SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  52
ภาพนิง (Still Image)
         ่




1
Still Image
    ภาพนิ่งไม่มีการเคลื่อนไหว เกิดจากการวางสี
     เส้น และรูปทรงต่างๆ ในตำาแหน่งที่เหมาะสม
     ปัจจุบนนิยมใช้ภาพนิ่งประกอบการนำาเสนอ
           ั
     ข่าวสารหรือเชือมโยงเรื่องราวเข้าด้วยกันใน
                   ่
     รูปแบบของมัลติมีเดีย




2
ประเภทของภาพนิ่ง
    ภาพนิ่งที่ใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เกิดจากการรวม
     กันของจุดสีแต่ละจุดว่าพิกเซล (Pixel)
    คุณภาพของการแสดงผลภาพนิ่งใดๆ นั้น จะขึ้นอยู่กบั
     ความละเอียดของภาพ ประสิทธิภาพของอุปกรณ์
     ฮาร์ดแวร์ เช่น จอภาพ การ์ดจอ (Video Card) และ
     คุณภาพของเครื่องพิมพ์
    ประเภทของภาพนิ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด
      ภาพ 2 มิติ (2D Image)
      ภาพ 3 มิติ (3D Image)




3
ภาพ 2 มิติ
    ที่สร้างและนำามาใช้งานกับคอมพิวเตอร์แบ่ง
     ได้ 2 ประเภท
     ภาพเวกเตอร์ (Vector Graphic)
     ภาพบิตแมป (Bitmapped Image)




4
ภาพเวกเตอร์ (Vector Graphic)


                                  ภาพเวกเตอร์แสดงถึงภาพ
                                   ลักษณ์ที่มีโครงสร้างทาง
                                   เรขาคณิต และสร้างด้วย
                                   หลักทางคณิตศาสตร์ จึง
                                   ต้องจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบ
                                   ของคำาสั่ง




5   ลักษณะการวาดรูปสี่เหลี่ยมด้วยโปรแกรม Photoshop
 ไฟล์ภาพเวกเตอร์หลายรูปแบบ ซึ่งมีนามสกุลแตกต่างกัน
     ออกไป เช่น Al, Cdr, Cgm, Cmx, Drw, Eps,Pdf, Pct,
     Pic, Plt และ Wmf เป็นต้น




              โครงร่างของภาพเวคเตอร์
                                 ภาพเวคเตอร์ที่ตกแต่งแล้ว
6             ลักษณะภาพเวกเตอร์ที่สร้างเป็นแฟ้ม wmf
 ภาพเวกเตอร์ เป็นไฟล์ขนาดเล็ก สามารถปรับปรุงโครงร่างของ
     ภาพได้แม้จะเป็นเส้นบางๆ และสามารถย่อขยายภาพได้โดยไม่
     สูญเสียคุณภาพ




      การขยายภาพเวกเตอร์ เมื่อขยายขนาดจะไม่สูญเสียความคม
7                              ชัด
ภาพบิตแมป (Bitmapped Image)

     บิตแมปเป็นภาพที่เกิดจากการประกอบรวมกันของพิกเซล
      ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่เล็กที่สุดที่ใช้แสดงผลบนจอภาพและ
      ในการพิมพ์ ภาพบิตแมปสามารถรองรับการแสดงสีได้
      มากกว่า 16.7 ล้านสี (ความละเอียดที่ 26 บิต)
     วิธการสร้างภาพแบบบิตแมปที่นยมกันสามารถทำาได้หลาย
          ี                             ิ
      วิธี ดังนี้
      การนำาเข้าภาพจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
      การคัดลอก (Copy) ภาพที่แสดงบนจอภาพ
      นำาเข้าภาพถ่ายผ่านทางเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner)
      นำาเข้ารูปภาพจากกล้องถ่ายภาพดิจิตอลหรือกล้องวีดีโอ
         ดิจิตอล
8
 ภาพบิตแมปถ้าภาพมีความละเอียดน้อย เมื่อทำาการขยายจะ
      ทำาให้สูญเสียรายละเอียดของภาพทำาให้เกิดเป็นรอยหยัก
      เรียกว่า “อะไลแอส”(Alias)
     มีให้เลือกใช้งานหลายชนิด เช่น ไฟล์ที่มีนามสกุล Bmp,
      Cgm, Gif, Hgl, Jpeg, Pbm, Pcx Pgm, Pnm, Ppm, Psd,
      Rle, Tga, Tiff และ Wpg เป็นต้น




9    ภาพแผนที่บิตเมื่อทำาการขยายจะปรากฏกรอบของจุดภาพ
ภาพ 3 มิติ (3D Image)
      เป็นภาพประเภทหนึ่งของภาพเวกเตอร์ ซึ่งมีลักษณะมุมมองของ
       ภาพที่เหมือนจริง อยู่ในรูปทรง 3 มิติ (3D) มีพื้นฐานการสร้างมา
       จากภาพ 2 มิติ (มีเพียงแกน X และ Y ) โดยเพิ่มความลึกให้กับ
       ภาพที่สร้าง (เพิ่มแกน Z)




                  ภาพ 2 มิติ                    ภาพ 3 มิติ


10             ภาพโครงร่างพื้นฐานของภาพ 2 มิติและภาพ 3 มิติ
 ซอฟต์แวร์ที่มีความสามารถในการทำางานด้าน 3 มิติ เช่น
       AutoCad, 3d Studio Max และ Extreme 3d เป็นต้น




11         โปรแกรมออโตแคด สำาหรับการสร้างภาพสามมิติ
รูปแบบไฟล์ข้อมูลภาพ (Image File Format)
      โปรแกรมสนับสนุนในระบบ Macintosh ส่วนใหญ่จะสามารถ
       นำาเข้า (Import) และ ส่งออก (Export) ไฟล์ภาพที่มีนามสกุล
       Pict ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยบริษัทแอปเปิ้ล ตัวอย่างโปรแกรม เช่น
       โปรแกรม Illustrator หรือ Freehand
      ส่วนบนระบบ Windows ใช้รูปแบบ Dibs (Device-
       Independent Bitmaps) ซึ่งบันทึกไฟล์ในรูปแบบ Bmp
       โดยที่ Dibs นั้นสามารถซ่อนอยู่ในไฟล์ Riff(Resource
       Interchange File Format) ได้
      Riff เป็นรูปแบบไฟล์ที่รองรับไฟล์ได้หลายชนิดบนระบบ
       Windows เช่น ไฟล์ภาพบิตแมปชนิดต่างๆ ไฟล์ Midi และรูป
       แบบตัวอักษร
      ส่วนใหญ่การบันทึกข้อมูลรูปภาพแบบบิตแมปบนระบบ
       Windows จะเป็นไฟล์ Dib, Bmp, Pcx และ Tiff แต่มีบาง
       บริษัทสร้างรูปแบบไฟล์ภาพของตัวเองขึ้นมา เช่น บริษัท
       Adobe สร้างรูปแบบไฟล์ Psd สำาหรับโปรแกรม Photoshop
12     และไฟล์ Ai สำาหรับโปรแกรม Illustrator
การสร้างภาพดิจิตอล


      จากเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner)
      จากกล้องดิจิตอล (Digital Camera)
      โปรแกรมที่ใช้ในการแก้ไขภาพ เช่น Fauve Xres, Adobe
       Photoshop, Hsc Live Picture, Micrografx Picture
       Publisher เป็นต้น




13
เทคนิคการปรับแต่งภาพ

      Anti-Aliasing
       เป็นขั้นตอน
       การปรับแต่ง
       การเรียงตัว
       ของจุดสี
       ภายในภาพที่
       มีลักษณะเป็น
       รอยหยัก
       (Aliasing) ให้   ก่อนการขจัดรอย     หลังการขจัด
       เรียบกว่าเดิม           หยัก            รอยหยัก
14                                 การขจัดรอย
                                       หยัก
Transformation
      เป็นการแปลงรูปร่างของภาพให้มีลักษณะแตกต่างจากเดิม เช่น
      ย่อภาพให้เล็กลง หมุนภาพให้อยู่ในแนวที่ต้องการ และบิดภาพ
      ให้เอียงในองศาที่เหมาะสม




         ภาพเดิมก่อนการแปลง
                          ภาพใหม่หลังจากการแปลง (พลิกภาพ)

                   การ Transformation
15
Dithering
      เป็นการปรับข้อมูลสีของแต่ละพิกเซลให้มีความใกล้เคียง
       และกลมกลืนกับข้อมูลสีที่ต้องการ ด้วยการคำานวณหาค่า
       เฉลี่ยของข้อมูลสีภายในภาพแล้วปรับเปลี่ยนให้ได้ตามความ
       ต้องการ




16                การปรับข้อมูลสีด้วยวิธี Dithering
Rendering

      เป็นการเพิ่มพื้นผิวใกล้กับภาพซึ่งส่วนใหญ่จะใช้กับภาพ 3
       มิติ เนื่องจากการสร้างภาพ 3 มิติทำาได้เพียงโครงร่างของ
       ภาพ




          การ Rendering ด้วยโปรแกรม 3D Studio Max
17
การทำางานของแสงสีร่วมกับคอมพิวเตอร์

      เนื่องจากดวงตาของมนุษย์ไวต่อสีหลัก 3 สี คือ สีแดง (Red) เขียว
       (Green) และนำ้าเงิน (Blue) โดยใช้หลักการผสมแสงสีเข้าด้วยกันเพื่อ
       ได้ได้สีต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป เช่น เมื่อเห็นวัตถุสีส้ม จะเกิดจาก
       การรวมกันของแสงสีเขียว และสีแดง เป็นต้น ด้วยความต้องการให้สี
       บนจอภาพเหมือนกับสีที่มองเห็นจากดวงตามนุษย์ จึงนำาลักษณะการ
       รวมสีของดวงตามนุษย์มาประยุกต์ใช้กับการแสดงผลของจอภาพ
       คอมพิวเตอร์
      สำาหรับเครื่องพิมพ์นอกจากใช้ 3 สีขางต้นแล้ว ต้องมีการใช้สีเพิ่มคือ สี
                                            ้
       คราม (Cyan) สีม่วง (Magenta) สีดำา และสีเหลือง ในทางตรงข้ามกัน
       จอภาพคอมพิวเตอร์จะใช้ปฏิกิริยาทางเคมีของสารฟอสฟอรัสรวมจุด
       สีหลัก 3 สี (แดง นำ้าเงิน เขียว ) ผสมเป็นแสงสีที่แตกต่างกันบนจอภาพ
      สื่อมัลติมีเดียปัจจุบันแสดงผลบนจอภาพได้อย่างน้อย 640X480
       พิกเซล 256 สีขึ้นไป ถ้าจอภาพแสดงผลแสงสีได้มากก็สามารถสร้าง
       ภาพที่ละเอียดได้มากขึ้น
18
ตารางแสงสี

      ใช้อางอิงข้อมูลแสงสี เพื่อกำาหนดค่าแสงสีของแต่ละพิกเซล
           ้
       ในการแสดงผลบนจอภาพ สำาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบ
       Windows เรียกได้จาก Palette โดยตารางการอ้างถึงข้อมูล
       แสงสีส่วนใหญ่มีความละเอียดของข้อมูลแสงสีขนาด 1, 4,
       8,16 และ 26 บิต
      สำาหรับการแสดงผลแสงสีขนาด 8 บิต 256 แสงสี ระบบ
       คอมพิวเตอร์จะเลือกแสงสีเพียง 256 แสงสีจากจำานวนล้าน
       กว่าแสงสีที่สามารถผสมได้มาเก็บข้อมูลไว้ในตารางแสงสี
       โดยให้รายละเอียดว่าแต่ละแสงสีมีส่วนผสมของสีแดง เขียว
       และนำ้าเงินอย่างไรแล้วดึงแสงสีมาใช้งานตามความเหมาะสม

