SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  22
Télécharger pour lire hors ligne
พันธุศาสตร (ตอนที่ 1)

ลักษณะทางพันธุกรรม
          ลักษณะทางพันธุกรรม หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถูกควบคุมโดยกรดนิวคลีอิกชนิด DNA
หรือ RNA ที่สามารถถายทอดจากรุนหนึ่งไปยังรุนตอ ๆ ไป โดยอาศัยเซลลสืบพันธุหรือเซลลชนิดอื่น ๆ
เปนสื่อกลางในการถายทอด
          ประเภทของลักษณะทางพันธุกรรม
                   ลักษณะทางพันธุกรรมจําแนกเปน 2 ประเภท คือ
                   1. ลักษณะที่มีความแปรผันไมตอเนื่อง (discontinuous variation) เปนลักษณะ
พันธุกรรมที่
                       - แยกความแตกตางกันไดอยางเดนชัด
                       - มันถูกควบคุมดวยยีนนอยคู
                       - มักเกี่ยวของกับทางดานคุณภาพ (qualitative trait)
                       - ตัวอยางลักษณะที่มีความแปรผันไมตอเนื่อง เชน การหอลิ้น การถนัดใชมือขวา
หรือมือซาย จํานวนชั้นของหนังตา คนผิวเผือกกับคนผิวปกติ การมีหรือไมมีลักยิ้ม การเวียนของขวัญ
พันธุกรรมหมูเลือด การมีติ่งหูหรือไมมีติ่งหู เชิงผมที่หนาผาก เปนตน
                   2. ลักษณะที่มีความแปรผันตอเนื่อง (continuous variation) เปนลักษณะพันธุกรรมที่
                       - ไมสามารถแยกความแตกตางไดอยางเดนชัด
                       - มักถูกควบคุมดวยยีนหลายคู (polygenes หรือ multiple genes)
                       - มักเกี่ยวของกับทางดานปริมาณ (quantitative trait)
                       - ตัวอยางลักษณะที่มีความแปรผันตอเนื่อง เชน สีผิวปกติของคน นํ้าหนัก ความสูง
ผลผลิต ระดับสติปญญา เปนตน
          คําศัพทที่ควรทราบในการศึกษาพันธุศาสตร
          1. เซลลสืบพันธุ
              เซลลสืบพันธุ (gamete หรือ sex cell) หมายถึง ไข (egg) หรือ สเปรม (sperm) เปน
โครงสรางที่บรรจุสารพันธุกรรมที่จะถายทอดไปยังรุนลูกเมื่อมีการปฏิสนธิเกิดขึ้น ในเซลลสืบพันธุจะไมมี
ยีนที่เปนอัลลีล (allele) กัน
          2. ลักษณะเดน
              ลักษณะเดน (dominance) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุนลูกหรือรุนตอ ๆ ไปเสมอ
เชน การถนัดมือขวา หนังตา 2 ชั้น
3. ลักษณะดอย
             ลักษณะดอย (recessive) หมายถึง ลักษณะที่ไมมีโอกาสปรากฏในรุนตอไปเปนยีนที่แฝงอยู
จะถูกขมโดยยีนเดน
          4. ยีน
             ยีน (gene) หมายถึง หนวยควบคุมลักษณะพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตซึ่งเปนสารเคมีจําพวก
กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) โดยเฉพาะชนิด DNA จะพบมากที่สุด หรือชนิด RNA ในไวรัสบางชนิด
และไวรอยด
          5. โฮโมไซกัส ยีน
             โฮโมไซกัส ยีน (homozygous gene) หมายถึง ยีนที่เหมือนกันอยูดวยกัน เชน TT, tt, AA,
bb, IAIA, ii
          6. เฮเทอโรไซกัส ยีน
             เฮเทอโรไซกัส ยีน (heterozyous gene) หมายถึง ยีนที่ตางกันอยูดวยกัน เชน Tt, Aa, Bb,
IAIB, IAi
          7. จีโนไทป
             จีโนไทป (genotype) หมายถึง ลักษณะหรือแบบของยีนที่ควบคุมลักษณะ จําแนกเปน 3
ประเภท คือ
             7.1 homozygous genotype หมายถึง จีโนไทปที่มียืนเหมือนกันมักเรียกพันธุแท ซึ่งมี 2
ประเภท คือ
                   - homozygous daminance เปนจีโนไทปที่ประกอบดวยยีนเดน เชน TT, SS, IAIA,
IBIB มักเรียกวาพันธุแทของลักษณะเดน
                   - homozygous recessive เปนจีโนไทปที่ประกอบดวยยีนดอย เชน tt, ss, ii มักเรียกวา
พันธุแทของลักษณะดอย
             7.2 heterozygous genotype เปนจีโนไทปที่ประกอบดวยยีนตางกัน มักเรียกวา พันทาง
เชน It, IAi, IAIB
             7.3 hemizygous genotype เปนจีโนไทปที่ประกอบดวยยีนเพียงยีนเดียวในการควบคุม
พันธุกรรมหนึ่ง เชน XCY
          8. ฟโนไทป
             ฟโนไทป (phenotype) หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏออกมาเนื่องจากการแสดงออก
ของยีนและอิทธิพลของสิ่งแวดลอม
             ฟโนไทป = จีโนไทป + สิ่งแวดลอม
9. โฮโมโลกัส โครโมโซม
           โฮโมโลกัส โครโมโซม (Homologous chromosome) หมายถึง โครโมโซมที่เปนคูกนั
มีขนาดและรูปรางภายนอกเหมือนกัน (แตยีนภายในอาจแตกตางกัน) โดยทอนหนึ่งมาจากพออีกทอน
หนึ่งมาจากแม

กฎพันธุกรรมของเมนเดล
        เมนเดลไดทดลองผสมถั่วลันเตาที่มีลักษณะตาง ๆ กัน 7 ลักษณะ ซึ่งกระจายอยูบนโครโมโซม
ตางทอนกัน ดังภาพที่ 2 โดยไดทําการทดลองนานถึง 7 ป จึงพบกฎเกณฑการถายทอดลักษณะตาง ๆ
และไดรับการยกยองเปนบิดาแหงวิชาพันธุศาสตร (father of Genetics)

                                      ลักษณะที่นํามาศึกษา




                       รูปที่ 2 แสดงลักษณะทั้ง 7 ของถั่วที่เมนเดลไดศึกษา
ความสําเร็จของเมนเดล
                 ความสําเร็จของเมนเดลเนื่องจาก
                 1. ลักษณะที่เมนเดลศึกษาถูกควบคุมดวยยีนเพียงคูเดียวเทานั้นและสามารถแยก
ลักษณะตาง ๆ ไดอยางชัดเจน เชน ตนสูง ตนเตี้ย เมล็ดเรียบ เมล็ดขรุขระ เปนตน
                 2. ตนถั่วลันเตาเปนถั่วที่หางาย ปลูกงาย อายุสั้น และใหเมล็ดไดจํานวนมาก นอกจาก
นี้สามารถควบคุมการผสมพันธุได
                 3. เมนเดลใชรุนพอแม (parent breeding) ที่เปนพันธุแทมาผสมกัน ทําใหไดลักษณะ
ตาง ๆ ที่ออกมาเปนแผนเดียวกัน
          กฎการถายทอดลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล ที่สําคัญ คือ
                 กฎขอที่ 1 กฎแหงการแยก (Law of Segregation)
                 กฎแหงการแยก มีสาระสําคัญดังนี้คือ : ยีนที่อยูคูกันจะแยกตัวออกจากกันไปอยูใน
แตละเซลลสืบพันธุ กอนที่จะมารวมตัวกันใหมเมื่อมีการปฏิสนธิ กฎขอนี้เมนเดลไดจากการผสมโดย
พิจารณายีนคูเดียวที่มลกษณะตรงขามกันเดนชัด (ลักษณะเดนกับลักษณะดอย) ดังแผนภาพรูปที่ 3
                      ีั




                      รูปที่ 3 สัดสวนของเซลลสืบพันธุท่ไดตามกฎแหงการแยก
                                                         ี
ตัวอยางที่ 1   ถานําถั่วลันเตารุนพอแม (P) ลักษณะเมล็ดกลมกับเมล็ดขรุขระที่ตางเปนพันธุแทมา
                                                                               
                ผสมกันจะไดรุนลูก (F1) มีจีโนไทปและฟโนไทปชนิดเดียวกันทั้งหมด และปลอยให
                รุน F1 ผสมกันเองไดรุนหลาน (F2) จะไดจีโนไทปแตกตางกัน เปน 3 ชนิดในสัดสวน
                1 : 2 : 1 และไดฟโนไทปแตกตางกันเปน 2 ชนิดในสัดสวน 3 : 1 ซึ่งพิจารณาไดตาม
                แผนภาพดังนี้




สรุป     1. ในรุน F1 มีจีโนไทปเปน Rr ทั้งหมด และมีฟโนไทปเปนเมล็ดกลมทั้งหมด แสดงวาอัลลีล
            R แสดงลักษณะเดนหรือลักษณะขม อัลลีล r อยางสมบูรณ
         2. ในรุน F2 มีจีโนไทป 3 ชนิด คือ RR : Rr : rr ในสัดสวน 1 : 2 : 1 แตมีฟโนไทป 2 ชนิด
            คือ เมล็ดกลม : เมล็ดขรุขระ ในสัดสวน 3 : 1

