามารถแกปญหา อันเกิดจากเหตการณททหารประพฤตผด ุ  ่ี ิิ แบบธรรมเนียมทหาร วตถประสงคเชงพฤตกรรม ั ุ ิ ิ ๑.๑ บอกความหมายของแบบธรรมเนียมทหารไดถูกตอง ๑.๒ บอกความหมายของวินัยทหารไดถูกตอง ๑.๓ บอกชอองคการหรอบคคลทมอํานาจออกแบบธรรมเนยมของทางราชการ ่ื  ื ุ ่ี ี ี ไดถกตอง ู  ๑.๔ อธิบายทัณฑของทหารที่จะถูกลงทัณฑฐานขัดขืนหรือละเลยไมปฏิบัติตาม แบบธรรมเนียมทหาร ๑.๕ อธิบายแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับการทําความเคารพไดถกตอง ู  ๑.๖ อธิบายแบบธรรมเนียมทหารที่เกี่ยวกับการสั่งการและประชาสัมพันธไดถูกตอง ๑.๗ อธิบายแบบธรรมเนียมทหารที่เกี่ยวกับการลาไดถูกตอง ๑.๘ อธิบายแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับการรายงานตนเองไดถูกตอง ๑.๙ อธบายแบบธรรมเนยมทเ่ี กยวกบรายงานเมอตองหาในคดอาญา คดีแพง ิ ี ่ี ั ่ื  ี หรือลมละลายไดถูกตอง ๑.๑๐ อธิบายแบบธรรมเนียมทหารที่เกี่ยวกับ การคาดกระบี่ การใชถุงมือ และการใชผาพันแขนทุกขไดถูกตอง ๑.๑๑ อธิบายแบบธรรมเนียมทหารที่เกี่ยวกับ การรบสงหนาทถกตอง ั   ่ี ู  ๑.๑๒ อธิบายแบบธรรมเนียมทหารที่เกี่ยวกับการแตงกายไดถูกตอง
  • 3. -๒- เรืองทีศกษา ่ ่ ึ ๑. ความหมายของแบบธรรมเนียมทหาร ๒. ผูมีอํานาจและหนาที่ออกแบบธรรมเนียมของทางราชการ ๓. การขัดขืน และละเลยไมปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมทหาร ๔. การปฏิบัติตามแบบธรรมเนียมทหาร ๔.๑ การทาความเคารพ ํ ๔.๒ การสงการและการประชาสัมพนธ ่ั ั ๔.๓ การลา ๔.๔ การรายงานตนเอง ๔.๕ การรายงานเมอตองหาในคดอาญา คดีแพง หรือลมละลาย ่ื  ี ๔.๖ การรายงาน ๔.๗ การรับสงหนาที่ ๔.๘ การแตงกาย ๔.๙ การคาดกระบี่ การใชถุงมือ การใชผาพันแขนทุกข
  • 4. สารบัญ หนา  สภาพของสังคมโดยทั่วไป ๑ สิ่งทีบงคับใหทหารมีวนย ่ ั ิ ั ๒ มาตรการตอบแทนผกระทาผิดวินย ู ํ ั ๓ ที่มาหรือแหลงกําเนิดแบบธรรมเนียมของทหาร ๓ วธรองทกข ิี ุ ๑๕ การเคารพ ๒๑ การเคารพเมืออยูในความควบคุม ่  ๒๔ การผอนผน  ั ๒๕ การสั่งการ และการประชาสัมพันธ ๒๗ การลา ๓๒ การรายงานดวน ๔๕ การรายงานตนเอง ๔๗ การรายงานเมือตองหาในคดีอาญา หรือคดีแพง หรือคดีลมละลาย ่ ๔๘ การรายงานตวเมอมสถานการณฉกเฉินและการเตรยมพรอม ั ่ื ี  ุ ี  ๕๐ การรบสงหนาทราชการ ั   ่ี ๕๒ ขาราชการกลาโหมกบการเมอง ั ื ๕๗ การแตงกาย ๕๙ -------------------------------------
  • 5. แบบธรรมเนียมทหาร สภาพของสังคมโดยทั่วไป ในทุกสังคมจะตองมีโครงสราง ซึ่งหมายถึง ระเบียบปฏิบัติ ระเบียบแบบแผน ที่จะเปน เครื่องยึดโยง หรือสายใยใหสังคมดํารงสภาพอยูไดไมแตกสลาย เปรียบประดุจตึกหรือบานเรือน ที่ประกอบดวยสวนตาง ๆ โครงสรางของสังคมก็เชนกันจะตองประกอบไปดวยสิ่งตาง ๆ อันได แก ระเบียบ ปทัสถาน ความสัมพันธระหวางบุคคล และสถานภาพของบุคคล ซึ่งจักตองควบคุม โดยสังคมและคานิยมของแตละกลุมสังคม ประเพณีหรือแบบธรรมเนยมเปนแนวทางอนหนงทกาหนดใหคนเราดําเนนชวตไปตาม ี  ั ่ึ ่ี ํ ิ ีิ ครรลองของแบบธรรมเนยมประเพณนน ๆ ไมวาจะเปนแบบธรรมเนียมที่เกี่ยวกับการอยูรวมกัน ี ี ้ั ประกอบกิจการงานรวมกัน ฯลฯ ยอมจะประสบความราบรื่นและปลอดภัยเหมือนกับรถไฟที่แลน ไปตามรางของมัน สังคมจะสรรเสริญคนที่ทาอะไรตามแบบธรรมเนียมหรือสงเสริมรือฟนแบบธรรมเนียมทีดี ํ ้  ่ งาม แตจะตําหนิตเิ ตียนคนทีทาอะไร "แหวก" หรือ "ทาลาย" ขนบธรรมเนียมที่ดีงาม ซึ่งเขาไดวาง ่ ํ ํ ไวใหปฏิบัติอยางดีแลว สภาพสังคมทหาร ในวงสังคมของทหารกเ็ ชนเดยวกนจะตองมโครงสราง หรือระเบียบปฏิบตอนเปนแบบ  ี ั  ี  ั ิั แผนซึ่งวิวฒนาการไปในตัวของมันเอง และเปลี่ยนแปลงไปไดตามยุคตามสมัย ถือเปนเอกลักษณ ั  เฉพาะสิ่งเฉพาะอยางที่ในวงการทหารเขาประพฤติ และปฏิบตตอกน อาจผดแผกแตกตางกบ ั ิ  ั ิ  ั วงสังคมอื่น ๆ ในบางลักษณะ ซงกเ็ ปนของธรรมดาสามญในสภาพหรอภาวะความเปนอยของ ่ึ  ั ื  ู ทหารโดยทัวไป่ ทหารตองมีวินัย ความเปนอยูของทหารที่มั่นคงสถาพรมาไดจนถึงตราบทุกวันนี้ อยตรงจดสาคัญที่ทหาร ู ุ ํ ทกคนตองมี "วนย" ุ  ิ ั อะไรคือวินยทหาร ั วินัยของทหารจะมีคําจากัดความวาอยางไรนั้น ยังไมมีผูใดกําหนดหรอแจกแจงอธบาย ํ ื ิ ใหชดเจน นอกจากที่มีบัญญัติไวในกฎหมายวาดวยวินัยทหาร วา "วินัยทหาร" นัน คือการท่ี  ั ้ ทหารตองประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร ซึ่งก็มีความหมายกวางขวางเหลือเกิน นอกจากนี้ ในกฎหมายวาดวยวินัยทหารยังไดเนนหนักไวอีกวา “วินัยทหารเปนหลกสําคัญ  ั ที่สุดสําหรับทหาร เพราะฉะนั้นทหารทุกคน จักตองรักษาโดยเครงครัดอยูเสมอ ผูใดฝาฝนใหถือวา ผูนนกระทําผิด”  ้ั Back
