SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
Cloud Computing: ปริทั ศน์ วรรณกรรม

                                                                              จอมขวัญ ผลภาษี, 5 มีนาคม 2555

            ั ั
          ปจจุบนอินเทอร์เน็ตมีบทบาทสาคัญในกิจกรรมทีหลากหลายของคนในสังคม โดยเฉพาะการติดต่อสือสารผ่าน
                                                       ่                                           ่
อินเทอร์เน็ตกลายเป็ นสิงจาเป็ นของสังคม ทังในชีวตประจาวัน การทางาน ธุรกิจ การศึกษา และบันเทิง อินเทอร์เน็ตจึง
                        ่                 ้     ิ
เป็ นศูนย์กลางทีเชื่อมโยงระหว่างผูคนในสังคม ข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีประกอบด้วยโปรแกรมการทางาน
                ่                 ้                                        ่
(Software applications)จานวนมากและอุปกรณ์หลากหลายชนิด เทคโนโลยี Cloud computing เป็ นตัวอย่างหนึ่งของ
แนวคิดการทางานบนอินเทอร์เน็ต ทีแพร่หลายและได้รบความนิยมเพิมขึนอย่างต่อเนื่อง โดย Cloud computing เป็ น
                                    ่               ั           ่ ้
เทคโนโลยีทมุ่งเน้นการบูรณาการวิทยาการทางเครือข่ายและคอมพิวเตอร์ (Networking and computing) การจัดเก็บ
             ่ี
ข้อมูล (Storage) การบริการทรัพยากรข้อมูล (Data service resources) ไว้ดวยกัน Cloud computing เปิ ดตัวด้วย
                                                                      ้
การเสนอแนวทางการส่งเสริมการใช้งานโปรแกรมการทางานร่วมกันบนอินเทอร์เน็ตทีเข้าใจง่ายสาหรับ (Grossman,
                                                                             ่
2009; Jianxin et al., 2011; Sultan, 2010; Voas & Zhang, 2009)


Cloud computing คืออะไร?
         นักวิชาการและนักวิจยจานวนมากได้อธิบายเกียวกับ Cloud computing ไว้ ซึงโดยสรุปแล้ว Cloud
                                ั                       ่                             ่
computing เปรียบเสมือนการรวมตัวกันทางเครือข่ายของเครื่องคอมพิวเตอร์ทอยู่ต่างสถานทีกน ในรูปแบบของศูนย์
                                                                               ่ี         ่ ั
ข้อมูลขนาดใหญ่ หรือการรวมฐานข้อมูล Servers จานวนมากเข้าไว้เป็ นเครือข่ายสาหรับการให้บริการทรัพยากรทีเป็ น    ่
ข้อมูลและทีเป็ นโปรแกรมการทางาน ซึงการให้บริการนี้จะเป็ นในลักษณะตามความต้องการ (On-demand) ผ่านสือ
            ่                           ่                                                                  ่
สารสนเทศทีมการเชื่อมโยงเป็ นเครือข่าย ซึงโดยทัวไปหมายความถึงอินเทอร์เน็ต (Sultan, 2010) สาหรับคาว่า
              ่ ี                           ่      ่
“Cloud” นันมีทมาจากศัพท์ทางวิทยาการสารสนเทศ (Information Technology) ทีนาเสนอแนวคิดทีเรียกว่า
          ้ ่ี                                                                    ่            ่
สภาพแวดล้อมทางไกล (Remote environments) เช่น อินเทอร์เน็ต เป็ นเสมือนเมฆทีลอยอยู่ทวไป แต่มความ
                                                                                    ่       ั่    ี
สลับซับซ้อน (Complexity) อยู่ภายในและอยู่เบืองหลัง (Grossman, 2009; Voas & Zhang, 2009) อีกทางหนึ่งมีการ
                                                ้
ให้คาอธิบายเปรียบ Cloud ว่าเป็ นการจาลองหรือสร้างโลกเสมือน (Virtualization) เพื่อการทางานโดยการสร้างพืนที่
                                                                                                         ้
บน Server ขึนตามความประสงค์ของผูใช้งาน (Servers-on-demand) จากการใช้ระบบปฏิบตการบนเครือข่ายผ่านการ
               ้                          ้                                             ั ิ
เชื่อมโยงออนไลน์ เพื่อให้ใช้งานได้ผ่าน Cloud ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทผใช้งานใช้เชื่อมต่อเข้าทางานผ่าน Cloud จึง
                                                                         ่ี ู้
เปรียบได้ว่าเป็ นเครื่องเสมือน (Virtual workstation) (Schubert et al., 2010)

     อย่างไรก็ดี การทาความเข้าใจประเภทหรือระดับของการให้บริการผ่าน Cloud computing อาจเริมจากการทา
                                                                                              ่
ความเข้าใจเกียวกับวิธการภายใต้แนวคิดนี้ ซึงโดยทัวไปมีประเภทหรือระดับของการบริการ Cloud Computing อยู่ 3
             ่        ี                     ่       ่
แบบ ได้แก่
     1. Infrastructure as Service (IaaS) เป็นการทีให้บริการสารสนเทศทังระบบผ่านเครือข่าย เช่น การทางานบน
                                                       ่                 ้
          โปรแกรม รวมถึงการควบคุม รับ-ส่งคาสัง่ การบันทึกข้อมูล การเรียกคืนข้อมูล หรือการสือสารผ่าน
                                                                                            ่
          เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรียกได้ว่าเป็ นการใช้คอมพิวเตอร์ทางไกลแบบเสมือน (Virtual computers, servers,
          หรือ storage devices)


*จอมขวัญ ผลภาษี, PhD Candidate, University of Wisconsin-Madison และ อาจารย์ประจาสาขาวิชา
สารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
2

     2. Platform as a Service (PaaS) เป็นการนาแนวคิดการทางานผ่านเครือข่ายมาผสมผสานกับการบริหาร
        จัดการโปรแกรมทางาน ซึงจาเป็ นต้องใช้ผเชียวชาญในการติดตัง บริหารจัดการ และดูแลรักษาระบบ
                                  ่              ู้ ่               ้
        ให้กลายเป็ นสิงสามารถทาได้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
                      ่
     3. Software as a Service (SaaS) เป็นการให้บริการโปรแกรมการทางาน หรือ Software ผ่านเครือข่าย
        อินเทอร์เน็ต โดยผูใช้ทอยู่ทางไกลไม่จาเป็ นต้องติดตังโปรแกรมในเครื่องทีใช้งานนันๆ แต่เป็ นการใช้งาน
                          ้ ่ี                             ้                  ่       ้
        ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึงช่วยลดภาระในการบริหารจัดการและดูแลรักษาทังเรื่องของโปรแกรม
                                    ่                                              ้
        Software และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) โดยทัวไปมักพบเห็นการใช้ในลักษณะนี้มากกว่าลักษณะ
                                                             ่
        อื่น และเหมาะแก่การใช้งานเพื่อการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relation Management – CRM)
        หรือ การจัดการทรัพยากรข้อมูลขององค์กร (Enterprise-resource Management)

       ประเด็นสาคัญทีตองคานึงถึงในการพิจารณานาระบบ Cloud Computing มาใช้งาน ได้แก่ ลักษณะของ
                         ่ ้
ผลิตภัณฑ์สาหรับบริการ Cloud แต่ละผลิตภัณฑ์ อาจไม่เหมือนโปรแกรมสาเร็จรูปทัวไปทีพร้อมใช้งานทันที แต่
                                                                                 ่ ่
จาเป็ นต้องมีการใช้ความรูและทักษะทาง Programming ในระดับหนึ่งของทังผูใช้และผูให้บริการ (Cloud provider) เพื่อ
                             ้                                             ้ ้    ้
จัดการให้มการใช้งานได้ตามสภาพแวดล้อมการทางานและความต้องการของผูใช้บริการเองอย่างเหมาะสม เช่น การตัง
           ี                                                                   ้                            ้
ค่าลักษณะและองค์ประกอบหน้าจอการทางานเกียวกับการ Programming (หรือ Application programming
                                             ่
interfaces) ยังคงเป็ นผลิตภัณฑ์ททาขึนเพื่อจาหน่าย แม้ว่าจะมีผลิตภัณฑ์ประเภท Open Source อยู่บางก็ตาม เช่น
                                ่ี ้                                                           ้
SOAP หรือ REST.5 ทังนี้บางผลิตภัณฑ์มความพร้อมใช้ ตัวอย่างเช่น Google Apps ซึงเป็ นโปรแกรม Cloud สาหรับ
                           ้             ี                                          ่
การติดต่อสือสารด้วยข้อความและประสานงานให้ความร่วมมือในการทางาน (Messaging and collaboration) แม้ว่าจะ
             ่
มีความจาเป็ นในการตังค่า Configuration บ้างแต่กเ็ รียกว่าเป็ นผลิตภัณฑ์ทพร้อมใช้งานในลักษณะสาเร็จรูปมากกว่า
                       ้                                                ่ี
ผลิตภัณฑ์อ่น   ื

    Cloud computing ทีจะใช้งานในองค์กร ต้องตอบโจทย์เกียวกับงานสารสนเทศขององค์กรนันๆ ได้ตาม
                        ่                             ่                              ้
ความต้องการ ตัวอย่างเช่น งานสารสนเทศในรัวมหาวิทยาลัย มีผใช้ทหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็ นผูเชียวชาญวิทยาการ
                                          ้              ู้ ่ี                      ้ ่
คอมพิวเตอร์ผดแลรักษาระบบ ไปจนถึงผูใช้ทวไป ได้แก่นกศึกษา คณาจารย์ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ ดังนันบริการ Cloud
             ู้ ู                    ้ ั่         ั                                      ้
ทีจะนามาใช้ จาเป็ นต้องพิจารณาประเด็นหลัก เช่น
  ่
    1. บริการด้านโปรแกรมการทางาน (สาหรับ email, OS, โปรแกรมทางานทัวไป, โปรแกรมตรวจสอบและกาจัด
                                                                        ่
        ไวรัส) และอุปกรณ์ (Hardware)
    2. บริการด้านโปรแกรมการทางานและอุปกรณ์นอกเหนือจากทีมให้บริการทัวไป เช่น โปรแกรมสาหรับนักวิจย
                                                               ่ ี        ่                          ั
        ในบางสาขาวิชา โปรแกรมการทดลอง ฯลฯ
    3. บริการพัฒนาเว็บไซต์ให้แก่องค์กร รวมทังการดูแลรักษาและปรับปรุงเว็บไซต์
                                              ้


Cloud Computing กับ ธุรกิจ
       ศูนย์ National Computing Center (NCC) ในประเทศอังกฤษ รายงานว่า จากวิกฤติเศรษฐกิจของหลาย
ประเทศทัวโลก Cloud Computing ได้รบการมองว่ามีประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิงในการช่วยประหยัดต้นทุนสาหรับ
         ่                        ั                                     ่
เทคโนโลยีและวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (Medium and small enterprises -
SMEs) เช่นเดียวกันกับสถาบันการศึกษา (Microsoft, 2009) ตัวอย่างเช่น “Gooroo” ผูให้บริการ Cloud จากประเทศ
                                                                              ้
อังกฤษได้ทาการสารวจพบว่า ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กในประเทศอังกฤษใช้ Cloud Computing เพิมมากขึนเพื่อ
                                                                                               ่     ้
3