         กฎขอที่ 2 กฎแหงการรวมกลุมอยางอิสระ (Law of independent assortment)
         กฎขอนี้มีสาระสําคัญดังนี้ : ยีนที่เปนคูกันเมื่อแยกออกจากกันแลว แตละยีนจะไปกับยีนอื่นใด
ก็ไดอยางอิสระนั่นคือ เซลลสืบพันธุจะมีการรวมกลุมของหนวยพันธุกรรมของลักษณะตาง ๆ โดยการ
รวมกลุมที่เปนไปอยางอิสระ จึงทําใหสามารถทํานายผลที่เกิดขึ้นในรุนลูกรุนหลานได กฎขอนี้เมนเดล
ไดจากการศึกษาการถายทอดลักษณะโดยพิจารณาจากยีน 2 คู (dihybrid cross)
ดังนั้นเราสามารถใชสูตรหาชนิดเซลลสืบพันธุคือ 2n
                                 (n = จํานวนคูของ heterozygous gene)
ขอความทราบ
       1. ยีนที่อยูในเซลลสืบพันธุเดียวกันจะตองไมมียีนที่เปนคูอัลลีลกัน
       2. โครโมโซมที่อยูในเซลลสืบพันธุเดียวกัน จะตองไมมีโครโมโซมที่เปนคูกัน หรือเปน
โฮโมโลกัสกัน เนื่องจากเซลลสืบพันธุมักเกิดจากการแบงเซลลแบบไมโอซิส

สัดสวนของจีโนไทปและฟโนไทปของการผสมโดยพิจารณายีน 2 คู (dihybrid coss)
          โดยปกติถาผสมระหวางพอแมท่มีลักษณะตรงขามกันอยูสองลักษณะ และแสดงลักษณะเดน
                                         ี
อยางสมบูรณ F2 จะไดสัดสวนของฟโนไทปเปน 9 : 3 : 3 : 1 ทั้งนี้เนื่องจากการแยกกันของยีนแตละคู
ไปสูเซลลสืบพันธุเปนอิสระจากคูอื่น ๆ ตามกฎแหงการรวมกลุมอยางอิสระของเมนเดล ตัวอยางเชน
ถาสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีจีโนไทปเปน BbSs เมื่อสรางเซลลสืบพันธุ ยีน B กับ b ซึ่งเปนอัลลีนกันจะ
แยกออกจากกันไปอยูตางเซลลสืบพันธุกันและในทํานองเดียวกัน ยีน S กับ s ซึ่งเปนอัลลีลกัน ก็จะ
แยกออกจากกันไปอยูตางเซลลสืบพันธุกัน และในเซลลสืบพันธุหนึ่ง ๆ ยีน B จะไปอยูกับยีน S หรือ
                         
s ก็ได และในทํานองเดียวกับยีน b จะไปอยูกับยีน S หรือ s ก็ได ดังนั้นจึงทําใหโอกาสที่จะเกิด
เซลลสืบพันธุไดเปน 4 ชนิด คือ BS : Bs : bS : bs = 1 : 1 : 1 : 1 ดังภาพ
ตัวอยางที่ 3   ถาผสมถั่วเมล็ดเรียบสีเหลืองที่เปน Homozygous dominance กับถั่วเมล็ดขรุขระสีเขียว
                ที่เปน Homozygous recessive จะไดลูก F1 ถานํา F1 ผสมกันเอง จงหา F2 genotype
                และ F2 phenotype
วิธีทํา         1. สรางตาราง Punnet square
                2. ใชหลักความนาจะเปน (Probability) โดยผสมทีละลักษณะ
                1. ตารางพันเนต (Punnet Square) ของ F2




จากตาราง จีโนไทปมี   9 ชนิด (16 Combinations) คือ
1/16 SSYY               2/6 Ss
2/16 SSYy               1/6 ssYY
1/16 SSyy               2/16 ssYy
2/16 SsYY               1/6 ssyy
4/16 SsYy
สูตร หาชนิดจีโนไทป = 3n (n = จํานวนคูของ heterozygous gene) เชน จากกรณีตัวอยาง
ผสม YySs เขาดวยกัน จะเห็นวา n = 2 คือจํานวนคูของ heterozygous gene มี 2 คู ดังนั้นชนิด
จีโนไทปจงมี 9 ชนิด (32 = 9)
         ึ
จากตารางพันเนตมีฟโนไทป 4 ชนิด คือ
9/16 เมล็ดเรียบสีเหลือง (S-Y-)
3/16 เมล็ดขรุขระสีเหลือง (ssY-)
3/16 เมล็ดเรียบสีเหลือง (S-yy)
1/16 เมล็ดขรุขระสีเขียว (ssyy)
       สูตร หาชนิดของฟโนไทปคือ 2n (n = จํานวนคูของ heterozygous gene)
       จากกรณีตัวอยางมี heterozygous gene 2 คู คือ Ss และ Yy ดังนั้นจํานวนชนิดฟโนไทปเทากัน
2n = 4 ชนิด

               2. ใชหลักความนาจะเปน (Probability) ใหผสมทีละลักษณะ (Monohybrid cross)
และนําคาความนาจะเปนของแตละลักษณะมาคูณกัน เชน




                  1. จงหาโอกาสที่จะไดจีโนไทปเปน heterozygous ของทั้ง 2 ลักษณะจะไดคําตอบเปน
                     2/4 Ss x 2/4 Yy = 4/16 Ss Yy
                  2. จงหาโอกาสที่จะไดจีโนไทปเปน homozygous recessive ของทั้ง 2 ลักษณะจะได
                     คําตอบเปน 1/4 ss x 1/4 yy = 1/16 ssyy
                  3. จงหาโอกาสที่จะไดฟโนไทปเปนเมล็ดเรียบสีเขียวจะไดคาตอบเปน
                                                                          ํ
                     3/4 S - x 1/4 yy = 3/16 S-yy
                  4. จงหาโอกาสที่จะไดฟโนไทปเปนเมล็ดเรียบสีเหลืองจะไดคําตอบเปน
                     3/4 S - x 3/4 Y = 9/16 S-Y-
ฟโนไทปที่ตางไปจากพอแม (reombinant type)

       แบคครอส (Back Cross)
       แบคครอส (Back Cross) เปนการผสมระหวางลูกผสม (hybrid) กับรุนพอหรือแม (Parental
genotype) อันใดอันหนึ่งที่เปนลักษณะดอย (homozygous recessive)




          โดยสวนมากการผสม Back cross นี้มักเปนการผสมระหวาง F1 (heterozygote) กับพอหรือแม
ที่เปนลักษณะดอยพันธุแท (homozygous recessive) เปนสวนใหญ
เทสตครอส (Test Cross)
         เทสตครอส (Test Cross) เปนการผสมระหวาง
         1. ลูกชวงใด ๆ ก็ได กับรุนพอแมที่เปนลักษณะดอย (recessive parental type) ซึ่งกรณีนี้
บางครั้งอาจถือเปน Back Cross แบบหนึ่งก็ได
         2. สิ่งมีชีวิตที่ไมทราบจีโนไทป (Unknown genotype) กับตัวทดสอบที่เปนลักษณะดอย
(recessive tester) โดยทั่วไปการผสมแบบนี้ เปนการตรวจสอบของจีโนไทปวามีจีโนไทป เปนพันธุแท
(homozygous genotype) หรือพันพันทาง (heterozygous genotype) เชน




ระดับการแสดงลักษณะเดน
       การถายทอดลักษณะเดนอยางสมบูรณ
              การถายทอดลักษณะเดนอยางสมบูรณ (Complete dominance) หมายถึง การแสดง
ลักษณะเดนหรือการขมของอัลลีลเดน ตออัลลีลดอยเปนไปอยางสมบูรณ ทําใหจีโนไทปที่เปนโฮโมไซกัส
ของลักษณะเดน (homozygous dominant genotype) และเฮเทอโรไซกัสมีฟโนไทปเหมือนกัน เชน
RR = Rr (เมล็ดเรียบ) ดังตัวอยางการทดลองของเมนเดล

การถายทอดลักษณะเดนแบบไมสมบูรณ
         การถายทอดลักษณะเดนแบบไมสมบูรณ (Incomplete dominance หรือ Partial dominance)
หมายถึง การที่อัลลีลหนึ่งแสดงการขมอัลลีลของมันไดแตเปนไปอยางไมสมบูรณทําใหจีโนไทปที่เปน
เฮเทอโรไซกัสมีลักษณะของฟโนไทปคอนไปทางโฮโมไซกัสของลักษณะเดน กรณีนี้จะไดสัดสวนของ
จีโนไทปและฟโนไทปเทากัน ตัวอยางเชน พันธุกรรมของสีดอกลิ้นมังกร และดอกบานเย็น หรือใน
สัตว เชน สีขนของวัวชนิดหนึ่ง
ขอสรุปจากตาราง
        1. จีโนไทปในรุน F1 เปนเฮเทอโรไซกัส (RW) และมีฟโนไทปมีสีชมพูทั้งหมด
        2. จีโนไทปในรุน F2 มี 3 ชนิด คือ RR, RW, WW เปนสัดสวน 1 : 2 : 1
        3. ฟโนไทปในรุน F2 มี 3 ชนิด คือ ดอกสีแดง, ดอกสีชมพู, ดอกสีขาว เปนสัดสวน 1 : 2 : 1



        การถายทอดลักษณะเดนรวมกัน (Codominance)
               การถายทอดลักษณะเดนรวมกัน หมายถึง การที่ยืนแตละอัลลีลจะแสดงออกรวมกันใน
ลูกผสม เนื่องจากตางเปนลักษณะเดนทั้งคูขมกันไมลง เชน พันธุกรรมหมูเลือดระบบ ABO พบวา อัลลีล
IA เปน Codominace กับอัลลีล IB ดังนั้น ผูที่มีจีโนไทป IAIB จะมีเลือดหมู AB