  • 6. -๒- สิ่งทีบงคับใหทหารมีวนย ่ ั ิ ั แมแตในกฎหมายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ใชบังคับอยูในปจจุบันนี้ และถือวาเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ ก็ยังไมลืมในเรื่องนี้เพราะเล็งเห็นวาเปนสิ่งสําคญของ ั ทหาร จึงไดบญญตไวในมาตรา ๔๔ ใจความวา "บุคคลซึ่งเปนทหาร ยอมมีสิทธิและเสรีภาพตาม  ั ัิ  รัฐธรรมนูญ เชนเดียวกับประชาชนพลเมือง เวนแตทไดจํากัดไวในเรืองวาดวย วนย "ซึ่งก็หมาย ่ี ่ ิ ั ความวา ทหารนั้นแมจะมีสิทธิและเสรีภาพโดยสมบูรณในฐานะประชาชนคนธรรมดาแตตองอยู ในกรอบของวินัยทหารอยางหลีกเลี่ยงไมได พระราชบญญตระเบยบขาราชการทหาร พ.ศ.๒๕๒๑ ซึ่งเปนกฎหมายสรางมาตรการตาง ๆ ั ั ิ ี  ในวงการทหารใหเปนเอกเทศขึ้นมาเปนสัดสวน ไมตองอาศัยหรือแอบอิงระบบของขาราชการ  พลเรือนอยางแตกอนก็ยงบัญญัตไวในมาตรา ๑๕ วา "วินัยของขาราชการทหาร ทหารกอง  ั ิ ประจําการ และนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม ใหเปนตามกฎหมายวาดวย วินัยทหาร ขอบังคับ และระเบียบแบบแผนที่กระทรวงกลาโหมกําหนด" ผูใดควบคุมดูแลใหทหารมีวินัย เปนหนาที่ของผูบังคับบัญชา ที่จะตองจัดการระวัง ใหทหารในบังคับบัญชาไดรักษาวินัย โดยเครงครัด ถาหากวาในการรักษาวินัยทหารใหคงอยูนั้น จําเปนตองใชอาวธเพอทาการปราบ    ุ ่ื ํ ปรามทหารผกอการกาเรบกดี หรือเพื่อบังคับทหารผูละทิ้งหนาที่ใหกลับทําหนาทีของตนก็ดี ู  ํ ิ ็ ่ ผูบังคับบัญชา และผูที่ชวยเหลือในการนั้นจะไมตองรับโทษในการที่ตนไดกระทําไปโดยความจํา เปนนั้นเลย แตเ มอเหตดงกลาวน้ี ผบงคบบญชาจกตองรายงานไปยงผบงคบบญชาเหนอตน และ ่ื ุ ั  ู ั ั ั ั  ั ู ั ั ั ื รายงานตอไปตามลําดบชนจนถงรฐมนตรวาการกระทรวงกลาโหมโดยเรว ั ้ั ึ ั ี ็ ตัวอยางทกฎหมายถอวากระทําผิดวินยทหาร มดงน้ี ่ี ื  ั ีั ๑. ดอ ขดขน หลีกเลี่ยง หรือละเลยไมปฏิบัติตามคําสงผบงคบบญชาเหนอตน ้ื ั ื ่ั ู ั ั ั ื ๒. ไมรักษาระเบียบการเคารพ ระหวางผูใหญผนอย  ู  ๓. ไมรักษามรรยาทใหถูกตองตามแบบธรรมเนียมของทหาร ๔. กอใหแตกความสามัคคีในคณะทหาร ๕. เกียจคราน ละทิ้ง หรอเลนเลอตอหนาทราชการ ื ิ    ่ี ๖. กลาวคําเทจ ็ ๗. ใชกิริยาวาจาไมสมควร หรือประพฤติไมสมควร ๘. ไมตกเตือนสังสอน หรือลงทัณฑผูใตบังคับบัญชาที่กระทําผดตามโทษานโทษ ั ่ ิ ุ ๙. เสพเครองดองของเมาจนถงเสยกรยา ่ื ึ ี ิิ Back
  • 7. -๓- มาตรการตอบแทนผกระทําผิดวินัย ู ทหารผูใดกระทาผดตอวนยทหารจกตองรบทณฑตามวธทบญญตไวในกฎหมายวาดวย ํ ิ  ิ ั ั  ั ั  ิ ี ่ี ั ั ิ    วินัยทหาร แลวยังอาจตองถูกปลดออกจากประจําการ หรอถกถอดจากยศทหารดวย ทั้งนี้สุดแลวแต   ื ู  ความเสียหายรายแรงแหงการกระทําผดวนยนน ๆ ิ ิ ั ้ั อะไรคือแบบธรรมเนยมทหาร ี เปนที่ทราบแลววา วินัยทหาร คอการททหารตองประพฤตตามแบบธรรมเนยมทหารดงได ื ่ี  ิ ี ั กลาวไวขางตน การที่จะใหคาจากัดความถึงถอยคําวา แบบธรรมเนียม มีความหมายอยางไรนั้น ํ ํ จึงเปนการยากโดยเฉพาะ "แบบธรรมเนียมทหาร" แตก็พอจะสรุปเปนใจความโดยยอใหเขาใจได ดังนี้ แบบธรรมเนียมทหาร หมายถึง แนวทางปฏิบัติซึ่งผูบังคับบัญชาหรือหัวหนาสวน ราชการ ตลอดจนผูมอานาจหนาที่ไดวางไวเปนหลักสําหรับปฏิบัติ  ีํ ในท่ีน้ีจะเนนหนกไปในเรองของแบบธรรมเนยมของทหาร ที่กําหนดไวเปนลายลักษณ  ั ่ื ี อักษร และเฉพาะที่เกี่ยวกับสายงานสารบรรณ ทควรทราบเพอยดถอเปนแนวทางปฏบตโดยสวน ่ี ่ื ึ ื  ิ ั ิ  รวม ที่มาหรือแหลงกําเนิดแบบธรรมเนียมของทางราชการ ๑. กฎหมายรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งกําหนดรปแบบู และหลักการปกครอง ตลอดจนวิธีการดําเนนการปกครองประเทศไวอยางเปนระเบยบ รวมทัง ิ    ี ้ กําหนดหนาที่ของประชาชนที่พึงกระทําตอรัฐ กับรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ซงรฐจะ ่ึ ั ละเมิดมิไดดวย ๒. พระราชบัญญัติ ไดแกกฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยคําแนะนํา และยินยอมของรัฐสภา คือ วุฒิสภา และสภาผูแทนราษฎร ๓. พระราชกําหนด เปนกฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยคาแนะนําของคณะ ํ รัฐมนตรี โดยนายกรฐมนตรเี ปนผรบสนองพระบรมราชโองการ กระทําไดใน ๒ กรณดงตอไปน้ี ั  ู ั ีั  ๓.