SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  82
องค์ประกอบของการจัดการองค์ความรู้ คน เทคโนโลยี กระบวนการความรู้ โดย อาจารย์ปรานี  พรรณวิเชียร รองอธิการบดีด้านวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
การจัดการองค์ความรู้ มีผลหลายรูปแบบ สร้างนวัตกรรมซึ่งส่งผลให้ผลิตภัณฑ์หรือบริการเกิดความแตกต่างจากคู่แข่งขันในตลาด ทำให้ได้เปรียบในการแข่งขัน การต่อรอง และสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ              (Best Practices)และกระบวนการทำงานต่างๆ เกิดการร่วมกัน     ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งเสริมสร้างและกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง เพิ่มศักยภาพในการเพิ่มผลผลิต การแข่งขัน
การจัดการองค์ความรู้ มีผลหลายรูปแบบ (ต่อ) เพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจในการวางแผนและปฏิบัติงาน       ในระดับต่างๆ รวมถึงการตัดสินใจในการลงทุนและแก้ปัญหา สามารถนำสินทรัพย์ความรู้ที่มีอยู่ทั้งในและนอกองค์กรมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปัญญา Wisdom ความรู้ Knowledge สารสนเทศ Information ข้อมูล Data ปิรามิดแสดงลำดับขั้นของความรู้
คำจำกัดความของความรู้  Tacit Knowledge เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวของแต่ละบุคคล เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ต่างๆ ซึ่งสื่อสารหรือถ่ายทอดในรูปของตัวเลข สูตร หรือลายลักษณ์อักษรได้ยาก  Explicit Knowledge 		ความรู้ที่เป็นเหตุผล สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมา     ในรูปแบบต่างๆ ได้
Knowledge Spiral Tacit Socialization Externalization Explicit Combination Internalization Explicit Tacit
Socialization การแบ่งปันและสร้าง Tacit Knowledge จาก Tacit Knowledge    ของผู้ที่สื่อสารระหว่างกัน โดยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ตรง
Externalization การสร้างและแบ่งปันความรู้จากสิ่งที่มีและเผยแพร่ออกมาเป็น    ลายลักษณ์อักษร เป็นการแปลงจาก Tacit Knowledge เป็น Explicit Knowledge
Combination เป็นการแปลง Explicit Knowledge จาก Explicit Knowledge      โดยรวบรวมความรู้ประเภท Explicit ที่เรียนรู้ มาสร้างเป็นความรู้ประเภท Explicit ใหม่ๆ
Internatlization เป็นการแปลง Explicit Knowledge มาเป็น Tacit Knowledge     มักจะเกิดจากการนำความรู้ที่เรียนรู้มาไปปฏิบัติ
มีการแบ่งความรู้ออกเป็น 3 ประเภท (Leif Edvinsson) Individual Knowledge : ความรู้เฉพาะบุคคล 		เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวพนักงานแต่ละคน หรือเป็นความรู้ที่อยู่ในหัวของพนักงาน Organizational Knowledge : ความรู้ขององค์กร 		เป็นความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพนักงานที่อยู่ในกลุ่มหรือฝ่ายงานต่างๆในองค์กร ทำให้เกิดเป็นความรู้โดยรวมขององค์กร Structural Knowledge: ความรู้ที่เป็นระบบ 		เป็นความรู้ที่เกิดจาการสร้างหรือต่อยอดองค์ความรู้ ผ่านกระบวนการ คู่มือ จรรยาบรรณต่างๆ ในองค์กร
มุมมองของ Dave Snowdenเกี่ยวกับความรู้ Explicit Tacit Artefacts Skills Heuristics Experience Natural Talent
นิยามของ “การจัดการความรู้” ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช กล่าวว่า การจัดการความรู้ หมายถึง การยกระดับความรู้ขององค์กร เพื่อสร้างผลประโยชน์จากต้นทุนทางปัญญา โดยเป็นกิจกรรม     ที่ซับซ้อนและกว้างขวาง ไม่สามารถให้นิยามด้วยถ้อยคำสั้นๆ ได้ ดังนั้น    ต้องให้นิยามหลายข้อจึงจะครอบคลุมความหมายได้แก่  		- การรวบรวม การจัดระบบ การจัดเก็บ และการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างเป็นความรู้ 		- การจัดการความรู้เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนความรู้  		- การจัดการความรู้ต้องอาศัยผู้รู้ในการตีความและประยุกต์ใช้ความรู้ ในการสร้างนวัตกรรมและเป็นผู้นำทางในองค์กร 		- การเพิ่มประสิทธิผลขององค์กร การจัดการความรู้เกิดขึ้นเพราะมีความเชื่อว่าจะช่วยสร้างความมีชีวิตชีวาและความสำเร็จในองค์กร
กรอบความคิดการจัดการความรู้ของCarla O’Dell โครงสร้าง วัฒนธรรมองค์กร 1. วางแผน การกำหนดสิ่งสำคัญ ที่องค์กรต้องทำให้สำเร็จ 4. ขยายผล 2. ออกแบบ 3. ปฏิบัติ การวัดผล เทคโนโลยี
การกำหนดสิ่งสำคัญที่องค์กรต้องทำให้สำเร็จ ขั้นตอนนี้สำคัญที่สุด เพราะจะเป็นการกำหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับ การทำให้ลูกค้าประทับใจ การลดระยะเวลาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ๆ ความเป็นเลิศในการปฏิบัติการ
ปัจจัยที่ทำให้องค์การสามารถจัดการความรู้ได้อย่างมีประสิทธิผล องค์กรต้องสร้างปัจจัยหลัก 4 ด้านที่จะช่วยให้การจัดการความรู้ดำเนินไปได้อย่างราบรื่น ได้แก่ วัฒนธรรมองค์กร เทคโนโลยี โครงสร้างขององค์กรที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ การวัดผลการจัดการความรู้
กระบวนการเปลี่ยนแปลง องค์กรจะต้องใช้กระบวนการเปลี่ยนแปลง เพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ ซึ่งกระบวนการประกอบด้วย 4 ขั้นตอน หลัก ๆ คือ วางแผน ออกแบบ ปฏิบัติ ขยายผล
วงจรการจัดการความรู้ (วงจร KM) การเรียนรู้ (Learning) การวัดผล (Measurement) การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Recogniation and Rewards) World Class  KM Environment กระบวนการและเครื่องมือ (Process and Tools) การสื่อสาร (Communication) การจัดการการเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรม (Transition and Behavior Management)
องค์ประกอบหลักทั้ง 6 องค์ประกอบของวงจร KMประกอบด้วย การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม (Transition and Behavior) การสื่อสาร (Communication) กระบวนการและเครื่องมือ (Process and Tools) การฝึกอบรมและการเรียนรู้(Training and Learning) การวัดผล (Measurements) การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Recognition and Rewards)
1. การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) องค์กรควรที่จะทำการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป  เน้นในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในองค์กรให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ โดยการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ควรเริ่มต้นจากผู้บริหารก่อนและขยายผลออกไปสู่บุคลากรใน     ทุกระดับ ผู้บริหารระดับสูงต้องให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ รวมถึงมีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ จัดตั้งทีมงานเพื่อทำหน้าที่ดำเนินการวางแผนและจัดกิจกรรมต่างๆ
1. การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม (ต่อ) (Transition and Behavior Management) กำหนดว่าอะไรคือปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) และต้องมั่นใจได้ว่าปัจจัยเหล่านี้มีอยู่หรือสามารถสร้างให้เกิดขึ้นได้ภายในองค์กร ผู้บริหารระดับสูงต้องเป็นแบบอย่างที่ดี (Role Model) ในการแลกเปลี่ยนและจัดการความรู้ สร้างสภาพแวดล้อมภายในองค์กรที่เปิดโอกาสให้พนักงานสามารถลองผิดลองถูกได้และเปิดกว้างให้มีการทดลองนำเอาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มาปฏิบัติจริง
2. การสื่อสาร (Communitaction) การสื่อสารเกี่ยวกับการจัดการความรู้จะต้องคำนึงถึงปัจจัยหลักๆ 3 อย่าง เนื้อหาของเรื่องที่ต้องการจะสื่อสาร กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการจะสื่อสาร ช่องทางในการสื่อสาร
กระบวนการและเครื่องมือ (Process and Tools) กระบวนการและเครื่องมือจะช่วยให้กระบวนการความรู้สามารถเกิดขึ้นได้รวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น การเลือกใช้เครื่องมือและกระบวนการจะต้องให้ความสำคัญ        กับความรู้ทั้ง 2 ประเภท คือ Tacit และ Explicit กระบวนการและเครื่องมือสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนหลัก ๆ คือ ส่วนที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ การที่องค์กรจะเลือกใช้กระบวนการหรือเครื่องมือใด ควรพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ประเภทของความรู้ภายในองค์กร พฤติกรรมหรือลักษณะการทำงานของคนในองค์กร รวมถึงวัฒนธรรมขององค์กร
4. การฝึกอบรมและการเรียนรู้ (Training and Learning) เพื่อเตรียมความพร้อมของบุคลากรทุกระดับสำหรับการจัดการความรู้       โดยองค์กรจะต้องจัดให้มีการฝึกอบรมเกี่ยวกับแนวทางและหลักการของการจัดการความรู้แก่บุคลากรเพื่อสร้างความเข้าใจและความตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการและการแลกเปลี่ยนความรู้ภายในองค์กร องค์กรควรพิจารณาให้มีการจัดฝึกอบรมในหลายรูปแบบ เพื่อเปิดโอกาส     ให้บุคลากรในองค์กรสามารถเข้ารับการฝึกอบรมได้อย่างสะดวก               โดยพิจารณาเพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของการทำงานของบุคลากร องค์กรต้องตระหนักว่า การฝึกอบรมเป็นเพียงปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยให้การจัดการความรู้ประสบความสำเร็จ บุคลากรจะไม่สามารถเข้าใจแนวคิดและ   วิธีปฏิบัติของการจัดการความรู้ได้อย่างชัดเจน ถ้าได้รับเพียงแค่การฝึกอบรม โดยปราศจากการศึกษาค้นคว้าและการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
5. การวัดผล (Measurement) การวัดผลช่วยบอกสถานะของกระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆ ภายในองค์กร ช่วยให้องค์กรสามารถทบทวน แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ รวมถึงปรับปรุง      ให้กระบวนการต่างๆ ประสบผลสำเร็จมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวัดผลจริงๆ จึงไม่ใช่เป็นการควบคุมแต่เป็นการบริหารจัดการและการเรียนรู้พัฒนา การวัดผลโดยวิธี DON (Department of the Navy)ของสหรัฐอเมริกา จะแบ่งการวัดผลจากการจัดการความรู้ออกเป็น 3 ส่วน คือ  การวัดระบบหรือกิจกรรมต่างๆ ในการจัดการความรู้ (System Measures) การวัดปัจจัยส่งออก (Output Measures) การวัดผลลัพธ์ (Outcome Measures)
6. การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Recogniation and Rewards) องค์กรอาจจะต้องใช้การยกย่องชมเชยและให้รางวัลเป็นแรงจูงใจ  ในช่วยเริ่มต้นเพื่อโน้มน้าวให้บุคลกรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการแลกเปลี่ยนความรู้และเข้าร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ ในระยะยาวสิ่งที่จะสามารถโน้มน้าวให้บุคลากรในองค์กรสนใจแลกเปลี่ยนความรู้ได้ดีที่สุดคือ “ประโยชน์” ที่จะเกิดขึ้นกับตนเอง
กระบวนการความรู้ (Knowledge Process) การค้นหาความรู้ (Knowledge Identification) การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้(Knowledge Sharing) การเรียนรู้(Learning)
1.การค้นหาความรู้ (Knowledge Identification) “รู้เรา” องค์กรสามารถใช้เครื่องมือที่เรียกว่า “Knowledge Mapping” เพื่อหาว่าความรู้ใดมีความสำคัญสำหรับองค์กร ประโยชน์ของแผนที่ความรู้ คือ ช่วยให้เห็นภาพรวมของคลังความรู้ขององค์กร
2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) หัวใจสำคัญของขั้นตอนนี้คือ การกำหนดเนื้อหาของความรู้            ที่ต้องการและการดักจับความรู้ดังกล่าวให้ได้ ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ขั้นตอนนี้ประสบความสำเร็จคือ บรรยากาศและวัฒนธรรมขององค์กรที่เอื้อให้บุคลากรกระตือรือร้นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อใช้ในการสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดเวลา ระบบสารสนเทศมีส่วนช่วยให้บุคลากรสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันได้รวดเร็วขึ้น และทำให้การเสาะหาความรู้ใหม่ๆ             จากภายนอกทำได้รวดเร็วขึ้น
3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organzation) องค์กรต้องจัดความรู้ให้เป็นระบบเพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นหาและ   นำความรู้ดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ได้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ หมายถึง การจัดทำสารบัญ และจัดเก็บความรู้ประเภทต่างๆ เพื่อให้การเก็บรวบรวม การค้นหา               การนำมาใช้ทำได้ง่ายและรวดเร็ว ประเภทความรู้แบ่งตามสิ่งต่างๆ ได้แก่ ความชำนาญ หรือความเชี่ยวชาญของบุคลากร, หัวข้อ/หัวเรื่อง, หน้าที่/กระบวนการ, ประเภทของผลิตภัณฑ์ บริการ กลุ่มตลาด หรือกลุ่มลูกค้า ความครอบคลุม (แนวราบ) และความละเอียด (แนวดิ่ง) ของการแบ่งประเภทของความรู้ขึ้นอยู่กับการใช้ความรู้นั้นๆ