19
 โปรแกรมที่สนับสนุนการวาดและแก้ไขภาพจะมีตารางแสงสี
       ช่วยแสดงผลแสงสีที่เหมาะสม แต่อาจมีข้อจำากัดคือ ไม่
       สนับสนุนทุกรูปแบบแสงสี และแก้ไขภาพได้เฉพาะกลุ่ม
      ระบบแสงสี 26 บิต จะแบ่งแสงสีแดง เขียว และนำ้าเงิน ออกเป็น
       แสงสีละ 256 เฉดสี เมื่อนำามาผสมกันจะได้จำานวนสีถง  ึ
       16,777,216 แสงสี (256X256x256)
      จำานวนแสงสีที่แสดงจะขึ้นอยู่กับความละเอียดของจอภาพด้วย
       เช่น ถ้าความละเอียดของจอภาพที่ 660X680 พิกเซล จะแสดง
       แสงสีได้สูงสุด 307,200 แสงสีต่อหนึ่งครั้ง ทำานองเดียวกันแม้
       การ์ดจอจะแสดงผลได้ 26 บิต หากจอภาพมีความละเอียด
       สูงสุดเพียง 1026X768 พิกเซล จอภาพก็จะแสดงผลแสงสีได้
       ครั้งละ 786,632 สีเท่านั้น
      เมื่อเปลี่ยนแปลงการแสดงผลของจอภาพคอมพิวเตอร์ ระบบจะ
       คำานวณและเปลี่ยนค่าข้อมูลแสงสีในตารางแสงสีใหม่ทุกครั้ง
       เรียกว่า “พาเลตแฟลซซิ่ง” (Palette Flashing) ซึ่งเป็นปัญหา
       หนึ่งของการออกแบบมัลติมีเดีย เช่น ขณะที่แสดงภาพ
       เคลื่อนไหวหากมีการเปลี่ยนแปลงตารางแสงสีจะเกิดข้อผิด
       พลาดในการแสดงผลเป็นผลให้การแสดงผลติดขัด และสูญ
20     เสียคุณภาพด้วย
การแก้ปญหาพาเลตแฟลซซิ่ง
            ั

     จัดตารางแสงสีสำาหรับการแสดงผลเพียงตารางเดียว
      และกำาหนดข้อมูลสีที่มีคุณภาพที่สุด (Super Palettes)
      สำาหรับแสดงผลเพียง 256 แสงสี ระหว่างภาพแต่ละภาพ
      ซึ่งมีโปรแกรมสนับสนุนการกำาหนดดังกล่าวคือ
      โปรแกรม Equilibrium’s Debabelizer
     ปรับแสงสีของภาพปัจจุบันเป็นแสงสีขาวหรือดำาก่อนที่
      จะแสดงภาพต่อไป เนื่องจากแสงสีขาวและดำาสามารถ
      ปรับเข้ากับทุกแสงสีภายในตารางแสงสี เป็นผลให้ภาพ
      ต่อไปไม่ถูกรบกวน



21
รูปแบบของแสงสีที่ใช้งานบนคอมพิวเตอร์




      มีรูปแบบที่แตกต่างกัน แบ่งได้หลายรูปแบบ เช่น
        HSB (Hue, Saturation, Brightness) เป็นแสงสีที่ตอบ
         สนองการมองเห็นของสายตาของมนุษย์
        RGB (Red, Green, Blue) เป็นแสงสีทใช้งานกับจอภาพ
                                           ี่
         คอมพิวเตอร์
        CMYK (Cyan, Magenta, Yellow, Black) เป็นแสงสีที่ใช้
         งานกับเครื่องพิมพ์
        Lab เป็นมาตรฐานการรองรับแสงสีทั้งสามรูปแบบข้างต้น


22
HSB

     HSB ประกอบขึ้นด้วยลักษณะของแสงสี 3
       ประการ คือ Hue, Saturation และ
       Brightness
      Hue เป็นการเปลี่ยนแปลงเฉดสีทแตก  ี่
       ต่างจากแสงหลักทังสาม (แดง เขียว
                            ้
       นำ้าเงิน) ตามมาตรฐานทีเรียกว่า
                                ่
       “Standard Color Wheel” โดยเปรียบ
       เทียบกับองศาต่างๆ บนวงกลม ซึ่ง
       เป็นการนำาองศาของวงกลมใช้แบ่ง
       ความแตกต่างของแสงสีตงแต่ 0-360
                                  ั้
       องศา ตามการผสมแสงสีมาตรฐานหลัก
       3 แสง สี คือ แดง เหลือง และนำ้าเงิน ซึ่ง
       แต่ละแสงสีจะมีค่าองศาที่แตกต่างกัน
       ดังนี้ แสงสีแดงมีค่าเป็น 0 และ 360
       แสงสีเหลืองมีค่าเป็น 120 และแสง
       สีนำ้าเงินมีค่าเป็น 240


                                                  แสงสีหลักๆ ที่เปลี่ยนแปลง ณ ตำาแหน่ง
23                                                            องศามาตรฐาน
Saturation
      เป็นค่าความเข้มของแสงสีที่อยู่ในช่วงแสงสีจางจนถึงแสงสีเข้ม
       จะเป็นสัดส่วนของแสงสี Hue ที่มีอยู่ในโทนสีเทา โดยวัดค่า
       เป็นเปอร์เซ็นต์ ตั้งแต่ 0% (แสงสีเทา) จนถึง 100% (ค่าความ
       เข้มของแสงสีมากที่สุด) เช่น การปรับ Saturation ของแสง
       สีนำ้าเงิน จะสามารถปรับได้จากแสงสีนำ้าเงินเทา (0%) จนถึง
       แสงสีนำ้าเงินเทาเข้ม (100%)
     Brightness
      ค่าความสว่างของแสงสี คือค่าของแสงสีดำาไล่ระดับสว่างขึ้น
       เรื่อยๆ จนถึงแสงสีขาวซึ่งวัดค่าเป็นเปอร์เซ็นต์จาก 0% (แสงสี
       ดำา) จนถึง 100% (แสงสีขาว)
24
25   saturation ของแสงสีนำ้าเงิน
26   การไล่ระดับของ brightness
27
     แสงสีต่างๆ ของ HSB
RGB

      เกิดจากการรวมแสงของแสง
       สีหลักคือ แสงสีแดง (Red)
       เขียว (Green) และ
       นำ้าเงิน(Blue) ซึ่งจะได้แสงสี
       แตกต่างกันตามสัดส่วนความ
       เข้มของแสงสี RGB ที่มา
       ผสมกัน โดยแสงสีหลักทั้ง 3
       จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 255 เมื่อ
       ข้อมูลแสงและสี RGB
       เปลี่ยนไป ความเข้มของแสง
       สีแดง เขียว และนำ้าเงิน บน
       จอภาพจะปรับเปลี่ยนตามไป
       ด้วย
28                                      การแสดงแสงสีชนิด RGB
CMYK


             เกิดจากการซึมซับหมึกพิมพ์ลง
              บนกระดาษ โดยมีสีพื้นฐาน คือ
              สีนำ้าเงินเขียว (Cyan) สีแดง
              ม่วง (Magenta) และสีเหลือง
              (Yellow) แต่อย่างไรก็ตาม มี
              บางสีที่ CMYK ไม่สามารถ
              ผสมให้เกิดสีได้ เช่น สีนำ้าตาล
              เป็นต้น จึงได้มีการเพิ่มสีดำา
              (Black) ลงไปด้วย เป็นผลให้
              เครื่องพิมพ์สามารถพิมพ์สีได้
              ครอบคลุมทุกสีที่เกิดจากการ
              ผสมสีของ CMYK

29
Lab
      พัฒนาขึนโดย Cie (Commission
              ้
       International De I’eclairage)
       ข้อมูลแสงสีของ Lab ประกอบด้วย
       ค่าต่างๆ ได้แก่ ค่าระดับความเข้ม
       ของแสงสว่าง (Luminance Model
       (L)) ค่าแสดงการไล่แสงสีจากสี
       เขียวไปยังแสงสีแดง (แทนด้วยตัว
       อักษร A) และค่าแสดงการไล่แสงสี
       จากแสงสีนำ้าเงินไปยังแสงสีเหลือง
       (แทนด้วยตัวอักษร B) สำาหรับ
       สนับสนุนการใช้งานกับจอภาพ
       พรินเตอร์ และสแกนเนอร์
      จากการพัฒนาส่งผลให้ Lab กลาย
       เป็นมาตรฐานทีสามารถใช้งาน
                       ่
       ครอบคลุมแสงสีทุกแสงสีในรูปแบบ
       RGB และ CMYK อีกทั้งยังใช้ได้
       กับสีทเกิดจากอุปกรณ์ใดๆ เช่น
               ี่
       เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกน และ
       รูปภาพบนจอภาพคอมพิวเตอร์และ
       โปรแกรมซอฟต์แวร์ทแสดงให้เห็น
                              ี่
       ได้ชัดก็คือ โปรแกรม Photoshop
       ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือกใช้สในรูปแบ
                                   ี
       บอืนๆ ให้เหมาะกับงานทีต้องการ
           ่                     ่
30     สร้าง
คุณภาพของรูปภาพ



     ความละเอีย ดของภาพ (Image Resolution)
      การพิจารณาว่าภาพที่ได้มานันจะมีคุณภาพหรือไม่ ต้อง
                                 ้
       พิจารณาจาก 2 สิ่ง คือ
       ความละเอียดของกล้องดิจิตอล
       ความละเอียดของ Video Monitor หรือ ตัว Printer




31
การบีบอัดขนาดของรูปภาพ (Image Compression)




     การบีบอัดขนาดแบบ RLE
      (Run Length
      Encoding)
      เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด Software จะ
       สร้างไฟล์ขึ้นมาจากการอ่านค่า
       ในแต่ละพิกเซลของภาพ แล้ว
       บันทึกไว้ ถ้าพิกเซลที่อ่านได้มี
       ความต่อเนื่องกันจะทำาการ
       บันทึกเพียงจำานวนพิกเซลที่มี
       ความต่อเนื่องกันเท่านั้น

32                                          วิธการบีบอัดไฟล์แบบ
                                               ี
การบีบอัดขนาดแบบ LZW