๑ ในกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปนรบดวนในอนจะรกษาความปลอดภยของประเทศ  ี  ั ั ั หรือความปลอดภัยสาธารณะ จะตราพระราชกําหนดใหใชบงคบดงเชนพระราชบญญตกได เมือมี   ั ั ั  ั ั ิ็ ่ การประชุมรัฐสภาคราวตอไป ใหคณะรฐมนตรเี สนอพระราชกําหนดนันตอรัฐสภาเพือพิจารณา  ั ้ ่ โดยไมชกชา ถาสภาผูแทนราษฎรไมอนุมัติ หรือสภาผูแทนราษฎรอนุมติ แตวฒสภาไมอนมติ  ั   ั ุ ิ  ุ ั และสภาผูแทนยืนยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงไมมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมด ใหพระราชกําหนดนนตกไป แตทั้งนี้ไมกระทบกระเทือนกิจการที่ไดเปนไปในระหวางที่ใช ้ั พระราชกําหนดนน ้ั
  • 8. -๔- ถาวุฒิสภาและสภาผูแทนราษฎรอนุมัติพระราชกําหนดนน หรือถาวุฒสภาไมอนุมติ ้ั ิ ั และสภาผูแทนราษฎรยืนยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมด ใหพระราชกําหนดนนมผลใชบงคบเปนพระราชบญญตตอไป ้ั ี  ั ั  ั ั ิ  การอนุมัติหรือไมอนมตพระราชกาหนด ใหนายกรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา  ุ ั ิ ํ ในกรณีไมอนุมัติ ใหมีผลตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในการพิจารณาพระราชกาหนดของวุฒิสภาและของสภาผูแทนราษฎร ในกรณียืนยัน ํ การอนุมัติพระราชกําหนด จะตองทาในโอกาสแรกที่มีการประชุมสภานั้น ๆ  ํ ๓.๒ ในระหวางสมัยประชุมรัฐสภา ถามีความจาเปนตองมกฎหมาย เกี่ยวดวยการ ํ   ี ภาษีอากรหรือเงินตรา ซงจะตองไดรบการพจารณาโดยดวนและกบเพอรกษาผลประโยชนของ ่ึ   ั ิ  ั ่ื ั  แผนดิน จะตราพระราชกําหนดใหใชบังคับดังเชน พระราชบัญญัตก็ได ิ พระราชกําหนดทไดตราขนตามความในขอ ๓.๒ จะตองนําเสนอตอสภาผแทนราษฎร ่ี  ้ึ   ู ภายในสามวัน นับแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา และใหนําขนตอน และวิธีการ ้ั ปฏิบตตาง ๆ ในขอ ๓.๑ มาใชบังคับโดยอนุโลม ัิ ๔. พระราชกฤษฎีกา เปนกฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นโดยคําแนะนําของ คณะรัฐมนตรี แบงออกเปน ๒ ประเภท   ๔.๑ พระราชกฤษฎีกา ทีออกโดยอาศัยอํานาจแหงกฎหมาย เชน พระราชบัญญัตทมี ่  ิ ่ี บทบัญญัติมอบใหฝายบริหาร คือ คณะรัฐมนตรี ไปออกพระราชกฤษฎกา หรือกฎกระทรวงกําหนด ี รายละเอียดเพื่อดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายนั้น ๔.๒ พระราชกฤษฎีกา ที่พระมหากษัตริยใชพระราชอํานาจ โดยคําแนะนําของ คณะรฐมนตรี ตามที่รฐมนตรีเกียวของเสนอมา เชน พระราชกฤษฎีกา วาดวยการเบิก ั ั ่ จายคารักษาพยาบาล ฯลฯ ๕. กฎกระทรวง เปนกฎหมายทออกโดยรฐมนตรเี จากระทรวงผรกษาการตามพระราช ่ี ั  ู ั บัญญัตฉบับใด ฉบับหนึ่ง ออกโดยอาศัยอานาจตามทพระราชบญญตนน ๆ ใหอํานาจไวกฎ ิ ํ ่ี ั ั ิ ้ั  กระทรวง จะจดตอกฎหมายหรอนอกเหนอจากทพระราชบญญตอนกฎกระทรวงอาศยเปน แมบท ั  ื ื ่ี ั ั ิั ั  จะกระทาไมได ํ การออกพระราชกฤษฎีกา หรอกฎกระทรวงนน เพื่อเปนการกําหนดรายละเอียด และเปน ื ้ั กฎหมายที่สะดวกแกการแกไข เมื่อแกไขงายจะทําใหกฎหมายหลัก คือ พระราชบญญตซงกาหนด ั ั ิ ่ึ ํ เฉพาะหลักเกณฑใหญทันสมัยอยูเสมอ ถาเรื่องใดสําคัญก็ออกพระราชกฤษฎีกาสาคัญนอยก็ออก ํ กฎกระทรวง ๖. ขอบังคับ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอานาจหนาที่กาหนดใหใชโดยอาศยอํานาจของ ํ ํ   ั กฎหมายที่บัญญัติใหกระทําได
  • 9. -๕- ขอควรสงเกต ในการตราขอบังคับเพื่อใชบังคับบุคคลที่อยูในอํานาจศาลทหาร ในเวลา  ั ปกติจะตองเปนการตราขนโดยสมควรแกกาลสมย และชอบดวยพระราชกําหนดกฎหมาย หรือจะ  ้ึ  ั กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือขอบังคับนั้นจะตองเหมาะสมกับกาลสมัย ไมขัดตอความรูสึกของประชาชน ทั่วไป หรือไมขัดกับจารีตประเพณีที่บุคคลเหลานั้นนิยมใชกันมา กับทั้งไมขัดตอพระราชกําหนด กฎหมายที่ออกบังคับใชอยูในขณะนั้น หรือถาจะกลาวโดยสรุปแลว ขอบังคับทีตรานันตองอยูภาย ่ ้  ในขอบเขตที่กาหนดใหอํานาจ มิฉะนั้นแลวขอบังคับเหลานั้นอาจไมมีผลใชบังคับบุคคลที่อยูใน ํ อํานาจศาลทหารไดเลย บรรดาขอบังคับที่ใชกันอยูในอดีต เรยกชอแตกตางกนไปแลวแตวาขอบงคบนนเปนสวน ี ่ื  ั     ั ั ้ั   ของราชการใดใชบังคับ ซึ่งอาจแยกไดเปน ๗ อยางดวยกันคือ ๖.๑ ขอบังคับทหารบก รฐมนตรวาการกระทรวงกลาโหม เปนผตราขนเพอใชบงคบแต ั ี  ู ้ึ ่ื  ั ั บุคคลที่สังกัดอยูในราชการทหารบกและทหารอากาศ (ขณะนั้นทหารอากาศยังไมไดแยกออกจาก ทหารบก) ๖.