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) การจัดทำหรือปรับปรุงรูปแบบของเอกสารให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน           ทั้งองค์กร ช่วยทำให้การป้อนข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ การจัดเก็บ การค้นหา และการใช้ข้อมูลทำได้สะดวก รวดเร็ว การใช้ “ภาษา” เดียวกันทั่วทั้งองค์กร คือ องค์กรควรจัดทำอภิธานศัพท์ของคำจำกัดความ ความหมายของคำต่างๆ ที่แต่ละหน่วยงานใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้มีความเข้าใจตรงกัน ซึ่งจะช่วยให้การป้อนข้อมูล/ความรู้ การแบ่งประเภทและการจัดเก็บได้มาตรฐานเดียวกัน ที่สำคัญต้องมีการปรับปรุงอภิธานศัพท์ให้ทันสมัยตลอดเวลา รวมทั้งต้องให้ผู้ใช้สามารถค้นหา และเปิดใช้ได้อย่างรวดเร็ว การเรียบเรียง ตัดต่อ และปรับปรุงเนื้อหาให้มีคุณภาพดีในแง่ต่างๆ เช่น ความครบถ้วน เที่ยงตรง ทันสมัย สอดคล้องและตรงตามความต้องการของผู้ใช้
5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) การส่งหรือการกระจายความรู้ให้ผู้ใช้ มี 2 ลักษณะ คือ “Push” (การป้อนความรู้) คือ การส่งข้อมูล/ความรู้ให้ผู้รับไม่ได้ร้องขอหรือต้องการหรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็นแบบ “Supply-based” เช่น หนังสือเวียนซึ่งโดยทั่วๆ ไปมักจะทำให้ผู้รับข้อมูลรู้สึกว่าได้รับข้อมูล/ความรู้มากเกินไปหรือไม่ตรงตามความต้องการ “Pull”(การให้โอกาสเลือกใช้ความรู้) คือ การที่ผู้รับสามารถเลือกรับหรือใช้แต่เฉพาะข้อมูล/ความรู้ที่ต้องการเท่านั้น ซึ่งทำให้ลดปัญหาการได้รับข้อมูล/ความรู้ที่ไม่ต้องการมากเกินไป (Information Overload)             การกระจายความรู้แบบนี้เรียกว่า “Demand-based”
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ความรู้ประเภท Explicit จะใช้การจัดทำเอกสาร จัดทำฐานความรู้ รวมทั้ง   การทำสมุดหน้าเหลืองโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยให้เข้าถึงความรู้ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น ความรู้ประเภท Tacit ทำได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความต้องการและวัฒนธรรมองค์กร วิธีหลักๆ มีดังต่อไปนี้ ทีมข้ามสายงาน (Cross – Functional Team) Innovation & Quality Circles (IQCs) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Community of Practice) ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation)และการยืมตัวบุคลากรมาช่วยงาน (Secondment) เวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Forum)
7. การเรียนรู้ (Learning) องค์กรจะต้องกระตุ้นและสร้างบรรยากาศที่ทำให้บุคลากรทุกคนกล้าคิด กล้าทำ กล้าลองผิดลองถูก  ผู้บริหารจะต้องยอมรับผลลัพธ์ที่ออกมาไม่ว่าจะเป็นความสำเร็จหรือความล้มเหลว กระบวนการการเรียนรู้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ แต่มาจากประสบการณ์ที่ได้รับ  ในการลองนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติ การเรียนรู้จะต้องสอดคล้องกับทิศทางและค่านิยมขององค์กรด้วย “วงจรการเรียนรู้” คือ การเรียนรู้ของบุคลากรซึ่งทำให้เกิดความรู้ใหม่ๆ          ขึ้นมากมาย ซึ่งไปเพิ่มพูนองค์ความรู้ขององค์กรที่มีอยู่แล้วให้มากขึ้นเรื่อยๆ ความรู้เหล่านี้จะถูกนำไปใช้เพื่อสร้างความรู้ใหม่ๆ อีกเป็นวงจรที่ไม่มีที่สิ้นสุด
วงจรการเรียนรู้ องค์ความรู้ การเรียนรู้และ นวัตกรรมอย่าง ต่อเนื่อง เกิดการเรียนรู้และ ประสบการณ์ใหม่ๆ นำความรู้ไปใช้
ปัจจัยเอื้อที่ทำให้การจัดการความรู้ประสบความสำเร็จ (Key Enablers) ภาวะผู้นำและกลยุทธ์ (Leadership and Strategy) วัฒนธรรมองค์กร (Culture) เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านการจัดการความรู้ (Technology) การวัดผล (Measurement) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)
1. ภาวะผู้นำและกลยุทธ์ (Leadership and Stragegy) ผู้บริหารต้องเข้าใจแนวคิดและตระหนักถึงประโยชน์ที่องค์กร       จะได้รับจากการจัดการความรู้เพื่อที่จะสามารถสื่อสารและผลักดันให้มีการจัดการความรู้ในองค์กร องค์กรจะต้องสามารถตอบคำถามได้ว่า จะจัดการความรู้ภายในองค์กรเพื่ออะไร เพื่อนำเอาเป้าหมายของกาจัดการความรู้นั้น        มากำหนดเป็นแผนงานและกิจกรรมต่างๆ ที่จำเป็นเพื่อช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้ กลยุทธ์ของการจัดการความรู้จะต้องสนับสนุนและสอดคล้องกับทิศทางในการดำเนินธุรกิจขององค์กร เพื่อช่วยให้องค์กรสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันได้
2. วัฒนธรรมองค์กร (Culture) สิ่งที่องค์กรควรพิจารณาคือ การทำความเข้าใจถึงอุปสรรคต่างๆ      ที่ขัดขวางไม่ให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และพยายามหาวิธีการ      ที่จะกำจัดอุปสรรคต่างๆ เหล่านั้นออกไป  การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กรให้เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนความรู้ จะต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารอย่างเต็มที่ เพื่อที่จะทำให้บุคลากรในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นของการเปลี่ยนแปลง
3. เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านการจัดการความรู้ (Technology) ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารเสนเทศ โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต เป็นแรงผลักดันสำคัญที่ช่วยให้การแลกเปลี่ยนความรู้สามารถทำได้ง่ายขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนสำคัญในการช่วยให้คนในองค์กรสามารถค้นหาความรู้ ดังเอาความรู้ไปใช้ ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ รวมถึงช่วยให้ข้อมูลความรู้ต่างๆ ถูกจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบ  องค์กรต้องมั่นใจว่าระบบเทคโนโลยีนั้นๆ สามารถเชื่อมต่อหรือบูรณาการ   เข้ากับระบบเดิมที่องค์กรมีอยู่ได้อย่างแนบสนิท รวมถึงต้องตอบสอนองความต้องการของผู้ใช้และใช้ได้ง่าย องค์กรต้องตระหนักว่าเทคโนโลยีไม่ได้ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้     แต่ทำให้การแลกเปลี่ยนความรู้เกิดได้รวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น
4. การวัดผล (Measurement) การวัดผลของการจัดการความรู้จะช่วยให้องค์กรสามารถทบทวน ประเมินผล และทำการปรับปรุงกลยุทธ์และกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการจัดการความรู้ได้ ผลจากการวัดความสำเร็จของการจัดการความรู้จะโน้มน้าว           ให้บุคลากรทุกระดับเห็นถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการจัดการและการแลกเปลี่ยนความรู้
5. โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) โครงสร้างที่กล่าวถึงนี้อาจจะสามารถเป็นทั้งสิ่งที่จับต้องได้ หรือ   สิ่งที่จับต้องไม่ได้ ผู้บริหารจะต้องพิจารณาถึงโครงสร้างของหน่วยงานหรือบุคลากร   ที่จะรับผิดชอบในการจัดการความรู้ว่าควรเป็นในรูปแบบใด ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น ระบบการประเมินผลงานและระบบยกย่องชมเชยและให้รางวัลที่ต้องเอื้อต่อการจัดการความรู้ขององค์กร
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ ทำไมต้องเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้   Learning  Organization -  LO
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด  3  มาตรา 11          “ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการเพื่อให้มีลักษณะเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ  โดยต้อง รับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถ ประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมา ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่าง ถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์รวมทั้งต้อง ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถสร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่          มีประสิทธิภาพ  และ มีการเรียนรู้ร่วมกันทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระราช  กฤษฎีกานี้”
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ องค์กรแห่งการเรียนรู้คืออะไร ✪  องค์กรที่ ประกอบด้วยคน ที่มีความมุ่งมั่นที่จะขยายขีดความสามารถของตนผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมอย่างต่อเนื่อง   ✪  องค์กรที่มี บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้  รวมทั้งมีการจัดหา  สร้าง   ถ่ายโอนความรู้  และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากการใช้ความรู้ใหม่ ๆ     ✪  ใช้แนวคิด การจัดการความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย  เพื่อสร้างองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่มีคุณค่าต่อตนเอง  ทีมงาน  และองค์กร   ✪  มีเป้าหมายเพื่อให้เป็น องค์กรที่มีคุณภาพ และสามารถดำรงอยู่ได้ในสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาของสังคมโลกได้อย่างสง่างาม
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ ทำไมต้องมีการบริหารจัดการความรู้Knowledge Management - KM
ภูมิหลัง : กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล     การปฏิบัติราชการ 60 20 ประสิทธิผล  ตามยุทธศาสตร์ การพัฒนา     องค์กร 10 10 ประสิทธิภาพ     ของการปฏิบัติ       ราชการ คุณภาพการ     ให้บริการ มิติที่ 4:  มิติด้านการพัฒนาองค์กร  (น้ำหนักร้อยละ  20) 1.  การบริหารความรู้ในองค์กร   (น้ำหนักร้อยละ  5) 2.  การจัดการสารสนเทศ   (น้ำหนักร้อยละ  5) 3.  การบริหารการเปลี่ยนแปลง   (น้ำหนักร้อยละ  10)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Management process Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets The Four Functions of Management : POLC Planning กำหนดสิ่งที่ต้องการบรรลุ กำหนดวัตถุประสงค์และขั้นตอนที่จะบรรลุผล Controlling Organizing ตรวจสอบ ควบคุม ติดตามผลงานกับเป้าหมายและปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง จัดสรรทรัพยากร จัดกิจกรรมของแต่ละคนและกลุ่มเพื่อปฏิบัติตามแผน Leading กระตุ้นความกระตือรือร้นของคนให้ทำงานหนักเพื่อบรรลุแผนงานที่สำคัญ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ความรู้คืออะไร ความรู้ คือ สิ่งที่เมื่อนำไปใช้จะไม่หมดไปหรือสึกหรอแต่จะยิ่งงอกเงยหรืองอกงามมากยิ่งขึ้น  ความรู้เป็นสิ่งที่คาดเดาไม่ได้ เกิดขึ้น ณ จุดที่ต้องการใช้ความรู้นั้น ความรู้จึงเป็นสิ่งที่ขึ้นกับบริบทและกระตุ้นให้เกิดขึ้นโดยความต้องการ สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผล หรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมายและคุณค่าสำหรับผู้ใช้ ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนำไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว
การจัดการความรู้สู่องค์กรคุณภาพ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ข้อมูล  สารสนเทศ ความรู้  ปัญญา การเรียนรู้ ประยุกต์ใช้ได้ ปัญญา Wisdom ตัดสินใจถูกต้อง ความรู้Knowledge สนับสนุนการตัดสินใจ สารสนเทศ Information แปลงให้มีความหมาย ข้อมูล(Data)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ความรู้ 4 ระดับ ,[object Object]
Know-howเป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริง ภายใต้สภาพความเป็นจริงที่ซับซ้อน
Know-whyเป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหา              ที่ซับซ้อนและนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น
Care-whyเป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่ขับดันมาจากภายในตนเอง,[object Object]