      มีความยุ่งยากกว่าแบบ RLE โดยการใส่รหัสของ LZW นั้นจะ
       ขึ้นอยู่กับการค้นหา และการบันทึกแพตเทิร์นในโครงสร้างของ
       ภาพ LZW โดยจะอ่านค่าพิกเซลสำาหรับภาพบิตแมปและสร้าง
       ตารางรหัสซึ่งแทนค่าแพตเทิร์นที่ซำ้าๆ กันของพิกเซลที่พบ ภาพ
       ที่ถูกสแกนมาหรือภาพที่ไม่ค่อยมีแพตเทิร์นที่เหมือนกันจะไม่
       ค่อยได้ประโยชน์มากนั้นสำาหรับวิธีการบีบอัดแบบนี้
      การบีบอัดข้อมูลภาพดิจิตอลนั้นแบ่งการบีบอัดออกได้เป็นสอง
       ประเภทใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ
       การบีบอัดแบบไม่สูญเสียข้อมูล (Lossless)
       การบีบอัดแบบสูญเสียข้อมูล (Lossy)
33
34   วิธีการบีบอัดแฟ้มโดยการเข้ารหัสแบบแอลแซดดับเบิลยู
การบีบอัดแบบไม่สูญเสียข้อมูล (Lossless)
       เป็นการบีบขนาดทีข้อมูลเดิมไม่มีการสูญเสียเลย โดยภาพจะถูกบีบขนาดและถูก
                        ่
        ขยายกลับคืนแบบพิกเซลต่อพิกเซลเหมือนกับภาพดั้งเดิม ไฟล์ภาพที่ได้จะมีความ
        ละเอียดสูง แต่จะมีขนาดใหญ่ทำาให้เปลืองพื้นที่ของหน่วยเก็บข้อมูล การบีบอัดแบบ
        Lossless ที่นิยมใช้ในกล้องดิจิตอลคือการบันทึกเป็นไฟล์ .TIFF ตัวอย่างเช่น
         ไฟล์ BMP เป็นไฟล์ทสามารถเก็บสีได้สูงสุด 16.7 ล้านสี เลือกบีบอัดได้ในแบบ
                                  ี่
           RLE ซึ่งเป็นการบีบอัดแบบ Lossless ใช้ได้กับรูปที่มสีน้อย กรณีที่ภาพมีสีมาก
                                                             ี
           บีบอัดได้ไม่ดี
         ไฟล์ PNG เป็นไฟล์บิตแมปทีมีการบีบอัดแบบ Lossless ให้สี True Color ได้
                                       ่
           สูงสุด 48 บิตต่อพิกเซล ไฟล์ PNG นับได้ว่าเป็นรูปแบบไฟล์ภาพทีดีชนิดหนึ่ง
                                                                         ่
           เนื่องจากสามารถบีบอัดข้อมูล โดยไม่เสียข้อมูลภาพ ทำาให้เหมาะสำาหรับจับเก็บ
           ไฟล์ต้นฉบับ นอกจากนั้นไฟล์ภาพ PNG ยังเล็กกว่าไฟล์แบบ LZW และ TIF
         ไฟล์ Tiff เป็นไฟล์บิตแมปทีมีคุณภาพสูง และมีความเป็นมาตรฐานยอมรับได้ใน
                                     ่
           หลายโปรแกรมแม้เครื่องต่างระบบ โดยจะเก็บความลึกของสี RGB ได้สูงสุด 48
           บิต และ CMYK 32 บิตสามารถเลือกการบีบอัดได้หลายรูปแบบ เช่น LZW,
           Packbits, JPEG และ RLE การเก็บข้อมูลของ Tiff จะถูกแบ่งออกเป็น สำาหรับ
           เครื่อง Macintosh และเครื่อง PC/Windows เนื่องจากระบบการเก็บตัวเลขของ
           CPU ของ Motorola กับ Intel มีการจัดเก็บตัวเลขกลับกัน แต่ในปัจจุบัน
           โปรแกรมที่ใช้ในการเปิดภาพต่างก็แก้ไขปัญหานี้ได้หมดแล้ว ทำาให้ Tiff หรือ
           Tif สามารถเปิดได้ทงบน Macintosh และ Windows อย่างไม่มีปัญหา
                               ั้
35
การบีบอัดแบบสูญเสียข้อมูล หรือ Lossy


      เป็นการบีบอัดข้อมูลภาพในลักษณะที่มีการตัดทอนข้อมูลภาพออกไปบาง
       ส่วน เพื่อให้ไฟล์ภาพมีขนาดเล็กลง แต่ก็ทำาให้สูญเสียข้อมูลบางอย่างไป
       และไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้ การบันทึกแบบ Lossy ที่นิยมใช้ในกล้อง
       ดิจิตอลคือการบันทึกแบบ JPEG ตัวอย่างเช่น
        ไฟล์ JPEG เป็นไฟล์บิตแมปทีมีการบีบอัดเป็นทียอมรับในปัจจุบัน เก็บความลึกสี
                                   ่                ่
         ได้สูงสุด 32 Bit เนื่องจาก Jpeg เป็นการบีบอัดแบบ Lossy ซึงมีการสูญเสียราย
                                                                  ่
         ละเอียดบางส่วนของภาพไปจึงทำาให้สามารถบีบอัดภาพได้มาก
        ไฟล์ JPG การบีบอัดไฟล์ Jpg ที่เหมาะสมก็คือ 75-80% ของ Quality โดย
         Quality คือการเลือกว่าจะให้มีคุณภาพของภาพเหลือเป็นเปอร์เซ็นต์เท่าไร ดังนั้น
         ยิงเปอร์เซ็นต์มาก ยิ่งมีการบีบอัดน้อยลง หรือ 20-25% ของ Compression ซึ่ง
           ่
         Compression หมายถึงเปอร์เซ็นต์ทต้องการบีบอัดไฟล์ ยิ่งมีการบีบอัดมาก และ
                                              ี่
         ส่งผลให้คุณภาพของภาพลดตำ่าลง หากกำาหนดค่าตำ่าหรือสูงเกินไป อาจจะส่งผล
         เสียต่อคุณภาพของภาพได้โดยตรง และสามารถมองเห็นข้อบกพร่องได้ด้วยตา
         เปล่า เช่น ภาพอาจไม่ชัดเจน หรือมีสีผิดเพี้ยน เป็นต้น
36
แหล่งทีมาของรูปภาพ
            ่


      Original Art คือภาพ
       ที่เกิดจากการวาดโดย
       จิตรกร อาจวาดโดยใช้
       ดินสอ หรือสีชนิดต่างๆ
       หากต้องการนำาภาพนั้น
       มาแสดงผลใน
       คอมพิวเตอร์สามารถ
       ทำาได้โดยการสแกน
       ภาพด้วยเครื่องสแกน
       เนอร์ หรืออาจใช้วิธี
       ถ่ายภาพด้วยกล้อง
       ดิจิตอล


37                             การวาดภาพโดยใช้ดินสอหรือจากสี
Clip Art
       เปรียบเสมือน Library สำาหรับเก็บงานทางด้าน Graphic ที่สามารถนำามา
        แทรกไว้ในเอกสาร ถูกจัดเก็บไว้เป็นหมวดหมู่ในรูปของ Cd-Rom หรือใน
        เว็บไซต์ต่างๆ เช่น ภาพ Drawing ภาพ Photograph แผนที่ ไดอะแกรม
        แผนภูมิ และภาพลายเส้นต่างๆ เป็นต้น
       ส่วนมากมีการนำา Clip Art มาใช้ในงาน Graphic Program การใช้ภาพ
        จาก Clip Art จะต้องคำานึงถึงลิขสิทธิ์




                                        กฤตศิลป์จาก Microsoft Clip
38
     กฤตศิลป์จากอินเทอร์เน็ต
                                                  Gallery
Photo CD


      เป็นทางเลือกหนึ่งในการนำาภาพถ่ายจากฟิลมมาแปลงเป็นภาพ
                                             ์
      ดิจิตอลเพื่อใช้ร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดยอ่านจากแผ่นซีดีผ่าน
      เครื่องอ่าน Photo CD ที่ต่อเชื่อมกับคอมพิวเตอร์ รวมทั้งนำาไป
      เปิดชมภาพกับโทรทัศน์ได้โดยผ่านเครื่องเล่น Photo CD หรือ
      เครื่องเล่นซีดีที่ระบุว่าเล่น Photo CD ได้ โดย Software ที่ใช้
      ในการจัดการเกี่ยวกับ Photo CD เช่น Precision Device
      Profile ของ Kodak เป็นต้น




39
40   ชุดซีดีภาพถ่าย
Photo Cd Stock Image

      เนืองจากในระยะหลังเครื่อง Cd-Rom มีราคาถูกลง รวมทั้งใน
          ่
      ปัจจุบันผู้คนมีความต้องการรูปภาพแบบดิจิตอลเพิ่มขึ้น จึง
      ทำาให้เกิดธุรกิจทีมีการรวมรูปภาพแบบดิจิตอล โดยสามารถหา
                        ่
      ได้ในรูปแบบ Cd-Rom อีกทั้ง ยังมีให้เลือกหลายประเภท ซึ่ง
      รูปภาพแบบดิจิตอลจะถูกเก็บในรูปแบบ Photo Cd ของ
      Kodak เป็นไฟล์ประเภท Tiff ซึ่งสามารถเปิดใช้งานได้บน Pc,
      Mac หรือแม้แต่ Unix ตัวอย่างเช่น
        Diamar Portfolios มีการจัดทำา Cd-Rom ภาพในหัวข้อต่างๆ โดยมี
         การจัดเก็บในรูปแบบของ Photo Cd เช่น รูปที่เกี่ยวกับธรรมชาติ สัตว์
         ดอกไม้ สิ่งทอ เป็นต้น
        Adc Imagevault มีการจัดทำาเป็นชุด (Package) ของแต่ละประเภทต่าง
         กันไป เช่น เรื่องทั่วๆ ไป Vol1 ซึ่งเก็บใน Cd-Rom ที่มีมากกว่า 380
         ภาพ ซึ่งอาจจะเป็น ภาพพลเมือง ภาพสถานที่ ภาพในเชิงธุรกิจต่างๆ
         โดยมีการจัดเก็บรูปภาพในรูปแบบของ Photo Cd
41
ซอฟต์แวร์สำาหรับภาพกราฟิก (Graphic Software)



     Photoshop
      พัฒนาโดย บริษัท
       Adobe ในปัจจุบันมี
       การพัฒนาต่อเนื่อง
       จนถึงเวอร์ชัน CS
       สามารถทำาการแก้ไข
       ภาพที่มีตำาหนิ ตัดต่อ
       ภาพ ตกแต่งภาพ สร้าง
       องค์ประกอบที่ใช้กับ
       เว็บเพจ การดัดแปลง
       ภาพ หรือแม้แต่การ
       สร้างภาพกราฟิกที่ผสม
       ผสารระหว่างข้อความ
       และภาพวัตถุต่างๆ ได้
       อย่างสะดวกและ
       รวดเร็ว
42
                             การใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโตชอปในการตกแต่งภาพ
ซอฟต์แวร์สำาหรับภาพกราฟิก (ต่อ)




         Chemscape Chine
          พัฒนาโดย Mdl
           Information System
           เป็น Player ที่
           สนับสนุนไฟล์ภาพ 3
           มิติ สามารถแสดง
           โครงสร้างได้ทงแบบ 2
                           ั้
           มิติ และ 3 มิติ บนเว็บ
           ด้วยภาษา Html ส่วน
           ใหญ่มักนิยมใช้เพื่อจัด
           ทำาโครงสร้างข้อมูล
           ด้านเคมีและเวชภัณฑ์




43                                     ภาพจากโปรแกรมเคมสเคปไชม์
ซอฟต์แวร์สำาหรับภาพกราฟิก (ต่อ)



       Freehand Shockware
        พัฒนาโดย Macromedia
         เป็น Plug-In ใช้สำาหรับนำา
         เสนอและจัดการกับภาพ
         ด้วยโปรแกรม Freehand
         นอกจากสร้างภาพเวก
         เตอร์ได้อย่างมี
         ประสิทธิภาพแล้ว ยัง
         รองรับการทำางานและ
         แสดงผลบนเว็บได้สะดวก
         และรวดเร็วอีกด้วย
         ตัวอย่างเช่น การสร้างจุด
         เชื่อมโยง (Link) เพื่อให้ผู้
         ใช้งานสามารถคลิกเลือก
         ไปยังข้อมูลปลายทางผ่าน
         ทางบราวเซอร์ได้