๒ ขอบังคับทหารเรือ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมเปนผูตราขึนเพือใชบงคับ   ้ ่ ั แกบคคลทอยในราชการทหารเรอ  ุ ่ี ู ื ๖.๓ ขอบังคับทหาร รฐมนตรวาการกระทรวงกลาโหมเปนผตราขนเพอใชบงคบแก ั ี  ู ้ึ ่ื  ั ั บุคคลที่อยูในราชการทหารบก ทหารเรอและทหารอากาศ ื ๖.๔ ขอบังคับกองทัพบก ผบญชาการทหารบกเปนผตราขน เพื่อใชบังคับแกบุคคลที่ ู ั  ู ้ึ สังกัดอยูในกองทัพบก ๖.๕ ขอบงคบกองทพเรอ ผูบญชาการทหารเรือเปนผูตราขึน เพื่อใชบังคับแกบุคคลที่ ั ั ั ื  ั  ้ สังกัดอยูในกองทัพเรือ ๖.๖ ขอบังคับกองทัพอากาศ ผูบญชาการทหารอากาศเปนผูตราขึน เพื่อใชบังคับแก  ั  ้ บุคคลที่สังกัดอยูในกองทัพอากาศ ๖.๗ ขอบังคับกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมเปนผูตราขึนเพือ   ้ ่ ใชบังคับแกบุคคลที่อยูในอํานาจศาลทหาร ฉะนั้น จึงเห็นไดวาขอบังคับที่ใชกันอยูในอดีตมีมากอยางดวยกัน ตอมาเมือ ่ พ.ศ.๒๔๙๒ กระทรวงกลาโหม ไดตราขอบังคับกระทรวงกลาโหมวาดวยระเบียบจัดการทางคดี (ฉบับที่ ๒)พ.ศ.๒๔๙๒ ออกใช ไดกาหนดอํานาจและหนาที่ไววา ถาจะตราขอบังคับตาง ๆ เพื่อใช ํ บังคับแกบุคคลที่อยูในอํานาจศาลทหารในเวลาปกติ ตามความหมายแหงประมวลกฎหมายอาญา ทหารแลวใหตราขึนไดแตเฉพาะขอบังคับกระทรวงกลาโหมโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ้  เปนผูตราขึ้นเทานั้น ตังแตนนมาจนถึงปจจุบนนี้ การตราขอบงคบขนในราชการทหารจงเปน ้ ้ั ั  ั ั ้ึ ึ 
  • 10. - ๖- อํานาจของรฐมนตรวาการกระทรวงกลาโหมแตผเู ดยว และเรียกชื่อขอบังคับนั้นวา ขอบังคับ ั ี  ี กระทรวงกลาโหม สําหรับสวนราชการอืนใดถาประสงค หรือเห็นสมควรทีตราขอบังคับขึนในกรณีใด ๆ ่ ่ ้ ก็ตามตองรายงานขึ้นไปตามลาดับชันจนถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมเพือพิจารณา ํ ้  ่ และตราขนเปนขอบงคบกระทรวงกลาโหมตอไป ้ึ   ั ั  อนึ่ง แมวาการตราขอบงคบตงแตป ๒๔๙๒ เปนตนมา เปนอํานาจของรัฐมนตรีวาการ  ั ั ้ั    กระทรวงกลาโหมแตผูเดียวก็จริง แตก็ยังคงถือวาขอบังคับอื่นใดที่ออกใชบังคับอยูกอนแลวก็ยังคง มีผลบังคับใชอยูตอไป ๗. คําสั่ง คือ บรรดาขอความที่ผูบังคับบัญชาสั่งการใหปฏิบัติโดยชอบดวยกฎหมาย ขอท่ีควรพจารณาคอคาวา "ผูซึ่งบังคับบัญชาทหาร" ตามความหมายแหงขอบังคับและคําสั่งนั้น ิ ื ํ แยกออกพจารณาไดดงนคอ ิ  ั ้ี ื ผูซึ่งบังคับบัญชาทหาร หมายถึง ผซงมอํานาจบงคบบญชาตามพระราชบญญตวาดวย ู ่ึ ี ั ั ั ั ั ิ  วินัยทหาร สวนคําวา ทหาร ตามพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาทหาร (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.๒๔๙๗ มาตรา ๓ บัญญัตคาวา ทหาร หมายความวา บุคคลซึ่งอยูใน ิํ อํานาจกฎหมายฝายทหาร ดังนั้นคําวาผูซึ่งบังคับบัญชาทหาร จึงหมายความรวมถึงผูมีอานาจ ํ บังคับบัญชาทหาร ขาราชการกลาโหมพลเรอน และลูกจางประจําที่อยูในอํานาจกฎหมายฝาย ื ทหารนนดวย้ั  เทาที่กลาวมาแลวชี้ใหเห็นวา คําสั่ง หมายความวาอยางไร คําสั่ง ตามนัยขางตน สําหรบ ั กระทรวงกลาโหมไดแยกออกเปน ๒ ประเภท คือ   ๗.๑ คําสั่งทั่วไป เปนคําสั่งที่ใหสวนราชการ หรือผูอยูในบังคับบัญชาทั่วไปปฏิบัติ และทราบทั่วกัน ๗.๒ คําสั่งเฉพาะ เปนคําสั่งที่สั่งใหสวนราชการหรือผูอยูในบังคับบัญชาผูมีหนาที่ เกี่ยวของโดยเฉพาะปฏิบัติ คําสั่งทั้ง ๒ ประเภท ที่กลาวมาแลวขางตน สําหรับกองทัพอากาศไดนามาพิจารณาแยก ํ รายละเอียดออกไปอีก ทั้งนี้เพื่อสะดวกในทางปฏิบัติและเพื่อเปนแนวทางเดียวกันและเรื่องใดควร จะอยูในคําสั่งประเภทใดดังนี้
  • 11. -๗- - คําสั่งกองทัพอากาศ (ทั่วไป) ถาจําเปนจะตองออกเปนคาสั่งรูปนี้แลว จะตองพจารณาวา    ํ  ิ  เรื่องนั้นเปนเรื่องที่ตองเก็บไวเปนหลักฐานทางประวัติ ตํานาน และการตรวจสอบทางทะเบียนพล หรือไม หากเปนเรื่องที่จะตองปฏิบัติการดังกลาว ก็ใหจัดอยูในประเภทคําสั่งกองทัพอากาศ (ทั่วไป) คําสั่งประเภทนี้จะตองสงสําเนาใหกับกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพบก กองทัพเรือดวย - คําสั่งกองทัพอากาศ (เฉพาะ) ทเ่ี ปนแบบธรรมเนยม คําสั่งประเภทนี้ ตองถือเปน  ี แบบธรรมเนยมตลอดไปจะมคาสั่งเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิก ี ีํ - คําสั่งกองทัพอากาศ (เฉพาะ) ทีไมเปนแบบธรรมเนียม