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets หลักการสำคัญของการจัดการความรู้ ให้คนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิดทำงานร่วมกันได้อย่างสร้างสรรค์ ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยเป้าหมายเดียวกัน ร่วมกันพัฒนาวิธีทำงานในรูปแบบใหม่ๆเพื่อบรรลุประสิทธิผลที่กำหนดไว้ (Responsiveness ,Innovation ,Competency , Efficiency) ทดลองและเรียนรู้เพราะเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ ถ้าได้ผลดีก็ขยายผลมากขึ้นจนได้เป็นวิธีการทำงานแบบใหม่หรือBestpractice นำเข้าความรู้จากภายนอกอย่างเหมาะสม โดยเอาความรู้จากภายนอกมาทำให้พร้อมใช้ในบริบทของเรา(มองหา/ดูดซับ/ส่งเสริม/ขจัดNIH)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ความยากของการจัดการความรู้ ความรู้เป็นเรื่องที่พูดง่าย แต่ทำให้ชัดเจนยาก ความรู้ที่สำคัญที่สุดเป็นสิ่งที่แลกเปลี่ยนได้ยาก วัดคุณค่าที่แท้จริงของทรัพย์สินความรู้ได้ยาก เป้าหมายของการจัดการความรู้ เพื่อพัฒนางานให้มีคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ยิ่งขึ้น เพื่อพัฒนาคนหรือผู้ปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาฐานความรู้ขององค์การเป็นการเพิ่มพูนทุนทางปัญญาขององค์การ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง” อย่าลืมว่า ต้อง “สมดุล” ให้ความสำคัญกับ“2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ “2T” Tool & Technology
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets องค์การแห่งการเรียนรู้กับการจัดการความรู้(LO & KM) องค์การแห่งการเรียนรู้คือสถานที่ซึ่งผู้คนขยายขีดความสามารถเพื่อที่จะบรรลุในสิ่งที่พวกเขาต้องการอย่างแท้จริงและต่อเนื่องเป็นสถานที่ที่ระบบทางความคิดใหม่และการขยายตัวทางความคิดได้รับการสนับสนุน ที่ซึ่งผู้คนมีความทะเยอทะยานนอกกรอบและเป็นที่ๆผู้คนเรียนรู้ที่จะเรียนไปด้วยกันอย่างต่อเนื่อง Knowledge management is a connective tissueof a learning organization. เปรียบ LO เหมือนที่นา  KMเหมือนต้นข้าว รวงข้าวเป็นResultที่มีข้าวเปลือกเป็นOutcomeและข้าวสารเป็นImpact เราต้องการข้าวสาร
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets 3 กฎหลักของการจัดการความรู้ที่ลืมไม่ได้(Snowden) 1.Knowledge can only be volunteered,it can not be conscripted. สมัครใจไม่ใช่กะเกณฑ์ บังคับ ข่มขู่ สั่งไม่ได้ 2.I only know  what I know when I need to know it. การเรียนรู้เกิดเมื่อต้องการใช้ 3.We always know more than we can say,and we will always say more than we can write down. รู้มากกว่าที่พูดได้เขียนได้
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets LKASA(Bantak)Model การจัดการความรู้ 5 ขั้นตอน 1.การจัดการให้เกิดการเรียนรู้ (LearningManagement) 2.การจัดการให้เกิดองค์ความรู้ (KnowledgeOrganizing) 3.การจัดการให้เกิดการใช้ความรู้(Knowledge Acting) 4.การจัดการให้เกิดการแบ่งปันความรู้(Knowledge Sharing) 5.การจัดการให้เกิดการจัดเก็บองค์ความรู้(Knowledge Assets)
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ 1.Learning Mg 2.K Organizing 5. K Assets 4. K Sharing 3.K Acting Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets LKASAEGG ( Bantak )Model
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets การจัดการให้เกิดการเรียนรู้ (LearningManagement) บทบาทหน้าที่ของCEO & CKO กับการจัดการความรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ความรู้(Knowledge Vision) คนและทีม บนความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์ การเตรียมคนในองค์การให้พร้อมกับการการเรียนรู้(Fifth Disciplines) การเตรียมทีมให้พร้อมต่อการเรียนรู้(Learning Disability) การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้คนเกิดการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้แบบFour Learning ความคิดสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ (Four Thinking) ระดับของการเรียนรู้ การกระตุ้นการเรียนรู้ด้วยการเขย่าองค์กร
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets คุณลักษณะที่ดี/ขีดความสามารถของCKO คิดกว้าง : Think Globaly, Act Locally มองไกล : Visionary Leadership ใฝ่สูง : Result-oreiented Management มุ่งทำจริง : Action now Strategic Management เป็น Strategic partner System Approach มีมุมมองเชิงระบบ Communication มีความสามารถในการสื่อสาร Coordination การประสานงานและแสวงหาความร่วมมือ Empowerment เสริมพลังเพื่อสร้างEmployee Champion
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ ประเด็น/หลักการ เรื่องเล่า &คำพูด “ “ แหล่งข้อมูล/บุคคล “เราทดลองวิธีการใหม่ …” “ “ โทร. ... Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets การบันทึกขุมทรัพย์ความรู้(Knowledge Assets) ..... เป็นขุมความรู้ (Knowledge Assets)ที่มีบริบทและรายละเอียด ตามกาละและเทศะที่ต้องการความรู้นั้น ที่มา ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ประเด็นสำคัญในการเขียนเอกสารคุณภาพ(Document) ชื่อเรื่อง : QP,WI,CPG เรื่องอะไร วัตถุประสงค์ : เพื่อป้องกันความเสี่ยงอะไร เพื่อให้เกิดจุดคุณภาพอะไร วิธีปฏิบัติ : ทำอย่างไรบ้าง มีขั้นตอนการปฏิบัติอย่างไร ตัวชี้วัด : ทำตามนี้แล้วเกิดผลดีอะไร ผู้เกี่ยวข้อง : ใครเขียน ใครต้องใช้บ้าง  การประกาศใช้ : ฉบับที่ วันที่ ผู้อนุมัติ
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets แฟ้มงานเพื่อการพัฒนา(Portfolio): แฟ้มหน่วยงาน สิ่งที่ภาคภูมิใจ/นวัตกรรม  แหล่งอ้างอิง ประโยชน์ที่ได้ ผู้จัดทำ วันที่ ที่
การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ประเภทของขุมทรัพย์ความรู้ : Best Practice Best practice ประกอบด้วยเอกสารคุณภาพ ดังนี้ คู่มือคุณภาพ 29 เรื่อง(แผนก) ระเบียบปฏิบัติ 105 เรื่อง,CPG 12 เรื่อง วิธีปฏิบัติ 260 เรื่อง CQI story 30 เรื่อง
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา ตัวชี้วัดที่ 20  ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้    		       เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ น้ำหนัก: ร้อยละ 2 คำอธิบาย: 	1. สถาบันอุดมศึกษามีแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ 		2. การจัดการความรู้ในองค์กร หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้สถาบันอุดมศึกษา มีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) คำอธิบาย: 	3. กระบวนการในการบริหารจัดการความรู้ในองค์กร ประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม               การจัดระบบจัดเก็บความรู้ การเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างเป็นความรู้ และการแลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและนอกองค์กร การสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในองค์กร การกำหนดแนววิธีปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ใน       องค์กรให้ดียิ่งขึ้น
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) เหตุผล: 	พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 11 กำหนดไว้ว่า สถาบันอุดมศึกษา   มีหน้าที่ในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา ให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนน: 	กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น  5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงาน  ตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) โดยที่:
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) เงื่อนไข: 	1. ให้สถาบันอุดมศึกษาจัดส่งแผนการจัดการความรู้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550 ให้สำนักงาน ก.พ.ร. พร้อมกับการรายงานผลการปฏิบัติราชการรอบ 6 เดือน 		2. ในกรณีที่มีการดำเนินการตามแผนและเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายของแผนงานน้อยกว่าร้อยละ 50 ค่าคะแนนที่ได้รับสูงสุดไม่เกินระดับ 2 		3. ในกรณีที่มีการดำเนินการตามแผนและเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายของแผนงานอยู่ระหว่าง ร้อยละ50-100 จะคิดคะแนนที่ได้โดยวิธีบัญญัติไตรยางค์
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) แนวทางการประเมินผล:
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) แนวทางการประเมินผล:
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) แนวทางการประเมินผล:
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) แนวทางการประเมินผล:
ตัวบ่งชี้ที่   4.2  ระบบและกลไกจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ชนิดของตัวบ่งชี้:  			กระบวนการ คำอธิบายตัวบ่งชี้: การบริหารจัดการความรู้จากผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อเผยแพร่ไปยังคณาจารย์ นักศึกษา วงการวิชาการ หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนชุมชนเป้าหมายที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์  เป็นเรื่องที่มีความสำคัญสำหรับทุกสถาบันอุดมศึกษา ดังนั้น สถาบันต้องจัดระบบส่งเสริมสนับสนุนให้มีการรวบรวม เผยแพร่ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทรัพย์สินทางปัญญาจากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์อย่างเหมาะสมกับผู้ใช้แต่ละกลุ่ม โดยสิ่งที่เผยแพร่ต้องมีคุณภาพเชื่อถือได้และรวดเร็วทันเหตุการณ์
เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ 	2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้เป็นองค์ความรู้ที่คนทั่วไปเข้าใจได้ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด 3. มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2 สู่สาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง 	4. มีการนำผลงานงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และ    มีการรับรองการใช้ประโยชน์จริงจากหน่วยงานภายนอกหรือชุมชน 	5. มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ที่นำไปใช้ประโยชน์ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
เกณฑ์มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม 6. มีระบบและกลไกส่งเสริมการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร และมีการยื่นจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง)
เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ทั่วไป   เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม   ค1   และ  ง
ตัวบ่งชี้ที่  7.2   :   การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งชี้ :   		กระบวนการ 		คำอธิบายตัวบ่งชี้: มาตรฐานการอุดมศึกษาข้อที่ 3 กำหนดให้สถาบันมีการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้  ซึ่งต้องมีการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่สถาบันแห่งการเรียนรู้  โดยมีการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในสถาบันซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในสถาบันสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเอง ให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ     อันจะส่งผลให้สถาบันอุดมศึกษา มีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด กระบวนการในการบริหารจัดการความรู้ในสถาบัน ประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู้ การเข้าถึงข้อมูล  และการแลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน การสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในสถาบัน การกำหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ในสถาบันให้ดียิ่งขึ้น
เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีการกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบันอย่างน้อยครอบคลุม     พันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย  	2. กำหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1  	3. มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้ที่มีประสบการณ์ตรง   (Tacit Knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด 4. มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ             โดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) 	5. มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษา ที่ผ่านมาที่เป็นลายลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ของตรง (Tacit Knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