44                                      โปรแกรมฟรีแฮนด์
ซอฟต์แวร์สำาหรับภาพกราฟิก (ต่อ)




     Cad
      ย่อมาจากคำาว่า
       Computer Aided
       Design โปรแกรม
       Autocad เป็น
       โปรแกรมทีช่วยในการ
                     ่
       เขียนแบบ ซึงมิได้
                       ่
       จำากัดอยู่เพียงแวดวง
       วิศวกรและสถาปนิก
       เท่านั้น แต่ยังรวมไป
       ถึงผู้เกี่ยวข้องคนอื่นๆ
       ด้วยไม่ว่าจะเป็น
       นักศึกษา นักโฆษณา
       และนักสื่อสารมวลชล
       ทีมักจะนิยมมาใช้งาน
         ่
       เช่นกัน
45                               การใช้โปรแกรมออโตแคดช่วยในการเขียนแบบ
ซอฟต์แวร์สำาหรับภาพกราฟิก (ต่อ)




                                       Illustrator
                                        เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัท
                                           Adobe จัดได้ว่าเป็นเครื่องมือ
                                           สำาหรับสร้างภาพเวกเตอร์ทมี ี่
                                           คนนิยมใช้งานกันมากที่สด  ุ
                                           นอกเหนือจากโปรแกรม
                                           ประเภทเดียวกันนี้ ตัวอย่างเช่น
                                           โปรแกรม Coreldraw ของ
                                           บริษัท Corel และโปรแกรม
                                           Freehand ของบริษัท
                                           Macromedia เป็นต้น
                                           นอกจากสามารถทำางานร่วมกับ
                                           โปรแกรมอืนในค่ายเดียวกันได้
                                                      ่
                                           อย่างสมบูรณ์แล้ว
                                           ( Pagemaker และ
                                           Photoshop) อีกทังยังรองรับ
                                                             ้
                                           และสนับสนุนการทำางานบน
                                           ระบบปฏิบัตการ Macintosh
                                                        ิ
46
       โปรแกรมอิลลูสเตรเตอร์               และ Windows ได้อกด้วย
                                                               ี
Graphic Software อื่นๆ

     Paint Program
      โปรแกรมประเภทตบแต่งภาพวาด ไม่ว่าจะ
        เป็นการวาด สร้าง หรือแก้ไขพิกเซลต่างๆ
        สามารถทำาได้โดยง่ายและรวดเร็ว ดังนั้น จึง
        นิยมมาใช้สำาหรับการแก้ไขภาพถ่าย แต่ไม่
        เหมาะสำาหรับที่จะนำามาใช้งานกับการวาด
        ลายเส้นหรือสร้างตัวอักษรในรูปแบบต่างๆ
        เนื่องจากคุณสมบัติที่มองทุกอย่างเป็นกลุ่ม
        พิกเซล ทำาให้การแก้ไขเคลื่อนย้ายเป็นไป
        ด้วยความยากลำาบาก อย่างไรก็ตาม จุดเด่น
        ของโปรแกรมประเภทนี้ ก็คือ มีเครื่องมือที่
        ช่วยอำานวยความสะดวกครบครัน เช่น
        Paintbrush, Ink, Felt Pens, Chalk และ
        Watercolor รวมถึงฟังก์ชันงานสร้างลูกเล่น
        (Effect) ต่างๆ ไว้เป็นจำานวนมาก สามารถ
        สร้างชิ้นงานศิลปะได้ออกมาสมจริงและใกล้
        เคียงกับธรรมชาติมาก


                                                    โปรแกรม Microsoft Paint สำาหรับ
47                                                          ใช้ตกแต่งภาพวาด
Photo-Manipulation Program

      โปรแกรมประเภทปรับแต่ง
      รูปภาพ โดยส่วนใหญ่จะใช้
      งานร่วมกับกล้องถ่ายรูป
      ดิจิตอล หรือเครื่องสแกน
      เนอร์ที่ต้องการรายละเอียด
      สูง มีฟังก์ชันการใช้งานที่
      ง่ายและไม่สลับซับซ้อนมาก
      นัก เหมาะสำาหรับช่างภาพที่
      ต้องการความสะดวกและ
      รวดเร็วในการปรับแต่งภาพ
      ให้สวยงาม                  โปรแกรม Imaging for Windows ซึ่ง
                                   เป็นผลิตภัณฑ์ของ Kodak สำาหรับใช้
48
                                             ปรับแต่งรูปภาพ
Cad Program

      โปรแกรมประเภท
       ออกแบบ
       สถาปัตยกรรม เหมาะ
       สำาหรับใช้งานด้าน
       สถาปัตยกรรมและ
       วิศวกรรมทีต้องการ
                  ่
       แสดงรายละเอียดที่
       สลับซับซ้อนค่อนข้าง
       มาก สามารถสร้างลูก
       เล่น (Effect) ต่างๆ
       ได้เป็นจำานวนมาก
       รวมถึงการแสดงผลที่
       เป็นภาพ 3 มิติได้
       อย่างสมบูรณ์แบบ
                             โปรแกรม Intelligent CAD ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์
49
                                ของบริษัท Autodesk สำาหรับใช้ออกแบบ
                                      สถาปัตยกรรมและวิศวกรรม
3D Modeling Program


      โปรแกรมประเภทสร้างแบบภาพ
       จำาลองแบบ 3 มิติ เหมาะสำาหรับ
       นักวิจัยหรือนักวิทยาศาสตร์ที่
       ต้องการนำาเสนอชิ้นงานในรูป
       แบบจำาลอง ทังนี้ เนื่องจากภาพ
                       ้
       แบบจำาลอง 3 มิติ สามารถแสดง
       รายละเอียดทีสลับซับซ้อนได้ทก
                     ่                ุ
       มุมมองนั้นเอง ด้วยคุณสมบัติ
       และขีดความสามารถทีโดดเด่น
                              ่
       ในการสร้างและปรับแต่งวัตถุ
       (Object) ไม่ว่าจะเป็นการสร้าง
       พืนผิว การปรับความลึก หรือ
         ้
       แม้แต่การให้แสงตกกระทบกับ
       วัตถุเพือให้เกิดความสมจริง
               ่
       รวมถึงเครื่องมือสำาหรับสร้างลูก
       เล่นต่างๆ อีกจำานวนมาก

                                          โปรแกรม Chem3D สำาหรับใช้
50                                           สร้างแบบจำาลอง 3 มิติของ
Draw Program
      โปรแกรมประเภทวาดภาพ ใช้
      สำาหรับสร้างภาพเชิงวัตถุในรูป
     ทรงต่างๆ ไม่เพียงแต่จะเป็นภาพ
          วาดลายเส้นเท่านั้น แต่ยัง
       สามารถสร้างข้อความหรือตัว
     อักษรได้อย่างสวยงาม รวมไปถึง
      การมองวัตถุ (Object) จะแยก
     เป็นชิ้นส่วนแต่ละชิ้นออกจากกัน
      ผู้ใช้สามารถทำาการคัดลอก ลบ
      และเคลื่อนย้ายวัตถุแต่ละตัวได้
     อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยไม่มี
       ผลกระทบกับวัตถุชิ้นอื่นที่อยู่
         ภายในกลุ่มเดียวกัน เหมาะ
          สำาหรับนักออกแบบศิลปะ
                                        โปรแกรม Microsoft Visio
                                         สำาหรับสร้างภาพเชิงวัตถุในรูป
                                                    ทรงต่างๆ
51
รูปภาพบนเว็บ

      ชนิด ไฟล์ภ าพ                                                คำา อธิบ าย
     ไฟล์ GIF         เป็นไฟล์บิตแมปที่ใช้สีได้สูงสุด 256 สี นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า Gif Animation เป็นไฟล์ภาพเคลื่อนไหวที่
                      มีขนาดของไฟล์เล็ก ทั้งนี้ เนื่องจากไฟล์ชนิดนี้ได้มการบีบอัดข้อมูลแบบ LZW ทำาให้ขนาดของไฟล์เล็กลง
                                                                         ี
                      ส่งผลให้การส่งผ่านข้อมูลไปยังระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังสามารถรองรับโหมดสีแบบ
                      ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Bitmap-Mode, Grayscale หรือแม้แต่ Indexed-Color Gif ได้อีกด้วย ซึ่งเป็นผลจากค้น
                      คิดและพัฒนาโดยบริษัท Compuserve อย่างไรก็ตามแม้ว่าไฟล์ชนิดนี้ จะเป็นที่นิยมนำามาใช้งานกันอย่าง
                      แพร่หลายบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็ตาม แต่ยังคงมีข้อจำากัดอยู่บ้างในเรื่องคุณภาพของสีที่ลดลง
     ไฟล์ JPEG        เป็นไฟล์ภาพที่แสดงผลแบบ Indexed-Color สามารถรองรับโหมดสีแบบ CMYK, RGB, Grayscale Color
                      ได้เป็นอย่างด แต่ไม่รองรับคุณสมบัติการโปร่งแสง (Alpha Channel) นิยมนำามาใช้บนไฟล์เอกสาร Html
     ไฟล์ JPG         เป็นไฟล์ภาพที่ได้จากแหล่งเก็บภาพถ่ายและการสแกนภาพ สามารถแสดงผลได้อย่างรวดเร็วทั้งนี้ เนื่องจาก
                      ขนาดของไฟล์เล็กมากเป็นพิเศษ นิยมนำามาใช้เพื่อแลกเปลี่ยนภาพผ่านทางอีเมล์และใช้เป็นส่วนประกอบ
                      ของภาพในไฟล์เอกสาร Html เช่นกัน
     ไฟล์ PNG         เป็นไฟล์บิตแมปอีกชนิดหนึ่ง ที่มีการบีบอัดข้อมูลแบบ Lossless สามารถให้สชนิด True Color ได้สงสุดถึง
                                                                                               ี                   ู
                      48 Bit/Pixel ทั้งนี้ได้รับการออกแบบขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนไฟล์ไฟล์ Gif นั่นเอง แม้ว่าไฟล์ PNG จะมี
                      คุณสมบัติที่เหนือกว่าไฟล์ Gif อยู่หลายประการก็ตาม แต่ความนิยมของผูใช้ยังคงชมชอบใช้ไฟล์ Gif
                                                                                          ้
                      มากกว่า อย่างไรก็ตาม นักออกแบบเว็บไซต์สมัยใหม่กำาลังให้ความสนใจและจะนำาไฟล์ชนิดนี้มาใช้งานเป็น
                      อย่างมาก เนื่องจากสามารถรองรับโหมดสีต่างๆ ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น โหมดสีแบบ Grayscale และ
                      RGB (ที่มี Single Alpha Channel)โหมดสีแบบบิตแมป(Bitmap)ชนิดIndexed-Color(ที่ไม่มAlpha   ี
                      Channel) รวมถึงขนาดของไฟล์ที่มีขนาดเล็กใกล้เคียงกันกับไฟล์ GIF แต่ก็ให้คุณภาพของสีที่ดีกว่า




52

Contenu connexe

Tendances

คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3charuwarin
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคwattikorn_080
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicjumjim2012
 