คําสั่งที่ผูรับปฏิบัติไดปฏิบัติโดย ่ สมบูรณแลว ผูปฏิบัติยอมหมดพันธกรณี หรือหมดหนาทีไปโดยปริยาย ไมจาเปนตอง ่ ํ ปฏิบัติหรือกระทําการนนตอไปอก้ั  ี ๘. ระเบยบ คือ บรรดาขอความทผมอํานาจหนาที่ไดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจ ี  ่ี ู ี ของกฎหมายหรือไมก็ได เพื่อถือเปนหลักปฏิบัติงานเปนการประจํา ๙. ประกาศ คือ บรรดาขอความททางราชการประกาศหรอชแจงใหทราบ หรือ  ่ี ื ้ี  แนะแนวทางปฏิบัติ ๑๐. แถลงการณ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการแถลงเพื่อทําความเขาใจใน กิจการของทางราชการ หรือเหตุการณ หรือในกรณีใด ๆ ใหทราบชดเจนโดยทวไป  ั ่ั ๑๑. มตคณะรฐมนตรี คือ ความคิดความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ิ ั ๑๒. ขาว คือ บรรดาขอความททางราชการเหนสมควรเผยแพรใหทราบ  ่ี ็   ผูมีอํานาจและหนาที่ออกแบบธรรมเนียมของทางราชการได คือ ๑. รัฐสภา ประกอบดวยวุฒิสภา และสภาผูแทน ฯ ๑.๑ วุฒิสภา มาจากการเลือกตั้ง ๑.๒ สภาผูแทน ฯ ประกอบดวยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง มจํานวนตามเกณฑทบญญติ  ี  ่ี ั ั ไวในรฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกรไทย  ั ั รัฐสภา มีอํานาจหนาทีออกระเบียบแบบธรรมเนียมขึนไวโดยตรง เปนพระราชบญญติ ่ ้  ั ั ๒. คณะรัฐมนตรี หมายถึง คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริยไดทรงตั้งขึ้น ประกอบดวย  นายกรฐมนตรี และคณะรฐมนตรี ตามรฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกรไทย มีอํานาจหนาท่ี ั ั ั  ั  ออกแบบธรรมเนียมได ดังนี้ ๒.๑ พระราชกาหนด ํ
  • 12. -๘- ๒.๒ พระราชกฤษฎีกา ๒.๓ กฎสานักนายกรัฐมนตรี ํ ๒.๔ มติ ๒.๕ ขอบังคับ ๒.๖ แถลงการณ ๒.๗ ระเบียบ ๒.๘ ประกาศ ๒.๙ ขาว ๒.๑๐ คําสั่ง ๓. กระทรวง กลาวโดยเฉพาะกระทรวงกลาโหม มีรฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ั  เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ และรัฐมนตรีชวยวาการ ฯ หรือรัฐมนตรีสงการ ฯ เปนผูชวยและมี ่ั อํานาจหนาทีออกแบบธรรมเนียมได ดังนี้ ่ ๓.๑ กฎกระทรวง ๓.๒ ขอบังคับ ๓.๓ แถลงการณ ๓.๔ คําสั่ง ๓.๕ ระเบียบ ๓.๖ ประกาศ ๓.๗ ขาว ๔. สวนราชการขึนตรงตอกระทรวงกลาโหม คือ ้ ๔.๑ สํานกงานเลขานการรฐมนตรี ั ุ ั ๔.๒ สํานักงานปลัดกระทรวง ๔.๓ กรมราชองครักษ ๔.๔ กองบัญชาการทหารสูงสุด - สํานกงานเลขานการรฐมนตรี มีหนาที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง ั ุ ั มีเลขานุการรฐมนตรี เปนผูบงคับบัญชารับผิดชอบ แบงสวนราชการออกเปนดังนี้ ั  ั - แผนกการเมือง - แผนกตรวจสอบเรองราวและความเหน ่ื ็ - สํานักงานปลัดกระทรวง มีหนาที่เกี่ยวกับราชการประจําทั่วไปของ กระทรวง มีปลัดกระทรวง เปนผูบงคับบัญชารับผิดชอบ แบงสวนราชการออกเปนดังนี้  ั
  • 13. -๙- - สํานักปลัดกระทรวงกลาโหม - สํานักนโยบายและแผนกลาโหม - กรมเสมียนตรา - กรมพระธรรมนูญ - กรมการเงินกลาโหม - ศูนยการอุตสาหกรรมปองกันประเทศและพลังงานทหาร - สํานกงานตรวจบญชกลาโหม ั ั ี - กรมราชองครักษ มีหนาที่ตามกฎหมายวาดวยราชองครักษ และกฎหมาย วาดวยนายตํารวจราชองครกษ มีสมุหราชองครักษเปนผูบงคับบัญชารับผิดชอบ แบงสวนราชการ  ั  ั ออกเปน  - สํานกงานราชองครกษประจํา ั ั  - สํานักงานรักษาความปลอดภัย - สํานักนโยบายและแผน - สํานักยุทธบริการ - กองบัญชาการทหารสูงสุด มีหนาทเ่ี ตรยมรบ และปองกันราชอาณาจักร  ี มีผูบัญชาการทหารสูงสุด เปนผูบงคับบัญชารับผิดชอบ แบงสวนราชการออกเปนดังนี้  ั - กองทัพบก - กองทัพเรือ - กองทัพอากาศ - สํานักผูบัญชาการทหารสูงสุด - กรมกําลังพลทหาร - กรมขาวทหาร - กรมยุทธการทหาร - กรมสงกําลังบารุงทหาร ํ - กรมการสื่อสารทหาร - กรมกิจการพลเรือนทหาร - สํานักงานปลัดบัญชีทหาร - หนวยบัญชาการทหารพัฒนา - ศูนยรักษาความปลอดภัย - กรมสารบรรณทหาร