Contenu connexe

Tendances

เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาTeerasak Nantasan
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systemssiroros
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาa35974185
 
Modern office 1
Modern office 1Modern office 1
Modern office 1siroros
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221Surapong Jakang
 

Tendances (13)

เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
 
A01 (2)
A01 (2)A01 (2)
A01 (2)
 
ใหม่
ใหม่ใหม่
ใหม่
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Modern office 1
Modern office 1Modern office 1
Modern office 1
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
 
แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 

En vedette

Respuestas de Exámenes de ESO
Respuestas de Exámenes de ESORespuestas de Exámenes de ESO
Respuestas de Exámenes de ESOEster Boldú
 
CONSTRUÇÃO DE UM MURO DE ARRIMO
CONSTRUÇÃO DE UM MURO DE ARRIMOCONSTRUÇÃO DE UM MURO DE ARRIMO
CONSTRUÇÃO DE UM MURO DE ARRIMOMarco Coghi
 
SANTA MARIA XADANI, SU CONTEXTO Y SU TELESECUNDARIA
SANTA MARIA XADANI, SU CONTEXTO Y SU TELESECUNDARIASANTA MARIA XADANI, SU CONTEXTO Y SU TELESECUNDARIA
SANTA MARIA XADANI, SU CONTEXTO Y SU TELESECUNDARIAsuperVANGO
 
Curitiba-gp21-pmo-crawd
Curitiba-gp21-pmo-crawdCuritiba-gp21-pmo-crawd
Curitiba-gp21-pmo-crawdMarco Coghi
 
SIN - Sorriso Itinerante Nacional
SIN - Sorriso Itinerante NacionalSIN - Sorriso Itinerante Nacional
SIN - Sorriso Itinerante NacionalMarco Coghi
 
PMO em LISARB - GP3 Consulting - GP-10 / For-CE
PMO em LISARB - GP3 Consulting - GP-10 / For-CEPMO em LISARB - GP3 Consulting - GP-10 / For-CE
PMO em LISARB - GP3 Consulting - GP-10 / For-CEMarco Coghi
 
Natal GP02 Integração GALC Consultoria
Natal GP02 Integração GALC ConsultoriaNatal GP02 Integração GALC Consultoria
Natal GP02 Integração GALC ConsultoriaMarco Coghi
 
Recife gp11-fundamentos-recicla vida
Recife gp11-fundamentos-recicla vidaRecife gp11-fundamentos-recicla vida
Recife gp11-fundamentos-recicla vidaMarco Coghi
 
Rlatório oficina -_forum_social_mundial_2012
Rlatório oficina -_forum_social_mundial_2012Rlatório oficina -_forum_social_mundial_2012
Rlatório oficina -_forum_social_mundial_2012blogcddprazeres
 
matogrosso-gp7-integração-natalfeliz
matogrosso-gp7-integração-natalfelizmatogrosso-gp7-integração-natalfeliz
matogrosso-gp7-integração-natalfelizMarco Coghi
 
Concepto Juridico
Concepto JuridicoConcepto Juridico
Concepto Juridicoguestd07d3c
 

En vedette (20)

Ref Works En 15 Minuts
Ref Works En 15 MinutsRef Works En 15 Minuts
Ref Works En 15 Minuts
 
Respuestas de Exámenes de ESO
Respuestas de Exámenes de ESORespuestas de Exámenes de ESO
Respuestas de Exámenes de ESO
 