วัตถุประสงค์ในการลดค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนทางเทคโนโลยีในยุคเศรษฐกิจตกต่า โดยมากกว่าครึง (54%) ของธุรกิจ
                                                                                           ่
ทีตอบแบบสารวจระบุว่ามีแผนในการใช้ Cloud Computing ภายในปี ค.ศ. 2010 และจานวนหนึ่ง (12%) ระบุว่ามี
  ่
ความพร้อมทีจะใช้ Cloud Computing ในทันที ธุรกิจทีตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ (65%) ระบุว่าการลดค่าใช้จ่าย
             ่                                    ่
    ่                                                     ั
เกียวกับเทคโนโลยีและวิทยาการคอมพิวเตอร์ (IT cots) เป็ นปจจัยหลักทีผลักดันให้มการตอบรับ Cloud Computing
                                                                      ่         ี
นอกจากนี้ผลการสารวจยังชีให้เห็นว่าการนา Cloud Computing มาใช้ในธุรกิจมีผลในการเพิมประสิทธิภาพในด้าน
                          ้                                                           ่
ต่างๆ อาทิ ความค้าทุน (Efficiency) ความยืดหยุ่นทางธุรกิจ (Flexibility) การจัดการและการติดตังทีง่าย (Easy set-up
                                                                                             ้ ่
and management) และ การเข้าถึงเพื่อใช้งานโปรแกรมการทางานสาคัญของธุรกิจจากสถานทีใดก็ตาม (Remote
                                                                                         ่
access) (Evans, 2009)


Cloud Computing กับแง่ คดเชิงเศรษฐศาตร์
                        ิ
    ประเด็นสาคัญเกียวกับ Cloud Computing กับแง่คดเชิงเศรษฐศาสตร์นน มีดงนี้
                        ่                                   ิ                  ั้ ั
    1. การลดค่าใช้จ่าย (Cost reduction) เป็ นประเด็นสาคัญอันดับต้นในการพิจารณาติดตังหรือใช้งาน Cloud ซึง้              ่
        สามารถปรับให้เข้ากับความต้องการและพฤติกรรมการใช้งานของผูใช้งานได้อย่างยืดหยุ่น ประเด็นเรื่อง
                                                                                  ้
        การลดค่าใช้จ่ายนี้ หมายความรวมค่าใช้จ่ายในด้านการจัดหาและการดูแลรักษาวัสดุอุปกรณ์ (Acquisition
        and maintenance) ทีสาคัญ Cloud มีลกษณะการให้บริการแก่ผใช้บริการทีสามารถแบ่งส่วนเพื่อรับบริการ
                                ่                    ั                    ู้                  ่
        เท่าทีจาเป็ น (Scalability) และการคิดค่าใช้จ่ายตามการใช้งานจริง (Pay-per-use) ตามทีจะกล่าวเป็ นประเด็น
              ่                                                                                           ่
        ต่อไปอีกทังค่าใช้จ่ายในการติดตังระบบ Cloud ยังมีทางเลือกให้สามารถลงทุนเพื่อพัฒนาหน้าจอการทางาน
                    ้                          ้
        ใหม่ให้แก่ระบบการทางานเดิม หรือสามารถปรับปรุงระบบเดิมให้สามารถใช้งานได้ผ่าน Cloud โดยไม่ตอง                  ้
        พัฒนาหน้าจอการทางานใหม่ เป็ นวิธการปรับโครงสร้างพืนฐานทีมอยู่ให้มความพร้อมสาหรับ Cloud (Cloud-
                                                  ี             ้            ่ ี            ี
        ready infrastructure)
    2. การคิดค่าใช้จ่ายตามการใช้งานจริง (Pay-per-use) เป็ นความสามารถในการจากัดค่าใช้จ่ายให้อยู่ใน
        กรอบของปริมาณการใช้งานตามความเป็ นจริง โดยระบบ Cloud ทีดจาเป็ นต้องมีการดูแลระบบให้ถูกต้อง
                                                                                 ่ ี
        แม่นยา และส่งเสริมคุณภาพและการให้ความช่วยเหลือแก่ผใช้งานได้ทนท่วงที ซึงการปรับระบบให้เข้าสู่
                                                                   ู้                     ั           ่
        ความพร้อมใช้ Cloud เป็ นเรื่องสาคัญทีสงผลด้านค่าใช้จ่ายโดยตรง ซึงผลการวิจยระบุว่าเงินลงทุนสาหรับ
                                                     ่่                               ่             ั
        การปรับเปลียนระบบให้เข้าสู่ Cloud นันคุมค่าต่อการใช้งานในระดับองค์กรขนาดกลางถึงขนาดเล็ก (เช่น
                          ่                         ้ ้
        ธุรกิจ SMEs) เพราะจะเป็ นตัวเร่งการพัฒนาและการนาระบบทางธุรกิจอื่นๆ ทีจาเป็ นมาใช้งาน ด้วยต้นทุน
                                                                                                  ่
        ทีต่ากว่าการลงทุนตามปกติทวไป (Schubert et al., 2010)
          ่                                ั่
    3. ช่วยบริหารเวลา (Time management) ต้นทุนทางเวลาถือเป็ นสิงทีมความสาคัญไม่ต่างไปจากต้นทุนทีเป็ น
                                                                       ่ ่ ี                                       ่
        ค่าใช้จ่าย ทีสาคัญต้นทุนทางเวลาไม่สามารถจัดหามาทดแทนส่วนทีเสียไปได้ โดยทางธุรกิจการบริหารเวลามี
                      ่                                                             ่
        ความสาคัญในส่วนต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิงการตลาด การประชาสัมพันธ์ การขาย และการบริการ โดย
                                                          ่
        ภาพรวมของการติดต่อสือสารระหว่างทีมงาน การเข้าถึงตลาดได้รวดเร็วเพียงใด เป้าหมายทางธุรกิจก็จะมี
                                    ่
        โอกาสสาเร็จมากขึนเร็วขึนเท่านัน ซึงการทางานผ่าน Cloud ช่วยลดความสินเปลืองในการใช้ตนทุนทางเวลา
                              ้       ้       ้ ่                                               ้           ้
        และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
    4. การคุมทุน (Return of investment – ROI) เป็ นประเด็นสาคัญทีนกลงทุนต้องพิจารณาเนื่องจากว่าไม่มี
                ้                                                     ่ ั
        หลักการหรือแนวทางใดทีรบประกันความคุมทุนได้อย่างสมบูรณ์แบบ 100% แท้จริงแล้วระบบ Cloud
                                        ่ั              ้
                            ั
        บางระบบยังมีปญหาและล้มเหลวในเรื่องการคุมทุนอีกด้วย ดังนันในเบืองต้น การพิจารณาเรื่องการคุมทุนใน
                                                              ้         ้               ้                        ้
        การใช้ Cloud จึงทาได้ชดเจนในการสร้างระดับความเชื่อมันทังในเรื่องการทางานตามวัตถุประสงค์ทแต่ละ
                                  ั                               ่ ้                                         ่ี
4

                                                        ั
       หน่วยงานจะกาหนดขึนให้สาเร็จและการแก้ไขปญหาให้แก่หน่วยงาน ดังนี้การสร้างระบบประเมินผล เกณฑ์
                             ้
       หรือตัวชีวดความสาเร็จเป็ นสิงจาเป็ นในการวัดความคุมทุนในการใช้ Cloud ทาตามวัตถุประสงค์และแก้ไข
                  ้ั                ่                         ้
           ั
       ปญหาของหน่วยงานให้การปฏิบตงานเป็ นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วมากยิงขึน
                                          ั ิ                                     ่ ้
    5. การแปลงสภาพ CAPEX เป็ น OPEX ซึงการแปลงรายจ่ายการลงทุน (Capital expenditure – CAPEX)
                                                    ่
       ให้เป็ นรายจ่ายในการประกอบการ (Operational expenditure – OPEX) เป็ นประโยชน์แฝงของการใช้ Cloud
       ซึง CAPEX มีความจาเป็ นสาหรับการลงทุนเรื่องโครงสร้างพืนฐานของระบบ (Infrastructure) แต่ดวยการใช้
         ่                                                          ้                              ้
       Cloud ทาให้ไม่จาเป็ นต้องมีการสร้างโครงสร้างพืนฐานมาก ส่วนใหญ่คงเหลือเพียงรายจ่ายในการปรับปรุง
                                                          ้
       โครงสร้างพืนฐานเดิมให้ใช้งานได้กบ Cloud เท่านัน และอย่างทีกล่าวมาก่อนหน้านี้เป็ นการแบ่งบอกรับ
                       ้                      ั             ้
       บริการ Cloud เฉพาะส่วนปฏิบตการโดยเจาะจงตามความต้องการขององค์กรได้อกด้วย
                                      ั ิ                                       ี
    6. แนวคิดการใช้ Cloud ส่งเสริมการอนุรกษ์โลก (Green Cloud) เป็ นมุมมองเกียวกับการใช้บริการ Cloud เพื่อ
                                                ั                           ่
       ส่งเสริมการทางานแนวอนุรกษ์ เป็ นการตอบรับกระแสความต้องการอนุรกษ์สงแวดล้อมของโลก ซึง Cloud มี
                                  ั                                      ั ิ่                    ่
       ความชัดเจนในการช่วยลดการใช้ทรัพยากรด้านพลังงาน และลดปริมาณการทาสาเนาเอกสาร และการใช้
       คาร์บอนทีปล่อยเป็ นของเสียหรือขยะสูสภาพแวดล้อมอีกด้วย นอกจากนี้ Cloud ยังช่วยลดความต้องการ
                     ่                            ่
                                                                ั ั
       ทรัพยากรทียงไม่ได้ใช้ (Unused resources) โดยในปจจุบนมีประเด็นทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
                         ่ ั
       แนวอนุรกษ์สงแวดล้อม (Green IT)เป็ นทีสนใจของนักพัฒนาทังในระดับ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์
                 ั ิ่                                 ่               ้
       โปรแกรม และ ระบบปฏิบตการ ั ิ


Cloud Computing กับ การศึกษา
         สถาบันอุดมศึกษาจานวนมากมุ่งมันพัฒนาและเพิมศักยภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ซึงการพัฒนาและ
                                       ่           ่                                  ่
ปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยาการคอมพิวเตอร์ให้ทนกับความเปลียนแปลงทีเกิดขึน เป็ นวิธการหนึ่งใน
                                                     ั            ่       ่ ้           ี
การสร้างศักยภาพทางการเรียนการสอนผ่านสภาพแวดล้อมทางการศึกษาทีพร้อมพรังไปด้วยวิทยาการทางเทคโนโลยี
                                                                ่       ่
                                                                    ั       ั ั
สารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพของการเรียนการสอนแก่นกศึกษาปจจุบน อีกทังเพื่อดึงดูด
                                                                                          ้
ความสนใจจากผูปกครองและนักศึกษาทีกาลังมองหาทีเรียน สถาบันการศึกษาเหล่านี้
               ้                    ่           ่

         ความเป็ นไปได้ในการนา Cloud Computing มาบูรณาการเข้ากับแนวทางการปรับปรุงและพัฒนา
ประสิทธิภาพทางการศึกษา ได้รบความสนใจไม่แพ้ในวงการธุรกิจ ทังนี้ Cloud Computing ในสหรัฐอเมริกา
                                ั                                  ้
มหาวิทยาลัยชันนา เช่น University of California at Berkeley ได้ศกษาวิจยเพื่อนา Cloud Computing มาใช้ใน
             ้                                                   ึ     ั
การเรียนการสอนในหลายวิชาและพบว่าเทคโนโลยีดงกล่าวมีสวนส่งเสริมแรงจูงใจให้ผเรียนและผูสอนผ่านการ
                                                   ั         ่                    ู้         ้
ให้บริการในระดับ Software as a Service (SaaS) ซึงทาให้ผเรียนและผูสอนสามารถเข้าใช้โปรแกรมการทางาน
                                                     ่    ู้         ้
(Software applications) ทีมให้บริการได้ผ่านเครือข่ายโดยไม่ตองมีการติดตัง (Installation) หรือปรับแก้ลกษณะ
                          ่ ี                                  ้         ้                          ั
ทางเทคนิค (หรือ Configuration) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ทใช้งาน ในช่วงแรก UC-Berkeley เริมจากการใช้เครือข่าย
                                                       ่ี                                 ่
ของมหาวิทยาลัย และต่อมาได้รบความอนุเคราะห์จาก Amazon Web Services (AWS) นา SaaS ของมหาวิทยาลัย
                              ั
ขึนให้บริการบน Cloud ด้วยเหตุผลสาคัญทีบางรายวิชาต้องการใช้ Servers จานวนมากในเวลาจากัด (Fox, 2009)
  ้                                       ่