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีพื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีPitchayanida Khumwichai
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนNimanong Nim
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนNimanong Nim
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cssamnaknit
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555เบญญาภา ตนกลาย
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cssurachet179
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2ยิ้ม' เเฉ่ง
 

Tendances (18)

Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3
 
ประเภท
ประเภทประเภท
ประเภท
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิค
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
 
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีพื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
 
Photoshop7
Photoshop7Photoshop7
Photoshop7
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
 
Map windowgismanual
Map windowgismanualMap windowgismanual
Map windowgismanual
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 
Animation flash
Animation flashAnimation flash
Animation flash
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
สอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียนสอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2
 

Similaire à Still image

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกKruOrraphan Kongmun
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกคีตะบลู รักคำภีร์
 
Adobe indesign
Adobe indesignAdobe indesign
Adobe indesignkrujew
 
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นBeerza Kub
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2suphinya44
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphicpisandesign
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csไกรลาศ จิบจันทร์
 

Similaire à Still image (20)

Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
บทที่ 6 ภาพนิ่ง
บทที่ 6 ภาพนิ่งบทที่ 6 ภาพนิ่ง
บทที่ 6 ภาพนิ่ง
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Adobe indesign
Adobe indesignAdobe indesign
Adobe indesign
 
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
 
1.6
1.61.6
1.6
 
Media 23
Media   23Media   23
Media 23
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphic
 
ลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
1.1
1.11.1
1.1
 

Plus de jibbie23

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2jibbie23
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2jibbie23
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2jibbie23
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2jibbie23
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2jibbie23
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2jibbie23
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjibbie23
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjibbie23
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjibbie23
 
Character การสอนครั้งที่ 3 ตัวอักษรและชุดตัวอักษร 2
Character การสอนครั้งที่ 3   ตัวอักษรและชุดตัวอักษร 2Character การสอนครั้งที่ 3   ตัวอักษรและชุดตัวอักษร 2
Character การสอนครั้งที่ 3 ตัวอักษรและชุดตัวอักษร 2jibbie23
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjibbie23
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjibbie23
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjibbie23
 

Plus de jibbie23 (18)

Animation
AnimationAnimation
Animation
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Character การสอนครั้งที่ 3 ตัวอักษรและชุดตัวอักษร 2
Character การสอนครั้งที่ 3   ตัวอักษรและชุดตัวอักษร 2Character การสอนครั้งที่ 3   ตัวอักษรและชุดตัวอักษร 2
Character การสอนครั้งที่ 3 ตัวอักษรและชุดตัวอักษร 2
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 