Access Easy
Access EasyAccess Easy
Access Easy
 
CONSTRUÇÃO DE UM MURO DE ARRIMO
CONSTRUÇÃO DE UM MURO DE ARRIMOCONSTRUÇÃO DE UM MURO DE ARRIMO
CONSTRUÇÃO DE UM MURO DE ARRIMO
 
Educar -rubem_alves
Educar  -rubem_alvesEducar  -rubem_alves
Educar -rubem_alves
 
SANTA MARIA XADANI, SU CONTEXTO Y SU TELESECUNDARIA
SANTA MARIA XADANI, SU CONTEXTO Y SU TELESECUNDARIASANTA MARIA XADANI, SU CONTEXTO Y SU TELESECUNDARIA
SANTA MARIA XADANI, SU CONTEXTO Y SU TELESECUNDARIA
 
Curitiba-gp21-pmo-crawd
Curitiba-gp21-pmo-crawdCuritiba-gp21-pmo-crawd
Curitiba-gp21-pmo-crawd
 
SIN - Sorriso Itinerante Nacional
SIN - Sorriso Itinerante NacionalSIN - Sorriso Itinerante Nacional
SIN - Sorriso Itinerante Nacional
 
P.p reunió pares
P.p reunió paresP.p reunió pares
P.p reunió pares
 
Work-A-House
Work-A-HouseWork-A-House
Work-A-House
 
PMO em LISARB - GP3 Consulting - GP-10 / For-CE
PMO em LISARB - GP3 Consulting - GP-10 / For-CEPMO em LISARB - GP3 Consulting - GP-10 / For-CE
PMO em LISARB - GP3 Consulting - GP-10 / For-CE
 
Natal GP02 Integração GALC Consultoria
Natal GP02 Integração GALC ConsultoriaNatal GP02 Integração GALC Consultoria
Natal GP02 Integração GALC Consultoria
 
Recife gp11-fundamentos-recicla vida
Recife gp11-fundamentos-recicla vidaRecife gp11-fundamentos-recicla vida
Recife gp11-fundamentos-recicla vida
 
Rlatório oficina -_forum_social_mundial_2012
Rlatório oficina -_forum_social_mundial_2012Rlatório oficina -_forum_social_mundial_2012
Rlatório oficina -_forum_social_mundial_2012
 
matogrosso-gp7-integração-natalfeliz
matogrosso-gp7-integração-natalfelizmatogrosso-gp7-integração-natalfeliz
matogrosso-gp7-integração-natalfeliz
 
Nota Muerte
Nota MuerteNota Muerte
Nota Muerte
 
Silabo 1.1
Silabo 1.1Silabo 1.1
Silabo 1.1
 
Concepto Juridico
Concepto JuridicoConcepto Juridico
Concepto Juridico
 
Halloween
HalloweenHalloween
Halloween
 
Estrellita.vargas cuaderno_ct[1]
Estrellita.vargas  cuaderno_ct[1]Estrellita.vargas  cuaderno_ct[1]
Estrellita.vargas cuaderno_ct[1]
 

Similaire à Km16-17

Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilitypantapong
 

Similaire à Km16-17 (20)

Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
งานกลุ่ม .
งานกลุ่ม .งานกลุ่ม .
งานกลุ่ม .
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capability
 