        สาหรับมหาวิทยาลัยอื่นบางแห่ง ประสิทธิภาพของ Cloud Computing ยังส่งเสริมในเรื่องของการวิจย
                                                                                                ั
โดยเฉพาะงานวิจยขนาดใหญ่ทมความร่วมมือจากหลากหลายประเทศ เช่น นักวิจยจากสถาบันแพทย์ในรัฐวิสคอนซิน
                ั           ่ี ี                                         ั
(Medical College of Wisconsin Biotechnology and Bioengineering Center in Milwaukee) ใช้ Cloud
5

ในการดาเนินการวิจยทีมความร่วมมือกันของสถาบันฯ ในหลายประเทศ อีกทังการเผยแพร่งานวิจยไปยัง
                   ั ่ ี                                           ้               ั
นักวิทยาศาสตร์ทวโลก ซึงบริการผ่าน Cloud-based servers ของ Google มีบทบาทสาคัญในการช่วยลดค่าใช้จ่าย
                ั่       ่
และเพิมศักยภาพในการเก็บ การจัดการ และการวิเคราะห์ขอมูลในโครงการวิจยขนาดใหญ่ทจาเป็ นต้องใช้โปรแกรมใน
      ่                                             ้                ั        ่ี
การวิเคราะห์ขอมูลปริมาณมหาศาลทีรวบรวมได้จากประเทศต่างๆ ทีร่วมวิจย (La Susa, 2009).
             ้                   ่                         ่     ั

          ผูให้บริการ Cloud ได้พยายามประชาสัมพันธ์อย่างเต็มทีถงการใช้เทคโนโลยี Cloud Computing ในการเป็ น
            ้                                                 ่ ึ
เครื่องมือในการวิจย เช่น ในปี ค.ศ. 2007 บริษท IBM และ Google ได้ออกแผนพัฒนา Cloud Computing เพื่อ
                   ั                        ั
การอุดมศึกษาขึน (Cloud Computing University Initiative) เป็ นจุดเริมต้นสาหรับการปรับปรุงฐานความรูของ
                 ้                                                  ่                            ้
นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer Science) เพื่อส่งเสริมความรูและทักษะในการพัฒนาแนวคิด
                                                                             ้
เกียวกับการขยายตัวและทิศทางการใช้งานคอมพิวเตอร์คราวละจานวนมาก (Large-scale distributed computing)
    ่
ซึงต่อมาในปี ค.ศ. 2009 สถาบัน National Science Foundation (NSF) ได้สนับสนุนงบประมาณ 5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
  ่
(หรือประมาณ 150 ล้านบาท) ให้แก่มหาวิทยาลัย 14 แห่งทีเข้าร่วมโครงการ Cluster Exploratory (CLuE) ซึงต่อ
                                                       ่                                           ่
ยอดจากแผนพัฒนาของ IBM และ Google ดังกล่าว โดยจัดสรรให้มทรัพยากรและเครื่องมือเครื่องใช้ทางคอมพิวเตอร์
                                                                  ี
สาหรับโครงการวิจยทีเกียวข้อง
                     ั ่ ่

          สถาบันการศึกษาในสหรัฐอเมริกาได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี Cloud Computing เพื่อแก้ไขปญหา     ั
ความขาดแคลนจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับการเรียนการสอน ตัวอย่างเช่น กลุ่มโรงเรียนระดับประถมและมัธยม
ในรัฐ Kentucky ได้นา Cloud Computing มาใช้บริหารจัดการเครื่องคอมพิวเตอร์เก่า ทีมอยู่มากกว่า 1400 เครื่อง ให้
                                                                                  ่ ี
กลายสภาพเป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งานแบบเสมือน (Virtual workstations) ทีใช้งานได้เสมือนเครื่องรุ่นใหม่ ผ่าน
                                                                          ่
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและบริการ Cloud ทังนี้เนื่องจาก Cloud Computing ช่วยมองข้ามความต้องการทางด้านอุปกรณ์
                                        ้
Hardware และหน่วยความจา Hard drive บนเครื่องทีใช้งานในสภาพแวดล้อมของ Cloud Computing ซึง
                                                    ่                                             ่
การประมวลผลและการทางานต่างๆ ของระบบ จะเกิดขึนบน Server ไม่ใช่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ทใช้งาน อีกนัยหนึ่ง
                                                      ้                                       ่ี
จึงหมายความว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ทใช้งานนัน เป็ นเสมือนหน้าต่าง สือ หรือช่องทางต่อเชื่อมเข้ากับโปรแกรม
                                    ่ี       ้                     ่
การทางานบนแม่ขาย (Server) ในทีน้คอ Cloud (Erenben, 2009). กลุ่มโรงเรียนเหล่านี้ ได้ประมาณการณ์ไว้ว่า
                  ่              ่ ี ื
ค่าใช้จ่ายในการใช้ Cloud Computing เป็ นระยะเวลา 5 ปี มีมลค่าต่ากว่าครึงหนึ่งของค่าใช้จ่ายทีอาจจะเกิดขึนหาก
                                                          ู            ่                    ่          ้
โรงเรียนตัดสินใจเปลียนเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่เพื่อใช้งาน (Lambert, 2009)
                     ่

                                                                                      ั
         สถานศึกษาในประเทศอังกฤษได้ให้ความสนใจนา Cloud Computing มาใช้แก้ไขปญหา ตัวอย่างเช่น Leeds
Metropolitan University, the University of Glamorgan, the University of Aberdeen, the University of
Westminster, the London University’s School of Oriental and African Studies (SOAS) และ the Royal College
of Art (RCA) ได้นา Google Apps ซึงเป็ นหนึ่งในบริการ Cloud มาใช้เพื่อการเรียนการสอนและการบริหารจัดการของ
                                   ่
                                                                              ่ ี ั
สถาบันการศึกษา โดยการใช้งาน Cloud Computing ช่วยส่งเสริมระบบการสือสารทีมปญหาและตอบสนอง
                                                                        ่
ความต้องการหลักนักศึกษา เช่น ระบบ Email ทีสถาบันมีให้บริการ (In-house Email System) ขาดความเสถียรของ
                                              ่
             ั                                    ่                                        ั
ระบบ ทาให้นกศึกษาส่วนใหญ่เลิกใช้ หรือไม่พอใจทีจะใช้ แต่เมื่อนา Cloud Computing มาแก้ไขปญหา ทาให้ประมาณ
การใช้งานเพิมขึนเนื่องจากนักศึกษาให้ความเชื่อมันว่า Cloud Computing มีมาตรฐานทีเป็ นสากลในการดูแลข้อมูลและ
            ่ ้                                 ่                                   ่
การสือสารของระบบ Email (Hicks, 2009)
     ่
6

          ในพืนทีห่างไกลและยากจนเช่น แอฟริกา ก็มการนา Cloud Computing มาใช้งานกับการศึกษา โดยมองข้าม
              ้ ่                                   ี
ลักษณะด้อย อันได้แก่ ความยากจน หรือการขาดแคลนโครงสร้างพืนฐาน (Infrastructure) ทางเทคโนโลยีการสือสาร
                                                                ้                                        ่
                    ่     ั ั
และคอมพิวเตอร์ ซึงในปจจุบนสถาบันการศึกษาในทวีปแอฟริกานี้ ได้เชื่อมโยงเข้าสูบริการ Cloud ทีมสวนช่วยลด
                                                                                  ่             ่ ี่
ความจาเป็ นในการปรับ Upgrade ทัง Software และ Hardware ทีเป็ นเสมือนเรื่องทีไม่มทสนสุด ทังนี้ Google ประสบ
                                     ้                        ่                  ่ ี ่ี ้ิ   ้
ความสาเร็จอย่างสูงในการมุ่งเข้าสูตลาดการศึกษาในทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะแถบแอฟริกาตะวันออก โดย Google
                                  ่
ได้เซ็นสัญญาให้บริการ Cloud กับสถาบันอุดมศึกษา เช่น National University of Rwanda, Kigali Institute for
Education, Kigali Institute for Science and Technology, University of Nairobi, United States International
University, Kenyan Methodist University and the University of Mauritius โดยบริการ Cloud ทีมให้บริการ อาทิ
                                                                                            ่ ี
Gmail, Google Calendar, Google Talk และ Google Docs and Spreadsheets ซึงสถาบันการศึกษาเหล่น้ได้รบ
                                                                               ่                       ี ั
ความช่วยเหลือด้านงบประมาณจากทุนของ World Bank เพื่อเป็ นค่าใช้จ่าย (Wanjiku, 2009) นอกจาก Google แล้ว
บริษท Microsoft ได้เข้าให้ความช่วยเหลือประเทศ Ethiopia ในด้านต่างๆ เช่น มอบเครื่อง Laptop จานวน 250,000
      ั
เครื่องให้แก่ครูในโรงเรียนทีใช้งานผ่านบริการ Cloud ของ Microsoft ทีช่อ Azure โดยครูสามารถรับ-ส่ง หรือทางานกับ
                            ่                                      ่ ื
ไฟล์หรือระบบข้อมูลการศึกษา เช่น Download ข้อมูลหลักสูตร ติดตามข้อมูลผลการเรียนของนักเรียน เป็ นต้น (Chan,
2009) ดังนันเทคโนโลยี Cloud Computing ช่วยเหลือการศึกษาในทวีปแอฟริกา ไม่เพียงแต่ในเรื่องค่าใช้จ่ายหรือ
            ้
งบประมาณด้านเทคโนโลยี แต่ช่วยในเรื่องของการพัฒนาประสิทธิภาพของสถาบันการศึกษาและการเรียนการสอนอีก
ด้วย


Cloud Computing กับแนวคิด Green
         แนวคิด Green หมายถึงแนวคิดเชิงอนุรกษ์สงแวดล้อม ไม่เพียงแต่เน้นเรื่องการประหยัดค่าใช้จ่าย แต่
                                              ั ิ่
หมายความรวมถึงการทาประโยชน์ในเชิงอนุรกษ์สงแวดล้อม การที่ Cloud Computing ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายใน
                                           ั ิ่
หลายด้าน เช่น การซือหรือ Upgrade โปรแกรม Software และ อุปกรณ์ Hardware ใหม่ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง หรือ
                     ้
ขนส่งเอกสารข้อมูล แล้วนัน Cloud Computing ยังช่วยให้ผใช้งานลดการใช้ทรัพยากรของโลกในด้านต่างๆ อีกด้วย
                         ้                              ู้
เช่น การลด Carbon ในการสังพิมพ์งาน การลดการใช้พลังงานในการเดินทาง หรือขนส่งเอกสารหรือข้อมูล และที่
                               ่
สาคัญช่วยประหยัดเวลา ซึงงานวิจยพบว่ากิจกรรมต่างๆ ทีเกียวข้องกับการใช้เทคโนโลยีการสือสารและสารสนเทศ
                           ่     ั                     ่ ่                          ่
หรือคอมพิวเตอร์ (ICTs) นัน ก่อให้เกิดของเสียจาก Carbon สูโลกถึง 2% ของของเสียจาก Carbon ทังหมดและยังมี
                             ้                               ่                             ้
แนวโน้มทีจะสูงขึนอย่างต่อเนื่อง ทาให้เทคโนโลยีใดก็ตามทีช่วยลดการใช้ทรัพยากร มีความสาคัญและได้รบความสนใจ
          ่     ้                                          ่                                    ั
มากขึนอย่างต่อเนื่องเช่นกัน และ Cloud Computing ก็เป็ นหนึ่งในเทคโนโลยีทตอบรับกระแสความต้องการนี้ได้อย่าง
      ้                                                                 ่ี
ลงตัว (James & Hopkinsons, 2009; Katz, 2008).