มัลติเปล อัลลีล (multiple alleles)
         มัลติเปล อัลลีลส หมายถึง พันธุกรรมลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่ถูกควบคุมดวยยีนมากกวา 2
อัลลีลส (alleles) ที่ตําแหนง (locus) หนึ่งของโครโมโซมที่เปนคูกัน (homologous chromosome) เชน
พันธุกรรมหมูเลือดระบบ ABO มียีนควบคุม 3 อัลลีลส คือ
IA เปนยีนสรางแอนติเจน A
                IB เปนยีนสรางแอนติเจน B
                i เปนยีนดอยตอทั้ง IA และ IB ไมสรางแอนติเจน
                โดย IA กับ IB เปน Co-dominance




        จากอัลลีลทั้ง 3 ชนิด ทําใหเกิดจีโนไทปได 6 ชนิดและฟโนไทป 4 ชนิด ดังตาราง




        จากตารางนักเรียนจะเห็นไดวาแมวาจะมียีนควบคุมที่ตําแหนงหนึ่งมากกวา 2 อัลลีลส
แตในบุคคลหนึ่ง ๆ (2n) จะมียีนควบคุมลักษณะนั้นไดไมเกิน 2 อัลลีลส


มัลติเปล ยีนส หรือ พอลี ยีนส (multiple genes หรือ polygenes)
มัลติเปล ยีน หรือ พอลี ยีนส หมายถึง กลุมของยีนหรือยีนหลาย ๆ คูที่กระจายอยูบนโครโมโซม
คูเดียวกัน หรือตางคูกันแตละยีน ตางทําหนาที่รวมกันในการควบคุมลักษณะพันธุกรรมหนึ่ง ๆ ของสิ่งมี
ชีวิต เชนพันธุกรรมสีผิวปกติของคน โดยสีผิวของคนควบคุมดวยยีนอยางนอย 3 คู โดยยีนแตละคูตาง
เปนอิสระตอกัน เพราะอยูในโครโมโซมตางคูกัน เชน ถาคนผิวขาวแตงงานกับคนผิวดํา ที่ตางเปนพันธแท
จะไดลูก F2 มีสีผิวตางกันหลายแบบ โดยบางคนผิวดํา บางคนผิวคอนขางดํา บางคนผิวขาว เปนตน
โดยในรุน F2 นั้นความเขมของสีผิว จะขึ้นอยูกับปริมาณการมีอัลลีลเดนของแตละยีนและขึ้นกับจํานวน
กลุมของยีนดวย




ยีนและโครโมโซม (Gene and Chromosome)
          ยีน (gene)
                   ยีน หมายถึง หนวยควบคุมลักษณะพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเปนแตละสวนของสาร
พันธุกรรม (nucleic acid) ชนิด DNA หรือ RNA โดยบรรจุอยูในโครโมโซม (chromosome) ตําแหนง
ของยีนในโครโมโซมเรียก โลกัส (locus) เนื่องจากสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไปจะมีโครโมโซมเหมือนกันเปนคูๆ
(homologous chromosome) ดังนั้นหนึ่งโลกัส จึงหมายถึง 2 ยีนที่อยูตรงกันบนโฮโมโลกัสโครโมโซม
ซึ่งยีนตางชนิดกันที่อยูบนโลกัสเดียวกัน เรียกวา เปนอัลลีล (allele) กัน
                   จํานวนยีนทั้งหมดในคนเราเชื่อกันวา มีประมาณสี่หมื่นยีน และทุก ๆ เซลลในรางกาย
จะมียีนเหมือนกันหมด (ยกเวน เซลลสืบพันธุ) แตยีนเหลานี้ไมไดทําหนาที่ทั้งหมดทุกยีนในแตละเซลล
เชื่อกันวามียีนสวนนอยเพียง 1-10% เทานั้นที่ทํางาน ยีนสวนใหญไมทําหนาที่หรือในเซลลตางชนิดกัน
จะมียีนตางชนิดกันทําหนาที่ เชน ยีนสรางฮอรโมนอินซูลิน จะทําหนาที่เฉพาะในบีตา เซลลของไอสเลต
ออฟ แลงเกอรฮานส ในตับออน แมวาเซลลอื่น ๆ จะมียีนสรางอินซูลนก็ตามแตจะไมทําหนาที่ ดังนั้น
                                                                       ิ
ยีนใด ๆ จะทําหนาที่ก็ตอเมื่อมีการกระตุนใหทําหนาที่ (induction) และจะไมทําหนาที่เมื่อมีการกดไมให
ทําหนาที่ (repression) สารที่ทําหนาที่กดการทํางานของยีน เรียก รีเปรสเซอร (repressor) ซึ่งชนิดสําคัญ
ที่สุดคือ โปรตีนฮีสโตน (histone)
โครโมโซม (chromosome)
                  โครโมโซมในเซลลรางกาย จะมีรูปราง ลักษณะที่เหมือนกันเปนคู ๆ แตละคูเรียกวา
โฮโมโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome) ซึ่งโครโมโซมที่เปนโฮโมโลกัสกันนี้ จะมีรูปราง
ลักษณะเหมือนกัน ความยาวเทากัน ตําแหนงเซนโทรเมียรตรงกัน ลําดับยีนในโครโมโซมเหมือนกัน
และมียีนที่เปนอัลลีนกัน




                       รูปที่ 5 แสดงยีนที่เปนอัลลีลกันในโฮโมโลกัสโครโมโซม




                รูปที่ 6 แสดงตําแหนงของเซนโทรเมียรบนโครโมโซมแบบตาง ๆ
                         A. เซนโทรเมียรอยูปลายสุดของโครโมโซม (somatic chromosome)
                         B. เซนโทรเมียรอยูเกือบปลายสุดของโครโมโซม (acrocentric chromosome)
                         C. เซนโทรเมียรอยูใกลกลางแทงโครโมโซม (submetacentric chromosome)
                         D. เซนโทรเมียรอยูกึ่งกลงแทงโครโมโซม (metacentric chromosome)
จําแนกตามบทบาทในการกําหนดเพศในสิ่งมีชีวิต
        โครโมโซมภายในเซลลรางกายของสิ่งมีชีวิตจําแนกตามการกําหนดลักษณะตาง ๆ ของสิ่งมีชวิต
                                                                                        ี
ดังตอไปนี้
        - โครโมโซมรางกาย (somatic chromosome) หรือ ออโตโซม (autosome) เปนโครโมโซม
ที่ควบคุมลักษณะตาง ๆ ของรางกายและจะมีเหมือนกันทั้งเพศชายและเพศหญิง
        - โครโมโซมเพศ (sex chromosome) หรือ อัลโลโซม (autosome) เปนโครโมโซมที่มีรูปราง
แตกตางกันไปในเพศชายและเพศหญิงโดยทั่วไปมักเกี่ยวของกับการกําหนดเพศ เชน ในคนเราถาเปน
ชายจะประกอบดวยโครโมโซม X และโครโมโซม Y ซึ่งมีรูปรางแตกตางกัน แตถาเปนเพศหญิงจะ
ประกอบดวยโครโมโซม X ทั้งสองเสน

ความสัมพันธระหวางยีนกับโครโมโซม
         ในสมัยของเมนเดล ความรูเกี่ยวกับโครโมโซมยังไมละเอียดพอ เมนเดลจึงไมไดบอกวา
เอลีเมนต (element) หรือยีน ซึ่งเปนตัวนําลักษณะตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิตอยูที่สวนใดของเซลล แตทวา
เมนเดลอธิบายแตเพียงวายีนตาง ของตนถั่ว จากฝายพออยูในละอองเรณู และจากฝายแมอยูในรังไข
เทานั้น
         นักเรียนทราบแลววา ภายในนิวเคลียสมีโครโมโซม ที่มีลักษณะเหมือนกันเปนคู ๆ ซึ่งแตละ
คูเหมือนของโครโมโซมนี้ทอนหนึ่งมาจากพอ อีกทอนหนึ่งมาจากแม เราเรียกโครโมโซมคูเหมือนนี้วา
โฮโมโลกัส โครโมโซม (homologous chromosome) เมื่อมีการแบงเซลลแบบไมโอซิส (meiosis)
โครโมโซมแตละคูนี้จะแยกออกจากกันไปในระยะแอนาเฟส – 1 เมื่อสิ้นสุดกระบวนการแบงเซลลจะได
เซลลสืบพันธุที่มีโครโมโซมอยูภายในเพียงครึ่งหนึ่งของจํานวนปกติ และโครโมโซมเหลานั้นจะไมมี
โครโมโซมที่เปนไฮโมโลกัสกันเลย
         การแยกคูของโครโมโซมดังกลาวคลายกับการแยกคูของยีนตามกฎแหงการแยก (Law of
segregation) ที่เมนเดลคนพบ ดังนั้น ทั้งยีนและโครโมโซมมีพฤติกรรมและแบบแผนของการแยก
คลายคลึงกัน ดังแผนภาพและตารางเปรียบเทียบการแยกคูของยีน และโฮโมโลกัสโครโมโซม จึงเปน
ไปไดวายีนอยูบนโครโมโซม
ในมนุษยเรามีโครโมโซม 23 คู แตละคูมียีนควบคุมลักษณะพันธุกรรมมากมายเรียงตอ ๆ กันไป
ดังนั้น จึงอาจแบงยีนที่ควบคุมลักษณะพันธุกรรมออกเปน 2 ประเภท คือ ลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุม
โดยยีนในออโตโซม และที่ถูกควบคุมโดยยีนในโครโมโซมเพศ
         1. ยีนในออโตโซม
             ออโตโซมหรือโครโมโซมรางกายในคนมีทั้งหมด 22 คู (คูที่ 1 ถึง 22) ในออโตโซมแตละคู
มียีนจํานวนมากมาย เชน
             1.1 ยีนที่ควบคุมหมูเลือด ABO (ABO blood group) เปนมัลติเปล อัลลีลส มีตาแหนง
                                                                                       ํ
อยูบนโครโมโซมคูที่ 9 โดยมียีนควบคุม 3 อัลลีล คือ อัลลีล IA, IB และ i โดย IA แสดงลักษณะเดน
รวมกัน (co-dominance) กับ IB สวน i เปนยีนดอย หมูเลือดของคน จึงมีจีโนไทปและฟโนไทปได
ดังตาราง
จีโนไทป                   ฟโนไทป (หมูเลือด
                            IAIA, IAi                          A
                            IBIB, IBi                          B
                            IAIB                              AB
                            ii                                 O