Still image

  • 2. Still Image ภาพนิ่งไม่มีการเคลื่อนไหว เกิดจากการวางสี เส้น และรูปทรงต่างๆ ในตำาแหน่งที่เหมาะสม ปัจจุบนนิยมใช้ภาพนิ่งประกอบการนำาเสนอ ั ข่าวสารหรือเชือมโยงเรื่องราวเข้าด้วยกันใน ่ รูปแบบของมัลติมีเดีย 2
  • 3. ประเภทของภาพนิ่ง ภาพนิ่งที่ใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เกิดจากการรวม กันของจุดสีแต่ละจุดว่าพิกเซล (Pixel) คุณภาพของการแสดงผลภาพนิ่งใดๆ นั้น จะขึ้นอยู่กบั ความละเอียดของภาพ ประสิทธิภาพของอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ เช่น จอภาพ การ์ดจอ (Video Card) และ คุณภาพของเครื่องพิมพ์ ประเภทของภาพนิ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด ภาพ 2 มิติ (2D Image) ภาพ 3 มิติ (3D Image) 3
  • 4. ภาพ 2 มิติ ที่สร้างและนำามาใช้งานกับคอมพิวเตอร์แบ่ง ได้ 2 ประเภท ภาพเวกเตอร์ (Vector Graphic) ภาพบิตแมป (Bitmapped Image) 4
  • 5. ภาพเวกเตอร์ (Vector Graphic)  ภาพเวกเตอร์แสดงถึงภาพ ลักษณ์ที่มีโครงสร้างทาง เรขาคณิต และสร้างด้วย หลักทางคณิตศาสตร์ จึง ต้องจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบ ของคำาสั่ง 5 ลักษณะการวาดรูปสี่เหลี่ยมด้วยโปรแกรม Photoshop
  • 6.  ไฟล์ภาพเวกเตอร์หลายรูปแบบ ซึ่งมีนามสกุลแตกต่างกัน ออกไป เช่น Al, Cdr, Cgm, Cmx, Drw, Eps,Pdf, Pct, Pic, Plt และ Wmf เป็นต้น โครงร่างของภาพเวคเตอร์ ภาพเวคเตอร์ที่ตกแต่งแล้ว 6 ลักษณะภาพเวกเตอร์ที่สร้างเป็นแฟ้ม wmf
  • 7.  ภาพเวกเตอร์ เป็นไฟล์ขนาดเล็ก สามารถปรับปรุงโครงร่างของ ภาพได้แม้จะเป็นเส้นบางๆ และสามารถย่อขยายภาพได้โดยไม่ สูญเสียคุณภาพ การขยายภาพเวกเตอร์ เมื่อขยายขนาดจะไม่สูญเสียความคม 7 ชัด
  • 8. ภาพบิตแมป (Bitmapped Image)  บิตแมปเป็นภาพที่เกิดจากการประกอบรวมกันของพิกเซล ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่เล็กที่สุดที่ใช้แสดงผลบนจอภาพและ ในการพิมพ์ ภาพบิตแมปสามารถรองรับการแสดงสีได้ มากกว่า 16.7 ล้านสี (ความละเอียดที่ 26 บิต)  วิธการสร้างภาพแบบบิตแมปที่นยมกันสามารถทำาได้หลาย ี ิ วิธี ดังนี้ การนำาเข้าภาพจากแหล่งข้อมูลต่างๆ การคัดลอก (Copy) ภาพที่แสดงบนจอภาพ นำาเข้าภาพถ่ายผ่านทางเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) นำาเข้ารูปภาพจากกล้องถ่ายภาพดิจิตอลหรือกล้องวีดีโอ ดิจิตอล 8
  • 9.  ภาพบิตแมปถ้าภาพมีความละเอียดน้อย เมื่อทำาการขยายจะ ทำาให้สูญเสียรายละเอียดของภาพทำาให้เกิดเป็นรอยหยัก เรียกว่า “อะไลแอส”(Alias)  มีให้เลือกใช้งานหลายชนิด เช่น ไฟล์ที่มีนามสกุล Bmp, Cgm, Gif, Hgl, Jpeg, Pbm, Pcx Pgm, Pnm, Ppm, Psd, Rle, Tga, Tiff และ Wpg เป็นต้น 9 ภาพแผนที่บิตเมื่อทำาการขยายจะปรากฏกรอบของจุดภาพ
  • 10. ภาพ 3 มิติ (3D Image)  เป็นภาพประเภทหนึ่งของภาพเวกเตอร์ ซึ่งมีลักษณะมุมมองของ ภาพที่เหมือนจริง อยู่ในรูปทรง 3 มิติ (3D) มีพื้นฐานการสร้างมา จากภาพ 2 มิติ (มีเพียงแกน X และ Y ) โดยเพิ่มความลึกให้กับ ภาพที่สร้าง (เพิ่มแกน Z) ภาพ 2 มิติ ภาพ 3 มิติ 10 ภาพโครงร่างพื้นฐานของภาพ 2 มิติและภาพ 3 มิติ
  • 11.  ซอฟต์แวร์ที่มีความสามารถในการทำางานด้าน 3 มิติ เช่น AutoCad, 3d Studio Max และ Extreme 3d เป็นต้น 11 โปรแกรมออโตแคด สำาหรับการสร้างภาพสามมิติ
  • 12. รูปแบบไฟล์ข้อมูลภาพ (Image File Format)  โปรแกรมสนับสนุนในระบบ Macintosh ส่วนใหญ่จะสามารถ นำาเข้า (Import) และ ส่งออก (Export) ไฟล์ภาพที่มีนามสกุล Pict ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยบริษัทแอปเปิ้ล ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรม Illustrator หรือ Freehand  ส่วนบนระบบ Windows ใช้รูปแบบ Dibs (Device- Independent Bitmaps) ซึ่งบันทึกไฟล์ในรูปแบบ Bmp โดยที่ Dibs นั้นสามารถซ่อนอยู่ในไฟล์ Riff(Resource Interchange File Format) ได้  Riff เป็นรูปแบบไฟล์ที่รองรับไฟล์ได้หลายชนิดบนระบบ Windows เช่น ไฟล์ภาพบิตแมปชนิดต่างๆ ไฟล์ Midi และรูป แบบตัวอักษร  ส่วนใหญ่การบันทึกข้อมูลรูปภาพแบบบิตแมปบนระบบ Windows จะเป็นไฟล์ Dib, Bmp, Pcx และ Tiff แต่มีบาง บริษัทสร้างรูปแบบไฟล์ภาพของตัวเองขึ้นมา เช่น บริษัท Adobe สร้างรูปแบบไฟล์ Psd สำาหรับโปรแกรม Photoshop 12 และไฟล์ Ai สำาหรับโปรแกรม Illustrator
  • 13. การสร้างภาพดิจิตอล  จากเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner)  จากกล้องดิจิตอล (Digital Camera)  โปรแกรมที่ใช้ในการแก้ไขภาพ เช่น Fauve Xres, Adobe Photoshop, Hsc Live Picture, Micrografx Picture Publisher เป็นต้น 13
  • 14. เทคนิคการปรับแต่งภาพ  Anti-Aliasing เป็นขั้นตอน การปรับแต่ง การเรียงตัว ของจุดสี ภายในภาพที่ มีลักษณะเป็น รอยหยัก (Aliasing) ให้ ก่อนการขจัดรอย หลังการขจัด เรียบกว่าเดิม หยัก รอยหยัก 14 การขจัดรอย หยัก
  • 15. Transformation  เป็นการแปลงรูปร่างของภาพให้มีลักษณะแตกต่างจากเดิม เช่น ย่อภาพให้เล็กลง หมุนภาพให้อยู่ในแนวที่ต้องการ และบิดภาพ ให้เอียงในองศาที่เหมาะสม ภาพเดิมก่อนการแปลง ภาพใหม่หลังจากการแปลง (พลิกภาพ) การ Transformation 15
  • 16. Dithering  เป็นการปรับข้อมูลสีของแต่ละพิกเซลให้มีความใกล้เคียง และกลมกลืนกับข้อมูลสีที่ต้องการ ด้วยการคำานวณหาค่า เฉลี่ยของข้อมูลสีภายในภาพแล้วปรับเปลี่ยนให้ได้ตามความ ต้องการ 16 การปรับข้อมูลสีด้วยวิธี Dithering
  • 17. Rendering  เป็นการเพิ่มพื้นผิวใกล้กับภาพซึ่งส่วนใหญ่จะใช้กับภาพ 3 มิติ เนื่องจากการสร้างภาพ 3 มิติทำาได้เพียงโครงร่างของ ภาพ การ Rendering ด้วยโปรแกรม 3D Studio Max 17
  • 18. การทำางานของแสงสีร่วมกับคอมพิวเตอร์  เนื่องจากดวงตาของมนุษย์ไวต่อสีหลัก 3 สี คือ สีแดง (Red) เขียว (Green) และนำ้าเงิน (Blue) โดยใช้หลักการผสมแสงสีเข้าด้วยกันเพื่อ ได้ได้สีต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป เช่น เมื่อเห็นวัตถุสีส้ม จะเกิดจาก การรวมกันของแสงสีเขียว และสีแดง เป็นต้น ด้วยความต้องการให้สี บนจอภาพเหมือนกับสีที่มองเห็นจากดวงตามนุษย์ จึงนำาลักษณะการ รวมสีของดวงตามนุษย์มาประยุกต์ใช้กับการแสดงผลของจอภาพ คอมพิวเตอร์  สำาหรับเครื่องพิมพ์นอกจากใช้ 3 สีขางต้นแล้ว ต้องมีการใช้สีเพิ่มคือ สี ้ คราม (Cyan) สีม่วง (Magenta) สีดำา และสีเหลือง ในทางตรงข้ามกัน จอภาพคอมพิวเตอร์จะใช้ปฏิกิริยาทางเคมีของสารฟอสฟอรัสรวมจุด สีหลัก 3 สี (แดง นำ้าเงิน เขียว ) ผสมเป็นแสงสีที่แตกต่างกันบนจอภาพ  สื่อมัลติมีเดียปัจจุบันแสดงผลบนจอภาพได้อย่างน้อย 640X480 พิกเซล 256 สีขึ้นไป ถ้าจอภาพแสดงผลแสงสีได้มากก็สามารถสร้าง ภาพที่ละเอียดได้มากขึ้น 18
  • 19. ตารางแสงสี  ใช้อางอิงข้อมูลแสงสี เพื่อกำาหนดค่าแสงสีของแต่ละพิกเซล ้ ในการแสดงผลบนจอภาพ สำาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบ Windows เรียกได้จาก Palette โดยตารางการอ้างถึงข้อมูล แสงสีส่วนใหญ่มีความละเอียดของข้อมูลแสงสีขนาด 1, 4, 8,16 และ 26 บิต  สำาหรับการแสดงผลแสงสีขนาด 8 บิต 256 แสงสี ระบบ คอมพิวเตอร์จะเลือกแสงสีเพียง 256 แสงสีจากจำานวนล้าน กว่าแสงสีที่สามารถผสมได้มาเก็บข้อมูลไว้ในตารางแสงสี โดยให้รายละเอียดว่าแต่ละแสงสีมีส่วนผสมของสีแดง เขียว และนำ้าเงินอย่างไรแล้วดึงแสงสีมาใช้งานตามความเหมาะสม 19
  • 20.  โปรแกรมที่สนับสนุนการวาดและแก้ไขภาพจะมีตารางแสงสี ช่วยแสดงผลแสงสีที่เหมาะสม แต่อาจมีข้อจำากัดคือ ไม่ สนับสนุนทุกรูปแบบแสงสี และแก้ไขภาพได้เฉพาะกลุ่ม  ระบบแสงสี 26 บิต จะแบ่งแสงสีแดง เขียว และนำ้าเงิน ออกเป็น แสงสีละ 256 เฉดสี เมื่อนำามาผสมกันจะได้จำานวนสีถง ึ 16,777,216 แสงสี (256X256x256)  จำานวนแสงสีที่แสดงจะขึ้นอยู่กับความละเอียดของจอภาพด้วย เช่น ถ้าความละเอียดของจอภาพที่ 660X680 พิกเซล จะแสดง แสงสีได้สูงสุด 307,200 แสงสีต่อหนึ่งครั้ง ทำานองเดียวกันแม้ การ์ดจอจะแสดงผลได้ 26 บิต หากจอภาพมีความละเอียด สูงสุดเพียง 1026X768 พิกเซล จอภาพก็จะแสดงผลแสงสีได้ ครั้งละ 786,632 สีเท่านั้น  เมื่อเปลี่ยนแปลงการแสดงผลของจอภาพคอมพิวเตอร์ ระบบจะ คำานวณและเปลี่ยนค่าข้อมูลแสงสีในตารางแสงสีใหม่ทุกครั้ง เรียกว่า “พาเลตแฟลซซิ่ง” (Palette Flashing) ซึ่งเป็นปัญหา หนึ่งของการออกแบบมัลติมีเดีย เช่น ขณะที่แสดงภาพ เคลื่อนไหวหากมีการเปลี่ยนแปลงตารางแสงสีจะเกิดข้อผิด พลาดในการแสดงผลเป็นผลให้การแสดงผลติดขัด และสูญ 20 เสียคุณภาพด้วย
  • 21. การแก้ปญหาพาเลตแฟลซซิ่ง ั จัดตารางแสงสีสำาหรับการแสดงผลเพียงตารางเดียว และกำาหนดข้อมูลสีที่มีคุณภาพที่สุด (Super Palettes) สำาหรับแสดงผลเพียง 256 แสงสี ระหว่างภาพแต่ละภาพ ซึ่งมีโปรแกรมสนับสนุนการกำาหนดดังกล่าวคือ โปรแกรม Equilibrium’s Debabelizer ปรับแสงสีของภาพปัจจุบันเป็นแสงสีขาวหรือดำาก่อนที่ จะแสดงภาพต่อไป เนื่องจากแสงสีขาวและดำาสามารถ ปรับเข้ากับทุกแสงสีภายในตารางแสงสี เป็นผลให้ภาพ ต่อไปไม่ถูกรบกวน 21