กระแสการใช้ Cloud Computing งานในปัจจุบัน
          ั ั
        ปจจุบนเทคโนโลยี Cloud Computing ทีมให้บริการโดยบริษท Microsoft และ Google มีสวนบริการสาหรับ
                                             ่ ี                 ั                          ่
การศึกษาโดยไม่มค่าใช้จ่าย ซึงสมาชิกในสถาบันการศึกษา เช่น นักศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ สามารถใช้งาน Email
                ี           ่
                                                                            ั
ปฏิทน (Calendars) จัดเก็บข้อมูล (Document storage) สร้างและเผยแพร่แบ่งปน (Creation and sharing) ข้อมูล
     ิ
หรือเอกสาร รวมทังเว็บไซต์ได้อกด้วย (Ercana, 2010; Sclater, 2009)
                  ้           ี
        การวิจย ยังระบุว่าการใช้ Cloud Computing ส่งเสริมให้เกิดผลดีต่อธุรกิจทีสาคัญ 3 ประการได้แก่
              ั                                                                ่
ความปลอดภัย (Security) การบูรณาการเทคโนโลยีเข้ากับการทางาน (Integration) และ การบริหารเวลา (Time
management) ให้เกิดคุณค่ามากทีสด (Sclater, 2009) โดยนักวิจยบางคนถึงกับกล่าวไว้ว่า ผูใช้งาน Cloud
                                 ุ่                          ั                         ้
7

ไม่จาเป็ นต้องมีความรูหรือทักษะเกียวกับบริการ Cloud เพียงแค่เป็ นผูทคนเคยกับการทางานของตนเองผ่าน
                       ้          ่                                ้ ่ี ุ ้
หน้าจอคอมพิวเตอร์ได้เท่านัน เนื่องจาก Cloud เป็ นเทคโนโลโยทีเน้นการสือสารกับ Servers จานวนมากได้ภายใน
                            ้                                ่              ่
เวลาเดียวกัน ให้ผใช้เข้าถึงทรัพยากรข้อมูลขององค์กรได้จากทุกแห่งทีมเี ครือข่ายรองรับและจาลองสภาพแวดล้อม
                    ู้                                              ่
เสมือนในการทางานของผูใช้แต่ละคนได้อย่างเหมาะสมกับความต้องการ (Hayes, 2008)
                          ้
          ผลการสารวจโดย Gartner Analysts ในปี ค.ศ. 2009 เกียวกับกระแสเทคโนโลยี Cloud Computing พบว่ามี
                                                               ่
การใช้งานมากทีสดในด้านการเงิน (Finance and Business) (12%) ของอุตสาหกรรมทีใช้ Cloud ทังหมด รองลงมา
                 ุ่                                                                ่        ้
ได้แก่ดานธุรกิจและการการจัดการ (10%) อุตสาหกรรมการผลิต (10%) ส่วนด้านการศึกษามีการใช้ Cloud Computing
       ้
อยู่ในระดับปานกลาง (4%) เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่น แผนภาพที่ 1 แสดงสัดส่วนของการใช้งาน Cloud
Computing ในกิจการหรือแวดวงอุตสาหกรรมต่างๆ




             แผนภาพที่ 1. การใช้ Cloud ในอุตสาหกรรมต่างๆ (จาก Gartner Analyst Report 2009)

          ผลการสารวจความคิดเห็นจากกลุ่มผูบริหารระดับสูง ทีมอานาจตัดสินใจในองค์กรธุรกิจ เกียวกับการเลือกใช้
                                           ้              ่ ี                             ่
Cloud ซึงผลการสารวจระบุวา ป
        ่                 ่  ัจจัยสาคัญทีสดทีผบริหารคานึงถึงในการตัดสินใจเลือกใช้ Cloud ได้แก่เรื่อง
                                         ่ ุ ่ ู้
ความปลอดภัยและความเป็ นส่วนตัวของข้อมูลและระบบ (Security and Privacy) และจากการสารวจความต้องการใช้
Cloud เปรียบเทียบระหว่างบริการแบบส่วนตัว (Private cloud computing plans) และแบบสาธารณะ (Public cloud
computing plans) พบว่า 75% ของผูตอบแบบสารวจทังหมดคาดหมายทีจะใช้บริการผ่านระบบ Cloud แบบส่วนตัว
                                  ้                   ้           ่
ภายในปี ค.ศ. 2012 และเมื่อเจาะจงไปทีประเด็นสาคัญของเทคโนโลยีเกียวข้องทีมให้บริการผ่านระบบ Cloud
                                     ่                          ่       ่ ี
แบบส่วนตัว พบว่า 6 ใน 7 ของผูตอบแบบสารวจทังหมดให้ความสาคัญไปที่ “Management and Operational
                              ้                   ้
Processes” และ “Funding/Chargeback Model” ซึงหมายความว่า กระบวนการหรือขันตอนการทางาน ค่าใช้จ่าย และ
                                                    ่                         ้
8

ผูใช้งาน และความเชื่อมโยงระหว่างคนและทรัพยากรข้อมูลทีเปลียนแปลงไปมีความท้าทายต่อระบบ Cloud
  ้                                                  ่ ่
แบบส่วนตัวมากกว่าเรื่องของเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว

สรุป
          Cloud Computing เป็ นแนวคิดในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายเพื่อส่งเสริมการขยายโอกาสและ
ความเป็ นไปได้ในการบริการไปสูผใช้งานทีหลากหลายมากขึน ทังหน่วยงานหรือองค์กรขนาดเล็กตลอดจนขนาดกลาง
                                  ่ ู้   ่                 ้ ้
และขนาดใหญ่ สามารถได้รบประโยชน์จากแนวคิด Cloud Computing โดยในบทความนี้ได้นาเสนอข้อมูลเกียวกับ
                              ั                                                                    ่
การทีองค์กรในแต่ละสายงานหรืออุตสาหกรรมซึงมีการใช้ประโยชน์จาก Cloud Computing ทังในการแก้ไขปญหา
      ่                                        ่                                           ้         ั
การส่งเสริมการทางานให้มประสิทธิภาพมากยิงขึนกว่าทีเคยเป็ นมา และในการใช้ทรัพยากรทีมอยู่ให้เกิดประโยชน์
                          ี                  ่ ้        ่                                 ่ ี
            ้                   ั
สูงสุด อีกทังลดการก่อให้เกิดปญหาต่อสิงแวดล้อมด้วยการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับแนวคิดเชิงอนุรกษ์
                                       ่                                                               ั
                                                               ั ั ่
อีกด้วย (เช่น Green IT) อย่างเหมาะสมต่อสภาพการณ์ในโลกปจจุบน ซึงทาให้ Cloud Computing ได้รบความสนใจ
                                                                                                 ั
อย่างมากควบคู่ไปก้บการพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการด้านการป้องกันข้อมูล (Data protection) และ
ด้านความปลอดภัยของข้อมูล (Data security) ทังนี้บทความปริทรรศน์วรรณกรรมนี้จงเป็ นเสมือนจุดเริมต้นใน
                                                   ้                             ึ             ่
การพิจารณา Cloud Computing จากมุมมองของนักวิจยและผูเขียนจานวนหนึ่งในป ั
                                                      ั      ้                 ัจจุบนได้ศกษาและนาเสนอผลงาน
                                                                                             ึ
เกียวกับเทคโนโลยีน้ี โดยผูเขียนหวังเป็ นอย่างยิงว่าจะเป็ นประโยชน์ต่อยอดไปสูการศึกษาวิจยในอนาคตสาหรับ
   ่                        ้                    ่                          ่           ั
การบูรณาการ Cloud Computing ในประเทศไทย

References:
          Beloglazov, A., Abawaj, J. & Buyya, R. (2011, article in press). Energy-aware resource allocation
heuristics for efficient management of data centers for Cloud computing. Future Generation Computer
Systems.
          Evans, S. (2009). UK SMEs embrace cloud during recession: Survey. Retrieved from URL
http://appdev.cbronline.com/news/uk
          Fox, A. (2009). Cloud computing in education. Retrieved from URL
https://inews.berkeley.edu/articles/Spring2009/Cloud computing
          Gartner. (2009). Cloud Computing Inquiries at Gartner. Retrieved from URL
http://blogs.gartner.com/thomas_bittman/2009/10/29/Cloud computing-inquiries-atgartner.
          Bittman, T. (2010). Polling Data on Public/Private Cloud Computing. Retrieved from URL
http://blogs.gartner.com/thomas_bittman/2010/04/21/polling-data-on-publicprivate-Cloud computing/
          Grossman, R. (2009). The case for cloud computing. IT Professional, 11(2), 23–27.
          Hayes, B. (2008). Cloud computing. Communications of the ACM, 51(7), 9-11.
          Jianxin Li, J., Jia, Y., Liu, L. & Tianyu Wo. (2011, article in press). CyberLiveApp: A secure sharing
and migration approach for live virtual desktop applications in a cloud environment. Future Generation
Computer Systems.
          Ercana, T. (2010). Effective use of cloud computing in educational institutions. Procedia Social and
Behavioral Sciences, 2, 938–942.
          La Susa, E. (2009). Cloud computing brings cost of protein research down to
Earth. Retrieved from URL http://www.eurekalert.org/pubreleases/2009-04/mcowccb040909.php
9

        Lijun, M., Chan, W.K., & Tse, T.H. (2008). A tale of clouds: Paradigm comparisons and some
thoughts on research issues. IEEE Asia-Pasific Services Computing Conference, APSCC’08, 464-469.

          Marston, S., Li, Z., Bandyopadhyay, S., Zang, J, & Anand Ghalsasi. (2011). Cloud computing — The
business perspective. Decision Support Systems, 51, 176–189.
          Microsoft. (2009). SME role for cloud computing. Retrieved from URL
http://www.microsoft.com/uk/smallbusiness/sbnews/growing-a-small-business/SME-role-for-cloudcomputing-
19227631.mspx
          Sultan, N. (2010). Cloud computing for education: A new dawn? International Journal of Information
Management, 30, 109- 116.
          Schubert, L., Keith, J. (Ed.), & Burkhard, N. (2010). The Future of Cloud Computing: Opportunities
for European Cloud Computing beyond 2010 (Expert Group Report). Information Society and Media,
European Commission.
          Sclater, N. (2009). Cloudworks, eLearning in the Cloud. Retrieved from URL
http://cloudworks.ac.uk/cloud/view/2430/.
          Voas, J., & Zhang, J. (2009). Cloud computing: New wine or just a new bottle,
“cloud computing: New wine or just a new bottle?”. IT Professional, 11(2), 15–17.