          1.2 ยีนที่ควบคุมหมูเลือด Rh (Rh blood group) อยูบนโครโมโซมคูที่ 1 โดยมียีน
ควบคุม 2 อัลลีล คือ D และ d จึงมีจโนไทปและฟโนไทป ดังตาราง
                                    ี

                            จีโนไทป                    ฟโนไทป (หมูเลือด
                            DD, Dd                         หมูเลือด Rh+
                            dd                             หมูเลือด Rh-

              1.3 ยีนทําใหเกิดโรคทาลัสซีเมีย (thalassemia) ยีนนี้เปนยีนผิดปกติ ที่มีผลทําใหการ
สรางพอลิเพปไทดในฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงผิดปกติ ซึ่งฮีโมโกลบินแตละโมเลกุลประกอบดวย
พอลิเพปไทด 4 สาย คือ สายอัลฟา (α-chain) 2 สาย และเบตา (β-chain) 2 สาย และฮีม (heme)
ซึ่งมีเหล็กเปนองคประกอบ ถาการสรางสายพอลิเพปไทดสายอัลฟาผิดปกติ จะเปนโรคอัลฟาทาลัสซีเมีย
ซึ่งยีนที่ทําใหเกิดโรคนี้เปนยีนดอยอยูบนโครโมโซมคูที่ 16 แตถาการสรางสายเบาตาผิดปกติก็จะเปน
โรคเบาตาทาลัสซีเมีย ซึ่งยีนที่ทําใหเกิดโรคนี้เปนยีนดอยอยูบนโครโมโซมคูที่ 11




                รูปที่ 8 แสดงโครงสรางของฮีโมโกลบิน ซึ่งประกอบดวยพอลิเพปไทด 4 สาย คือ
                         α-chain และ β-chain อยางละ 2 สาย (α-1 , α-2 , β1 β2)
2. ยีนในโครโมโซมเพศ
          2.1 ยีนที่อยูในโครโมโซม X (X-linked gene) เชน
               1. ตาบอดสี (color blindness) ตาบอดสี พบบอยที่สุดในคนโดยมียีนควบคุม 2 อัลลีล
คือ C กับ c ซึ่งมีจีโนไทปและฟโนไทป ดังนี้

                                      จีโนไทป                               ฟโนไทป
                           ชาย                       หญิง
                          XCY                        XCXC                     คาปกติ
                          XcY                        XCXC (พาหะ)             ตาบอดสี

                2. โรคโลหิตไหลไมหยุด (hemophilia) โรคนี้ควบคุมดวยยีนดอยโดยมียีนควบคุม 2
อัลลีล คือ H กับ h ซึ่งมีจีโนไทปและฟโนไทปดังนี้

                                      จีโนไทป                               ฟโนไทป
                           ชาย                       หญิง
                          XHY                        XHXH                      ปกติ
                                                     XHXh (พาหะ)
                          XhY                        XhXh               โรคโลหิตไหลไมหยุด

                3. ภาวะพรองเอนไซมกลูโคส-6-ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนส (glucose-6-phosphate
dehyrogenase deficiency) หรือ G-6-PD โรคนี้ควบคุมดวยยีนดอยโดยมียีนควบคุม 2 อัลลีล คือ G
และ g ซึ่งมีจีโนไทป และฟโนไทปดังนี้

                                    จีโนไทป                                ฟโนไทป
                          ชาย                     หญิง
                          XGY                     XGXG                        ปกติ
                                                  XGXg (พาหะ)
                          XgY                     XgXg             ภาวะพรองเอนไซม G-6-PD
2.2 ยีนที่อยูบนโครโมโซม Y (Y-linked gene) ยีนที่อยูในโครโมโซม Y จะ
ถายทอดจากพอไปยังลูกชายเทานั้น และจากลูกชายไปยังหลานชายเทานั้น ยีนที่ปรากฏอยูในโครโมโซม
Y มีอยูนอย เนื่องจากเปนโครโมโซมเล็กที่สุด ยีนที่อยูในโครโมโซม Y เชน ยีนควบคุมการมีขนยาว
ที่หู (hairy ear) พบบอยในคนอินเดียและพบเฉพาะในเพศชายและลูกชายทุกคนของชายที่เปนจะมีอาการ
ดวย

ความผิดปกติของโครโมโซมในมนุษย
        1. กลุมอาการที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมรางกาย (autosome) เชน
           1. กลุมอาการดาวน (Down’s syndrome)
               สาเหตุ เกิดจากโครโมโซมคูที่ 21 เกิดมา 1 เสน (trisomic-21) จึงมีโครโมโซม
ในรางกายเปน 2n = 47




         หญิงที่เปนกลุมอาการดาวน อาจสรางไขที่ปกติ (22 + X) หรือไขที่ผิดปกติ (23 + X)
อาการแสดง
                - คนที่เปนกลุมอาการดาวน จะมีลักษณะผิดปกติทั้งรางกายและสติปญญา สวนใหญ
มี IQ อยูระหวาง 20-50 มีนอยมากที่ปญญาเกือบเหมือนคนปกติ
                - ระยะแรกเกิดตัวออนปวกเปยก สมองเล็ก กะโหลกศีรษะเล็กกลม และทายทอยแบน
                - จมูกเล็กและแผน นัยนตาหาง หางตาชี้ขึ้นขางบน
                - ใบหูผิดรูป และเล็กผิดปกติ
                - ชองปากเล็ก ทําใหดูวาลิ้นโตคับปาก ลิ้นมักเปนรอง ๆ
                - กระดูกยาวชา ทําใหดูตัวสั้น นิ้วสั้น ลายฝามือผิดปกติ ลายมือขาด
                - หัวใจพิการแตกําเนิด รวมทั้งทางเดินอาหร มักจะเสียชีวิตแตเยาววัย
                - การเจริญเติบโตทางเพศดอยกวาปกติ แตในบางรายที่เปนหญิงอาจมีประจําเดือน
และถึงกับมีลูกได แตในชายยังไมเคยปรากฏวามีลูก
            2. กลุมอาการคริดูซาต (Cri-du-chat sydrome หรือ cat syndrome)
                สาเหตุ โครโมโซมคูที่ 5 เสนหนึ่งมีบางสวนของแขนขางสั้น (p) ขาดหายไป
โดยจํานวนโครโมโซมในเซลลรางกายยังคงเปน 2n = 46




                     รูปที่ 10 แสดงคารีโอไทปของคนปวยกลุมอาการคริดูซาต
อาการแสดง
             - แรกเกิดมีศีรษะเล็ก หนากลม ใบหูตํ่า คางเล็ก
             - นัยตตาหาง และหางตาชี้ขึ้นขางบน
             - ดั้งจมูกแบน
             - ปญญาออน
             - กลองเสียงผิดปกติ เสียงรองคลายเสียงแมว
             - หัวใจพิการมาแตกําเนิด
      2. กลุมอาการที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ (allosome) ตัวอยางเชน
         1. กลุมอาการไคลนเฟลเตอร (Klinefelter’s syndrome)
             สาเหตุ มีโครโมโซม X เกินกวาคนปกติ 1 โครโมโซม หรือ 2 โครโมโซม จึงมี
โครโมโซมเซลลรางกายเปน 44 + XXYY หรือ 44 + XXXY (2n = 47 และ 2n = 48 ตามลําดับ)




                รูปที่ 12 เด็กอายุ 15 ป เพศชายที่ปวยเปนกลุมอาการไคลนเฟลเตอร
                         เนื่องจากโครโมโซม X เกินมา 1 เสน (44 + XXY)

               อาการแสดง
               - ผูปวยที่เปนเพศชายจะมีรูปรางสูง และอวน ปญญาออน หนาอกโต อวัยวะเพศ
มีขนาดเล็ก เปนหมัน
2. กลุมอาการเทอรเนอร (Turner’s syndrome)
              สาเหตุ ผูปวยเปนเพศหญิง มีโครโมโซมในเซลลรางกาย 2n = 45 เนื่องจากโครโมโซม
เพศ X มีเพียงโครโมโซมเดียว (44 + X)




              รูปที่ 13 แสดงคารีโอไทปของกลุมอาการเทอรเนอร โดยมีโครโมโซม X เสนเดียว

             อาการแสดง
             - รูปรางเตี้ย กระดูกอกกวางแบน เตานมมีขนาดเล็ก หัวนมหาง
             - คอสั้น และเปนพังผืดกางเปนปก
             - มดลูกมีขนาดเล็ก รังไขเล็ก และไมมีไข การเจริญเติบโตของเพศนอย หรือไมมี
             - ไมมีประจําเดือน เปนหมัน
             - มักปญญาออน

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์zidane36
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลBios Logos
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมJiraporn
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศMaikeed Tawun
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมMoukung'z Cazino
 

Tendances (20)

บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดล
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรม
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศบฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
บฝ.การกำหนดเพศและยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซมชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
ชีววิทยา เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 

En vedette

dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซมWan Ngamwongwan
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมMaikeed Tawun
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมkrapong
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมMaikeed Tawun
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์Niraporn Pousiri
 

En vedette (20)

dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรม
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรม
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
 

Similaire à พันธูกรรม1

พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมJanistar'xi Popae
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมIzmHantha
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดลการศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดลsomkhuan
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์Melody Minhyok
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxKru Bio Hazad
 

Similaire à พันธูกรรม1 (20)

Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Test
TestTest
Test
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดลการศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล
 
Gene
GeneGene
Gene
 
1
11
1
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
Genetics posn
Genetics posnGenetics posn
Genetics posn
 
1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
ยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptx
 

Plus de โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม

ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม
 

Plus de โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม (20)

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.
 
เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53
 
เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
 
test
testtest
test
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐานเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
 

พันธูกรรม1

  • 1. พันธุศาสตร (ตอนที่ 1) ลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะทางพันธุกรรม หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถูกควบคุมโดยกรดนิวคลีอิกชนิด DNA หรือ RNA ที่สามารถถายทอดจากรุนหนึ่งไปยังรุนตอ ๆ ไป โดยอาศัยเซลลสืบพันธุหรือเซลลชนิดอื่น ๆ เปนสื่อกลางในการถายทอด ประเภทของลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะทางพันธุกรรมจําแนกเปน 2 ประเภท คือ 1. ลักษณะที่มีความแปรผันไมตอเนื่อง (discontinuous variation) เปนลักษณะ พันธุกรรมที่ - แยกความแตกตางกันไดอยางเดนชัด - มันถูกควบคุมดวยยีนนอยคู - มักเกี่ยวของกับทางดานคุณภาพ (qualitative trait) - ตัวอยางลักษณะที่มีความแปรผันไมตอเนื่อง เชน การหอลิ้น การถนัดใชมือขวา หรือมือซาย จํานวนชั้นของหนังตา คนผิวเผือกกับคนผิวปกติ การมีหรือไมมีลักยิ้ม การเวียนของขวัญ พันธุกรรมหมูเลือด การมีติ่งหูหรือไมมีติ่งหู เชิงผมที่หนาผาก เปนตน 2. ลักษณะที่มีความแปรผันตอเนื่อง (continuous variation) เปนลักษณะพันธุกรรมที่ - ไมสามารถแยกความแตกตางไดอยางเดนชัด - มักถูกควบคุมดวยยีนหลายคู (polygenes หรือ multiple genes) - มักเกี่ยวของกับทางดานปริมาณ (quantitative trait) - ตัวอยางลักษณะที่มีความแปรผันตอเนื่อง เชน สีผิวปกติของคน นํ้าหนัก ความสูง ผลผลิต ระดับสติปญญา เปนตน คําศัพทที่ควรทราบในการศึกษาพันธุศาสตร 1. เซลลสืบพันธุ เซลลสืบพันธุ (gamete หรือ sex cell) หมายถึง ไข (egg) หรือ สเปรม (sperm) เปน โครงสรางที่บรรจุสารพันธุกรรมที่จะถายทอดไปยังรุนลูกเมื่อมีการปฏิสนธิเกิดขึ้น ในเซลลสืบพันธุจะไมมี ยีนที่เปนอัลลีล (allele) กัน 2. ลักษณะเดน ลักษณะเดน (dominance) หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุนลูกหรือรุนตอ ๆ ไปเสมอ เชน การถนัดมือขวา หนังตา 2 ชั้น
  • 2. 3. ลักษณะดอย ลักษณะดอย (recessive) หมายถึง ลักษณะที่ไมมีโอกาสปรากฏในรุนตอไปเปนยีนที่แฝงอยู จะถูกขมโดยยีนเดน 4. ยีน ยีน (gene) หมายถึง หนวยควบคุมลักษณะพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตซึ่งเปนสารเคมีจําพวก กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) โดยเฉพาะชนิด DNA จะพบมากที่สุด หรือชนิด RNA ในไวรัสบางชนิด และไวรอยด 5. โฮโมไซกัส ยีน โฮโมไซกัส ยีน (homozygous gene) หมายถึง ยีนที่เหมือนกันอยูดวยกัน เชน TT, tt, AA, bb, IAIA, ii 6. เฮเทอโรไซกัส ยีน เฮเทอโรไซกัส ยีน (heterozyous gene) หมายถึง ยีนที่ตางกันอยูดวยกัน เชน Tt, Aa, Bb, IAIB, IAi 7. จีโนไทป จีโนไทป (genotype) หมายถึง ลักษณะหรือแบบของยีนที่ควบคุมลักษณะ จําแนกเปน 3 ประเภท คือ 7.1 homozygous genotype หมายถึง จีโนไทปที่มียืนเหมือนกันมักเรียกพันธุแท ซึ่งมี 2 ประเภท คือ - homozygous daminance เปนจีโนไทปที่ประกอบดวยยีนเดน เชน TT, SS, IAIA, IBIB มักเรียกวาพันธุแทของลักษณะเดน - homozygous recessive เปนจีโนไทปที่ประกอบดวยยีนดอย เชน tt, ss, ii มักเรียกวา พันธุแทของลักษณะดอย 7.2 heterozygous genotype เปนจีโนไทปที่ประกอบดวยยีนตางกัน มักเรียกวา พันทาง เชน It, IAi, IAIB 7.3 hemizygous genotype เปนจีโนไทปที่ประกอบดวยยีนเพียงยีนเดียวในการควบคุม พันธุกรรมหนึ่ง เชน XCY 8. ฟโนไทป ฟโนไทป (phenotype) หมายถึง ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏออกมาเนื่องจากการแสดงออก ของยีนและอิทธิพลของสิ่งแวดลอม ฟโนไทป = จีโนไทป + สิ่งแวดลอม
  • 3. 9. โฮโมโลกัส โครโมโซม โฮโมโลกัส โครโมโซม (Homologous chromosome) หมายถึง โครโมโซมที่เปนคูกนั มีขนาดและรูปรางภายนอกเหมือนกัน (แตยีนภายในอาจแตกตางกัน) โดยทอนหนึ่งมาจากพออีกทอน หนึ่งมาจากแม กฎพันธุกรรมของเมนเดล เมนเดลไดทดลองผสมถั่วลันเตาที่มีลักษณะตาง ๆ กัน 7 ลักษณะ ซึ่งกระจายอยูบนโครโมโซม ตางทอนกัน ดังภาพที่ 2 โดยไดทําการทดลองนานถึง 7 ป จึงพบกฎเกณฑการถายทอดลักษณะตาง ๆ และไดรับการยกยองเปนบิดาแหงวิชาพันธุศาสตร (father of Genetics) ลักษณะที่นํามาศึกษา รูปที่ 2 แสดงลักษณะทั้ง 7 ของถั่วที่เมนเดลไดศึกษา
  • 4. ความสําเร็จของเมนเดล ความสําเร็จของเมนเดลเนื่องจาก 1. ลักษณะที่เมนเดลศึกษาถูกควบคุมดวยยีนเพียงคูเดียวเทานั้นและสามารถแยก ลักษณะตาง ๆ ไดอยางชัดเจน เชน ตนสูง ตนเตี้ย เมล็ดเรียบ เมล็ดขรุขระ เปนตน 2. ตนถั่วลันเตาเปนถั่วที่หางาย ปลูกงาย อายุสั้น และใหเมล็ดไดจํานวนมาก นอกจาก นี้สามารถควบคุมการผสมพันธุได 3. เมนเดลใชรุนพอแม (parent breeding) ที่เปนพันธุแทมาผสมกัน ทําใหไดลักษณะ ตาง ๆ ที่ออกมาเปนแผนเดียวกัน กฎการถายทอดลักษณะพันธุกรรมของเมนเดล ที่สําคัญ คือ กฎขอที่ 1 กฎแหงการแยก (Law of Segregation) กฎแหงการแยก มีสาระสําคัญดังนี้คือ : ยีนที่อยูคูกันจะแยกตัวออกจากกันไปอยูใน แตละเซลลสืบพันธุ กอนที่จะมารวมตัวกันใหมเมื่อมีการปฏิสนธิ กฎขอนี้เมนเดลไดจากการผสมโดย พิจารณายีนคูเดียวที่มลกษณะตรงขามกันเดนชัด (ลักษณะเดนกับลักษณะดอย) ดังแผนภาพรูปที่ 3 ีั รูปที่ 3 สัดสวนของเซลลสืบพันธุท่ไดตามกฎแหงการแยก ี