Km3
Km3Km3
Km3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 

Km16-17

  • 1. องค์ประกอบของการจัดการองค์ความรู้ คน เทคโนโลยี กระบวนการความรู้ โดย อาจารย์ปรานี พรรณวิเชียร รองอธิการบดีด้านวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • 2. การจัดการองค์ความรู้ มีผลหลายรูปแบบ สร้างนวัตกรรมซึ่งส่งผลให้ผลิตภัณฑ์หรือบริการเกิดความแตกต่างจากคู่แข่งขันในตลาด ทำให้ได้เปรียบในการแข่งขัน การต่อรอง และสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices)และกระบวนการทำงานต่างๆ เกิดการร่วมกัน ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งเสริมสร้างและกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง เพิ่มศักยภาพในการเพิ่มผลผลิต การแข่งขัน
  • 3. การจัดการองค์ความรู้ มีผลหลายรูปแบบ (ต่อ) เพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจในการวางแผนและปฏิบัติงาน ในระดับต่างๆ รวมถึงการตัดสินใจในการลงทุนและแก้ปัญหา สามารถนำสินทรัพย์ความรู้ที่มีอยู่ทั้งในและนอกองค์กรมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 4. ปัญญา Wisdom ความรู้ Knowledge สารสนเทศ Information ข้อมูล Data ปิรามิดแสดงลำดับขั้นของความรู้
  • 5. คำจำกัดความของความรู้ Tacit Knowledge เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวของแต่ละบุคคล เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ต่างๆ ซึ่งสื่อสารหรือถ่ายทอดในรูปของตัวเลข สูตร หรือลายลักษณ์อักษรได้ยาก Explicit Knowledge ความรู้ที่เป็นเหตุผล สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมา ในรูปแบบต่างๆ ได้
  • 6. Knowledge Spiral Tacit Socialization Externalization Explicit Combination Internalization Explicit Tacit
  • 7. Socialization การแบ่งปันและสร้าง Tacit Knowledge จาก Tacit Knowledge ของผู้ที่สื่อสารระหว่างกัน โดยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ตรง
  • 8. Externalization การสร้างและแบ่งปันความรู้จากสิ่งที่มีและเผยแพร่ออกมาเป็น ลายลักษณ์อักษร เป็นการแปลงจาก Tacit Knowledge เป็น Explicit Knowledge
  • 9. Combination เป็นการแปลง Explicit Knowledge จาก Explicit Knowledge โดยรวบรวมความรู้ประเภท Explicit ที่เรียนรู้ มาสร้างเป็นความรู้ประเภท Explicit ใหม่ๆ
  • 10. Internatlization เป็นการแปลง Explicit Knowledge มาเป็น Tacit Knowledge มักจะเกิดจากการนำความรู้ที่เรียนรู้มาไปปฏิบัติ
  • 11. มีการแบ่งความรู้ออกเป็น 3 ประเภท (Leif Edvinsson) Individual Knowledge : ความรู้เฉพาะบุคคล เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวพนักงานแต่ละคน หรือเป็นความรู้ที่อยู่ในหัวของพนักงาน Organizational Knowledge : ความรู้ขององค์กร เป็นความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพนักงานที่อยู่ในกลุ่มหรือฝ่ายงานต่างๆในองค์กร ทำให้เกิดเป็นความรู้โดยรวมขององค์กร Structural Knowledge: ความรู้ที่เป็นระบบ เป็นความรู้ที่เกิดจาการสร้างหรือต่อยอดองค์ความรู้ ผ่านกระบวนการ คู่มือ จรรยาบรรณต่างๆ ในองค์กร
  • 12. มุมมองของ Dave Snowdenเกี่ยวกับความรู้ Explicit Tacit Artefacts Skills Heuristics Experience Natural Talent
  • 13. นิยามของ “การจัดการความรู้” ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช กล่าวว่า การจัดการความรู้ หมายถึง การยกระดับความรู้ขององค์กร เพื่อสร้างผลประโยชน์จากต้นทุนทางปัญญา โดยเป็นกิจกรรม ที่ซับซ้อนและกว้างขวาง ไม่สามารถให้นิยามด้วยถ้อยคำสั้นๆ ได้ ดังนั้น ต้องให้นิยามหลายข้อจึงจะครอบคลุมความหมายได้แก่ - การรวบรวม การจัดระบบ การจัดเก็บ และการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างเป็นความรู้ - การจัดการความรู้เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนความรู้ - การจัดการความรู้ต้องอาศัยผู้รู้ในการตีความและประยุกต์ใช้ความรู้ ในการสร้างนวัตกรรมและเป็นผู้นำทางในองค์กร - การเพิ่มประสิทธิผลขององค์กร การจัดการความรู้เกิดขึ้นเพราะมีความเชื่อว่าจะช่วยสร้างความมีชีวิตชีวาและความสำเร็จในองค์กร
  • 14. กรอบความคิดการจัดการความรู้ของCarla O’Dell โครงสร้าง วัฒนธรรมองค์กร 1. วางแผน การกำหนดสิ่งสำคัญ ที่องค์กรต้องทำให้สำเร็จ 4. ขยายผล 2. ออกแบบ 3. ปฏิบัติ การวัดผล เทคโนโลยี
  • 15. การกำหนดสิ่งสำคัญที่องค์กรต้องทำให้สำเร็จ ขั้นตอนนี้สำคัญที่สุด เพราะจะเป็นการกำหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับ การทำให้ลูกค้าประทับใจ การลดระยะเวลาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ๆ ความเป็นเลิศในการปฏิบัติการ
  • 16. ปัจจัยที่ทำให้องค์การสามารถจัดการความรู้ได้อย่างมีประสิทธิผล องค์กรต้องสร้างปัจจัยหลัก 4 ด้านที่จะช่วยให้การจัดการความรู้ดำเนินไปได้อย่างราบรื่น ได้แก่ วัฒนธรรมองค์กร เทคโนโลยี โครงสร้างขององค์กรที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ การวัดผลการจัดการความรู้
  • 17. กระบวนการเปลี่ยนแปลง องค์กรจะต้องใช้กระบวนการเปลี่ยนแปลง เพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ ซึ่งกระบวนการประกอบด้วย 4 ขั้นตอน หลัก ๆ คือ วางแผน ออกแบบ ปฏิบัติ ขยายผล
  • 18. วงจรการจัดการความรู้ (วงจร KM) การเรียนรู้ (Learning) การวัดผล (Measurement) การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Recogniation and Rewards) World Class KM Environment กระบวนการและเครื่องมือ (Process and Tools) การสื่อสาร (Communication) การจัดการการเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรม (Transition and Behavior Management)
  • 19. องค์ประกอบหลักทั้ง 6 องค์ประกอบของวงจร KMประกอบด้วย การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม (Transition and Behavior) การสื่อสาร (Communication) กระบวนการและเครื่องมือ (Process and Tools) การฝึกอบรมและการเรียนรู้(Training and Learning) การวัดผล (Measurements) การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Recognition and Rewards)
  • 20. 1. การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) องค์กรควรที่จะทำการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป เน้นในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในองค์กรให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ โดยการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ควรเริ่มต้นจากผู้บริหารก่อนและขยายผลออกไปสู่บุคลากรใน ทุกระดับ ผู้บริหารระดับสูงต้องให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ รวมถึงมีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ จัดตั้งทีมงานเพื่อทำหน้าที่ดำเนินการวางแผนและจัดกิจกรรมต่างๆ
  • 21. 1. การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม (ต่อ) (Transition and Behavior Management) กำหนดว่าอะไรคือปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) และต้องมั่นใจได้ว่าปัจจัยเหล่านี้มีอยู่หรือสามารถสร้างให้เกิดขึ้นได้ภายในองค์กร ผู้บริหารระดับสูงต้องเป็นแบบอย่างที่ดี (Role Model) ในการแลกเปลี่ยนและจัดการความรู้ สร้างสภาพแวดล้อมภายในองค์กรที่เปิดโอกาสให้พนักงานสามารถลองผิดลองถูกได้และเปิดกว้างให้มีการทดลองนำเอาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มาปฏิบัติจริง
  • 22. 2. การสื่อสาร (Communitaction) การสื่อสารเกี่ยวกับการจัดการความรู้จะต้องคำนึงถึงปัจจัยหลักๆ 3 อย่าง เนื้อหาของเรื่องที่ต้องการจะสื่อสาร กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการจะสื่อสาร ช่องทางในการสื่อสาร
  • 23. กระบวนการและเครื่องมือ (Process and Tools) กระบวนการและเครื่องมือจะช่วยให้กระบวนการความรู้สามารถเกิดขึ้นได้รวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น การเลือกใช้เครื่องมือและกระบวนการจะต้องให้ความสำคัญ กับความรู้ทั้ง 2 ประเภท คือ Tacit และ Explicit กระบวนการและเครื่องมือสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนหลัก ๆ คือ ส่วนที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ การที่องค์กรจะเลือกใช้กระบวนการหรือเครื่องมือใด ควรพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ประเภทของความรู้ภายในองค์กร พฤติกรรมหรือลักษณะการทำงานของคนในองค์กร รวมถึงวัฒนธรรมขององค์กร
  • 24. 4. การฝึกอบรมและการเรียนรู้ (Training and Learning) เพื่อเตรียมความพร้อมของบุคลากรทุกระดับสำหรับการจัดการความรู้ โดยองค์กรจะต้องจัดให้มีการฝึกอบรมเกี่ยวกับแนวทางและหลักการของการจัดการความรู้แก่บุคลากรเพื่อสร้างความเข้าใจและความตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการและการแลกเปลี่ยนความรู้ภายในองค์กร องค์กรควรพิจารณาให้มีการจัดฝึกอบรมในหลายรูปแบบ เพื่อเปิดโอกาส ให้บุคลากรในองค์กรสามารถเข้ารับการฝึกอบรมได้อย่างสะดวก โดยพิจารณาเพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของการทำงานของบุคลากร องค์กรต้องตระหนักว่า การฝึกอบรมเป็นเพียงปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยให้การจัดการความรู้ประสบความสำเร็จ บุคลากรจะไม่สามารถเข้าใจแนวคิดและ วิธีปฏิบัติของการจัดการความรู้ได้อย่างชัดเจน ถ้าได้รับเพียงแค่การฝึกอบรม โดยปราศจากการศึกษาค้นคว้าและการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
  • 25. 5. การวัดผล (Measurement) การวัดผลช่วยบอกสถานะของกระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆ ภายในองค์กร ช่วยให้องค์กรสามารถทบทวน แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ รวมถึงปรับปรุง ให้กระบวนการต่างๆ ประสบผลสำเร็จมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวัดผลจริงๆ จึงไม่ใช่เป็นการควบคุมแต่เป็นการบริหารจัดการและการเรียนรู้พัฒนา การวัดผลโดยวิธี DON (Department of the Navy)ของสหรัฐอเมริกา จะแบ่งการวัดผลจากการจัดการความรู้ออกเป็น 3 ส่วน คือ การวัดระบบหรือกิจกรรมต่างๆ ในการจัดการความรู้ (System Measures) การวัดปัจจัยส่งออก (Output Measures) การวัดผลลัพธ์ (Outcome Measures)
  • 26. 6. การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Recogniation and Rewards) องค์กรอาจจะต้องใช้การยกย่องชมเชยและให้รางวัลเป็นแรงจูงใจ ในช่วยเริ่มต้นเพื่อโน้มน้าวให้บุคลกรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการแลกเปลี่ยนความรู้และเข้าร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ ในระยะยาวสิ่งที่จะสามารถโน้มน้าวให้บุคลากรในองค์กรสนใจแลกเปลี่ยนความรู้ได้ดีที่สุดคือ “ประโยชน์” ที่จะเกิดขึ้นกับตนเอง
  • 27. กระบวนการความรู้ (Knowledge Process) การค้นหาความรู้ (Knowledge Identification) การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้(Knowledge Sharing) การเรียนรู้(Learning)
  • 28. 1.การค้นหาความรู้ (Knowledge Identification) “รู้เรา” องค์กรสามารถใช้เครื่องมือที่เรียกว่า “Knowledge Mapping” เพื่อหาว่าความรู้ใดมีความสำคัญสำหรับองค์กร ประโยชน์ของแผนที่ความรู้ คือ ช่วยให้เห็นภาพรวมของคลังความรู้ขององค์กร
  • 29. 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) หัวใจสำคัญของขั้นตอนนี้คือ การกำหนดเนื้อหาของความรู้ ที่ต้องการและการดักจับความรู้ดังกล่าวให้ได้ ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ขั้นตอนนี้ประสบความสำเร็จคือ บรรยากาศและวัฒนธรรมขององค์กรที่เอื้อให้บุคลากรกระตือรือร้นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อใช้ในการสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดเวลา ระบบสารสนเทศมีส่วนช่วยให้บุคลากรสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันได้รวดเร็วขึ้น และทำให้การเสาะหาความรู้ใหม่ๆ จากภายนอกทำได้รวดเร็วขึ้น