  • 14. - ๑๐ - - กรมการเงนทหาร ิ - กรมแผนที่ทหาร - ศูนยวิจัยและพัฒนาการทหาร - กรมการสรรพกําลังทหาร - กรมยุทธบริการทหาร - กรมการสนเทศทหาร - สถาบันวิชาการปองกันประเทศ - กรมยุทธศึกษาทหาร ๕. สวนราชการขึนตรงตอกระทรวงกลาโหม กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ้ มีอํานาจและหนาทออกแบบธรรมเนยมไดดงน้ี  ่ี ี ั ๕.๑ แถลงการณ ๕.๒ คําสั่ง ๕.๓ ระเบียบ ๕.๔ ประกาศ ๕.๕ ขาว ๖. สวนราชการรอง ๆ ลงไป หมายถึงสวนราชการรอง ๆ ลงไปจากสวนราชการที่ขึ้นตรง ตอกระทรวงกลาโหม กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ มีอํานาจหนาทออกแบบธรรม  ่ี เนยมไดดงน้ี ี ั ๖.๑ คําสั่ง ๖.๒ ระเบียบ ๖.๓ ประกาศ ๖.๔ ขาว ขอบเขตและอํานาจการออกแบบธรรมเนยม ี ผูมีอํานาจและหนาที่ที่จะออกแบบธรรมเนียมของทางราชการไดนั้น ตองออกมาใน รูปและขอบเขตซึงตนมีอํานาจเทานัน เชน ่ ้  กระทรวง จะออกในรูปแบบพระราชบัญญัติ พระราชกาหนด หรือพระราชกฤษฎีกา ํ ใชบังคับเปนกฎหมายไมได สวนราชการทขนตรงตอกระทรวงกลาโหม กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพ ่ี ้ึ  อากาศจะออกพระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา กฎ กระทรวง หรือขอบังคับ ไมได
  • 15. - ๑๑ - สวนราชการรอง ๆ ลงไปนอกจากที่กลาวขางตนมีอํานาจและหนาทออกระเบยบแบบธรรม  ่ี ี เนียมไดก็เฉพาะ คําสั่ง ระเบียบ ประกาศ และขาว เทานน สวนพระราชบัญญัติ พระราชกาหนด  ้ั ํ พระราชกฤษฎีกา กฎ ขอบังคับ และแถลงการณ ไมมีอานาจหนาทีออกได ํ ่ ฉะนั้น การออกระเบยบแบบธรรมเนยมจะตองอยภายในขอบเขตทสวนราชการนนมี ี ี  ู ่ี  ้ั อํานาจเทานัน หากจะออกระเบยบแบบธรรมเนยมเกนกวาทตนมอํานาจอยู ระเบียบแบบธรรม ้ ี ี ิ  ่ี ี เนียมนั้นยอมไมมีผลใชบังคับ การขัดขืนหรือละเลยไมปฏิบัติตามแบบธรรมเนียม แบบธรรมเนียมที่กลาวมาแลว หากผูใดขัดขืนหรือละเลยไมปฏิบัติตามแบบธรรมเนียม ผูบังคับบัญชามีอานาจหนาทพจารณาลงทณฑหรอลงโทษไดดงตอไปน้ี ํ  ่ี ิ ั  ื ั  ๑. แบบธรรมเนยมทเ่ี ปนกฎหมาย จะตองไดรบโทษตามพระราชกาหนดกฎหมายที่ได ี   ั ํ บัญญัตไวิ ๒. แบบธรรมเนียมทีเ่ ปนขอบังคับ และคําสั่ง ถึงแมวาแบบธรรมเนียมที่เปนขอบังคับ และคําสั่งจะไมมีลักษณะ เปนตวบทกฎหมายโดยตรงกตาม แตตามประมวลกฎหมายลักษณะอาญา  ั ็ ทหาร มาตรา ๓๐ ถึง ๓๓ บญญตไววา เปนความผิดและมีโทษทางอาญา ซึ่งอยูในอํานาจของ ั ัิ  ผูบังคับบัญชาสมควรจะนําคดีขนฟองรองตอศาลทหารหรือไม ฉะนั้น จึงเห็นไดวาถาขัดขืน หรือ ้ึ ละเลยไมปฏิบัติตามขอบังคับและคาสั่งแลวผูบังคับบัญชาก็มีอานาจพิจารณาวาจะสมควรฟองรอง ํ ํ ตอศาลทหารหรือไม นอกจากนผทเ่ี ปนทหารอาจจะไดรบทณฑทางวนยตามพระราชบญญตวาดวย ้ี ู  ั ั  ิ ั ั ั ิ  วินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ รวมทั้งที่ไดแกไขเพิ่มเติมใหมอีกดวย สวนผูที่เปนขาราชการ กลาโหมพลเรือน ลูกจาง อาจจะไดรบการพจารณา ลงโทษตามขอบังคับทหารวาดวย ขาราชการ ั ิ กลาโหมพลเรือน พ.ศ.๒๔๘๒ หรอขอบงคบกระทรวงกลาโหม วาดวย ลูกจางประจํา พ.ศ.๒๕๒๘ ื  ั ั ทหาร ผูกระทําผิดจะไดรับทัณฑทางวินัย ดังนี้ ๑. ภาคทัณฑ ๒. ทัณฑกรรม ๓. กัก ๔. ขัง ๕. จําขัง
  • 16. - ๑๒ - ๑. ภาคทัณฑ หมายถึง ผูกระทําผิด มีความผิดอันควรตองรับทัณฑสถานหนึ่งสถานใด ดังกลาวมาแลว แตมเี หตุอนควรปราณี จงเปนแตแสดงความผดของผนนใหปรากฏหรอใหทําทัณฑ  ั ึ   ิ ู ้ั  ื  บนไว ๒. ทัณฑกรรม หมายถึง ใหกระทําการสุขา การโยธา ฯลฯ เพิ่มจากหนาที่ประจําซึ่งตน จะตองปฏิบัติอยูแลว หรือปรับใหอยูเ วรยามนอกจากงานในหนาทีประจํา ่ ๓. กัก หมายถึง กกตวไวในบรเิ วณใดบรเิ วณหนงตามแตจะกาหนดให ั ั  ่ึ  ํ ๔. ขง หมายถึง ขังในที่ควบคุมแตเฉพาะคนเดียวหรือรวมกันหลายคนแลวแตจะไดมี ั คําสั่ง ๕. จาขัง หมายถึง ขังโดยสงไปฝากใหอยูในความควบคุมของเรือนจําทหาร ํ นอกจากทัณฑที่กลาวไวนี้ หามมิใหคิดขึ้นใหมหรือใชวิธีลงทัณฑอยางอื่นเปนอันขาด ผูมีอํานาจบังคับบัญชาซึ่งลงทัณฑแกผูกระทําผิดไดนั้น คือ (๑) ผูบังคับบัญชา หรือ (๒) ผูซงไดรบมอบอํานาจใหบังคับบัญชาตามที่กระทรวงกลาโหม สวนราชการทีขนตรง ่ึ  ั ่ ้ึ ตอกระทรวงกลาโหม กองทัพบก กองทัพเรือ หรอกองทพอากาศ ื ั ในการที่จะลงทัณฑนั้น ใหกระทําไดแตเฉพาะตามกําหนดในตารางกาหนดทัณฑทาย ํ พระราชบัญญัตน้ี ิ สวนผูมอานาจบังคับบัญชาชั้นใดจะมีอํานาจเปนผูลงทัณฑชั้นใด และผูอยูในบังคับบัญชา  ีํ ชั้นใดจะเปนผูรับทัณฑชั้นใด ใหถือเกณฑเทียบดังตอไปนี้