  • 5. ตัวอยางที่ 1 ถานําถั่วลันเตารุนพอแม (P) ลักษณะเมล็ดกลมกับเมล็ดขรุขระที่ตางเปนพันธุแทมา  ผสมกันจะไดรุนลูก (F1) มีจีโนไทปและฟโนไทปชนิดเดียวกันทั้งหมด และปลอยให รุน F1 ผสมกันเองไดรุนหลาน (F2) จะไดจีโนไทปแตกตางกัน เปน 3 ชนิดในสัดสวน 1 : 2 : 1 และไดฟโนไทปแตกตางกันเปน 2 ชนิดในสัดสวน 3 : 1 ซึ่งพิจารณาไดตาม แผนภาพดังนี้ สรุป 1. ในรุน F1 มีจีโนไทปเปน Rr ทั้งหมด และมีฟโนไทปเปนเมล็ดกลมทั้งหมด แสดงวาอัลลีล R แสดงลักษณะเดนหรือลักษณะขม อัลลีล r อยางสมบูรณ 2. ในรุน F2 มีจีโนไทป 3 ชนิด คือ RR : Rr : rr ในสัดสวน 1 : 2 : 1 แตมีฟโนไทป 2 ชนิด คือ เมล็ดกลม : เมล็ดขรุขระ ในสัดสวน 3 : 1 กฎขอที่ 2 กฎแหงการรวมกลุมอยางอิสระ (Law of independent assortment) กฎขอนี้มีสาระสําคัญดังนี้ : ยีนที่เปนคูกันเมื่อแยกออกจากกันแลว แตละยีนจะไปกับยีนอื่นใด ก็ไดอยางอิสระนั่นคือ เซลลสืบพันธุจะมีการรวมกลุมของหนวยพันธุกรรมของลักษณะตาง ๆ โดยการ รวมกลุมที่เปนไปอยางอิสระ จึงทําใหสามารถทํานายผลที่เกิดขึ้นในรุนลูกรุนหลานได กฎขอนี้เมนเดล ไดจากการศึกษาการถายทอดลักษณะโดยพิจารณาจากยีน 2 คู (dihybrid cross)
  • 6. ดังนั้นเราสามารถใชสูตรหาชนิดเซลลสืบพันธุคือ 2n (n = จํานวนคูของ heterozygous gene) ขอความทราบ 1. ยีนที่อยูในเซลลสืบพันธุเดียวกันจะตองไมมียีนที่เปนคูอัลลีลกัน 2. โครโมโซมที่อยูในเซลลสืบพันธุเดียวกัน จะตองไมมีโครโมโซมที่เปนคูกัน หรือเปน โฮโมโลกัสกัน เนื่องจากเซลลสืบพันธุมักเกิดจากการแบงเซลลแบบไมโอซิส สัดสวนของจีโนไทปและฟโนไทปของการผสมโดยพิจารณายีน 2 คู (dihybrid coss) โดยปกติถาผสมระหวางพอแมท่มีลักษณะตรงขามกันอยูสองลักษณะ และแสดงลักษณะเดน ี อยางสมบูรณ F2 จะไดสัดสวนของฟโนไทปเปน 9 : 3 : 3 : 1 ทั้งนี้เนื่องจากการแยกกันของยีนแตละคู ไปสูเซลลสืบพันธุเปนอิสระจากคูอื่น ๆ ตามกฎแหงการรวมกลุมอยางอิสระของเมนเดล ตัวอยางเชน ถาสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีจีโนไทปเปน BbSs เมื่อสรางเซลลสืบพันธุ ยีน B กับ b ซึ่งเปนอัลลีนกันจะ แยกออกจากกันไปอยูตางเซลลสืบพันธุกันและในทํานองเดียวกัน ยีน S กับ s ซึ่งเปนอัลลีลกัน ก็จะ แยกออกจากกันไปอยูตางเซลลสืบพันธุกัน และในเซลลสืบพันธุหนึ่ง ๆ ยีน B จะไปอยูกับยีน S หรือ  s ก็ได และในทํานองเดียวกับยีน b จะไปอยูกับยีน S หรือ s ก็ได ดังนั้นจึงทําใหโอกาสที่จะเกิด เซลลสืบพันธุไดเปน 4 ชนิด คือ BS : Bs : bS : bs = 1 : 1 : 1 : 1 ดังภาพ
  • 7. ตัวอยางที่ 3 ถาผสมถั่วเมล็ดเรียบสีเหลืองที่เปน Homozygous dominance กับถั่วเมล็ดขรุขระสีเขียว ที่เปน Homozygous recessive จะไดลูก F1 ถานํา F1 ผสมกันเอง จงหา F2 genotype และ F2 phenotype วิธีทํา 1. สรางตาราง Punnet square 2. ใชหลักความนาจะเปน (Probability) โดยผสมทีละลักษณะ 1. ตารางพันเนต (Punnet Square) ของ F2 จากตาราง จีโนไทปมี 9 ชนิด (16 Combinations) คือ 1/16 SSYY 2/6 Ss 2/16 SSYy 1/6 ssYY 1/16 SSyy 2/16 ssYy 2/16 SsYY 1/6 ssyy 4/16 SsYy
  • 8. สูตร หาชนิดจีโนไทป = 3n (n = จํานวนคูของ heterozygous gene) เชน จากกรณีตัวอยาง ผสม YySs เขาดวยกัน จะเห็นวา n = 2 คือจํานวนคูของ heterozygous gene มี 2 คู ดังนั้นชนิด จีโนไทปจงมี 9 ชนิด (32 = 9) ึ จากตารางพันเนตมีฟโนไทป 4 ชนิด คือ 9/16 เมล็ดเรียบสีเหลือง (S-Y-) 3/16 เมล็ดขรุขระสีเหลือง (ssY-) 3/16 เมล็ดเรียบสีเหลือง (S-yy) 1/16 เมล็ดขรุขระสีเขียว (ssyy) สูตร หาชนิดของฟโนไทปคือ 2n (n = จํานวนคูของ heterozygous gene) จากกรณีตัวอยางมี heterozygous gene 2 คู คือ Ss และ Yy ดังนั้นจํานวนชนิดฟโนไทปเทากัน 2n = 4 ชนิด 2. ใชหลักความนาจะเปน (Probability) ใหผสมทีละลักษณะ (Monohybrid cross) และนําคาความนาจะเปนของแตละลักษณะมาคูณกัน เชน 1. จงหาโอกาสที่จะไดจีโนไทปเปน heterozygous ของทั้ง 2 ลักษณะจะไดคําตอบเปน 2/4 Ss x 2/4 Yy = 4/16 Ss Yy 2. จงหาโอกาสที่จะไดจีโนไทปเปน homozygous recessive ของทั้ง 2 ลักษณะจะได คําตอบเปน 1/4 ss x 1/4 yy = 1/16 ssyy 3. จงหาโอกาสที่จะไดฟโนไทปเปนเมล็ดเรียบสีเขียวจะไดคาตอบเปน ํ 3/4 S - x 1/4 yy = 3/16 S-yy 4. จงหาโอกาสที่จะไดฟโนไทปเปนเมล็ดเรียบสีเหลืองจะไดคําตอบเปน 3/4 S - x 3/4 Y = 9/16 S-Y-
  • 9. ฟโนไทปที่ตางไปจากพอแม (reombinant type) แบคครอส (Back Cross) แบคครอส (Back Cross) เปนการผสมระหวางลูกผสม (hybrid) กับรุนพอหรือแม (Parental genotype) อันใดอันหนึ่งที่เปนลักษณะดอย (homozygous recessive) โดยสวนมากการผสม Back cross นี้มักเปนการผสมระหวาง F1 (heterozygote) กับพอหรือแม ที่เปนลักษณะดอยพันธุแท (homozygous recessive) เปนสวนใหญ
  • 10. เทสตครอส (Test Cross) เทสตครอส (Test Cross) เปนการผสมระหวาง 1. ลูกชวงใด ๆ ก็ได กับรุนพอแมที่เปนลักษณะดอย (recessive parental type) ซึ่งกรณีนี้ บางครั้งอาจถือเปน Back Cross แบบหนึ่งก็ได 2. สิ่งมีชีวิตที่ไมทราบจีโนไทป (Unknown genotype) กับตัวทดสอบที่เปนลักษณะดอย (recessive tester) โดยทั่วไปการผสมแบบนี้ เปนการตรวจสอบของจีโนไทปวามีจีโนไทป เปนพันธุแท (homozygous genotype) หรือพันพันทาง (heterozygous genotype) เชน ระดับการแสดงลักษณะเดน การถายทอดลักษณะเดนอยางสมบูรณ การถายทอดลักษณะเดนอยางสมบูรณ (Complete dominance) หมายถึง การแสดง ลักษณะเดนหรือการขมของอัลลีลเดน ตออัลลีลดอยเปนไปอยางสมบูรณ ทําใหจีโนไทปที่เปนโฮโมไซกัส ของลักษณะเดน (homozygous dominant genotype) และเฮเทอโรไซกัสมีฟโนไทปเหมือนกัน เชน RR = Rr (เมล็ดเรียบ) ดังตัวอยางการทดลองของเมนเดล การถายทอดลักษณะเดนแบบไมสมบูรณ การถายทอดลักษณะเดนแบบไมสมบูรณ (Incomplete dominance หรือ Partial dominance) หมายถึง การที่อัลลีลหนึ่งแสดงการขมอัลลีลของมันไดแตเปนไปอยางไมสมบูรณทําใหจีโนไทปที่เปน เฮเทอโรไซกัสมีลักษณะของฟโนไทปคอนไปทางโฮโมไซกัสของลักษณะเดน กรณีนี้จะไดสัดสวนของ จีโนไทปและฟโนไทปเทากัน ตัวอยางเชน พันธุกรรมของสีดอกลิ้นมังกร และดอกบานเย็น หรือใน สัตว เชน สีขนของวัวชนิดหนึ่ง