Contenu connexe

Similaire à Cloud computing

Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆCloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆThanachart Numnonda
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆCloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆSoftware Park Thailand
 
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AECCloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AECIMC Institute
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บanuchit025
 
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdfNuttavutThongjor1
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอที
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอทีCloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอที
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอทีSoftware Park Thailand
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
เทคโนโลยี Cloud Computing
เทคโนโลยี Cloud Computingเทคโนโลยี Cloud Computing
เทคโนโลยี Cloud ComputingIMC Institute
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบthanathip
 
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557Buslike Year
 
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computing
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computingเทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computing
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud ComputingPrachyanun Nilsook
 

Similaire à Cloud computing (20)

Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆCloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
 
Emerging technologies in teaching and learning
Emerging technologies in teaching and learningEmerging technologies in teaching and learning
Emerging technologies in teaching and learning
 
Emerging tech in teaching and learning
Emerging tech in teaching and learningEmerging tech in teaching and learning
Emerging tech in teaching and learning
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
Cloud Computing with OpenStack
Cloud Computing with OpenStackCloud Computing with OpenStack
Cloud Computing with OpenStack
 
What is Cloud Computing ?
What is Cloud Computing ?What is Cloud Computing ?
What is Cloud Computing ?
 
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆCloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
Cloud Computing กับการใช้งานในองค์กรต่างๆ
 
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AECCloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
Cloud Computing กับความ พร้อมภาครัฐพาประเทศไทยเข้าสู่ AEC
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
 
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf
2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf 2 เทคโนโลยี cloud computing.pdf
 
e-Government Cloud Computing
e-Government Cloud Computinge-Government Cloud Computing
e-Government Cloud Computing
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอที
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอทีCloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอที
Cloud Computing องค์กรเหนือชั้นด้วยไอที
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
เทคโนโลยี Cloud Computing
เทคโนโลยี Cloud Computingเทคโนโลยี Cloud Computing
เทคโนโลยี Cloud Computing
 
CloudComputing
CloudComputingCloudComputing
CloudComputing
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
 
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
โครงการศึกษาดูงานที่ ทีโอที 2557
 
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computing
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computingเทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computing
เทคโนโลยีเหนือเมฆ Cloud Computing
 
Cloud computing-trouble
Cloud computing-troubleCloud computing-trouble
Cloud computing-trouble
 

Plus de Information Studies, University of the Thai Chamber of Commerce (7)

Org cloud-computing
Org cloud-computingOrg cloud-computing
Org cloud-computing
 
Cloud Computing in Organization
Cloud Computing in OrganizationCloud Computing in Organization
Cloud Computing in Organization
 
clould compinthefaceofnewservice
clould compinthefaceofnewserviceclould compinthefaceofnewservice
clould compinthefaceofnewservice
 
Utcc cloud computing-seminar55
Utcc cloud computing-seminar55Utcc cloud computing-seminar55
Utcc cloud computing-seminar55
 
Using cloud-computing-in-you-organization
Using cloud-computing-in-you-organizationUsing cloud-computing-in-you-organization
Using cloud-computing-in-you-organization
 
Cloudcomputing4librarian
Cloudcomputing4librarianCloudcomputing4librarian
Cloudcomputing4librarian
 
Google Apps for Education training_bycr_mcharity13042012
Google Apps for Education training_bycr_mcharity13042012Google Apps for Education training_bycr_mcharity13042012
Google Apps for Education training_bycr_mcharity13042012
 