  • 17. - ๑๓ - ตําแหนงชั้น เปนผูลงทัณฑชั้น เปนผูรับทัณฑชั้น ๑. รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม  ๑ - ๒. แมทัพ ๒ - ๓. ผูบญชาการกองพล ผูบังคับการกองเรือ  ั ๓ - ผูบญชาการกองพลบิน  ั ๔. ผูบังคับการกรม ผูบังคับหมวดเรือ ผูบังคับการกองบิน ๔ ก ๕. ผูบังคับหมูเรือชั้น ๑ ๕ ข ๖. ผูบังคับกองพัน ผูบังคับหมูเรือชั้น ๒ ผูบังคับการเรือชั้น ๑ ๖ ค ผูบังคับฝูงบิน ๗. ผูบังคับหมูเรือชั้น ๓ ผูบังคับการเรือชั้น ๒ ตนเรือชั้น ๑ ๗ ง ผูบังคับหมวดบินชั้น ๑ ๘. ผูบังคับกองรอย ผูบังคับการเรือชั้น ๓ ตนเรือชั้น ๒ ๘ จ นายกราบเรือ ผูบังคับหมวดบินชั้น ๒ ๙. ผูบังคับหมวด ตนเรือชั้น ๓ ผูบังคับหมวดบินชั้น ๓ ๙ ฉ ๑๐. ผูบังคับหมู นายตอน - ช ๑๑. นักเรียนทหารซึงเมือสําเรจการศึกษาแลวจะไดเ ปนนายทหาร ่ ่ ็  สัญญาบัตร บุคคลผูซึ่งอยูในระหวางเขารับการฝกวิชาทหาร โดยคาสังรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมตามกฎหมาย ํ ่  วาดวยการสงเสริมการฝกวิชาทหาร - ซ ๑๒. นักเรียนทหารซึงเมือสําเรจการศึกษาแลวจะไดเ ปนนายทหาร ่ ่ ็  - ฌ ประทวน ลูกแถว
  • 18. - ๑๔ - ผูลงทัณฑ หรอผรบทณฑ ถาตําแหนงไมตรงตามความในมาตรา ๑๐ แหงหมวดนแลว ให ื ู ั ั    ้ี  ถือตามที่ไดเทียบตําแหนงไวในขอบังคับสําหรบทหาร ั กําหนดอานาจลงทัณฑตามที่ตราไวนี้ ผมอํานาจลงทัณฑ สั่งลงทัณฑเต็มที่ไดสถานใด ํ ู ี สถานหนึ่งแตสถานเดียว ถาสั่งลงทัณฑทั้งสองสถานพรอมกัน ตองกําหนดทัณฑไวเพียงกึ่งหนึ่ง ของอัตราในสถานนั้น ๆ หามมิใหลงทัณฑคราวเดียวมากกวาสองสถาน การพจารณาลงทณฑ ิ ั กอนที่ผูมีอานาจลงทัณฑจะลงทัณฑครั้งคราวใดก็ดี ใหพจารณาใหถวนถแนนอนวา ผูที่ ํ  ิ   ่ี   จะตองรับทัณฑนั้นมีความผิดจริงแลว จึงสั่งลงทัณฑนั้น ตองระวังอยาใหเปนการลงทัณฑไปโดย โทษจริต หรือลงทัณฑแกผูที่ไมมีความผิดโดยชัดเจนนั้นเปนอันขาด เพอพจารณาความผดละเอยด ่ื ิ ิ ี แลวตองชี้แจงใหผูกระทํานั้นทราบวากระทําผิดในขอใด เพราะเหตใด แลวจึงลงทัณฑ ุ ถาผูมีอํานาจบังคับบัญชาไดลงทัณฑขาราชการชั้นสัญญาบัตร ตองสงรายงานการลงทัณฑ นั้นเสนอตามลําดบชนจนถงรฐมนตรวาการกระทรวงกลาโหม ั ้ั ึ ั ี เมื่อผูมีอํานาจบังคับบัญชาไดทราบวา ผูซึ่งอยูในบังคับบัญชาของตนมีความผิดจนปรากฏ แนนอนแลวแตความผิดนันควรรับทัณฑทเ่ี หนืออํานาจจะสั่งกระทําได ก็ใหรายงานชี้แจงความผิด ้ นั้น ทั้งออกความเห็นวาควรลงทัณฑเพียงใด เสนอตามลาดับชั้นจนถึงผูมีอานาจลงทัณฑไดพอกับ ํ ํ ความผดเพอขอใหผนนสงการตอไป ิ ่ื  ู ้ั ่ั  ถาเปนความผิดซึ่งมีวิธีวางอัตรากําหนดทณฑไวโดยแนนอนแลว เชนฐานขาด หนราชการ ั     ี ทหาร เปนตน หากกําหนดทณฑนนเหนออํานาจของผูบังคับบัญชาที่จะสั่งลงทัณฑได ก็ใหนาเสนอ ั  ้ั ื ํ เพียงชั้นที่กลาวตอไปนี้ (๑) ฝายทหารบก ผมอํานาจบังคับบัญชาตําแหนงชั้นผูบังคับการกรม หรอชนผบงคบกอง ู ี ื ้ั ู ั ั พันที่อยูตางทองถิ่นกับผูมีอานาจบังคับบัญชาชั้นผูบังคับการกรม ํ (๒) ฝายทหารเรือ ผมอํานาจบังคับบัญชาตําแหนงผูบงคับหมวดเรือ หรอชนผบงคบกอง ู ี  ั ื ้ั ู ั ั พันที่อยูตางทองถิ่นกับผูมีอานาจบงคบบญชาชนผบงคบหมวดเรอ ํ ั ั ั ้ั ู ั ั ื (๓) ฝายทหารอากาศ ผมอํานาจบังคับบัญชาตําแหนงชั้นผูบังคับกองบิน ู ี แมวากําหนดทัณฑนนจะเหนืออํานาจกดี ก็ใหผูบังคับบัญชาชั้นที่กลาวมานี้มีอํานาจ ลง ้ั ็ ทัณฑไดทีเดียว ไมตองนาเสนอตามลําดับชันตอไปอีก   ํ ้ นายทหารทีเ่ ปนหัวหนาทําการควบคุมทหารไปโดยลําพัง ใหมอํานาจที่จะสั่งลงทัณฑผูอยู  ี ใตอํานาจในระหวางเวลาที่ควบคุมอยูนั้นเสมอ ผมอํานาจเหนือจากตําแหนงของตนขนไปอกชน ู ี  ้ึ ี ้ั หน่ึงไดเวนแตนายทหารซงมอํานาจเปนผูลงทัณฑชั้น ๒ ขึ้นไป จงไมตองเพม   ่ึ ี ึ   ่ิ Back
  • 19. - ๑๕ - การเพิมทัณฑหรือลดทัณฑ ่ ถาผูมอานาจลงทัณฑไดสั่งลงทัณฑผูกระทาผิดในฐานขังแลว และผูรับทัณฑขังนั้นกระทา  ีํ ํ ํ ผิดซ้ําอีกผูมีอานาจลงทัณฑจะสั่งเพิ่มทัณฑ ก็ใหพิจารณาดูกาหนดทณฑทไดสงไวแตเ ดมนนกอน ํ ํ ั  ่ี  ่ั  ิ ้ั  หามมิใหกาหนดเวลาใหผูตองถูกขัง ทั้งกาหนดเดิมและกําหนดที่เพิ่มใหมรวมกันเกินกวากําหนด ํ ํ อํานาจของผูสั่งลงทัณฑนั้นเปนอันขาด หากผูกระทาผดนนควรรบทณฑเ กนกวากาหนดอํานาจของ ํ ิ ้ั ั ั ิ  ํ ผูที่จะสั่งลงทัณฑนั้นแลวก็ใหรายงานชี้แจงความผิดนั้น ทั้งออกความเห็นวาควรลงทัณฑเพียงใด เสนอตามลาดับชั้นจนถึงผูมีอานาจลงทัณฑไดพอกับความผิด เพอขอใหผนนสงการตอไป ํ ํ ่ื  ู ้ั ่ั  นับตั้งแตวันที่ปรากฏหลักฐานแหงความผิดของผูกระทําผิด ซึ่งจะตองรับทัณฑตาม พระ ราชบัญญัตินี้โดยแนนอนแลว ถาผูมีอํานาจลงทัณฑมิไดจัดการที่จะใหผูนั้นไดรับทัณฑภายใน กําหนดสามเดือน เปนอันนับวาลวงเลยเวลาที่จะลงทัณฑตามพระราชบัญญัตินี้เสียแลว จะสั่งลง ทัณฑโดยอํานาจตนเองมได เวนเสียแตผูที่กระทําผิดนันขาดหนีราชการเสียแตเมือครบกําหนดสาม