  • 22. รูปแบบของแสงสีที่ใช้งานบนคอมพิวเตอร์ มีรูปแบบที่แตกต่างกัน แบ่งได้หลายรูปแบบ เช่น HSB (Hue, Saturation, Brightness) เป็นแสงสีที่ตอบ สนองการมองเห็นของสายตาของมนุษย์ RGB (Red, Green, Blue) เป็นแสงสีทใช้งานกับจอภาพ ี่ คอมพิวเตอร์ CMYK (Cyan, Magenta, Yellow, Black) เป็นแสงสีที่ใช้ งานกับเครื่องพิมพ์ Lab เป็นมาตรฐานการรองรับแสงสีทั้งสามรูปแบบข้างต้น 22
  • 23. HSB HSB ประกอบขึ้นด้วยลักษณะของแสงสี 3 ประการ คือ Hue, Saturation และ Brightness  Hue เป็นการเปลี่ยนแปลงเฉดสีทแตก ี่ ต่างจากแสงหลักทังสาม (แดง เขียว ้ นำ้าเงิน) ตามมาตรฐานทีเรียกว่า ่ “Standard Color Wheel” โดยเปรียบ เทียบกับองศาต่างๆ บนวงกลม ซึ่ง เป็นการนำาองศาของวงกลมใช้แบ่ง ความแตกต่างของแสงสีตงแต่ 0-360 ั้ องศา ตามการผสมแสงสีมาตรฐานหลัก 3 แสง สี คือ แดง เหลือง และนำ้าเงิน ซึ่ง แต่ละแสงสีจะมีค่าองศาที่แตกต่างกัน ดังนี้ แสงสีแดงมีค่าเป็น 0 และ 360 แสงสีเหลืองมีค่าเป็น 120 และแสง สีนำ้าเงินมีค่าเป็น 240 แสงสีหลักๆ ที่เปลี่ยนแปลง ณ ตำาแหน่ง 23 องศามาตรฐาน
  • 24. Saturation  เป็นค่าความเข้มของแสงสีที่อยู่ในช่วงแสงสีจางจนถึงแสงสีเข้ม จะเป็นสัดส่วนของแสงสี Hue ที่มีอยู่ในโทนสีเทา โดยวัดค่า เป็นเปอร์เซ็นต์ ตั้งแต่ 0% (แสงสีเทา) จนถึง 100% (ค่าความ เข้มของแสงสีมากที่สุด) เช่น การปรับ Saturation ของแสง สีนำ้าเงิน จะสามารถปรับได้จากแสงสีนำ้าเงินเทา (0%) จนถึง แสงสีนำ้าเงินเทาเข้ม (100%) Brightness  ค่าความสว่างของแสงสี คือค่าของแสงสีดำาไล่ระดับสว่างขึ้น เรื่อยๆ จนถึงแสงสีขาวซึ่งวัดค่าเป็นเปอร์เซ็นต์จาก 0% (แสงสี ดำา) จนถึง 100% (แสงสีขาว) 24
  • 25. 25 saturation ของแสงสีนำ้าเงิน
  • 26. 26 การไล่ระดับของ brightness
  • 27. 27 แสงสีต่างๆ ของ HSB
  • 28. RGB  เกิดจากการรวมแสงของแสง สีหลักคือ แสงสีแดง (Red) เขียว (Green) และ นำ้าเงิน(Blue) ซึ่งจะได้แสงสี แตกต่างกันตามสัดส่วนความ เข้มของแสงสี RGB ที่มา ผสมกัน โดยแสงสีหลักทั้ง 3 จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 255 เมื่อ ข้อมูลแสงและสี RGB เปลี่ยนไป ความเข้มของแสง สีแดง เขียว และนำ้าเงิน บน จอภาพจะปรับเปลี่ยนตามไป ด้วย 28 การแสดงแสงสีชนิด RGB
  • 29. CMYK  เกิดจากการซึมซับหมึกพิมพ์ลง บนกระดาษ โดยมีสีพื้นฐาน คือ สีนำ้าเงินเขียว (Cyan) สีแดง ม่วง (Magenta) และสีเหลือง (Yellow) แต่อย่างไรก็ตาม มี บางสีที่ CMYK ไม่สามารถ ผสมให้เกิดสีได้ เช่น สีนำ้าตาล เป็นต้น จึงได้มีการเพิ่มสีดำา (Black) ลงไปด้วย เป็นผลให้ เครื่องพิมพ์สามารถพิมพ์สีได้ ครอบคลุมทุกสีที่เกิดจากการ ผสมสีของ CMYK 29
  • 30. Lab  พัฒนาขึนโดย Cie (Commission ้ International De I’eclairage) ข้อมูลแสงสีของ Lab ประกอบด้วย ค่าต่างๆ ได้แก่ ค่าระดับความเข้ม ของแสงสว่าง (Luminance Model (L)) ค่าแสดงการไล่แสงสีจากสี เขียวไปยังแสงสีแดง (แทนด้วยตัว อักษร A) และค่าแสดงการไล่แสงสี จากแสงสีนำ้าเงินไปยังแสงสีเหลือง (แทนด้วยตัวอักษร B) สำาหรับ สนับสนุนการใช้งานกับจอภาพ พรินเตอร์ และสแกนเนอร์  จากการพัฒนาส่งผลให้ Lab กลาย เป็นมาตรฐานทีสามารถใช้งาน ่ ครอบคลุมแสงสีทุกแสงสีในรูปแบบ RGB และ CMYK อีกทั้งยังใช้ได้ กับสีทเกิดจากอุปกรณ์ใดๆ เช่น ี่ เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกน และ รูปภาพบนจอภาพคอมพิวเตอร์และ โปรแกรมซอฟต์แวร์ทแสดงให้เห็น ี่ ได้ชัดก็คือ โปรแกรม Photoshop ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือกใช้สในรูปแบ ี บอืนๆ ให้เหมาะกับงานทีต้องการ ่ ่ 30 สร้าง
  • 31. คุณภาพของรูปภาพ ความละเอีย ดของภาพ (Image Resolution)  การพิจารณาว่าภาพที่ได้มานันจะมีคุณภาพหรือไม่ ต้อง ้ พิจารณาจาก 2 สิ่ง คือ ความละเอียดของกล้องดิจิตอล ความละเอียดของ Video Monitor หรือ ตัว Printer 31
  • 32. การบีบอัดขนาดของรูปภาพ (Image Compression) การบีบอัดขนาดแบบ RLE (Run Length Encoding)  เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด Software จะ สร้างไฟล์ขึ้นมาจากการอ่านค่า ในแต่ละพิกเซลของภาพ แล้ว บันทึกไว้ ถ้าพิกเซลที่อ่านได้มี ความต่อเนื่องกันจะทำาการ บันทึกเพียงจำานวนพิกเซลที่มี ความต่อเนื่องกันเท่านั้น 32 วิธการบีบอัดไฟล์แบบ ี
  • 33. การบีบอัดขนาดแบบ LZW  มีความยุ่งยากกว่าแบบ RLE โดยการใส่รหัสของ LZW นั้นจะ ขึ้นอยู่กับการค้นหา และการบันทึกแพตเทิร์นในโครงสร้างของ ภาพ LZW โดยจะอ่านค่าพิกเซลสำาหรับภาพบิตแมปและสร้าง ตารางรหัสซึ่งแทนค่าแพตเทิร์นที่ซำ้าๆ กันของพิกเซลที่พบ ภาพ ที่ถูกสแกนมาหรือภาพที่ไม่ค่อยมีแพตเทิร์นที่เหมือนกันจะไม่ ค่อยได้ประโยชน์มากนั้นสำาหรับวิธีการบีบอัดแบบนี้  การบีบอัดข้อมูลภาพดิจิตอลนั้นแบ่งการบีบอัดออกได้เป็นสอง ประเภทใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ การบีบอัดแบบไม่สูญเสียข้อมูล (Lossless) การบีบอัดแบบสูญเสียข้อมูล (Lossy) 33
  • 34. 34 วิธีการบีบอัดแฟ้มโดยการเข้ารหัสแบบแอลแซดดับเบิลยู
  • 35. การบีบอัดแบบไม่สูญเสียข้อมูล (Lossless)  เป็นการบีบขนาดทีข้อมูลเดิมไม่มีการสูญเสียเลย โดยภาพจะถูกบีบขนาดและถูก ่ ขยายกลับคืนแบบพิกเซลต่อพิกเซลเหมือนกับภาพดั้งเดิม ไฟล์ภาพที่ได้จะมีความ ละเอียดสูง แต่จะมีขนาดใหญ่ทำาให้เปลืองพื้นที่ของหน่วยเก็บข้อมูล การบีบอัดแบบ Lossless ที่นิยมใช้ในกล้องดิจิตอลคือการบันทึกเป็นไฟล์ .TIFF ตัวอย่างเช่น  ไฟล์ BMP เป็นไฟล์ทสามารถเก็บสีได้สูงสุด 16.7 ล้านสี เลือกบีบอัดได้ในแบบ ี่ RLE ซึ่งเป็นการบีบอัดแบบ Lossless ใช้ได้กับรูปที่มสีน้อย กรณีที่ภาพมีสีมาก ี บีบอัดได้ไม่ดี  ไฟล์ PNG เป็นไฟล์บิตแมปทีมีการบีบอัดแบบ Lossless ให้สี True Color ได้ ่ สูงสุด 48 บิตต่อพิกเซล ไฟล์ PNG นับได้ว่าเป็นรูปแบบไฟล์ภาพทีดีชนิดหนึ่ง ่ เนื่องจากสามารถบีบอัดข้อมูล โดยไม่เสียข้อมูลภาพ ทำาให้เหมาะสำาหรับจับเก็บ ไฟล์ต้นฉบับ นอกจากนั้นไฟล์ภาพ PNG ยังเล็กกว่าไฟล์แบบ LZW และ TIF  ไฟล์ Tiff เป็นไฟล์บิตแมปทีมีคุณภาพสูง และมีความเป็นมาตรฐานยอมรับได้ใน ่ หลายโปรแกรมแม้เครื่องต่างระบบ โดยจะเก็บความลึกของสี RGB ได้สูงสุด 48 บิต และ CMYK 32 บิตสามารถเลือกการบีบอัดได้หลายรูปแบบ เช่น LZW, Packbits, JPEG และ RLE การเก็บข้อมูลของ Tiff จะถูกแบ่งออกเป็น สำาหรับ เครื่อง Macintosh และเครื่อง PC/Windows เนื่องจากระบบการเก็บตัวเลขของ CPU ของ Motorola กับ Intel มีการจัดเก็บตัวเลขกลับกัน แต่ในปัจจุบัน โปรแกรมที่ใช้ในการเปิดภาพต่างก็แก้ไขปัญหานี้ได้หมดแล้ว ทำาให้ Tiff หรือ Tif สามารถเปิดได้ทงบน Macintosh และ Windows อย่างไม่มีปัญหา ั้ 35
  • 36. การบีบอัดแบบสูญเสียข้อมูล หรือ Lossy  เป็นการบีบอัดข้อมูลภาพในลักษณะที่มีการตัดทอนข้อมูลภาพออกไปบาง ส่วน เพื่อให้ไฟล์ภาพมีขนาดเล็กลง แต่ก็ทำาให้สูญเสียข้อมูลบางอย่างไป และไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้ การบันทึกแบบ Lossy ที่นิยมใช้ในกล้อง ดิจิตอลคือการบันทึกแบบ JPEG ตัวอย่างเช่น  ไฟล์ JPEG เป็นไฟล์บิตแมปทีมีการบีบอัดเป็นทียอมรับในปัจจุบัน เก็บความลึกสี ่ ่ ได้สูงสุด 32 Bit เนื่องจาก Jpeg เป็นการบีบอัดแบบ Lossy ซึงมีการสูญเสียราย ่ ละเอียดบางส่วนของภาพไปจึงทำาให้สามารถบีบอัดภาพได้มาก  ไฟล์ JPG การบีบอัดไฟล์ Jpg ที่เหมาะสมก็คือ 75-80% ของ Quality โดย Quality คือการเลือกว่าจะให้มีคุณภาพของภาพเหลือเป็นเปอร์เซ็นต์เท่าไร ดังนั้น ยิงเปอร์เซ็นต์มาก ยิ่งมีการบีบอัดน้อยลง หรือ 20-25% ของ Compression ซึ่ง ่ Compression หมายถึงเปอร์เซ็นต์ทต้องการบีบอัดไฟล์ ยิ่งมีการบีบอัดมาก และ ี่ ส่งผลให้คุณภาพของภาพลดตำ่าลง หากกำาหนดค่าตำ่าหรือสูงเกินไป อาจจะส่งผล เสียต่อคุณภาพของภาพได้โดยตรง และสามารถมองเห็นข้อบกพร่องได้ด้วยตา เปล่า เช่น ภาพอาจไม่ชัดเจน หรือมีสีผิดเพี้ยน เป็นต้น 36
  • 37. แหล่งทีมาของรูปภาพ ่  Original Art คือภาพ ที่เกิดจากการวาดโดย จิตรกร อาจวาดโดยใช้ ดินสอ หรือสีชนิดต่างๆ หากต้องการนำาภาพนั้น มาแสดงผลใน คอมพิวเตอร์สามารถ ทำาได้โดยการสแกน ภาพด้วยเครื่องสแกน เนอร์ หรืออาจใช้วิธี ถ่ายภาพด้วยกล้อง ดิจิตอล 37 การวาดภาพโดยใช้ดินสอหรือจากสี
  • 38. Clip Art  เปรียบเสมือน Library สำาหรับเก็บงานทางด้าน Graphic ที่สามารถนำามา แทรกไว้ในเอกสาร ถูกจัดเก็บไว้เป็นหมวดหมู่ในรูปของ Cd-Rom หรือใน เว็บไซต์ต่างๆ เช่น ภาพ Drawing ภาพ Photograph แผนที่ ไดอะแกรม แผนภูมิ และภาพลายเส้นต่างๆ เป็นต้น  ส่วนมากมีการนำา Clip Art มาใช้ในงาน Graphic Program การใช้ภาพ จาก Clip Art จะต้องคำานึงถึงลิขสิทธิ์ กฤตศิลป์จาก Microsoft Clip 38 กฤตศิลป์จากอินเทอร์เน็ต Gallery