  • 11. ขอสรุปจากตาราง 1. จีโนไทปในรุน F1 เปนเฮเทอโรไซกัส (RW) และมีฟโนไทปมีสีชมพูทั้งหมด 2. จีโนไทปในรุน F2 มี 3 ชนิด คือ RR, RW, WW เปนสัดสวน 1 : 2 : 1 3. ฟโนไทปในรุน F2 มี 3 ชนิด คือ ดอกสีแดง, ดอกสีชมพู, ดอกสีขาว เปนสัดสวน 1 : 2 : 1 การถายทอดลักษณะเดนรวมกัน (Codominance) การถายทอดลักษณะเดนรวมกัน หมายถึง การที่ยืนแตละอัลลีลจะแสดงออกรวมกันใน ลูกผสม เนื่องจากตางเปนลักษณะเดนทั้งคูขมกันไมลง เชน พันธุกรรมหมูเลือดระบบ ABO พบวา อัลลีล IA เปน Codominace กับอัลลีล IB ดังนั้น ผูที่มีจีโนไทป IAIB จะมีเลือดหมู AB มัลติเปล อัลลีล (multiple alleles) มัลติเปล อัลลีลส หมายถึง พันธุกรรมลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่ถูกควบคุมดวยยีนมากกวา 2 อัลลีลส (alleles) ที่ตําแหนง (locus) หนึ่งของโครโมโซมที่เปนคูกัน (homologous chromosome) เชน พันธุกรรมหมูเลือดระบบ ABO มียีนควบคุม 3 อัลลีลส คือ
  • 12. IA เปนยีนสรางแอนติเจน A IB เปนยีนสรางแอนติเจน B i เปนยีนดอยตอทั้ง IA และ IB ไมสรางแอนติเจน โดย IA กับ IB เปน Co-dominance จากอัลลีลทั้ง 3 ชนิด ทําใหเกิดจีโนไทปได 6 ชนิดและฟโนไทป 4 ชนิด ดังตาราง จากตารางนักเรียนจะเห็นไดวาแมวาจะมียีนควบคุมที่ตําแหนงหนึ่งมากกวา 2 อัลลีลส แตในบุคคลหนึ่ง ๆ (2n) จะมียีนควบคุมลักษณะนั้นไดไมเกิน 2 อัลลีลส มัลติเปล ยีนส หรือ พอลี ยีนส (multiple genes หรือ polygenes)
  • 13. มัลติเปล ยีน หรือ พอลี ยีนส หมายถึง กลุมของยีนหรือยีนหลาย ๆ คูที่กระจายอยูบนโครโมโซม คูเดียวกัน หรือตางคูกันแตละยีน ตางทําหนาที่รวมกันในการควบคุมลักษณะพันธุกรรมหนึ่ง ๆ ของสิ่งมี ชีวิต เชนพันธุกรรมสีผิวปกติของคน โดยสีผิวของคนควบคุมดวยยีนอยางนอย 3 คู โดยยีนแตละคูตาง เปนอิสระตอกัน เพราะอยูในโครโมโซมตางคูกัน เชน ถาคนผิวขาวแตงงานกับคนผิวดํา ที่ตางเปนพันธแท จะไดลูก F2 มีสีผิวตางกันหลายแบบ โดยบางคนผิวดํา บางคนผิวคอนขางดํา บางคนผิวขาว เปนตน โดยในรุน F2 นั้นความเขมของสีผิว จะขึ้นอยูกับปริมาณการมีอัลลีลเดนของแตละยีนและขึ้นกับจํานวน กลุมของยีนดวย ยีนและโครโมโซม (Gene and Chromosome) ยีน (gene) ยีน หมายถึง หนวยควบคุมลักษณะพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเปนแตละสวนของสาร พันธุกรรม (nucleic acid) ชนิด DNA หรือ RNA โดยบรรจุอยูในโครโมโซม (chromosome) ตําแหนง ของยีนในโครโมโซมเรียก โลกัส (locus) เนื่องจากสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไปจะมีโครโมโซมเหมือนกันเปนคูๆ (homologous chromosome) ดังนั้นหนึ่งโลกัส จึงหมายถึง 2 ยีนที่อยูตรงกันบนโฮโมโลกัสโครโมโซม ซึ่งยีนตางชนิดกันที่อยูบนโลกัสเดียวกัน เรียกวา เปนอัลลีล (allele) กัน จํานวนยีนทั้งหมดในคนเราเชื่อกันวา มีประมาณสี่หมื่นยีน และทุก ๆ เซลลในรางกาย จะมียีนเหมือนกันหมด (ยกเวน เซลลสืบพันธุ) แตยีนเหลานี้ไมไดทําหนาที่ทั้งหมดทุกยีนในแตละเซลล เชื่อกันวามียีนสวนนอยเพียง 1-10% เทานั้นที่ทํางาน ยีนสวนใหญไมทําหนาที่หรือในเซลลตางชนิดกัน จะมียีนตางชนิดกันทําหนาที่ เชน ยีนสรางฮอรโมนอินซูลิน จะทําหนาที่เฉพาะในบีตา เซลลของไอสเลต ออฟ แลงเกอรฮานส ในตับออน แมวาเซลลอื่น ๆ จะมียีนสรางอินซูลนก็ตามแตจะไมทําหนาที่ ดังนั้น ิ ยีนใด ๆ จะทําหนาที่ก็ตอเมื่อมีการกระตุนใหทําหนาที่ (induction) และจะไมทําหนาที่เมื่อมีการกดไมให ทําหนาที่ (repression) สารที่ทําหนาที่กดการทํางานของยีน เรียก รีเปรสเซอร (repressor) ซึ่งชนิดสําคัญ ที่สุดคือ โปรตีนฮีสโตน (histone)
  • 14. โครโมโซม (chromosome) โครโมโซมในเซลลรางกาย จะมีรูปราง ลักษณะที่เหมือนกันเปนคู ๆ แตละคูเรียกวา โฮโมโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome) ซึ่งโครโมโซมที่เปนโฮโมโลกัสกันนี้ จะมีรูปราง ลักษณะเหมือนกัน ความยาวเทากัน ตําแหนงเซนโทรเมียรตรงกัน ลําดับยีนในโครโมโซมเหมือนกัน และมียีนที่เปนอัลลีนกัน รูปที่ 5 แสดงยีนที่เปนอัลลีลกันในโฮโมโลกัสโครโมโซม รูปที่ 6 แสดงตําแหนงของเซนโทรเมียรบนโครโมโซมแบบตาง ๆ A. เซนโทรเมียรอยูปลายสุดของโครโมโซม (somatic chromosome) B. เซนโทรเมียรอยูเกือบปลายสุดของโครโมโซม (acrocentric chromosome) C. เซนโทรเมียรอยูใกลกลางแทงโครโมโซม (submetacentric chromosome) D. เซนโทรเมียรอยูกึ่งกลงแทงโครโมโซม (metacentric chromosome)
  • 15. จําแนกตามบทบาทในการกําหนดเพศในสิ่งมีชีวิต โครโมโซมภายในเซลลรางกายของสิ่งมีชีวิตจําแนกตามการกําหนดลักษณะตาง ๆ ของสิ่งมีชวิต ี ดังตอไปนี้ - โครโมโซมรางกาย (somatic chromosome) หรือ ออโตโซม (autosome) เปนโครโมโซม ที่ควบคุมลักษณะตาง ๆ ของรางกายและจะมีเหมือนกันทั้งเพศชายและเพศหญิง - โครโมโซมเพศ (sex chromosome) หรือ อัลโลโซม (autosome) เปนโครโมโซมที่มีรูปราง แตกตางกันไปในเพศชายและเพศหญิงโดยทั่วไปมักเกี่ยวของกับการกําหนดเพศ เชน ในคนเราถาเปน ชายจะประกอบดวยโครโมโซม X และโครโมโซม Y ซึ่งมีรูปรางแตกตางกัน แตถาเปนเพศหญิงจะ ประกอบดวยโครโมโซม X ทั้งสองเสน ความสัมพันธระหวางยีนกับโครโมโซม ในสมัยของเมนเดล ความรูเกี่ยวกับโครโมโซมยังไมละเอียดพอ เมนเดลจึงไมไดบอกวา เอลีเมนต (element) หรือยีน ซึ่งเปนตัวนําลักษณะตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิตอยูที่สวนใดของเซลล แตทวา เมนเดลอธิบายแตเพียงวายีนตาง ของตนถั่ว จากฝายพออยูในละอองเรณู และจากฝายแมอยูในรังไข เทานั้น นักเรียนทราบแลววา ภายในนิวเคลียสมีโครโมโซม ที่มีลักษณะเหมือนกันเปนคู ๆ ซึ่งแตละ คูเหมือนของโครโมโซมนี้ทอนหนึ่งมาจากพอ อีกทอนหนึ่งมาจากแม เราเรียกโครโมโซมคูเหมือนนี้วา โฮโมโลกัส โครโมโซม (homologous chromosome) เมื่อมีการแบงเซลลแบบไมโอซิส (meiosis) โครโมโซมแตละคูนี้จะแยกออกจากกันไปในระยะแอนาเฟส – 1 เมื่อสิ้นสุดกระบวนการแบงเซลลจะได เซลลสืบพันธุที่มีโครโมโซมอยูภายในเพียงครึ่งหนึ่งของจํานวนปกติ และโครโมโซมเหลานั้นจะไมมี โครโมโซมที่เปนไฮโมโลกัสกันเลย การแยกคูของโครโมโซมดังกลาวคลายกับการแยกคูของยีนตามกฎแหงการแยก (Law of segregation) ที่เมนเดลคนพบ ดังนั้น ทั้งยีนและโครโมโซมมีพฤติกรรมและแบบแผนของการแยก คลายคลึงกัน ดังแผนภาพและตารางเปรียบเทียบการแยกคูของยีน และโฮโมโลกัสโครโมโซม จึงเปน ไปไดวายีนอยูบนโครโมโซม