ิ ้ ่ เดือน จึงมใหนบวนทขาดนเ้ี ขาในกําหนดเวลาลวงเลย ใหนับตั้งแตวันที่ไดตัวผูนั้นกลับมายังที่รับ ิ  ั ั ่ี  ราชการ เมื่อผูมีอํานาจไดสั่งลงทัณฑตามพระราชบัญญัตินี้แลว ผูที่สั่งลงทัณฑหรือผูมีอํานาจบังคับ บัญชาเหนือผูที่สั่งลงทัณฑนั้นมีอานาจที่จะเพิ่มทัณฑ หรือลดทัณฑหรือยกทัณฑเสียก็ได แตถา ํ เพิ่มทัณฑแลวทัณฑที่สั่งเพิ่มขึ้นนั้นรวมกับที่สั่งไวแลวเดิม ตองมใหเ กนอํานาจของผูที่สั่งใหมนั้น  ิ ิ รองทกข  ุ วิธรองทกข ี ุ ในการที่จะรักษาวินัยทหารใหเปนระเบียบเรียบรอยอยูเสมอยอมเปนการจําเปนที่ผูบังคับ บัญชาจักตองมีอํานาจในการบังคับบัญชา หรอลงทณฑอยเู องเปนธรรมดา แตผูบังคับบัญชาบาง ื ั   คนอาจใชอํานาจในทางที่ผิด ไมยุติธรรม ซึ่งเปนการสมควรที่จะใหผูใตบังคับบัญชามีโอกาสรอง ทุกขไดในทางเปนระเบียบไมกาวกาย คําชี้แจงของทหารวา ผูบังคับบัญชากระทําแกตนดวยการอนไมเ ปนยตธรรม หรือผิด   ั  ุ ิ กฎหมายหรือแบบธรรมเนยมทหารวา ตนมไดรบผลประโยชนหรอสทธตามทควรจะไดรบราชการ ี  ิ ั  ื ิ ิ ่ี ั นั้น เรยกวา “รองทกข” ี   ุ (๑) ทหารจะตองรองทุกขไดแตสาหรับตนเองเทานัน หามมใหรองทกขแทนผอนเปน อน ํ ้  ิ  ุ  ู ่ื  ั ขาดและหามมิใหลงชื่อรวมกัน หรอเขามารองทกขพรอมกนหลายคน และหามมิใหประชุมกันเพื่อ ื   ุ   ั หารือเรองจะรองทกข ่ื  ุ
  • 20. - ๑๖ - (๒) หามมิใหรองทุกขในเวลาที่ตนกําลังเขาแถว หรือในขณะที่กําลังทาหนาที่ราชการ ํ อยางใดอยางหนึ่ง เชน เวลาเปนยาม เปนเวร ดงนเ้ี ปน และหามมิใหรองทุกขกอนเวลาลวงไปแลว    ั  ยี่สิบสี่ชั่วโมง นบตงแตทมเี หตจะตองทกขเ กดขน ั ้ั  ่ี ุ  ุ ิ ้ึ (๓) หามมิใหรองทุกขวา ผูบังคับบัญชาลงทัณฑแรงเกินไป ถาหากวาผูบังคับบัญชานั้นมิ ไดลงทัณฑเกินอํานาจที่จะทาใหตามความในหมวด ๓ แหงพระราชบญญตน้ี ํ  ั ั ิ (๔) ถาจะกลาวโทษผูใดใหรองทุกขตอผูบังคับบัญชาโดยตรงของผูนั้น จะรองทกขจดขอ  ุ   ความสําคญของเรองทรองทกขนนใหผรองทกขลงลายมอชอไวเ ปนหลกฐานดวย ั ่ื ่ี  ุ  ้ั  ู  ุ  ื ่ื  ั  ถาหากวาผรองทกขไมทราบชดเจน ตนไดรบความเดือดรอนเพราะผูใดแน ก็ใหรองทุกข ู  ุ   ั ั  ตอผูบังคับบัญชาโดยตรงของตน เพือเสนอไปตามลําดับชั้น จนถึงที่สุด คือผูที่จะสั่งการไตสวน ่ และแกความเดือดรอนนันได ้ (๕) ถาเขียนความรองทุกขเปนจดหมายแลว จดหมายนนตองลงลายมอชอของผรองทกข ้ั  ื ่ื ู  ุ ในรองทุกขฉบับใดไมมีลายมือชื่อ ผูบังคับบัญชาไมมีหนาที่จะตองพิจารณา (๖) เมื่อผูใดไดรองทุกขตอผูบังคับบัญชาตามระเบียบที่วามานี้แลวและเวลาลวงพนไป สิบหาวัน ยังไมไดรับความชี้แจงประการใด ทั้งความเดือดรอนก็ยังไมปลดเปลื้องไป ใหรองทุกข ใหมตอ ผูบังคับบัญชาชั้นที่สูงถัดขึ้นไปเปนลําดบอก และในการรองทุกขครั้งนี้ใหชี้แจงดวยวาได ั ี รองทุกขตอผูบังคับบัญชาชั้นใดมาแลวแตอยางใด (๗) ถาผบงคบบญชาไดรบเรองรองทกขเ มอใด ตองรีบไตสวนและจัดการแกไขความ ู ั ั ั  ั ่ื  ุ ่ื เดือดรอนหรือชี้แจงใหผูยื่นใบรองทุกขเขาใจ จะเพิกเฉยเลยไมไดเปนอันขาด ผูใดเพิกเฉยนับวา กระทําผดตอวนยทหาร ิ  ิ ั (๘) ถาผบงคบบญชาทไดรบเรองรองทกขไดชแจงใหผรองทกขทราบแลว แตผรองทุกข ู ั ั ั ่ี  ั ่ื  ุ   ้ี  ู  ุ   ู  ยังไมหมดความสงสัย กใหรองทกขตอผบงคบบญชาชนเหนอขนไปไดและตองชแจงดวยวาไดรอง ็   ุ   ู ั ั ั ้ั ื ้ึ   ้ี     ทุกขนี้ตอผูใดและไดรับคําชี้แจงอยางไรแลวดวย การรองทุกขเท็จ ถาหากปรากฏชัดวา ขอความทรองทกขเ ปนความเทจ หรอการรองทกขนนกระทําไปโดย  ่ี  ุ  ็ ื  ุ  ้ั ผิดระเบียบที่กลาววา ผรองทกขจะตองมความผดฐานกระทาผดตอวนยทหาร ู  ุ   ี ิ ํ ิ  ิ ั คุณและโทษของการททหารตงมนอยในวนย และขาดวินัย ่ี ้ั ่ั ู ิ ั
  • 21. - ๑๗ - ผลดีของการทีทหารตังมันอยูในวินย ่ ้ ่  ั ๑. ทาใหทหารปกครองบังคับบัญชากันได ํ ๒. ทาใหทหารสามารถควบคุมกันเปนปกแผนมั่นคง ํ ๓. ทาใหทหารมีความสามัคคีกลมเกลียวกัน ํ ๔. ทาใหทหารปฏิบัติหนาที่ไดผลดี ํ ๕. ทาใหทหารเขมแขง สามารถจะมีอิทธิพลเปนที่เกรงขามแกผูที่จะมารุกราน ํ   ็ ๖. ทาใหทหารสงเกยรติ เปนที่รักใครไววางใจของประชาชน ํ  ู ี ผลรายของการที่ทหารขาดวินัย ๑. ทาใหทหารขาดความเคารพเชอฟง ํ  ่ื  ๒. ทาใหกองทหารกลายเปนกองโจรได ํ ๓. ทาใหทหารเสื่อมเสีย ขาดความไววางใจของประชาชนพลเมือง ํ ๔. ทาใหกองทัพขาดสมรรถภาพ ํ ๕. ทาใหประเทศชาติเสื่อมสลายในที่สุด ํ เอกสารอางอิง พ.ร.บ. วินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