  • 39. Photo CD  เป็นทางเลือกหนึ่งในการนำาภาพถ่ายจากฟิลมมาแปลงเป็นภาพ ์ ดิจิตอลเพื่อใช้ร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดยอ่านจากแผ่นซีดีผ่าน เครื่องอ่าน Photo CD ที่ต่อเชื่อมกับคอมพิวเตอร์ รวมทั้งนำาไป เปิดชมภาพกับโทรทัศน์ได้โดยผ่านเครื่องเล่น Photo CD หรือ เครื่องเล่นซีดีที่ระบุว่าเล่น Photo CD ได้ โดย Software ที่ใช้ ในการจัดการเกี่ยวกับ Photo CD เช่น Precision Device Profile ของ Kodak เป็นต้น 39
  • 40. 40 ชุดซีดีภาพถ่าย
  • 41. Photo Cd Stock Image  เนืองจากในระยะหลังเครื่อง Cd-Rom มีราคาถูกลง รวมทั้งใน ่ ปัจจุบันผู้คนมีความต้องการรูปภาพแบบดิจิตอลเพิ่มขึ้น จึง ทำาให้เกิดธุรกิจทีมีการรวมรูปภาพแบบดิจิตอล โดยสามารถหา ่ ได้ในรูปแบบ Cd-Rom อีกทั้ง ยังมีให้เลือกหลายประเภท ซึ่ง รูปภาพแบบดิจิตอลจะถูกเก็บในรูปแบบ Photo Cd ของ Kodak เป็นไฟล์ประเภท Tiff ซึ่งสามารถเปิดใช้งานได้บน Pc, Mac หรือแม้แต่ Unix ตัวอย่างเช่น  Diamar Portfolios มีการจัดทำา Cd-Rom ภาพในหัวข้อต่างๆ โดยมี การจัดเก็บในรูปแบบของ Photo Cd เช่น รูปที่เกี่ยวกับธรรมชาติ สัตว์ ดอกไม้ สิ่งทอ เป็นต้น  Adc Imagevault มีการจัดทำาเป็นชุด (Package) ของแต่ละประเภทต่าง กันไป เช่น เรื่องทั่วๆ ไป Vol1 ซึ่งเก็บใน Cd-Rom ที่มีมากกว่า 380 ภาพ ซึ่งอาจจะเป็น ภาพพลเมือง ภาพสถานที่ ภาพในเชิงธุรกิจต่างๆ โดยมีการจัดเก็บรูปภาพในรูปแบบของ Photo Cd 41
  • 42. ซอฟต์แวร์สำาหรับภาพกราฟิก (Graphic Software) Photoshop  พัฒนาโดย บริษัท Adobe ในปัจจุบันมี การพัฒนาต่อเนื่อง จนถึงเวอร์ชัน CS สามารถทำาการแก้ไข ภาพที่มีตำาหนิ ตัดต่อ ภาพ ตกแต่งภาพ สร้าง องค์ประกอบที่ใช้กับ เว็บเพจ การดัดแปลง ภาพ หรือแม้แต่การ สร้างภาพกราฟิกที่ผสม ผสารระหว่างข้อความ และภาพวัตถุต่างๆ ได้ อย่างสะดวกและ รวดเร็ว 42 การใช้โปรแกรมอะโดบีโฟโตชอปในการตกแต่งภาพ
  • 43. ซอฟต์แวร์สำาหรับภาพกราฟิก (ต่อ) Chemscape Chine  พัฒนาโดย Mdl Information System เป็น Player ที่ สนับสนุนไฟล์ภาพ 3 มิติ สามารถแสดง โครงสร้างได้ทงแบบ 2 ั้ มิติ และ 3 มิติ บนเว็บ ด้วยภาษา Html ส่วน ใหญ่มักนิยมใช้เพื่อจัด ทำาโครงสร้างข้อมูล ด้านเคมีและเวชภัณฑ์ 43 ภาพจากโปรแกรมเคมสเคปไชม์
  • 44. ซอฟต์แวร์สำาหรับภาพกราฟิก (ต่อ) Freehand Shockware  พัฒนาโดย Macromedia เป็น Plug-In ใช้สำาหรับนำา เสนอและจัดการกับภาพ ด้วยโปรแกรม Freehand นอกจากสร้างภาพเวก เตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพแล้ว ยัง รองรับการทำางานและ แสดงผลบนเว็บได้สะดวก และรวดเร็วอีกด้วย ตัวอย่างเช่น การสร้างจุด เชื่อมโยง (Link) เพื่อให้ผู้ ใช้งานสามารถคลิกเลือก ไปยังข้อมูลปลายทางผ่าน ทางบราวเซอร์ได้ 44 โปรแกรมฟรีแฮนด์
  • 45. ซอฟต์แวร์สำาหรับภาพกราฟิก (ต่อ) Cad  ย่อมาจากคำาว่า Computer Aided Design โปรแกรม Autocad เป็น โปรแกรมทีช่วยในการ ่ เขียนแบบ ซึงมิได้ ่ จำากัดอยู่เพียงแวดวง วิศวกรและสถาปนิก เท่านั้น แต่ยังรวมไป ถึงผู้เกี่ยวข้องคนอื่นๆ ด้วยไม่ว่าจะเป็น นักศึกษา นักโฆษณา และนักสื่อสารมวลชล ทีมักจะนิยมมาใช้งาน ่ เช่นกัน 45 การใช้โปรแกรมออโตแคดช่วยในการเขียนแบบ
  • 46. ซอฟต์แวร์สำาหรับภาพกราฟิก (ต่อ) Illustrator  เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัท Adobe จัดได้ว่าเป็นเครื่องมือ สำาหรับสร้างภาพเวกเตอร์ทมี ี่ คนนิยมใช้งานกันมากที่สด ุ นอกเหนือจากโปรแกรม ประเภทเดียวกันนี้ ตัวอย่างเช่น โปรแกรม Coreldraw ของ บริษัท Corel และโปรแกรม Freehand ของบริษัท Macromedia เป็นต้น นอกจากสามารถทำางานร่วมกับ โปรแกรมอืนในค่ายเดียวกันได้ ่ อย่างสมบูรณ์แล้ว ( Pagemaker และ Photoshop) อีกทังยังรองรับ ้ และสนับสนุนการทำางานบน ระบบปฏิบัตการ Macintosh ิ 46 โปรแกรมอิลลูสเตรเตอร์ และ Windows ได้อกด้วย ี
  • 47. Graphic Software อื่นๆ Paint Program  โปรแกรมประเภทตบแต่งภาพวาด ไม่ว่าจะ เป็นการวาด สร้าง หรือแก้ไขพิกเซลต่างๆ สามารถทำาได้โดยง่ายและรวดเร็ว ดังนั้น จึง นิยมมาใช้สำาหรับการแก้ไขภาพถ่าย แต่ไม่ เหมาะสำาหรับที่จะนำามาใช้งานกับการวาด ลายเส้นหรือสร้างตัวอักษรในรูปแบบต่างๆ เนื่องจากคุณสมบัติที่มองทุกอย่างเป็นกลุ่ม พิกเซล ทำาให้การแก้ไขเคลื่อนย้ายเป็นไป ด้วยความยากลำาบาก อย่างไรก็ตาม จุดเด่น ของโปรแกรมประเภทนี้ ก็คือ มีเครื่องมือที่ ช่วยอำานวยความสะดวกครบครัน เช่น Paintbrush, Ink, Felt Pens, Chalk และ Watercolor รวมถึงฟังก์ชันงานสร้างลูกเล่น (Effect) ต่างๆ ไว้เป็นจำานวนมาก สามารถ สร้างชิ้นงานศิลปะได้ออกมาสมจริงและใกล้ เคียงกับธรรมชาติมาก โปรแกรม Microsoft Paint สำาหรับ 47 ใช้ตกแต่งภาพวาด
  • 48. Photo-Manipulation Program  โปรแกรมประเภทปรับแต่ง รูปภาพ โดยส่วนใหญ่จะใช้ งานร่วมกับกล้องถ่ายรูป ดิจิตอล หรือเครื่องสแกน เนอร์ที่ต้องการรายละเอียด สูง มีฟังก์ชันการใช้งานที่ ง่ายและไม่สลับซับซ้อนมาก นัก เหมาะสำาหรับช่างภาพที่ ต้องการความสะดวกและ รวดเร็วในการปรับแต่งภาพ ให้สวยงาม โปรแกรม Imaging for Windows ซึ่ง เป็นผลิตภัณฑ์ของ Kodak สำาหรับใช้ 48 ปรับแต่งรูปภาพ
  • 49. Cad Program  โปรแกรมประเภท ออกแบบ สถาปัตยกรรม เหมาะ สำาหรับใช้งานด้าน สถาปัตยกรรมและ วิศวกรรมทีต้องการ ่ แสดงรายละเอียดที่ สลับซับซ้อนค่อนข้าง มาก สามารถสร้างลูก เล่น (Effect) ต่างๆ ได้เป็นจำานวนมาก รวมถึงการแสดงผลที่ เป็นภาพ 3 มิติได้ อย่างสมบูรณ์แบบ โปรแกรม Intelligent CAD ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ 49 ของบริษัท Autodesk สำาหรับใช้ออกแบบ สถาปัตยกรรมและวิศวกรรม
  • 50. 3D Modeling Program  โปรแกรมประเภทสร้างแบบภาพ จำาลองแบบ 3 มิติ เหมาะสำาหรับ นักวิจัยหรือนักวิทยาศาสตร์ที่ ต้องการนำาเสนอชิ้นงานในรูป แบบจำาลอง ทังนี้ เนื่องจากภาพ ้ แบบจำาลอง 3 มิติ สามารถแสดง รายละเอียดทีสลับซับซ้อนได้ทก ่ ุ มุมมองนั้นเอง ด้วยคุณสมบัติ และขีดความสามารถทีโดดเด่น ่ ในการสร้างและปรับแต่งวัตถุ (Object) ไม่ว่าจะเป็นการสร้าง พืนผิว การปรับความลึก หรือ ้ แม้แต่การให้แสงตกกระทบกับ วัตถุเพือให้เกิดความสมจริง ่ รวมถึงเครื่องมือสำาหรับสร้างลูก เล่นต่างๆ อีกจำานวนมาก โปรแกรม Chem3D สำาหรับใช้ 50 สร้างแบบจำาลอง 3 มิติของ
  • 51. Draw Program  โปรแกรมประเภทวาดภาพ ใช้ สำาหรับสร้างภาพเชิงวัตถุในรูป ทรงต่างๆ ไม่เพียงแต่จะเป็นภาพ วาดลายเส้นเท่านั้น แต่ยัง สามารถสร้างข้อความหรือตัว อักษรได้อย่างสวยงาม รวมไปถึง การมองวัตถุ (Object) จะแยก เป็นชิ้นส่วนแต่ละชิ้นออกจากกัน ผู้ใช้สามารถทำาการคัดลอก ลบ และเคลื่อนย้ายวัตถุแต่ละตัวได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยไม่มี ผลกระทบกับวัตถุชิ้นอื่นที่อยู่ ภายในกลุ่มเดียวกัน เหมาะ สำาหรับนักออกแบบศิลปะ โปรแกรม Microsoft Visio สำาหรับสร้างภาพเชิงวัตถุในรูป ทรงต่างๆ 51
  • 52. รูปภาพบนเว็บ ชนิด ไฟล์ภ าพ คำา อธิบ าย ไฟล์ GIF เป็นไฟล์บิตแมปที่ใช้สีได้สูงสุด 256 สี นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า Gif Animation เป็นไฟล์ภาพเคลื่อนไหวที่ มีขนาดของไฟล์เล็ก ทั้งนี้ เนื่องจากไฟล์ชนิดนี้ได้มการบีบอัดข้อมูลแบบ LZW ทำาให้ขนาดของไฟล์เล็กลง ี ส่งผลให้การส่งผ่านข้อมูลไปยังระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังสามารถรองรับโหมดสีแบบ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Bitmap-Mode, Grayscale หรือแม้แต่ Indexed-Color Gif ได้อีกด้วย ซึ่งเป็นผลจากค้น คิดและพัฒนาโดยบริษัท Compuserve อย่างไรก็ตามแม้ว่าไฟล์ชนิดนี้ จะเป็นที่นิยมนำามาใช้งานกันอย่าง แพร่หลายบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็ตาม แต่ยังคงมีข้อจำากัดอยู่บ้างในเรื่องคุณภาพของสีที่ลดลง ไฟล์ JPEG เป็นไฟล์ภาพที่แสดงผลแบบ Indexed-Color สามารถรองรับโหมดสีแบบ CMYK, RGB, Grayscale Color ได้เป็นอย่างด แต่ไม่รองรับคุณสมบัติการโปร่งแสง (Alpha Channel) นิยมนำามาใช้บนไฟล์เอกสาร Html ไฟล์ JPG เป็นไฟล์ภาพที่ได้จากแหล่งเก็บภาพถ่ายและการสแกนภาพ สามารถแสดงผลได้อย่างรวดเร็วทั้งนี้ เนื่องจาก ขนาดของไฟล์เล็กมากเป็นพิเศษ นิยมนำามาใช้เพื่อแลกเปลี่ยนภาพผ่านทางอีเมล์และใช้เป็นส่วนประกอบ ของภาพในไฟล์เอกสาร Html เช่นกัน ไฟล์ PNG เป็นไฟล์บิตแมปอีกชนิดหนึ่ง ที่มีการบีบอัดข้อมูลแบบ Lossless สามารถให้สชนิด True Color ได้สงสุดถึง ี ู 48 Bit/Pixel ทั้งนี้ได้รับการออกแบบขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนไฟล์ไฟล์ Gif นั่นเอง แม้ว่าไฟล์ PNG จะมี คุณสมบัติที่เหนือกว่าไฟล์ Gif อยู่หลายประการก็ตาม แต่ความนิยมของผูใช้ยังคงชมชอบใช้ไฟล์ Gif ้ มากกว่า อย่างไรก็ตาม นักออกแบบเว็บไซต์สมัยใหม่กำาลังให้ความสนใจและจะนำาไฟล์ชนิดนี้มาใช้งานเป็น อย่างมาก เนื่องจากสามารถรองรับโหมดสีต่างๆ ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น โหมดสีแบบ Grayscale และ RGB (ที่มี Single Alpha Channel)โหมดสีแบบบิตแมป(Bitmap)ชนิดIndexed-Color(ที่ไม่มAlpha ี Channel) รวมถึงขนาดของไฟล์ที่มีขนาดเล็กใกล้เคียงกันกับไฟล์ GIF แต่ก็ให้คุณภาพของสีที่ดีกว่า 52