Cloud computing

  • 1. Cloud Computing: ปริทั ศน์ วรรณกรรม จอมขวัญ ผลภาษี, 5 มีนาคม 2555 ั ั ปจจุบนอินเทอร์เน็ตมีบทบาทสาคัญในกิจกรรมทีหลากหลายของคนในสังคม โดยเฉพาะการติดต่อสือสารผ่าน ่ ่ อินเทอร์เน็ตกลายเป็ นสิงจาเป็ นของสังคม ทังในชีวตประจาวัน การทางาน ธุรกิจ การศึกษา และบันเทิง อินเทอร์เน็ตจึง ่ ้ ิ เป็ นศูนย์กลางทีเชื่อมโยงระหว่างผูคนในสังคม ข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีประกอบด้วยโปรแกรมการทางาน ่ ้ ่ (Software applications)จานวนมากและอุปกรณ์หลากหลายชนิด เทคโนโลยี Cloud computing เป็ นตัวอย่างหนึ่งของ แนวคิดการทางานบนอินเทอร์เน็ต ทีแพร่หลายและได้รบความนิยมเพิมขึนอย่างต่อเนื่อง โดย Cloud computing เป็ น ่ ั ่ ้ เทคโนโลยีทมุ่งเน้นการบูรณาการวิทยาการทางเครือข่ายและคอมพิวเตอร์ (Networking and computing) การจัดเก็บ ่ี ข้อมูล (Storage) การบริการทรัพยากรข้อมูล (Data service resources) ไว้ดวยกัน Cloud computing เปิ ดตัวด้วย ้ การเสนอแนวทางการส่งเสริมการใช้งานโปรแกรมการทางานร่วมกันบนอินเทอร์เน็ตทีเข้าใจง่ายสาหรับ (Grossman, ่ 2009; Jianxin et al., 2011; Sultan, 2010; Voas & Zhang, 2009) Cloud computing คืออะไร? นักวิชาการและนักวิจยจานวนมากได้อธิบายเกียวกับ Cloud computing ไว้ ซึงโดยสรุปแล้ว Cloud ั ่ ่ computing เปรียบเสมือนการรวมตัวกันทางเครือข่ายของเครื่องคอมพิวเตอร์ทอยู่ต่างสถานทีกน ในรูปแบบของศูนย์ ่ี ่ ั ข้อมูลขนาดใหญ่ หรือการรวมฐานข้อมูล Servers จานวนมากเข้าไว้เป็ นเครือข่ายสาหรับการให้บริการทรัพยากรทีเป็ น ่ ข้อมูลและทีเป็ นโปรแกรมการทางาน ซึงการให้บริการนี้จะเป็ นในลักษณะตามความต้องการ (On-demand) ผ่านสือ ่ ่ ่ สารสนเทศทีมการเชื่อมโยงเป็ นเครือข่าย ซึงโดยทัวไปหมายความถึงอินเทอร์เน็ต (Sultan, 2010) สาหรับคาว่า ่ ี ่ ่ “Cloud” นันมีทมาจากศัพท์ทางวิทยาการสารสนเทศ (Information Technology) ทีนาเสนอแนวคิดทีเรียกว่า ้ ่ี ่ ่ สภาพแวดล้อมทางไกล (Remote environments) เช่น อินเทอร์เน็ต เป็ นเสมือนเมฆทีลอยอยู่ทวไป แต่มความ ่ ั่ ี สลับซับซ้อน (Complexity) อยู่ภายในและอยู่เบืองหลัง (Grossman, 2009; Voas & Zhang, 2009) อีกทางหนึ่งมีการ ้ ให้คาอธิบายเปรียบ Cloud ว่าเป็ นการจาลองหรือสร้างโลกเสมือน (Virtualization) เพื่อการทางานโดยการสร้างพืนที่ ้ บน Server ขึนตามความประสงค์ของผูใช้งาน (Servers-on-demand) จากการใช้ระบบปฏิบตการบนเครือข่ายผ่านการ ้ ้ ั ิ เชื่อมโยงออนไลน์ เพื่อให้ใช้งานได้ผ่าน Cloud ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทผใช้งานใช้เชื่อมต่อเข้าทางานผ่าน Cloud จึง ่ี ู้ เปรียบได้ว่าเป็ นเครื่องเสมือน (Virtual workstation) (Schubert et al., 2010) อย่างไรก็ดี การทาความเข้าใจประเภทหรือระดับของการให้บริการผ่าน Cloud computing อาจเริมจากการทา ่ ความเข้าใจเกียวกับวิธการภายใต้แนวคิดนี้ ซึงโดยทัวไปมีประเภทหรือระดับของการบริการ Cloud Computing อยู่ 3 ่ ี ่ ่ แบบ ได้แก่ 1. Infrastructure as Service (IaaS) เป็นการทีให้บริการสารสนเทศทังระบบผ่านเครือข่าย เช่น การทางานบน ่ ้ โปรแกรม รวมถึงการควบคุม รับ-ส่งคาสัง่ การบันทึกข้อมูล การเรียกคืนข้อมูล หรือการสือสารผ่าน ่ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรียกได้ว่าเป็ นการใช้คอมพิวเตอร์ทางไกลแบบเสมือน (Virtual computers, servers, หรือ storage devices) *จอมขวัญ ผลภาษี, PhD Candidate, University of Wisconsin-Madison และ อาจารย์ประจาสาขาวิชา สารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • 2. 2 2. Platform as a Service (PaaS) เป็นการนาแนวคิดการทางานผ่านเครือข่ายมาผสมผสานกับการบริหาร จัดการโปรแกรมทางาน ซึงจาเป็ นต้องใช้ผเชียวชาญในการติดตัง บริหารจัดการ และดูแลรักษาระบบ ่ ู้ ่ ้ ให้กลายเป็ นสิงสามารถทาได้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ่ 3. Software as a Service (SaaS) เป็นการให้บริการโปรแกรมการทางาน หรือ Software ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดยผูใช้ทอยู่ทางไกลไม่จาเป็ นต้องติดตังโปรแกรมในเครื่องทีใช้งานนันๆ แต่เป็ นการใช้งาน ้ ่ี ้ ่ ้ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึงช่วยลดภาระในการบริหารจัดการและดูแลรักษาทังเรื่องของโปรแกรม ่ ้ Software และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) โดยทัวไปมักพบเห็นการใช้ในลักษณะนี้มากกว่าลักษณะ ่ อื่น และเหมาะแก่การใช้งานเพื่อการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relation Management – CRM) หรือ การจัดการทรัพยากรข้อมูลขององค์กร (Enterprise-resource Management) ประเด็นสาคัญทีตองคานึงถึงในการพิจารณานาระบบ Cloud Computing มาใช้งาน ได้แก่ ลักษณะของ ่ ้ ผลิตภัณฑ์สาหรับบริการ Cloud แต่ละผลิตภัณฑ์ อาจไม่เหมือนโปรแกรมสาเร็จรูปทัวไปทีพร้อมใช้งานทันที แต่ ่ ่ จาเป็ นต้องมีการใช้ความรูและทักษะทาง Programming ในระดับหนึ่งของทังผูใช้และผูให้บริการ (Cloud provider) เพื่อ ้ ้ ้ ้ จัดการให้มการใช้งานได้ตามสภาพแวดล้อมการทางานและความต้องการของผูใช้บริการเองอย่างเหมาะสม เช่น การตัง ี ้ ้ ค่าลักษณะและองค์ประกอบหน้าจอการทางานเกียวกับการ Programming (หรือ Application programming ่ interfaces) ยังคงเป็ นผลิตภัณฑ์ททาขึนเพื่อจาหน่าย แม้ว่าจะมีผลิตภัณฑ์ประเภท Open Source อยู่บางก็ตาม เช่น ่ี ้ ้ SOAP หรือ REST.5 ทังนี้บางผลิตภัณฑ์มความพร้อมใช้ ตัวอย่างเช่น Google Apps ซึงเป็ นโปรแกรม Cloud สาหรับ ้ ี ่ การติดต่อสือสารด้วยข้อความและประสานงานให้ความร่วมมือในการทางาน (Messaging and collaboration) แม้ว่าจะ ่ มีความจาเป็ นในการตังค่า Configuration บ้างแต่กเ็ รียกว่าเป็ นผลิตภัณฑ์ทพร้อมใช้งานในลักษณะสาเร็จรูปมากกว่า ้ ่ี ผลิตภัณฑ์อ่น ื Cloud computing ทีจะใช้งานในองค์กร ต้องตอบโจทย์เกียวกับงานสารสนเทศขององค์กรนันๆ ได้ตาม ่ ่ ้ ความต้องการ ตัวอย่างเช่น งานสารสนเทศในรัวมหาวิทยาลัย มีผใช้ทหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็ นผูเชียวชาญวิทยาการ ้ ู้ ่ี ้ ่ คอมพิวเตอร์ผดแลรักษาระบบ ไปจนถึงผูใช้ทวไป ได้แก่นกศึกษา คณาจารย์ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ ดังนันบริการ Cloud ู้ ู ้ ั่ ั ้ ทีจะนามาใช้ จาเป็ นต้องพิจารณาประเด็นหลัก เช่น ่ 1. บริการด้านโปรแกรมการทางาน (สาหรับ email, OS, โปรแกรมทางานทัวไป, โปรแกรมตรวจสอบและกาจัด ่ ไวรัส) และอุปกรณ์ (Hardware) 2. บริการด้านโปรแกรมการทางานและอุปกรณ์นอกเหนือจากทีมให้บริการทัวไป เช่น โปรแกรมสาหรับนักวิจย ่ ี ่ ั ในบางสาขาวิชา โปรแกรมการทดลอง ฯลฯ 3. บริการพัฒนาเว็บไซต์ให้แก่องค์กร รวมทังการดูแลรักษาและปรับปรุงเว็บไซต์ ้ Cloud Computing กับ ธุรกิจ ศูนย์ National Computing Center (NCC) ในประเทศอังกฤษ รายงานว่า จากวิกฤติเศรษฐกิจของหลาย ประเทศทัวโลก Cloud Computing ได้รบการมองว่ามีประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิงในการช่วยประหยัดต้นทุนสาหรับ ่ ั ่ เทคโนโลยีและวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (Medium and small enterprises - SMEs) เช่นเดียวกันกับสถาบันการศึกษา (Microsoft, 2009) ตัวอย่างเช่น “Gooroo” ผูให้บริการ Cloud จากประเทศ ้ อังกฤษได้ทาการสารวจพบว่า ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กในประเทศอังกฤษใช้ Cloud Computing เพิมมากขึนเพื่อ ่ ้
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ในการลดค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนทางเทคโนโลยีในยุคเศรษฐกิจตกต่า โดยมากกว่าครึง (54%) ของธุรกิจ ่ ทีตอบแบบสารวจระบุว่ามีแผนในการใช้ Cloud Computing ภายในปี ค.ศ. 2010 และจานวนหนึ่ง (12%) ระบุว่ามี ่ ความพร้อมทีจะใช้ Cloud Computing ในทันที ธุรกิจทีตอบแบบสารวจส่วนใหญ่ (65%) ระบุว่าการลดค่าใช้จ่าย ่ ่ ่ ั เกียวกับเทคโนโลยีและวิทยาการคอมพิวเตอร์ (IT cots) เป็ นปจจัยหลักทีผลักดันให้มการตอบรับ Cloud Computing ่ ี นอกจากนี้ผลการสารวจยังชีให้เห็นว่าการนา Cloud Computing มาใช้ในธุรกิจมีผลในการเพิมประสิทธิภาพในด้าน ้ ่ ต่างๆ อาทิ ความค้าทุน (Efficiency) ความยืดหยุ่นทางธุรกิจ (Flexibility) การจัดการและการติดตังทีง่าย (Easy set-up ้ ่ and management) และ การเข้าถึงเพื่อใช้งานโปรแกรมการทางานสาคัญของธุรกิจจากสถานทีใดก็ตาม (Remote ่ access) (Evans, 2009) Cloud Computing กับแง่ คดเชิงเศรษฐศาตร์ ิ ประเด็นสาคัญเกียวกับ Cloud Computing กับแง่คดเชิงเศรษฐศาสตร์นน มีดงนี้ ่ ิ ั้ ั 1. การลดค่าใช้จ่าย (Cost reduction) เป็ นประเด็นสาคัญอันดับต้นในการพิจารณาติดตังหรือใช้งาน Cloud ซึง้ ่ สามารถปรับให้เข้ากับความต้องการและพฤติกรรมการใช้งานของผูใช้งานได้อย่างยืดหยุ่น ประเด็นเรื่อง ้ การลดค่าใช้จ่ายนี้ หมายความรวมค่าใช้จ่ายในด้านการจัดหาและการดูแลรักษาวัสดุอุปกรณ์ (Acquisition and maintenance) ทีสาคัญ Cloud มีลกษณะการให้บริการแก่ผใช้บริการทีสามารถแบ่งส่วนเพื่อรับบริการ ่ ั ู้ ่ เท่าทีจาเป็ น (Scalability) และการคิดค่าใช้จ่ายตามการใช้งานจริง (Pay-per-use) ตามทีจะกล่าวเป็ นประเด็น ่ ่ ต่อไปอีกทังค่าใช้จ่ายในการติดตังระบบ Cloud ยังมีทางเลือกให้สามารถลงทุนเพื่อพัฒนาหน้าจอการทางาน ้ ้ ใหม่ให้แก่ระบบการทางานเดิม หรือสามารถปรับปรุงระบบเดิมให้สามารถใช้งานได้ผ่าน Cloud โดยไม่ตอง ้ พัฒนาหน้าจอการทางานใหม่ เป็ นวิธการปรับโครงสร้างพืนฐานทีมอยู่ให้มความพร้อมสาหรับ Cloud (Cloud- ี ้ ่ ี ี ready infrastructure) 2. การคิดค่าใช้จ่ายตามการใช้งานจริง (Pay-per-use) เป็ นความสามารถในการจากัดค่าใช้จ่ายให้อยู่ใน กรอบของปริมาณการใช้งานตามความเป็ นจริง โดยระบบ Cloud ทีดจาเป็ นต้องมีการดูแลระบบให้ถูกต้อง ่ ี แม่นยา และส่งเสริมคุณภาพและการให้ความช่วยเหลือแก่ผใช้งานได้ทนท่วงที ซึงการปรับระบบให้เข้าสู่ ู้ ั ่ ความพร้อมใช้ Cloud เป็ นเรื่องสาคัญทีสงผลด้านค่าใช้จ่ายโดยตรง ซึงผลการวิจยระบุว่าเงินลงทุนสาหรับ ่่ ่ ั การปรับเปลียนระบบให้เข้าสู่ Cloud นันคุมค่าต่อการใช้งานในระดับองค์กรขนาดกลางถึงขนาดเล็ก (เช่น ่ ้ ้ ธุรกิจ SMEs) เพราะจะเป็ นตัวเร่งการพัฒนาและการนาระบบทางธุรกิจอื่นๆ ทีจาเป็ นมาใช้งาน ด้วยต้นทุน ่ ทีต่ากว่าการลงทุนตามปกติทวไป (Schubert et al., 2010) ่ ั่ 3. ช่วยบริหารเวลา (Time management) ต้นทุนทางเวลาถือเป็ นสิงทีมความสาคัญไม่ต่างไปจากต้นทุนทีเป็ น ่ ่ ี ่ ค่าใช้จ่าย ทีสาคัญต้นทุนทางเวลาไม่สามารถจัดหามาทดแทนส่วนทีเสียไปได้ โดยทางธุรกิจการบริหารเวลามี ่ ่ ความสาคัญในส่วนต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิงการตลาด การประชาสัมพันธ์ การขาย และการบริการ โดย ่ ภาพรวมของการติดต่อสือสารระหว่างทีมงาน การเข้าถึงตลาดได้รวดเร็วเพียงใด เป้าหมายทางธุรกิจก็จะมี ่ โอกาสสาเร็จมากขึนเร็วขึนเท่านัน ซึงการทางานผ่าน Cloud ช่วยลดความสินเปลืองในการใช้ตนทุนทางเวลา ้ ้ ้ ่ ้ ้ และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน 4. การคุมทุน (Return of investment – ROI) เป็ นประเด็นสาคัญทีนกลงทุนต้องพิจารณาเนื่องจากว่าไม่มี ้ ่ ั หลักการหรือแนวทางใดทีรบประกันความคุมทุนได้อย่างสมบูรณ์แบบ 100% แท้จริงแล้วระบบ Cloud ่ั ้ ั บางระบบยังมีปญหาและล้มเหลวในเรื่องการคุมทุนอีกด้วย ดังนันในเบืองต้น การพิจารณาเรื่องการคุมทุนใน ้ ้ ้ ้ การใช้ Cloud จึงทาได้ชดเจนในการสร้างระดับความเชื่อมันทังในเรื่องการทางานตามวัตถุประสงค์ทแต่ละ ั ่ ้ ่ี