  • 30. 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organzation) องค์กรต้องจัดความรู้ให้เป็นระบบเพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นหาและ นำความรู้ดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ได้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ หมายถึง การจัดทำสารบัญ และจัดเก็บความรู้ประเภทต่างๆ เพื่อให้การเก็บรวบรวม การค้นหา การนำมาใช้ทำได้ง่ายและรวดเร็ว ประเภทความรู้แบ่งตามสิ่งต่างๆ ได้แก่ ความชำนาญ หรือความเชี่ยวชาญของบุคลากร, หัวข้อ/หัวเรื่อง, หน้าที่/กระบวนการ, ประเภทของผลิตภัณฑ์ บริการ กลุ่มตลาด หรือกลุ่มลูกค้า ความครอบคลุม (แนวราบ) และความละเอียด (แนวดิ่ง) ของการแบ่งประเภทของความรู้ขึ้นอยู่กับการใช้ความรู้นั้นๆ
  • 31. 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) การจัดทำหรือปรับปรุงรูปแบบของเอกสารให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ทั้งองค์กร ช่วยทำให้การป้อนข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ การจัดเก็บ การค้นหา และการใช้ข้อมูลทำได้สะดวก รวดเร็ว การใช้ “ภาษา” เดียวกันทั่วทั้งองค์กร คือ องค์กรควรจัดทำอภิธานศัพท์ของคำจำกัดความ ความหมายของคำต่างๆ ที่แต่ละหน่วยงานใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้มีความเข้าใจตรงกัน ซึ่งจะช่วยให้การป้อนข้อมูล/ความรู้ การแบ่งประเภทและการจัดเก็บได้มาตรฐานเดียวกัน ที่สำคัญต้องมีการปรับปรุงอภิธานศัพท์ให้ทันสมัยตลอดเวลา รวมทั้งต้องให้ผู้ใช้สามารถค้นหา และเปิดใช้ได้อย่างรวดเร็ว การเรียบเรียง ตัดต่อ และปรับปรุงเนื้อหาให้มีคุณภาพดีในแง่ต่างๆ เช่น ความครบถ้วน เที่ยงตรง ทันสมัย สอดคล้องและตรงตามความต้องการของผู้ใช้
  • 32. 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) การส่งหรือการกระจายความรู้ให้ผู้ใช้ มี 2 ลักษณะ คือ “Push” (การป้อนความรู้) คือ การส่งข้อมูล/ความรู้ให้ผู้รับไม่ได้ร้องขอหรือต้องการหรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็นแบบ “Supply-based” เช่น หนังสือเวียนซึ่งโดยทั่วๆ ไปมักจะทำให้ผู้รับข้อมูลรู้สึกว่าได้รับข้อมูล/ความรู้มากเกินไปหรือไม่ตรงตามความต้องการ “Pull”(การให้โอกาสเลือกใช้ความรู้) คือ การที่ผู้รับสามารถเลือกรับหรือใช้แต่เฉพาะข้อมูล/ความรู้ที่ต้องการเท่านั้น ซึ่งทำให้ลดปัญหาการได้รับข้อมูล/ความรู้ที่ไม่ต้องการมากเกินไป (Information Overload) การกระจายความรู้แบบนี้เรียกว่า “Demand-based”
  • 33. 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ความรู้ประเภท Explicit จะใช้การจัดทำเอกสาร จัดทำฐานความรู้ รวมทั้ง การทำสมุดหน้าเหลืองโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยให้เข้าถึงความรู้ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น ความรู้ประเภท Tacit ทำได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความต้องการและวัฒนธรรมองค์กร วิธีหลักๆ มีดังต่อไปนี้ ทีมข้ามสายงาน (Cross – Functional Team) Innovation & Quality Circles (IQCs) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Community of Practice) ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation)และการยืมตัวบุคลากรมาช่วยงาน (Secondment) เวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Forum)
  • 34. 7. การเรียนรู้ (Learning) องค์กรจะต้องกระตุ้นและสร้างบรรยากาศที่ทำให้บุคลากรทุกคนกล้าคิด กล้าทำ กล้าลองผิดลองถูก ผู้บริหารจะต้องยอมรับผลลัพธ์ที่ออกมาไม่ว่าจะเป็นความสำเร็จหรือความล้มเหลว กระบวนการการเรียนรู้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ แต่มาจากประสบการณ์ที่ได้รับ ในการลองนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติ การเรียนรู้จะต้องสอดคล้องกับทิศทางและค่านิยมขององค์กรด้วย “วงจรการเรียนรู้” คือ การเรียนรู้ของบุคลากรซึ่งทำให้เกิดความรู้ใหม่ๆ ขึ้นมากมาย ซึ่งไปเพิ่มพูนองค์ความรู้ขององค์กรที่มีอยู่แล้วให้มากขึ้นเรื่อยๆ ความรู้เหล่านี้จะถูกนำไปใช้เพื่อสร้างความรู้ใหม่ๆ อีกเป็นวงจรที่ไม่มีที่สิ้นสุด
  • 35. วงจรการเรียนรู้ องค์ความรู้ การเรียนรู้และ นวัตกรรมอย่าง ต่อเนื่อง เกิดการเรียนรู้และ ประสบการณ์ใหม่ๆ นำความรู้ไปใช้
  • 36. ปัจจัยเอื้อที่ทำให้การจัดการความรู้ประสบความสำเร็จ (Key Enablers) ภาวะผู้นำและกลยุทธ์ (Leadership and Strategy) วัฒนธรรมองค์กร (Culture) เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านการจัดการความรู้ (Technology) การวัดผล (Measurement) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)
  • 37. 1. ภาวะผู้นำและกลยุทธ์ (Leadership and Stragegy) ผู้บริหารต้องเข้าใจแนวคิดและตระหนักถึงประโยชน์ที่องค์กร จะได้รับจากการจัดการความรู้เพื่อที่จะสามารถสื่อสารและผลักดันให้มีการจัดการความรู้ในองค์กร องค์กรจะต้องสามารถตอบคำถามได้ว่า จะจัดการความรู้ภายในองค์กรเพื่ออะไร เพื่อนำเอาเป้าหมายของกาจัดการความรู้นั้น มากำหนดเป็นแผนงานและกิจกรรมต่างๆ ที่จำเป็นเพื่อช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้ กลยุทธ์ของการจัดการความรู้จะต้องสนับสนุนและสอดคล้องกับทิศทางในการดำเนินธุรกิจขององค์กร เพื่อช่วยให้องค์กรสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันได้
  • 38. 2. วัฒนธรรมองค์กร (Culture) สิ่งที่องค์กรควรพิจารณาคือ การทำความเข้าใจถึงอุปสรรคต่างๆ ที่ขัดขวางไม่ให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และพยายามหาวิธีการ ที่จะกำจัดอุปสรรคต่างๆ เหล่านั้นออกไป การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กรให้เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนความรู้ จะต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารอย่างเต็มที่ เพื่อที่จะทำให้บุคลากรในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นของการเปลี่ยนแปลง
  • 39. 3. เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านการจัดการความรู้ (Technology) ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารเสนเทศ โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต เป็นแรงผลักดันสำคัญที่ช่วยให้การแลกเปลี่ยนความรู้สามารถทำได้ง่ายขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนสำคัญในการช่วยให้คนในองค์กรสามารถค้นหาความรู้ ดังเอาความรู้ไปใช้ ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ รวมถึงช่วยให้ข้อมูลความรู้ต่างๆ ถูกจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบ องค์กรต้องมั่นใจว่าระบบเทคโนโลยีนั้นๆ สามารถเชื่อมต่อหรือบูรณาการ เข้ากับระบบเดิมที่องค์กรมีอยู่ได้อย่างแนบสนิท รวมถึงต้องตอบสอนองความต้องการของผู้ใช้และใช้ได้ง่าย องค์กรต้องตระหนักว่าเทคโนโลยีไม่ได้ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ แต่ทำให้การแลกเปลี่ยนความรู้เกิดได้รวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น
  • 40. 4. การวัดผล (Measurement) การวัดผลของการจัดการความรู้จะช่วยให้องค์กรสามารถทบทวน ประเมินผล และทำการปรับปรุงกลยุทธ์และกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการจัดการความรู้ได้ ผลจากการวัดความสำเร็จของการจัดการความรู้จะโน้มน้าว ให้บุคลากรทุกระดับเห็นถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการจัดการและการแลกเปลี่ยนความรู้
  • 41. 5. โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) โครงสร้างที่กล่าวถึงนี้อาจจะสามารถเป็นทั้งสิ่งที่จับต้องได้ หรือ สิ่งที่จับต้องไม่ได้ ผู้บริหารจะต้องพิจารณาถึงโครงสร้างของหน่วยงานหรือบุคลากร ที่จะรับผิดชอบในการจัดการความรู้ว่าควรเป็นในรูปแบบใด ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น ระบบการประเมินผลงานและระบบยกย่องชมเชยและให้รางวัลที่ต้องเอื้อต่อการจัดการความรู้ขององค์กร
  • 43. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 11 “ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการเพื่อให้มีลักษณะเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้อง รับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถ ประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมา ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่าง ถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์รวมทั้งต้อง ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถสร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่ มีประสิทธิภาพ และ มีการเรียนรู้ร่วมกันทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระราช กฤษฎีกานี้”
  • 44. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ องค์กรแห่งการเรียนรู้คืออะไร ✪ องค์กรที่ ประกอบด้วยคน ที่มีความมุ่งมั่นที่จะขยายขีดความสามารถของตนผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมอย่างต่อเนื่อง ✪ องค์กรที่มี บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ รวมทั้งมีการจัดหา สร้าง ถ่ายโอนความรู้ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากการใช้ความรู้ใหม่ ๆ ✪ ใช้แนวคิด การจัดการความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อสร้างองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่มีคุณค่าต่อตนเอง ทีมงาน และองค์กร ✪ มีเป้าหมายเพื่อให้เป็น องค์กรที่มีคุณภาพ และสามารถดำรงอยู่ได้ในสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาของสังคมโลกได้อย่างสง่างาม
  • 46. ภูมิหลัง : กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล การปฏิบัติราชการ 60 20 ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ การพัฒนา องค์กร 10 10 ประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติ ราชการ คุณภาพการ ให้บริการ มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร (น้ำหนักร้อยละ 20) 1. การบริหารความรู้ในองค์กร (น้ำหนักร้อยละ 5) 2. การจัดการสารสนเทศ (น้ำหนักร้อยละ 5) 3. การบริหารการเปลี่ยนแปลง (น้ำหนักร้อยละ 10)
  • 47. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Management process Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets The Four Functions of Management : POLC Planning กำหนดสิ่งที่ต้องการบรรลุ กำหนดวัตถุประสงค์และขั้นตอนที่จะบรรลุผล Controlling Organizing ตรวจสอบ ควบคุม ติดตามผลงานกับเป้าหมายและปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง จัดสรรทรัพยากร จัดกิจกรรมของแต่ละคนและกลุ่มเพื่อปฏิบัติตามแผน Leading กระตุ้นความกระตือรือร้นของคนให้ทำงานหนักเพื่อบรรลุแผนงานที่สำคัญ
  • 48. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ความรู้คืออะไร ความรู้ คือ สิ่งที่เมื่อนำไปใช้จะไม่หมดไปหรือสึกหรอแต่จะยิ่งงอกเงยหรืองอกงามมากยิ่งขึ้น ความรู้เป็นสิ่งที่คาดเดาไม่ได้ เกิดขึ้น ณ จุดที่ต้องการใช้ความรู้นั้น ความรู้จึงเป็นสิ่งที่ขึ้นกับบริบทและกระตุ้นให้เกิดขึ้นโดยความต้องการ สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผล หรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมายและคุณค่าสำหรับผู้ใช้ ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนำไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว
  • 49. การจัดการความรู้สู่องค์กรคุณภาพ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ปัญญา การเรียนรู้ ประยุกต์ใช้ได้ ปัญญา Wisdom ตัดสินใจถูกต้อง ความรู้Knowledge สนับสนุนการตัดสินใจ สารสนเทศ Information แปลงให้มีความหมาย ข้อมูล(Data)
  • 50.
  • 52. Know-whyเป็นความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหา ที่ซับซ้อนและนำประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น
  • 53.
  • 54. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets หลักการสำคัญของการจัดการความรู้ ให้คนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิดทำงานร่วมกันได้อย่างสร้างสรรค์ ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยเป้าหมายเดียวกัน ร่วมกันพัฒนาวิธีทำงานในรูปแบบใหม่ๆเพื่อบรรลุประสิทธิผลที่กำหนดไว้ (Responsiveness ,Innovation ,Competency , Efficiency) ทดลองและเรียนรู้เพราะเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ ถ้าได้ผลดีก็ขยายผลมากขึ้นจนได้เป็นวิธีการทำงานแบบใหม่หรือBestpractice นำเข้าความรู้จากภายนอกอย่างเหมาะสม โดยเอาความรู้จากภายนอกมาทำให้พร้อมใช้ในบริบทของเรา(มองหา/ดูดซับ/ส่งเสริม/ขจัดNIH)