  • 16. ในมนุษยเรามีโครโมโซม 23 คู แตละคูมียีนควบคุมลักษณะพันธุกรรมมากมายเรียงตอ ๆ กันไป ดังนั้น จึงอาจแบงยีนที่ควบคุมลักษณะพันธุกรรมออกเปน 2 ประเภท คือ ลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุม โดยยีนในออโตโซม และที่ถูกควบคุมโดยยีนในโครโมโซมเพศ 1. ยีนในออโตโซม ออโตโซมหรือโครโมโซมรางกายในคนมีทั้งหมด 22 คู (คูที่ 1 ถึง 22) ในออโตโซมแตละคู มียีนจํานวนมากมาย เชน 1.1 ยีนที่ควบคุมหมูเลือด ABO (ABO blood group) เปนมัลติเปล อัลลีลส มีตาแหนง ํ อยูบนโครโมโซมคูที่ 9 โดยมียีนควบคุม 3 อัลลีล คือ อัลลีล IA, IB และ i โดย IA แสดงลักษณะเดน รวมกัน (co-dominance) กับ IB สวน i เปนยีนดอย หมูเลือดของคน จึงมีจีโนไทปและฟโนไทปได ดังตาราง
  • 17. จีโนไทป ฟโนไทป (หมูเลือด IAIA, IAi A IBIB, IBi B IAIB AB ii O 1.2 ยีนที่ควบคุมหมูเลือด Rh (Rh blood group) อยูบนโครโมโซมคูที่ 1 โดยมียีน ควบคุม 2 อัลลีล คือ D และ d จึงมีจโนไทปและฟโนไทป ดังตาราง ี จีโนไทป ฟโนไทป (หมูเลือด DD, Dd หมูเลือด Rh+ dd หมูเลือด Rh- 1.3 ยีนทําใหเกิดโรคทาลัสซีเมีย (thalassemia) ยีนนี้เปนยีนผิดปกติ ที่มีผลทําใหการ สรางพอลิเพปไทดในฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงผิดปกติ ซึ่งฮีโมโกลบินแตละโมเลกุลประกอบดวย พอลิเพปไทด 4 สาย คือ สายอัลฟา (α-chain) 2 สาย และเบตา (β-chain) 2 สาย และฮีม (heme) ซึ่งมีเหล็กเปนองคประกอบ ถาการสรางสายพอลิเพปไทดสายอัลฟาผิดปกติ จะเปนโรคอัลฟาทาลัสซีเมีย ซึ่งยีนที่ทําใหเกิดโรคนี้เปนยีนดอยอยูบนโครโมโซมคูที่ 16 แตถาการสรางสายเบาตาผิดปกติก็จะเปน โรคเบาตาทาลัสซีเมีย ซึ่งยีนที่ทําใหเกิดโรคนี้เปนยีนดอยอยูบนโครโมโซมคูที่ 11 รูปที่ 8 แสดงโครงสรางของฮีโมโกลบิน ซึ่งประกอบดวยพอลิเพปไทด 4 สาย คือ α-chain และ β-chain อยางละ 2 สาย (α-1 , α-2 , β1 β2)
  • 18. 2. ยีนในโครโมโซมเพศ 2.1 ยีนที่อยูในโครโมโซม X (X-linked gene) เชน 1. ตาบอดสี (color blindness) ตาบอดสี พบบอยที่สุดในคนโดยมียีนควบคุม 2 อัลลีล คือ C กับ c ซึ่งมีจีโนไทปและฟโนไทป ดังนี้ จีโนไทป ฟโนไทป ชาย หญิง XCY XCXC คาปกติ XcY XCXC (พาหะ) ตาบอดสี 2. โรคโลหิตไหลไมหยุด (hemophilia) โรคนี้ควบคุมดวยยีนดอยโดยมียีนควบคุม 2 อัลลีล คือ H กับ h ซึ่งมีจีโนไทปและฟโนไทปดังนี้ จีโนไทป ฟโนไทป ชาย หญิง XHY XHXH ปกติ XHXh (พาหะ) XhY XhXh โรคโลหิตไหลไมหยุด 3. ภาวะพรองเอนไซมกลูโคส-6-ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนส (glucose-6-phosphate dehyrogenase deficiency) หรือ G-6-PD โรคนี้ควบคุมดวยยีนดอยโดยมียีนควบคุม 2 อัลลีล คือ G และ g ซึ่งมีจีโนไทป และฟโนไทปดังนี้ จีโนไทป ฟโนไทป ชาย หญิง XGY XGXG ปกติ XGXg (พาหะ) XgY XgXg ภาวะพรองเอนไซม G-6-PD
  • 19. 2.2 ยีนที่อยูบนโครโมโซม Y (Y-linked gene) ยีนที่อยูในโครโมโซม Y จะ ถายทอดจากพอไปยังลูกชายเทานั้น และจากลูกชายไปยังหลานชายเทานั้น ยีนที่ปรากฏอยูในโครโมโซม Y มีอยูนอย เนื่องจากเปนโครโมโซมเล็กที่สุด ยีนที่อยูในโครโมโซม Y เชน ยีนควบคุมการมีขนยาว ที่หู (hairy ear) พบบอยในคนอินเดียและพบเฉพาะในเพศชายและลูกชายทุกคนของชายที่เปนจะมีอาการ ดวย ความผิดปกติของโครโมโซมในมนุษย 1. กลุมอาการที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมรางกาย (autosome) เชน 1. กลุมอาการดาวน (Down’s syndrome) สาเหตุ เกิดจากโครโมโซมคูที่ 21 เกิดมา 1 เสน (trisomic-21) จึงมีโครโมโซม ในรางกายเปน 2n = 47 หญิงที่เปนกลุมอาการดาวน อาจสรางไขที่ปกติ (22 + X) หรือไขที่ผิดปกติ (23 + X)
  • 20. อาการแสดง - คนที่เปนกลุมอาการดาวน จะมีลักษณะผิดปกติทั้งรางกายและสติปญญา สวนใหญ มี IQ อยูระหวาง 20-50 มีนอยมากที่ปญญาเกือบเหมือนคนปกติ - ระยะแรกเกิดตัวออนปวกเปยก สมองเล็ก กะโหลกศีรษะเล็กกลม และทายทอยแบน - จมูกเล็กและแผน นัยนตาหาง หางตาชี้ขึ้นขางบน - ใบหูผิดรูป และเล็กผิดปกติ - ชองปากเล็ก ทําใหดูวาลิ้นโตคับปาก ลิ้นมักเปนรอง ๆ - กระดูกยาวชา ทําใหดูตัวสั้น นิ้วสั้น ลายฝามือผิดปกติ ลายมือขาด - หัวใจพิการแตกําเนิด รวมทั้งทางเดินอาหร มักจะเสียชีวิตแตเยาววัย - การเจริญเติบโตทางเพศดอยกวาปกติ แตในบางรายที่เปนหญิงอาจมีประจําเดือน และถึงกับมีลูกได แตในชายยังไมเคยปรากฏวามีลูก 2. กลุมอาการคริดูซาต (Cri-du-chat sydrome หรือ cat syndrome) สาเหตุ โครโมโซมคูที่ 5 เสนหนึ่งมีบางสวนของแขนขางสั้น (p) ขาดหายไป โดยจํานวนโครโมโซมในเซลลรางกายยังคงเปน 2n = 46 รูปที่ 10 แสดงคารีโอไทปของคนปวยกลุมอาการคริดูซาต
  • 21. อาการแสดง - แรกเกิดมีศีรษะเล็ก หนากลม ใบหูตํ่า คางเล็ก - นัยตตาหาง และหางตาชี้ขึ้นขางบน - ดั้งจมูกแบน - ปญญาออน - กลองเสียงผิดปกติ เสียงรองคลายเสียงแมว - หัวใจพิการมาแตกําเนิด 2. กลุมอาการที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ (allosome) ตัวอยางเชน 1. กลุมอาการไคลนเฟลเตอร (Klinefelter’s syndrome) สาเหตุ มีโครโมโซม X เกินกวาคนปกติ 1 โครโมโซม หรือ 2 โครโมโซม จึงมี โครโมโซมเซลลรางกายเปน 44 + XXYY หรือ 44 + XXXY (2n = 47 และ 2n = 48 ตามลําดับ) รูปที่ 12 เด็กอายุ 15 ป เพศชายที่ปวยเปนกลุมอาการไคลนเฟลเตอร เนื่องจากโครโมโซม X เกินมา 1 เสน (44 + XXY) อาการแสดง - ผูปวยที่เปนเพศชายจะมีรูปรางสูง และอวน ปญญาออน หนาอกโต อวัยวะเพศ มีขนาดเล็ก เปนหมัน
  • 22. 2. กลุมอาการเทอรเนอร (Turner’s syndrome) สาเหตุ ผูปวยเปนเพศหญิง มีโครโมโซมในเซลลรางกาย 2n = 45 เนื่องจากโครโมโซม เพศ X มีเพียงโครโมโซมเดียว (44 + X) รูปที่ 13 แสดงคารีโอไทปของกลุมอาการเทอรเนอร โดยมีโครโมโซม X เสนเดียว อาการแสดง - รูปรางเตี้ย กระดูกอกกวางแบน เตานมมีขนาดเล็ก หัวนมหาง - คอสั้น และเปนพังผืดกางเปนปก - มดลูกมีขนาดเล็ก รังไขเล็ก และไมมีไข การเจริญเติบโตของเพศนอย หรือไมมี - ไมมีประจําเดือน เปนหมัน - มักปญญาออน