  • 4. 4 ั หน่วยงานจะกาหนดขึนให้สาเร็จและการแก้ไขปญหาให้แก่หน่วยงาน ดังนี้การสร้างระบบประเมินผล เกณฑ์ ้ หรือตัวชีวดความสาเร็จเป็ นสิงจาเป็ นในการวัดความคุมทุนในการใช้ Cloud ทาตามวัตถุประสงค์และแก้ไข ้ั ่ ้ ั ปญหาของหน่วยงานให้การปฏิบตงานเป็ นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วมากยิงขึน ั ิ ่ ้ 5. การแปลงสภาพ CAPEX เป็ น OPEX ซึงการแปลงรายจ่ายการลงทุน (Capital expenditure – CAPEX) ่ ให้เป็ นรายจ่ายในการประกอบการ (Operational expenditure – OPEX) เป็ นประโยชน์แฝงของการใช้ Cloud ซึง CAPEX มีความจาเป็ นสาหรับการลงทุนเรื่องโครงสร้างพืนฐานของระบบ (Infrastructure) แต่ดวยการใช้ ่ ้ ้ Cloud ทาให้ไม่จาเป็ นต้องมีการสร้างโครงสร้างพืนฐานมาก ส่วนใหญ่คงเหลือเพียงรายจ่ายในการปรับปรุง ้ โครงสร้างพืนฐานเดิมให้ใช้งานได้กบ Cloud เท่านัน และอย่างทีกล่าวมาก่อนหน้านี้เป็ นการแบ่งบอกรับ ้ ั ้ บริการ Cloud เฉพาะส่วนปฏิบตการโดยเจาะจงตามความต้องการขององค์กรได้อกด้วย ั ิ ี 6. แนวคิดการใช้ Cloud ส่งเสริมการอนุรกษ์โลก (Green Cloud) เป็ นมุมมองเกียวกับการใช้บริการ Cloud เพื่อ ั ่ ส่งเสริมการทางานแนวอนุรกษ์ เป็ นการตอบรับกระแสความต้องการอนุรกษ์สงแวดล้อมของโลก ซึง Cloud มี ั ั ิ่ ่ ความชัดเจนในการช่วยลดการใช้ทรัพยากรด้านพลังงาน และลดปริมาณการทาสาเนาเอกสาร และการใช้ คาร์บอนทีปล่อยเป็ นของเสียหรือขยะสูสภาพแวดล้อมอีกด้วย นอกจากนี้ Cloud ยังช่วยลดความต้องการ ่ ่ ั ั ทรัพยากรทียงไม่ได้ใช้ (Unused resources) โดยในปจจุบนมีประเด็นทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ่ ั แนวอนุรกษ์สงแวดล้อม (Green IT)เป็ นทีสนใจของนักพัฒนาทังในระดับ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ ั ิ่ ่ ้ โปรแกรม และ ระบบปฏิบตการ ั ิ Cloud Computing กับ การศึกษา สถาบันอุดมศึกษาจานวนมากมุ่งมันพัฒนาและเพิมศักยภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ซึงการพัฒนาและ ่ ่ ่ ปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยาการคอมพิวเตอร์ให้ทนกับความเปลียนแปลงทีเกิดขึน เป็ นวิธการหนึ่งใน ั ่ ่ ้ ี การสร้างศักยภาพทางการเรียนการสอนผ่านสภาพแวดล้อมทางการศึกษาทีพร้อมพรังไปด้วยวิทยาการทางเทคโนโลยี ่ ่ ั ั ั สารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพของการเรียนการสอนแก่นกศึกษาปจจุบน อีกทังเพื่อดึงดูด ้ ความสนใจจากผูปกครองและนักศึกษาทีกาลังมองหาทีเรียน สถาบันการศึกษาเหล่านี้ ้ ่ ่ ความเป็ นไปได้ในการนา Cloud Computing มาบูรณาการเข้ากับแนวทางการปรับปรุงและพัฒนา ประสิทธิภาพทางการศึกษา ได้รบความสนใจไม่แพ้ในวงการธุรกิจ ทังนี้ Cloud Computing ในสหรัฐอเมริกา ั ้ มหาวิทยาลัยชันนา เช่น University of California at Berkeley ได้ศกษาวิจยเพื่อนา Cloud Computing มาใช้ใน ้ ึ ั การเรียนการสอนในหลายวิชาและพบว่าเทคโนโลยีดงกล่าวมีสวนส่งเสริมแรงจูงใจให้ผเรียนและผูสอนผ่านการ ั ่ ู้ ้ ให้บริการในระดับ Software as a Service (SaaS) ซึงทาให้ผเรียนและผูสอนสามารถเข้าใช้โปรแกรมการทางาน ่ ู้ ้ (Software applications) ทีมให้บริการได้ผ่านเครือข่ายโดยไม่ตองมีการติดตัง (Installation) หรือปรับแก้ลกษณะ ่ ี ้ ้ ั ทางเทคนิค (หรือ Configuration) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ทใช้งาน ในช่วงแรก UC-Berkeley เริมจากการใช้เครือข่าย ่ี ่ ของมหาวิทยาลัย และต่อมาได้รบความอนุเคราะห์จาก Amazon Web Services (AWS) นา SaaS ของมหาวิทยาลัย ั ขึนให้บริการบน Cloud ด้วยเหตุผลสาคัญทีบางรายวิชาต้องการใช้ Servers จานวนมากในเวลาจากัด (Fox, 2009) ้ ่ สาหรับมหาวิทยาลัยอื่นบางแห่ง ประสิทธิภาพของ Cloud Computing ยังส่งเสริมในเรื่องของการวิจย ั โดยเฉพาะงานวิจยขนาดใหญ่ทมความร่วมมือจากหลากหลายประเทศ เช่น นักวิจยจากสถาบันแพทย์ในรัฐวิสคอนซิน ั ่ี ี ั (Medical College of Wisconsin Biotechnology and Bioengineering Center in Milwaukee) ใช้ Cloud
  • 5. 5 ในการดาเนินการวิจยทีมความร่วมมือกันของสถาบันฯ ในหลายประเทศ อีกทังการเผยแพร่งานวิจยไปยัง ั ่ ี ้ ั นักวิทยาศาสตร์ทวโลก ซึงบริการผ่าน Cloud-based servers ของ Google มีบทบาทสาคัญในการช่วยลดค่าใช้จ่าย ั่ ่ และเพิมศักยภาพในการเก็บ การจัดการ และการวิเคราะห์ขอมูลในโครงการวิจยขนาดใหญ่ทจาเป็ นต้องใช้โปรแกรมใน ่ ้ ั ่ี การวิเคราะห์ขอมูลปริมาณมหาศาลทีรวบรวมได้จากประเทศต่างๆ ทีร่วมวิจย (La Susa, 2009). ้ ่ ่ ั ผูให้บริการ Cloud ได้พยายามประชาสัมพันธ์อย่างเต็มทีถงการใช้เทคโนโลยี Cloud Computing ในการเป็ น ้ ่ ึ เครื่องมือในการวิจย เช่น ในปี ค.ศ. 2007 บริษท IBM และ Google ได้ออกแผนพัฒนา Cloud Computing เพื่อ ั ั การอุดมศึกษาขึน (Cloud Computing University Initiative) เป็ นจุดเริมต้นสาหรับการปรับปรุงฐานความรูของ ้ ่ ้ นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer Science) เพื่อส่งเสริมความรูและทักษะในการพัฒนาแนวคิด ้ เกียวกับการขยายตัวและทิศทางการใช้งานคอมพิวเตอร์คราวละจานวนมาก (Large-scale distributed computing) ่ ซึงต่อมาในปี ค.ศ. 2009 สถาบัน National Science Foundation (NSF) ได้สนับสนุนงบประมาณ 5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ่ (หรือประมาณ 150 ล้านบาท) ให้แก่มหาวิทยาลัย 14 แห่งทีเข้าร่วมโครงการ Cluster Exploratory (CLuE) ซึงต่อ ่ ่ ยอดจากแผนพัฒนาของ IBM และ Google ดังกล่าว โดยจัดสรรให้มทรัพยากรและเครื่องมือเครื่องใช้ทางคอมพิวเตอร์ ี สาหรับโครงการวิจยทีเกียวข้อง ั ่ ่ สถาบันการศึกษาในสหรัฐอเมริกาได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี Cloud Computing เพื่อแก้ไขปญหา ั ความขาดแคลนจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับการเรียนการสอน ตัวอย่างเช่น กลุ่มโรงเรียนระดับประถมและมัธยม ในรัฐ Kentucky ได้นา Cloud Computing มาใช้บริหารจัดการเครื่องคอมพิวเตอร์เก่า ทีมอยู่มากกว่า 1400 เครื่อง ให้ ่ ี กลายสภาพเป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งานแบบเสมือน (Virtual workstations) ทีใช้งานได้เสมือนเครื่องรุ่นใหม่ ผ่าน ่ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและบริการ Cloud ทังนี้เนื่องจาก Cloud Computing ช่วยมองข้ามความต้องการทางด้านอุปกรณ์ ้ Hardware และหน่วยความจา Hard drive บนเครื่องทีใช้งานในสภาพแวดล้อมของ Cloud Computing ซึง ่ ่ การประมวลผลและการทางานต่างๆ ของระบบ จะเกิดขึนบน Server ไม่ใช่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ทใช้งาน อีกนัยหนึ่ง ้ ่ี จึงหมายความว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ทใช้งานนัน เป็ นเสมือนหน้าต่าง สือ หรือช่องทางต่อเชื่อมเข้ากับโปรแกรม ่ี ้ ่ การทางานบนแม่ขาย (Server) ในทีน้คอ Cloud (Erenben, 2009). กลุ่มโรงเรียนเหล่านี้ ได้ประมาณการณ์ไว้ว่า ่ ่ ี ื ค่าใช้จ่ายในการใช้ Cloud Computing เป็ นระยะเวลา 5 ปี มีมลค่าต่ากว่าครึงหนึ่งของค่าใช้จ่ายทีอาจจะเกิดขึนหาก ู ่ ่ ้ โรงเรียนตัดสินใจเปลียนเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่เพื่อใช้งาน (Lambert, 2009) ่ ั สถานศึกษาในประเทศอังกฤษได้ให้ความสนใจนา Cloud Computing มาใช้แก้ไขปญหา ตัวอย่างเช่น Leeds Metropolitan University, the University of Glamorgan, the University of Aberdeen, the University of Westminster, the London University’s School of Oriental and African Studies (SOAS) และ the Royal College of Art (RCA) ได้นา Google Apps ซึงเป็ นหนึ่งในบริการ Cloud มาใช้เพื่อการเรียนการสอนและการบริหารจัดการของ ่ ่ ี ั สถาบันการศึกษา โดยการใช้งาน Cloud Computing ช่วยส่งเสริมระบบการสือสารทีมปญหาและตอบสนอง ่ ความต้องการหลักนักศึกษา เช่น ระบบ Email ทีสถาบันมีให้บริการ (In-house Email System) ขาดความเสถียรของ ่ ั ่ ั ระบบ ทาให้นกศึกษาส่วนใหญ่เลิกใช้ หรือไม่พอใจทีจะใช้ แต่เมื่อนา Cloud Computing มาแก้ไขปญหา ทาให้ประมาณ การใช้งานเพิมขึนเนื่องจากนักศึกษาให้ความเชื่อมันว่า Cloud Computing มีมาตรฐานทีเป็ นสากลในการดูแลข้อมูลและ ่ ้ ่ ่ การสือสารของระบบ Email (Hicks, 2009) ่
  • 6. 6 ในพืนทีห่างไกลและยากจนเช่น แอฟริกา ก็มการนา Cloud Computing มาใช้งานกับการศึกษา โดยมองข้าม ้ ่ ี ลักษณะด้อย อันได้แก่ ความยากจน หรือการขาดแคลนโครงสร้างพืนฐาน (Infrastructure) ทางเทคโนโลยีการสือสาร ้ ่ ่ ั ั และคอมพิวเตอร์ ซึงในปจจุบนสถาบันการศึกษาในทวีปแอฟริกานี้ ได้เชื่อมโยงเข้าสูบริการ Cloud ทีมสวนช่วยลด ่ ่ ี่ ความจาเป็ นในการปรับ Upgrade ทัง Software และ Hardware ทีเป็ นเสมือนเรื่องทีไม่มทสนสุด ทังนี้ Google ประสบ ้ ่ ่ ี ่ี ้ิ ้ ความสาเร็จอย่างสูงในการมุ่งเข้าสูตลาดการศึกษาในทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะแถบแอฟริกาตะวันออก โดย Google ่ ได้เซ็นสัญญาให้บริการ Cloud กับสถาบันอุดมศึกษา เช่น National University of Rwanda, Kigali Institute for Education, Kigali Institute for Science and Technology, University of Nairobi, United States International University, Kenyan Methodist University and the University of Mauritius โดยบริการ Cloud ทีมให้บริการ อาทิ ่ ี Gmail, Google Calendar, Google Talk และ Google Docs and Spreadsheets ซึงสถาบันการศึกษาเหล่น้ได้รบ ่ ี ั ความช่วยเหลือด้านงบประมาณจากทุนของ World Bank เพื่อเป็ นค่าใช้จ่าย (Wanjiku, 2009) นอกจาก Google แล้ว บริษท Microsoft ได้เข้าให้ความช่วยเหลือประเทศ Ethiopia ในด้านต่างๆ เช่น มอบเครื่อง Laptop จานวน 250,000 ั เครื่องให้แก่ครูในโรงเรียนทีใช้งานผ่านบริการ Cloud ของ Microsoft ทีช่อ Azure โดยครูสามารถรับ-ส่ง หรือทางานกับ ่ ่ ื ไฟล์หรือระบบข้อมูลการศึกษา เช่น Download ข้อมูลหลักสูตร ติดตามข้อมูลผลการเรียนของนักเรียน เป็ นต้น (Chan, 2009) ดังนันเทคโนโลยี Cloud Computing ช่วยเหลือการศึกษาในทวีปแอฟริกา ไม่เพียงแต่ในเรื่องค่าใช้จ่ายหรือ ้ งบประมาณด้านเทคโนโลยี แต่ช่วยในเรื่องของการพัฒนาประสิทธิภาพของสถาบันการศึกษาและการเรียนการสอนอีก ด้วย Cloud Computing กับแนวคิด Green แนวคิด Green หมายถึงแนวคิดเชิงอนุรกษ์สงแวดล้อม ไม่เพียงแต่เน้นเรื่องการประหยัดค่าใช้จ่าย แต่ ั ิ่ หมายความรวมถึงการทาประโยชน์ในเชิงอนุรกษ์สงแวดล้อม การที่ Cloud Computing ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายใน ั ิ่ หลายด้าน เช่น การซือหรือ Upgrade โปรแกรม Software และ อุปกรณ์ Hardware ใหม่ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง หรือ ้ ขนส่งเอกสารข้อมูล แล้วนัน Cloud Computing ยังช่วยให้ผใช้งานลดการใช้ทรัพยากรของโลกในด้านต่างๆ อีกด้วย ้ ู้ เช่น การลด Carbon ในการสังพิมพ์งาน การลดการใช้พลังงานในการเดินทาง หรือขนส่งเอกสารหรือข้อมูล และที่ ่ สาคัญช่วยประหยัดเวลา ซึงงานวิจยพบว่ากิจกรรมต่างๆ ทีเกียวข้องกับการใช้เทคโนโลยีการสือสารและสารสนเทศ ่ ั ่ ่ ่ หรือคอมพิวเตอร์ (ICTs) นัน ก่อให้เกิดของเสียจาก Carbon สูโลกถึง 2% ของของเสียจาก Carbon ทังหมดและยังมี ้ ่ ้ แนวโน้มทีจะสูงขึนอย่างต่อเนื่อง ทาให้เทคโนโลยีใดก็ตามทีช่วยลดการใช้ทรัพยากร มีความสาคัญและได้รบความสนใจ ่ ้ ่ ั มากขึนอย่างต่อเนื่องเช่นกัน และ Cloud Computing ก็เป็ นหนึ่งในเทคโนโลยีทตอบรับกระแสความต้องการนี้ได้อย่าง ้ ่ี ลงตัว (James & Hopkinsons, 2009; Katz, 2008). กระแสการใช้ Cloud Computing งานในปัจจุบัน ั ั ปจจุบนเทคโนโลยี Cloud Computing ทีมให้บริการโดยบริษท Microsoft และ Google มีสวนบริการสาหรับ ่ ี ั ่ การศึกษาโดยไม่มค่าใช้จ่าย ซึงสมาชิกในสถาบันการศึกษา เช่น นักศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ สามารถใช้งาน Email ี ่ ั ปฏิทน (Calendars) จัดเก็บข้อมูล (Document storage) สร้างและเผยแพร่แบ่งปน (Creation and sharing) ข้อมูล ิ หรือเอกสาร รวมทังเว็บไซต์ได้อกด้วย (Ercana, 2010; Sclater, 2009) ้ ี การวิจย ยังระบุว่าการใช้ Cloud Computing ส่งเสริมให้เกิดผลดีต่อธุรกิจทีสาคัญ 3 ประการได้แก่ ั ่ ความปลอดภัย (Security) การบูรณาการเทคโนโลยีเข้ากับการทางาน (Integration) และ การบริหารเวลา (Time management) ให้เกิดคุณค่ามากทีสด (Sclater, 2009) โดยนักวิจยบางคนถึงกับกล่าวไว้ว่า ผูใช้งาน Cloud ุ่ ั ้
  • 7. 7 ไม่จาเป็ นต้องมีความรูหรือทักษะเกียวกับบริการ Cloud เพียงแค่เป็ นผูทคนเคยกับการทางานของตนเองผ่าน ้ ่ ้ ่ี ุ ้ หน้าจอคอมพิวเตอร์ได้เท่านัน เนื่องจาก Cloud เป็ นเทคโนโลโยทีเน้นการสือสารกับ Servers จานวนมากได้ภายใน ้ ่ ่ เวลาเดียวกัน ให้ผใช้เข้าถึงทรัพยากรข้อมูลขององค์กรได้จากทุกแห่งทีมเี ครือข่ายรองรับและจาลองสภาพแวดล้อม ู้ ่ เสมือนในการทางานของผูใช้แต่ละคนได้อย่างเหมาะสมกับความต้องการ (Hayes, 2008) ้ ผลการสารวจโดย Gartner Analysts ในปี ค.ศ. 2009 เกียวกับกระแสเทคโนโลยี Cloud Computing พบว่ามี ่ การใช้งานมากทีสดในด้านการเงิน (Finance and Business) (12%) ของอุตสาหกรรมทีใช้ Cloud ทังหมด รองลงมา ุ่ ่ ้ ได้แก่ดานธุรกิจและการการจัดการ (10%) อุตสาหกรรมการผลิต (10%) ส่วนด้านการศึกษามีการใช้ Cloud Computing ้ อยู่ในระดับปานกลาง (4%) เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่น แผนภาพที่ 1 แสดงสัดส่วนของการใช้งาน Cloud Computing ในกิจการหรือแวดวงอุตสาหกรรมต่างๆ แผนภาพที่ 1. การใช้ Cloud ในอุตสาหกรรมต่างๆ (จาก Gartner Analyst Report 2009) ผลการสารวจความคิดเห็นจากกลุ่มผูบริหารระดับสูง ทีมอานาจตัดสินใจในองค์กรธุรกิจ เกียวกับการเลือกใช้ ้ ่ ี ่ Cloud ซึงผลการสารวจระบุวา ป ่ ่ ัจจัยสาคัญทีสดทีผบริหารคานึงถึงในการตัดสินใจเลือกใช้ Cloud ได้แก่เรื่อง ่ ุ ่ ู้ ความปลอดภัยและความเป็ นส่วนตัวของข้อมูลและระบบ (Security and Privacy) และจากการสารวจความต้องการใช้ Cloud เปรียบเทียบระหว่างบริการแบบส่วนตัว (Private cloud computing plans) และแบบสาธารณะ (Public cloud computing plans) พบว่า 75% ของผูตอบแบบสารวจทังหมดคาดหมายทีจะใช้บริการผ่านระบบ Cloud แบบส่วนตัว ้ ้ ่ ภายในปี ค.ศ. 2012 และเมื่อเจาะจงไปทีประเด็นสาคัญของเทคโนโลยีเกียวข้องทีมให้บริการผ่านระบบ Cloud ่ ่ ่ ี แบบส่วนตัว พบว่า 6 ใน 7 ของผูตอบแบบสารวจทังหมดให้ความสาคัญไปที่ “Management and Operational ้ ้ Processes” และ “Funding/Chargeback Model” ซึงหมายความว่า กระบวนการหรือขันตอนการทางาน ค่าใช้จ่าย และ ่ ้
  • 8. 8 ผูใช้งาน และความเชื่อมโยงระหว่างคนและทรัพยากรข้อมูลทีเปลียนแปลงไปมีความท้าทายต่อระบบ Cloud ้ ่ ่ แบบส่วนตัวมากกว่าเรื่องของเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว สรุป Cloud Computing เป็ นแนวคิดในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายเพื่อส่งเสริมการขยายโอกาสและ ความเป็ นไปได้ในการบริการไปสูผใช้งานทีหลากหลายมากขึน ทังหน่วยงานหรือองค์กรขนาดเล็กตลอดจนขนาดกลาง ่ ู้ ่ ้ ้ และขนาดใหญ่ สามารถได้รบประโยชน์จากแนวคิด Cloud Computing โดยในบทความนี้ได้นาเสนอข้อมูลเกียวกับ ั ่ การทีองค์กรในแต่ละสายงานหรืออุตสาหกรรมซึงมีการใช้ประโยชน์จาก Cloud Computing ทังในการแก้ไขปญหา ่ ่ ้ ั การส่งเสริมการทางานให้มประสิทธิภาพมากยิงขึนกว่าทีเคยเป็ นมา และในการใช้ทรัพยากรทีมอยู่ให้เกิดประโยชน์ ี ่ ้ ่ ่ ี ้ ั สูงสุด อีกทังลดการก่อให้เกิดปญหาต่อสิงแวดล้อมด้วยการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับแนวคิดเชิงอนุรกษ์ ่ ั ั ั ่ อีกด้วย (เช่น Green IT) อย่างเหมาะสมต่อสภาพการณ์ในโลกปจจุบน ซึงทาให้ Cloud Computing ได้รบความสนใจ ั อย่างมากควบคู่ไปก้บการพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการด้านการป้องกันข้อมูล (Data protection) และ ด้านความปลอดภัยของข้อมูล (Data security) ทังนี้บทความปริทรรศน์วรรณกรรมนี้จงเป็ นเสมือนจุดเริมต้นใน ้ ึ ่ การพิจารณา Cloud Computing จากมุมมองของนักวิจยและผูเขียนจานวนหนึ่งในป ั ั ้ ัจจุบนได้ศกษาและนาเสนอผลงาน ึ เกียวกับเทคโนโลยีน้ี โดยผูเขียนหวังเป็ นอย่างยิงว่าจะเป็ นประโยชน์ต่อยอดไปสูการศึกษาวิจยในอนาคตสาหรับ ่ ้ ่ ่ ั การบูรณาการ Cloud Computing ในประเทศไทย References: Beloglazov, A., Abawaj, J. & Buyya, R. (2011, article in press). Energy-aware resource allocation heuristics for efficient management of data centers for Cloud computing. Future Generation Computer Systems. Evans, S. (2009). UK SMEs embrace cloud during recession: Survey. Retrieved from URL http://appdev.cbronline.com/news/uk Fox, A. (2009). Cloud computing in education. Retrieved from URL https://inews.berkeley.edu/articles/Spring2009/Cloud computing Gartner. (2009). Cloud Computing Inquiries at Gartner. Retrieved from URL http://blogs.gartner.com/thomas_bittman/2009/10/29/Cloud computing-inquiries-atgartner. Bittman, T. (2010). Polling Data on Public/Private Cloud Computing. Retrieved from URL http://blogs.gartner.com/thomas_bittman/2010/04/21/polling-data-on-publicprivate-Cloud computing/ Grossman, R. (2009). The case for cloud computing. IT Professional, 11(2), 23–27. Hayes, B. (2008). Cloud computing. Communications of the ACM, 51(7), 9-11. Jianxin Li, J., Jia, Y., Liu, L. & Tianyu Wo. (2011, article in press). CyberLiveApp: A secure sharing and migration approach for live virtual desktop applications in a cloud environment. Future Generation Computer Systems. Ercana, T. (2010). Effective use of cloud computing in educational institutions. Procedia Social and Behavioral Sciences, 2, 938–942. La Susa, E. (2009). Cloud computing brings cost of protein research down to Earth. Retrieved from URL http://www.eurekalert.org/pubreleases/2009-04/mcowccb040909.php
  • 9. 9 Lijun, M., Chan, W.K., & Tse, T.H. (2008). A tale of clouds: Paradigm comparisons and some thoughts on research issues. IEEE Asia-Pasific Services Computing Conference, APSCC’08, 464-469. Marston, S., Li, Z., Bandyopadhyay, S., Zang, J, & Anand Ghalsasi. (2011). Cloud computing — The business perspective. Decision Support Systems, 51, 176–189. Microsoft. (2009). SME role for cloud computing. Retrieved from URL http://www.microsoft.com/uk/smallbusiness/sbnews/growing-a-small-business/SME-role-for-cloudcomputing- 19227631.mspx Sultan, N. (2010). Cloud computing for education: A new dawn? International Journal of Information Management, 30, 109- 116. Schubert, L., Keith, J. (Ed.), & Burkhard, N. (2010). The Future of Cloud Computing: Opportunities for European Cloud Computing beyond 2010 (Expert Group Report). Information Society and Media, European Commission. Sclater, N. (2009). Cloudworks, eLearning in the Cloud. Retrieved from URL http://cloudworks.ac.uk/cloud/view/2430/. Voas, J., & Zhang, J. (2009). Cloud computing: New wine or just a new bottle, “cloud computing: New wine or just a new bottle?”. IT Professional, 11(2), 15–17.