  • 55. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ความยากของการจัดการความรู้ ความรู้เป็นเรื่องที่พูดง่าย แต่ทำให้ชัดเจนยาก ความรู้ที่สำคัญที่สุดเป็นสิ่งที่แลกเปลี่ยนได้ยาก วัดคุณค่าที่แท้จริงของทรัพย์สินความรู้ได้ยาก เป้าหมายของการจัดการความรู้ เพื่อพัฒนางานให้มีคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ยิ่งขึ้น เพื่อพัฒนาคนหรือผู้ปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาฐานความรู้ขององค์การเป็นการเพิ่มพูนทุนทางปัญญาขององค์การ
  • 56. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง” อย่าลืมว่า ต้อง “สมดุล” ให้ความสำคัญกับ“2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ “2T” Tool & Technology
  • 57. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets องค์การแห่งการเรียนรู้กับการจัดการความรู้(LO & KM) องค์การแห่งการเรียนรู้คือสถานที่ซึ่งผู้คนขยายขีดความสามารถเพื่อที่จะบรรลุในสิ่งที่พวกเขาต้องการอย่างแท้จริงและต่อเนื่องเป็นสถานที่ที่ระบบทางความคิดใหม่และการขยายตัวทางความคิดได้รับการสนับสนุน ที่ซึ่งผู้คนมีความทะเยอทะยานนอกกรอบและเป็นที่ๆผู้คนเรียนรู้ที่จะเรียนไปด้วยกันอย่างต่อเนื่อง Knowledge management is a connective tissueof a learning organization. เปรียบ LO เหมือนที่นา KMเหมือนต้นข้าว รวงข้าวเป็นResultที่มีข้าวเปลือกเป็นOutcomeและข้าวสารเป็นImpact เราต้องการข้าวสาร
  • 58. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets 3 กฎหลักของการจัดการความรู้ที่ลืมไม่ได้(Snowden) 1.Knowledge can only be volunteered,it can not be conscripted. สมัครใจไม่ใช่กะเกณฑ์ บังคับ ข่มขู่ สั่งไม่ได้ 2.I only know what I know when I need to know it. การเรียนรู้เกิดเมื่อต้องการใช้ 3.We always know more than we can say,and we will always say more than we can write down. รู้มากกว่าที่พูดได้เขียนได้
  • 59. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets LKASA(Bantak)Model การจัดการความรู้ 5 ขั้นตอน 1.การจัดการให้เกิดการเรียนรู้ (LearningManagement) 2.การจัดการให้เกิดองค์ความรู้ (KnowledgeOrganizing) 3.การจัดการให้เกิดการใช้ความรู้(Knowledge Acting) 4.การจัดการให้เกิดการแบ่งปันความรู้(Knowledge Sharing) 5.การจัดการให้เกิดการจัดเก็บองค์ความรู้(Knowledge Assets)
  • 60. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ 1.Learning Mg 2.K Organizing 5. K Assets 4. K Sharing 3.K Acting Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets LKASAEGG ( Bantak )Model
  • 61. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets การจัดการให้เกิดการเรียนรู้ (LearningManagement) บทบาทหน้าที่ของCEO & CKO กับการจัดการความรู้ การสร้างวิสัยทัศน์ความรู้(Knowledge Vision) คนและทีม บนความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์ การเตรียมคนในองค์การให้พร้อมกับการการเรียนรู้(Fifth Disciplines) การเตรียมทีมให้พร้อมต่อการเรียนรู้(Learning Disability) การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้คนเกิดการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้แบบFour Learning ความคิดสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ (Four Thinking) ระดับของการเรียนรู้ การกระตุ้นการเรียนรู้ด้วยการเขย่าองค์กร
  • 62. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets คุณลักษณะที่ดี/ขีดความสามารถของCKO คิดกว้าง : Think Globaly, Act Locally มองไกล : Visionary Leadership ใฝ่สูง : Result-oreiented Management มุ่งทำจริง : Action now Strategic Management เป็น Strategic partner System Approach มีมุมมองเชิงระบบ Communication มีความสามารถในการสื่อสาร Coordination การประสานงานและแสวงหาความร่วมมือ Empowerment เสริมพลังเพื่อสร้างEmployee Champion
  • 63. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ ประเด็น/หลักการ เรื่องเล่า &คำพูด “ “ แหล่งข้อมูล/บุคคล “เราทดลองวิธีการใหม่ …” “ “ โทร. ... Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets การบันทึกขุมทรัพย์ความรู้(Knowledge Assets) ..... เป็นขุมความรู้ (Knowledge Assets)ที่มีบริบทและรายละเอียด ตามกาละและเทศะที่ต้องการความรู้นั้น ที่มา ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด
  • 64. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ประเด็นสำคัญในการเขียนเอกสารคุณภาพ(Document) ชื่อเรื่อง : QP,WI,CPG เรื่องอะไร วัตถุประสงค์ : เพื่อป้องกันความเสี่ยงอะไร เพื่อให้เกิดจุดคุณภาพอะไร วิธีปฏิบัติ : ทำอย่างไรบ้าง มีขั้นตอนการปฏิบัติอย่างไร ตัวชี้วัด : ทำตามนี้แล้วเกิดผลดีอะไร ผู้เกี่ยวข้อง : ใครเขียน ใครต้องใช้บ้าง การประกาศใช้ : ฉบับที่ วันที่ ผู้อนุมัติ
  • 65. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets แฟ้มงานเพื่อการพัฒนา(Portfolio): แฟ้มหน่วยงาน สิ่งที่ภาคภูมิใจ/นวัตกรรม แหล่งอ้างอิง ประโยชน์ที่ได้ ผู้จัดทำ วันที่ ที่
  • 66. การจัดการความรู้แบบบูรณาการ Concepts Learning Knowledge Acting Sharing Assets ประเภทของขุมทรัพย์ความรู้ : Best Practice Best practice ประกอบด้วยเอกสารคุณภาพ ดังนี้ คู่มือคุณภาพ 29 เรื่อง(แผนก) ระเบียบปฏิบัติ 105 เรื่อง,CPG 12 เรื่อง วิธีปฏิบัติ 260 เรื่อง CQI story 30 เรื่อง
  • 67. ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา ตัวชี้วัดที่ 20 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ น้ำหนัก: ร้อยละ 2 คำอธิบาย: 1. สถาบันอุดมศึกษามีแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ 2. การจัดการความรู้ในองค์กร หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้สถาบันอุดมศึกษา มีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด
  • 68. ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) คำอธิบาย: 3. กระบวนการในการบริหารจัดการความรู้ในองค์กร ประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดระบบจัดเก็บความรู้ การเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างเป็นความรู้ และการแลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและนอกองค์กร การสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในองค์กร การกำหนดแนววิธีปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ใน องค์กรให้ดียิ่งขึ้น
  • 69. ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) เหตุผล: พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 11 กำหนดไว้ว่า สถาบันอุดมศึกษา มีหน้าที่ในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา ให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน
  • 70. ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนน: กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงาน ตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้
  • 72. ประเด็นการประเมินผล : การบริหารการศึกษา (ต่อ) เงื่อนไข: 1. ให้สถาบันอุดมศึกษาจัดส่งแผนการจัดการความรู้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550 ให้สำนักงาน ก.พ.ร. พร้อมกับการรายงานผลการปฏิบัติราชการรอบ 6 เดือน 2. ในกรณีที่มีการดำเนินการตามแผนและเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายของแผนงานน้อยกว่าร้อยละ 50 ค่าคะแนนที่ได้รับสูงสุดไม่เกินระดับ 2 3. ในกรณีที่มีการดำเนินการตามแผนและเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายของแผนงานอยู่ระหว่าง ร้อยละ50-100 จะคิดคะแนนที่ได้โดยวิธีบัญญัติไตรยางค์
  • 77. ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ชนิดของตัวบ่งชี้: กระบวนการ คำอธิบายตัวบ่งชี้: การบริหารจัดการความรู้จากผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อเผยแพร่ไปยังคณาจารย์ นักศึกษา วงการวิชาการ หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนชุมชนเป้าหมายที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ เป็นเรื่องที่มีความสำคัญสำหรับทุกสถาบันอุดมศึกษา ดังนั้น สถาบันต้องจัดระบบส่งเสริมสนับสนุนให้มีการรวบรวม เผยแพร่ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทรัพย์สินทางปัญญาจากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์อย่างเหมาะสมกับผู้ใช้แต่ละกลุ่ม โดยสิ่งที่เผยแพร่ต้องมีคุณภาพเชื่อถือได้และรวดเร็วทันเหตุการณ์
  • 78. เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ 2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้เป็นองค์ความรู้ที่คนทั่วไปเข้าใจได้ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด 3. มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2 สู่สาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง 4. มีการนำผลงานงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และ มีการรับรองการใช้ประโยชน์จริงจากหน่วยงานภายนอกหรือชุมชน 5. มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ที่นำไปใช้ประโยชน์ และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
  • 79. เกณฑ์มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม 6. มีระบบและกลไกส่งเสริมการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร และมีการยื่นจดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร (เฉพาะกลุ่ม ค1 และ ง)
  • 80. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ทั่วไป เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 และ ง
  • 81. ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 : การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ คำอธิบายตัวบ่งชี้: มาตรฐานการอุดมศึกษาข้อที่ 3 กำหนดให้สถาบันมีการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งต้องมีการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่สถาบันแห่งการเรียนรู้ โดยมีการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในสถาบันซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในสถาบันสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเอง ให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้สถาบันอุดมศึกษา มีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด กระบวนการในการบริหารจัดการความรู้ในสถาบัน ประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การรวบรวม การจัดเก็บความรู้ การเข้าถึงข้อมูล และการแลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน การสร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในสถาบัน การกำหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ในสถาบันให้ดียิ่งขึ้น
  • 82. เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีการกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบันอย่างน้อยครอบคลุม พันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย 2. กำหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 3. มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้ที่มีประสบการณ์ตรง (Tacit Knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด 4. มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) 5. มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษา ที่ผ่านมาที่เป็นลายลักษณ์อักษร (Explicit Knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ของตรง (Tacit Knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง