SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมกับการก่อการร้าย
เสนอ อาจารย์ ธณกนก เชื้อทอง
วิชา LB 215
รายชื่อกลุ่ม 6
จุลพงส์ เรืองภิรมย์ 1540803655
บรรเจิด เอี่ยมโอภาส 1540803762
กาณ์การุณ โอดสมบัติ 1540804109
ศรัณย์วัฒน์ โพธ์ทอง 1540901954
ศรัณญ์ มอญพูด 1540902200
ปรเมศวร์ อุบลหอม 1540902192
ฉัตรกมล ศิริพรสวรรค์ 1550318081
อรนุช โสดากูล 1550512535
การก่อการร้าย
การก่อการร้าย เป็นการดาเนินการของกลุ่มบุคคลหรือองค์การมีลักษณะเฉพาะมีความเกี่ยวข้องกับความ
รุนแรง หรือการข่มขู่ด้วยความรุนแรง การก่อการร้ายสัมพันธ์การก่อความไม่สงบที่ดาเนินการก่อการร้ายเพื่อ
มุ่งหวังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สันติวิธีการก่อการร้าย (Terrorism) เป็นกิจกรรมที่ทาให้ประชาคม
โลกต้องตกอยู่ในความหวาดกลัว การก่อการร้ายได้ส่งผลทาให้ประชาคมโลกสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินจานวน
มาก
สุขนิยม (Hedonism)
• ความสุขสบายเป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิต
• เราเกิดมาพร้อมกับประสาทสัมผัสที่มีศักยภาพในการรับความสุข จึงควรแสวงหาความสุข ธรรมชาติของเรา
มีความโน้มเอียงไปหาความสุข เราจึงไม่ควรฝืนธรรมชาติส่วนนี้
• เป้ าหมายสุดท้ายของทุกอย่าง คือ ความสุข
- เบนธัม (J. Bentham) “ ความเจ็บปวดและความสุขสบายคือเจ้านายที่คอยบงการพฤติกรรมทุกอย่าง
ของมนุษย์ ”
- เอพิคิวรัส (Epicurus) “ มนุษย์เราเกิดชาติเดียว ตายชาติเดียว ไมีมีโลกหน้า ในขณะยังมีชีวิต จึงควร
แสวงหาความสุขให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้”
การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะการก่อการร้ายคือการทาเพื่อประโยชน์ของคนกลุ่มหนึ่ง เพื่อ
ประโยชน์ของคนกลุ่มนั้นไม่ว่าจะเป็น เงินทอง ของมีค่าอื่นๆ เพื่อต้องการที่จะตอบสนองความต้องการของ
ตัวเองซึ่งก็คือความสุข
อสุขนิยม (Non-Hedonism)
• ความสุขสบายไม่ใช่เป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิต
• มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ จุดหมายของชีวิตจึงไม่ใช่ความสุขสบายเหมือนสัตว์ แต่เป็นความสงบสุขทางจิตใจ
ที่สัตว์ไม่สามารถมีได้ดั่งเรา
• เราประกอบด้วยร่างกายและจิตวิญญาณ แต่จิตวิญญาณเป็นส่วนสาคัญของมนุษย์
- โซคราตีส “ชีวิตที่ดีคือชีวิตที่ใช้ปัญญาไตร่ตรองการกระทา และความเชื่อต่างๆ ทั้งของตนเองและสังคม”
- ลัทธิสโตอิค “คุณค่าของชีวิตอยู่ที่ความสงบสุขอันเกิดจากการหลุดพ้นจากอานาจครอบงาของวัตถุ”
- ลัทธิซินนิค “ถือว่าการปราศจากกิเลสมีค่าสูงสุดในตัวเอง”
การก่อการร้าย จึงเป็นความผิด เพราะการก่อการร้ายคือการสร้างความเดือดร้อนและเป็นการกระทาที่
เกี่ยวกับข้อห้ามและกฏหมายของสังคมซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่พึงปราถนา ซึ่งการก่อการร้ายนั้นคือการโหยหาความสุข
เพื่อตัวเอง ไม่ว่าจะ เงินทอง ของมีค่าอื่นๆ โดยไม่คิดถึงส่วนรวม ซึ่งเป็นความสุขที่ทุกคนพึงจะมี แต่ไม่ได้ใช้
ปัญญาในการคิด และเป็นความสุขทางประสาทสัมผัสไม่ใช่ความสุขสงบจากจิตใจ
มนุษย์นิยม (Humanism)
• มองกว้าง มองไกล ไม่จากัดคุณค่ามนุษย์ไว้ที่กฎเกณฑ์ใดกฎเกณฑ์หนึ่ง มนุษย์มีความซับซ้อนเกินกว่าจะใช้
เกณฑ์เพียงหนึ่งเดียวอธิบายได้
• มนุษย์คือผลผลิตจากวิวัฒนาการอันยาวนาน เราจึงควรตอบสนองทั้งด้านร่างกายและจิตวิญญาณ ทุก
อย่างมีคุณค่าสาหรับชีวิตมนุษย์
การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะการก่อการร้ายคือการมองไกล มองกว้างของคนกลุ่มหนึ่งว่า
อนาคตควรไม่เป็นดั่งปัจจุบัน และต้องถูกปรับเปลี่ยนกฏเกณฑ์ต่างๆ และสิ่งต่างๆให้ตอบสนองความต้องการ
ของคนกลุ่มนั้นๆ
อัตถิภาวนิยม (Existentialism)
• สาระที่แท้จริงของมนุษย์อยู่ที่เสรีภาพ มนุษย์ควรใช้เสรีภาพเลือกเป็นอย่างที่ตนเองต้องการ
• อัตถิภาวนิยม 2 กลุ่มย่อย
• 1. แบบอเทวะ ไม่เชื่อพระเจ้า
• 2. แบบเทวะ เชื่อพระเจ้า
- ชอง ปอง ซาร์ตร์ (Jean Paul Sartre) “มนุษย์มีเสรีภาพเสมอ ในทุกเวลา และทุกสถานการณ์ ไม่มี
แม้แต่วินาทีเดียวที่เราไร้เสรีภาพ”
การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะมนุษย์มีเสรีภาพของการใช้ชีวิตและเลือกที่จะเป็นอะไรก็ได้จะทา
อะไรก็ได้ และคนที่กลุ่มคนที่คิดจะก่อการร้ายนี้ต้องยอมรับผลของการกระทาที่จะตามมาได้
สัมพัทธนิยม
• คุณค่าทางจริยธรรมไม่ใช่สิ่งที่แน่นอนตายตัว หากแต่ขึ้นอยู่กับบุคคลหรือสังคม ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปได้ตาม
ค่านิยม สังคม และกาลเวลา ความจริงมีลักษณะเป็นอัตนัย (Subjective)
[ไม่ได้มีอยู่จริง แต่เป็นสิ่งสมมติ ขึ้นอยู่กับความคิดของคน]
• ทฤษฎีสัมพัทธนิยม ที่โดดเด่น 3 กลุ่ม
1. ลัทธิโซฟิสต์ (นาโดย Protagoras)
2. ลัทธิสัมพัทธนิยมทางวัฒนธรรม (Cultural Relativism)
3. ลัทธิประโยชน์นิยม (Utilitarianism)
กลุ่มโซฟิสต์ Sophism
• (นาโดย Protagoras) ความจริงเป็นอัตนัย ไม่ใช่ปรนัย ดังนั้น มนุษย์แต่ละคนจึงเป็นมาตรการวัดทุก
อย่าง ( Man is the measure of all things ) ความดี-ความชั่วเป็นเรื่องสมมติ สิ่งใดดีก็ดี
เฉพาะคนนั้น ไม่จาเป็นต้องดีแก่ทุกคน สิ่งที่ดี คือ สิ่งที่ฉันชอบ
การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะมนุษย์แต่ละคน สามารถคิดว่าสิงใดดี สิ่งใดไม่ดี ต่อตัวเองได้ และ
การที่จะก่อการร้าย ก็อาจจะเป็นทั้ง สิ่งที่ดี ในความคิดของพวกเขาก็ได้
กลุ่มสัมพัทธนิยมทางวัฒนธรรม
• ใช้จารีต ประเพณี และวัฒนธรรมของสังคมเป็นเกณฑ์ตัดสินคุณค่าจริยธรรม
• กฎจริยธรรมในแต่ละสังคมเกิดจากอารมณ์ (ไม่ใช่เหตุผล) คือ เมื่อเริ่มแรกเกิดความสะเทือนใจก่อน แล้วยึดถือกัน
มาเรื่อยๆ จนกลายเป็นจารีตประเพณีของสังคมนั้นๆ
วิจารณ์ (โต้แย้ง) สัมพัทธนิยม
• ถ้าเกณฑ์ตัดสินจริยธรรมขึ้นอยู่กับแต่ละสังคม การโต้แย้งเรื่องจริยธรรมก็จะเป็นไปไม่ได้ คือ เราจะไม่สามารถบอก
ได้ว่าอะไรถูก อะไรผิด ซึ่งนั่นจะเป็นความวุ่นวายมาก
• ถ้าการกระทาที่ถูกคือการทาตามจารีตประเพณีของสังคม การเปลี่ยนแปลงหรือความคิดริเริ่มใหม่ๆ ก็จะผิดเสมอ
(เพราะไม่คล้อยตามความเชื่อเดิมในสังคม) ซึ่งนั่นจะเป็นเรื่องเสียหาย เพราะสังคมจะย่าอยู่กับที่ ไม่มีการพัฒนา
อะไรใหม่ๆ ขึ้นมาเลย
• การมีสาเหตุหรือความจาเป็นที่ต้องกระทาความชั่วร้ายไม่สามารถนามาเป็นข้ออ้างเพื่อจะเปลี่ยนแปลงค่าทาง
จริยธรรมได้ (การขโมยเป็นเรื่องที่ผิดเสมอ แม้จะมาจากสาเหตุหรือความจาเป็นใดๆ ก็ตาม)
• การที่แต่ละสังคมมีความเชื่อแตกต่างกันไม่ได้หมายความว่าทุกความเชื่อจะถูกไปเสียทั้งหมด ความจริงไม่ได้ขึ้นอยู่
กับความเชื่อของคน แต่มันจริงในตัวมันเอง แม้ว่าคนแต่ละสังคมจะเชื่อแตกต่างกันอย่างไรก็ตาม (โลกยังกลมเสมอ
ไม่ว่าเราจะเชื่ออย่างไรก็ตาม)
ลัทธิสัมบูรณ์นิยม (Absolutism)
• มีเกณฑ์จริยธรรมที่แน่นอนตายตัว
• ค่าทางจริยะเป็นคุณสมบัติที่มีอยู่ภายในการกระทา (สิ่งนี้ดี เพราะมันดี)
• สิ่งที่ดี กับ สิ่งที่เราคิดว่าดี ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน
• สิ่งที่ดีจริงจะคงความดีตลอดไปทุกยุคสมัย
กลุ่มสัมบูรณ์นิยมที่โดดเด่น
1. จิตนิยม
2. ปัญญานิยม
3. มโนธรรมสัมบูรณ์
4. หน้าที่นิยม (ของคานท์)
จิตนิยม
• ความจริงเป็นปรนัย มีมาตรการสากลอยู่จริง มนุษย์ทุกคนสามารถคิดตรงกันได้ ถ้าหากขจัดกิเลสและอคติ
ออกจากจิตใจได้เหมือนกัน ความดี-ความชั่วเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง สิ่งที่ดีจะดีตลอดไป ทุกยุคสมัย ทุกสถานที่
และดีสาหรับทุกคน แม้มนุษย์จะเชื่อว่ามันดีหรือไม่ดีก็ตาม ความจริงเป็นแบบปรนัย (Objective)
[ความจริงเป็นสิ่งเที่ยงแท้ นิรันดร ดารงอยู่อย่างอิสระ ไม่ขึ้นอยู่กับความคิดของคน] ไม่ว่าในโลกนี้จะมีคน
ไปสนใจ “ความเป็นจริง” นั้นหรือไม่ ความเป็นจริงนั้นก็ยังคงดารงอยู่เหมือนเดิม ไม่เปลี่ยนค่าไปตาม
ความเห็นของมนุษย์แต่อย่างใด
การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะมนุษย์แต่ละคนมีความคิดตรงกันได้ และตัดสินใจตรงกันได้ว่าสิ่งที่
เข้าเลือกกระทาเป็นสิ่งที่ดี หรือ ชั่ว จึงไม่ผิดที่คนเราสามารถคิดก่อการร้ายได้ในทุกยุคทุกสมัย
ปัญญานิยม
• ความจริงเป็นปรนัย มีมาตรการสากลอยู่จริง
• มนุษย์ทุกคนมีปัญญาติดตัวมาตั้งแต่เกิด เราจึงสามารถใช้ปัญญาแสวงหาความจริงได้ตรงกัน
• ความรู้ที่ได้จากปัญญาและเหตุผลเป็นความรู้แท้
• เมื่อเราใช้ปัญญาอย่างบริสุทธิ์และเที่ยงตรง เราก็จะรู้เองว่าอะไรถูกอะไรผิด
การก่อการร้าย จึงเป็นความผิด เพราะมนุษย์แต่ละคนมีปัญญาและเหตุผลเหมือนกัน ทาให้สามารถแยกแยะ
ว่าการก่อการร้ายเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และผิดกฏหมาย การกระทาส่งผลต่ออนาคตที่เลวร้ายอีกด้วย
มโนธรรมสัมบูรณ์
• มนุษย์เกิดมาพร้อมกับประสาทสัมผัสทั้ง 5 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) และสัมผัสที่หกคือ มโนธรรม
• เราใช้ประสาทสัมผัสรับรู้เรื่องทางกายภาพ และใช้มโนธรรมรับรู้เรื่องทางนามธรรม
• มโนธรรมคือความสานึกทางศีลธรรมที่มนุษย์ทุกคนมีอยู่โดยธรรมชาติ
• การที่เรามีความเห็นแตกต่างกันทั้งๆ ที่ทุกคนต่างก็มีมโนธรรมเหมือนกันหมดนั้น เป็นเพราะว่า มโนธรรม
ของแต่ละคนได้รับการพัฒนาไม่เท่าเทียมกัน แต่เมื่อเราพัฒนามโนธรรมอย่างเต็มที่จนเกิดความสมบูรณ์ดี
จริง และไม่มีกิเลสตัณหามาเจือปน เราก็จะตัดสินจริยธรรมได้ตรงกัน
การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะมนุษย์แต่ละคนเกิดมาในแวดล้อมที่แตกต่างกันไป ทาให้สิ่งที่เข้ามา
นั้นมาจากความจริงที่ได้ เห็น ได้ยิน ได้สัมผัส ถึงได้จากสิ่งแวดล้อมนั้นๆ ทาให้การก่อร้ายสามารถเกิดขึ้นได้
ตามสภาพแวดล้อมต่างๆ เพราะจะเป็นตัวกาหนดจิตใจของมนุษย์ว่า ก่อการร้ายเพื่อสิ่งที่ดี เพื่อเสรี และอื่นๆ
ได้เสมอ
หน้าที่นิยม (จริยศาสตร์ของคานท์)
• คานึงถึงเจตนาและการกระทา แนวคิดนี้เห็นว่า การตัดสินการกระทาว่าดี ชั่ว ถูก หรือผิด นั้นต้องพิจารณา
จากเจตนาของผู้กระทา
หน้าที่กับกฎศีลธรรม
• การทาตามหน้าที่คือการทาตามเหตุผล ได้แก่การทาตามกฎโดยไม่คานึงถึงความรู้สึกใด ๆ ทั้งสิ้น กฎใน
ที่นี้หมายถึง กฎทางศีลธรรมคือกฎที่มีลักษณะเป็นคาสั่ง เช่น จงพูดคาสัตย์ จงอย่าทาลายชีวิต
การก่อการร้าย จึงเป็นความผิด เพราะมีเจตนาที่ไม่ดีและเป็นการกระทาที่ทาเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการมาเพื่อ
ความสุขของตัวเอง คือ ทรัพย์สินเงินทองและของมีค่าต่างๆ ทาลายชีวิตผู้อื่น ที่ต้องการโดยแลกกับการก่อการ
ร้าย เพื่อความสุขสบายและผลประโยชน์ต่อตัวเองและกลุ่มคนเพียงกลุ่มหนึ่งให้มีชีวิตที่ดีมีกินมีใช้และอยู่
อย่างมีความสุข ตามความต้องการของกลุ่ม
ประโยชน์นิยม
• หลักการสาคัญของลัทธินี้: หลักมหสุข (สิ่งที่ดีคือสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์สุขมากที่สุดแก่คนจานวนมาก
ที่สุด) ผิด-ถูก ไม่ได้อยู่ที่ตัวการกระทา แต่อยู่ที่ผลลัพธ์ของมัน นั่นคือ ใช้ความสุขเป็นตัวตัดสิน โดยดูที่ผล
ของการกระทา การกระทาที่ช่วยให้มนุษย์โดยส่วนมากมีความ สุขมากขึ้นถือเป็นการกระทาที่ดี แม้ว่ามัน
อาจ ต้องทาให้คนส่วนน้อยได้รับผลกระทบก็ตาม (การสร้างเขื่อน / การทดลองทางแพทย์ ฯลฯ)
- เบนธัม : เน้นความสุขในแง่ของปริมาณ
- มิลล์ : เน้นความสุขทั้งปริมาณและคุณภาพ
ดังนั้นการก่อการร้าย จึงเป็นความผิดเพราะการก่อการร้าย ทาให้กลุ่มคนจานวนมากเกิดความเดือดร้อน และ
ส่งผลในเชิงลบอีกมาย ในขณะที่กลุ่มก่อการร้ายเองก็ได้สิ่งที่ต้องการได้เงินทองของมีค่าและความสุขตาม
เป้าหมายของกลุ่ม โดยไม่สนใจกลุ่มอื่นๆที่ได้รับผลกระทบจากการก่อการร้าย
อัตนิยม (Egoism)
• ฮอบส์ (Hobbes) “โดยธรรมชาติ มนุษย์เป็นคนเห็นแก่ตัว ลึกๆ แล้ว มนุษย์ทาทุกอย่างเพื่อผลประโยชน์
ของตัวเองทั้งสิ้น (ตรง/อ้อม)” การทาดีแก่คนอื่นก็คือการทาดีแก่ตนเองนั่นเอง
• คนฉลาดคือคนที่เห็นแก่ตัวอย่างรอบคอบ เพื่อที่ตนจะมีความสุขได้ตลอดไป
การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะมนุษย์แต่ละคนมีความเห็นแก่ตัว และคิดถึงผลประโยชน์ของตัวเอง
การก่อการร้ายก็เป็นอีกวิธีการซึ่งเป็นทางลัดในการสร้างความสุข ความสบายให้แก่ตัวเอง โดยอาจจะไม่สนใจ
คนรอบข้าง

Contenu connexe

Tendances

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์Roiyan111
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 

Tendances (20)

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 

เกณฑ์การตัดสินจริยธรรมกับการก่อการ

  • 2. รายชื่อกลุ่ม 6 จุลพงส์ เรืองภิรมย์ 1540803655 บรรเจิด เอี่ยมโอภาส 1540803762 กาณ์การุณ โอดสมบัติ 1540804109 ศรัณย์วัฒน์ โพธ์ทอง 1540901954 ศรัณญ์ มอญพูด 1540902200 ปรเมศวร์ อุบลหอม 1540902192 ฉัตรกมล ศิริพรสวรรค์ 1550318081 อรนุช โสดากูล 1550512535
  • 3. การก่อการร้าย การก่อการร้าย เป็นการดาเนินการของกลุ่มบุคคลหรือองค์การมีลักษณะเฉพาะมีความเกี่ยวข้องกับความ รุนแรง หรือการข่มขู่ด้วยความรุนแรง การก่อการร้ายสัมพันธ์การก่อความไม่สงบที่ดาเนินการก่อการร้ายเพื่อ มุ่งหวังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สันติวิธีการก่อการร้าย (Terrorism) เป็นกิจกรรมที่ทาให้ประชาคม โลกต้องตกอยู่ในความหวาดกลัว การก่อการร้ายได้ส่งผลทาให้ประชาคมโลกสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินจานวน มาก
  • 4.
  • 5. สุขนิยม (Hedonism) • ความสุขสบายเป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิต • เราเกิดมาพร้อมกับประสาทสัมผัสที่มีศักยภาพในการรับความสุข จึงควรแสวงหาความสุข ธรรมชาติของเรา มีความโน้มเอียงไปหาความสุข เราจึงไม่ควรฝืนธรรมชาติส่วนนี้ • เป้ าหมายสุดท้ายของทุกอย่าง คือ ความสุข - เบนธัม (J. Bentham) “ ความเจ็บปวดและความสุขสบายคือเจ้านายที่คอยบงการพฤติกรรมทุกอย่าง ของมนุษย์ ” - เอพิคิวรัส (Epicurus) “ มนุษย์เราเกิดชาติเดียว ตายชาติเดียว ไมีมีโลกหน้า ในขณะยังมีชีวิต จึงควร แสวงหาความสุขให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้” การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะการก่อการร้ายคือการทาเพื่อประโยชน์ของคนกลุ่มหนึ่ง เพื่อ ประโยชน์ของคนกลุ่มนั้นไม่ว่าจะเป็น เงินทอง ของมีค่าอื่นๆ เพื่อต้องการที่จะตอบสนองความต้องการของ ตัวเองซึ่งก็คือความสุข
  • 6. อสุขนิยม (Non-Hedonism) • ความสุขสบายไม่ใช่เป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิต • มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ จุดหมายของชีวิตจึงไม่ใช่ความสุขสบายเหมือนสัตว์ แต่เป็นความสงบสุขทางจิตใจ ที่สัตว์ไม่สามารถมีได้ดั่งเรา • เราประกอบด้วยร่างกายและจิตวิญญาณ แต่จิตวิญญาณเป็นส่วนสาคัญของมนุษย์ - โซคราตีส “ชีวิตที่ดีคือชีวิตที่ใช้ปัญญาไตร่ตรองการกระทา และความเชื่อต่างๆ ทั้งของตนเองและสังคม” - ลัทธิสโตอิค “คุณค่าของชีวิตอยู่ที่ความสงบสุขอันเกิดจากการหลุดพ้นจากอานาจครอบงาของวัตถุ” - ลัทธิซินนิค “ถือว่าการปราศจากกิเลสมีค่าสูงสุดในตัวเอง” การก่อการร้าย จึงเป็นความผิด เพราะการก่อการร้ายคือการสร้างความเดือดร้อนและเป็นการกระทาที่ เกี่ยวกับข้อห้ามและกฏหมายของสังคมซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่พึงปราถนา ซึ่งการก่อการร้ายนั้นคือการโหยหาความสุข เพื่อตัวเอง ไม่ว่าจะ เงินทอง ของมีค่าอื่นๆ โดยไม่คิดถึงส่วนรวม ซึ่งเป็นความสุขที่ทุกคนพึงจะมี แต่ไม่ได้ใช้ ปัญญาในการคิด และเป็นความสุขทางประสาทสัมผัสไม่ใช่ความสุขสงบจากจิตใจ
  • 7. มนุษย์นิยม (Humanism) • มองกว้าง มองไกล ไม่จากัดคุณค่ามนุษย์ไว้ที่กฎเกณฑ์ใดกฎเกณฑ์หนึ่ง มนุษย์มีความซับซ้อนเกินกว่าจะใช้ เกณฑ์เพียงหนึ่งเดียวอธิบายได้ • มนุษย์คือผลผลิตจากวิวัฒนาการอันยาวนาน เราจึงควรตอบสนองทั้งด้านร่างกายและจิตวิญญาณ ทุก อย่างมีคุณค่าสาหรับชีวิตมนุษย์ การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะการก่อการร้ายคือการมองไกล มองกว้างของคนกลุ่มหนึ่งว่า อนาคตควรไม่เป็นดั่งปัจจุบัน และต้องถูกปรับเปลี่ยนกฏเกณฑ์ต่างๆ และสิ่งต่างๆให้ตอบสนองความต้องการ ของคนกลุ่มนั้นๆ
  • 8. อัตถิภาวนิยม (Existentialism) • สาระที่แท้จริงของมนุษย์อยู่ที่เสรีภาพ มนุษย์ควรใช้เสรีภาพเลือกเป็นอย่างที่ตนเองต้องการ • อัตถิภาวนิยม 2 กลุ่มย่อย • 1. แบบอเทวะ ไม่เชื่อพระเจ้า • 2. แบบเทวะ เชื่อพระเจ้า - ชอง ปอง ซาร์ตร์ (Jean Paul Sartre) “มนุษย์มีเสรีภาพเสมอ ในทุกเวลา และทุกสถานการณ์ ไม่มี แม้แต่วินาทีเดียวที่เราไร้เสรีภาพ” การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะมนุษย์มีเสรีภาพของการใช้ชีวิตและเลือกที่จะเป็นอะไรก็ได้จะทา อะไรก็ได้ และคนที่กลุ่มคนที่คิดจะก่อการร้ายนี้ต้องยอมรับผลของการกระทาที่จะตามมาได้
  • 9. สัมพัทธนิยม • คุณค่าทางจริยธรรมไม่ใช่สิ่งที่แน่นอนตายตัว หากแต่ขึ้นอยู่กับบุคคลหรือสังคม ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปได้ตาม ค่านิยม สังคม และกาลเวลา ความจริงมีลักษณะเป็นอัตนัย (Subjective) [ไม่ได้มีอยู่จริง แต่เป็นสิ่งสมมติ ขึ้นอยู่กับความคิดของคน] • ทฤษฎีสัมพัทธนิยม ที่โดดเด่น 3 กลุ่ม 1. ลัทธิโซฟิสต์ (นาโดย Protagoras) 2. ลัทธิสัมพัทธนิยมทางวัฒนธรรม (Cultural Relativism) 3. ลัทธิประโยชน์นิยม (Utilitarianism)
  • 10. กลุ่มโซฟิสต์ Sophism • (นาโดย Protagoras) ความจริงเป็นอัตนัย ไม่ใช่ปรนัย ดังนั้น มนุษย์แต่ละคนจึงเป็นมาตรการวัดทุก อย่าง ( Man is the measure of all things ) ความดี-ความชั่วเป็นเรื่องสมมติ สิ่งใดดีก็ดี เฉพาะคนนั้น ไม่จาเป็นต้องดีแก่ทุกคน สิ่งที่ดี คือ สิ่งที่ฉันชอบ การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะมนุษย์แต่ละคน สามารถคิดว่าสิงใดดี สิ่งใดไม่ดี ต่อตัวเองได้ และ การที่จะก่อการร้าย ก็อาจจะเป็นทั้ง สิ่งที่ดี ในความคิดของพวกเขาก็ได้
  • 11. กลุ่มสัมพัทธนิยมทางวัฒนธรรม • ใช้จารีต ประเพณี และวัฒนธรรมของสังคมเป็นเกณฑ์ตัดสินคุณค่าจริยธรรม • กฎจริยธรรมในแต่ละสังคมเกิดจากอารมณ์ (ไม่ใช่เหตุผล) คือ เมื่อเริ่มแรกเกิดความสะเทือนใจก่อน แล้วยึดถือกัน มาเรื่อยๆ จนกลายเป็นจารีตประเพณีของสังคมนั้นๆ วิจารณ์ (โต้แย้ง) สัมพัทธนิยม • ถ้าเกณฑ์ตัดสินจริยธรรมขึ้นอยู่กับแต่ละสังคม การโต้แย้งเรื่องจริยธรรมก็จะเป็นไปไม่ได้ คือ เราจะไม่สามารถบอก ได้ว่าอะไรถูก อะไรผิด ซึ่งนั่นจะเป็นความวุ่นวายมาก • ถ้าการกระทาที่ถูกคือการทาตามจารีตประเพณีของสังคม การเปลี่ยนแปลงหรือความคิดริเริ่มใหม่ๆ ก็จะผิดเสมอ (เพราะไม่คล้อยตามความเชื่อเดิมในสังคม) ซึ่งนั่นจะเป็นเรื่องเสียหาย เพราะสังคมจะย่าอยู่กับที่ ไม่มีการพัฒนา อะไรใหม่ๆ ขึ้นมาเลย • การมีสาเหตุหรือความจาเป็นที่ต้องกระทาความชั่วร้ายไม่สามารถนามาเป็นข้ออ้างเพื่อจะเปลี่ยนแปลงค่าทาง จริยธรรมได้ (การขโมยเป็นเรื่องที่ผิดเสมอ แม้จะมาจากสาเหตุหรือความจาเป็นใดๆ ก็ตาม) • การที่แต่ละสังคมมีความเชื่อแตกต่างกันไม่ได้หมายความว่าทุกความเชื่อจะถูกไปเสียทั้งหมด ความจริงไม่ได้ขึ้นอยู่ กับความเชื่อของคน แต่มันจริงในตัวมันเอง แม้ว่าคนแต่ละสังคมจะเชื่อแตกต่างกันอย่างไรก็ตาม (โลกยังกลมเสมอ ไม่ว่าเราจะเชื่ออย่างไรก็ตาม)
  • 12. ลัทธิสัมบูรณ์นิยม (Absolutism) • มีเกณฑ์จริยธรรมที่แน่นอนตายตัว • ค่าทางจริยะเป็นคุณสมบัติที่มีอยู่ภายในการกระทา (สิ่งนี้ดี เพราะมันดี) • สิ่งที่ดี กับ สิ่งที่เราคิดว่าดี ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน • สิ่งที่ดีจริงจะคงความดีตลอดไปทุกยุคสมัย กลุ่มสัมบูรณ์นิยมที่โดดเด่น 1. จิตนิยม 2. ปัญญานิยม 3. มโนธรรมสัมบูรณ์ 4. หน้าที่นิยม (ของคานท์)
  • 13. จิตนิยม • ความจริงเป็นปรนัย มีมาตรการสากลอยู่จริง มนุษย์ทุกคนสามารถคิดตรงกันได้ ถ้าหากขจัดกิเลสและอคติ ออกจากจิตใจได้เหมือนกัน ความดี-ความชั่วเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง สิ่งที่ดีจะดีตลอดไป ทุกยุคสมัย ทุกสถานที่ และดีสาหรับทุกคน แม้มนุษย์จะเชื่อว่ามันดีหรือไม่ดีก็ตาม ความจริงเป็นแบบปรนัย (Objective) [ความจริงเป็นสิ่งเที่ยงแท้ นิรันดร ดารงอยู่อย่างอิสระ ไม่ขึ้นอยู่กับความคิดของคน] ไม่ว่าในโลกนี้จะมีคน ไปสนใจ “ความเป็นจริง” นั้นหรือไม่ ความเป็นจริงนั้นก็ยังคงดารงอยู่เหมือนเดิม ไม่เปลี่ยนค่าไปตาม ความเห็นของมนุษย์แต่อย่างใด การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะมนุษย์แต่ละคนมีความคิดตรงกันได้ และตัดสินใจตรงกันได้ว่าสิ่งที่ เข้าเลือกกระทาเป็นสิ่งที่ดี หรือ ชั่ว จึงไม่ผิดที่คนเราสามารถคิดก่อการร้ายได้ในทุกยุคทุกสมัย
  • 14. ปัญญานิยม • ความจริงเป็นปรนัย มีมาตรการสากลอยู่จริง • มนุษย์ทุกคนมีปัญญาติดตัวมาตั้งแต่เกิด เราจึงสามารถใช้ปัญญาแสวงหาความจริงได้ตรงกัน • ความรู้ที่ได้จากปัญญาและเหตุผลเป็นความรู้แท้ • เมื่อเราใช้ปัญญาอย่างบริสุทธิ์และเที่ยงตรง เราก็จะรู้เองว่าอะไรถูกอะไรผิด การก่อการร้าย จึงเป็นความผิด เพราะมนุษย์แต่ละคนมีปัญญาและเหตุผลเหมือนกัน ทาให้สามารถแยกแยะ ว่าการก่อการร้ายเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และผิดกฏหมาย การกระทาส่งผลต่ออนาคตที่เลวร้ายอีกด้วย
  • 15. มโนธรรมสัมบูรณ์ • มนุษย์เกิดมาพร้อมกับประสาทสัมผัสทั้ง 5 (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) และสัมผัสที่หกคือ มโนธรรม • เราใช้ประสาทสัมผัสรับรู้เรื่องทางกายภาพ และใช้มโนธรรมรับรู้เรื่องทางนามธรรม • มโนธรรมคือความสานึกทางศีลธรรมที่มนุษย์ทุกคนมีอยู่โดยธรรมชาติ • การที่เรามีความเห็นแตกต่างกันทั้งๆ ที่ทุกคนต่างก็มีมโนธรรมเหมือนกันหมดนั้น เป็นเพราะว่า มโนธรรม ของแต่ละคนได้รับการพัฒนาไม่เท่าเทียมกัน แต่เมื่อเราพัฒนามโนธรรมอย่างเต็มที่จนเกิดความสมบูรณ์ดี จริง และไม่มีกิเลสตัณหามาเจือปน เราก็จะตัดสินจริยธรรมได้ตรงกัน การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะมนุษย์แต่ละคนเกิดมาในแวดล้อมที่แตกต่างกันไป ทาให้สิ่งที่เข้ามา นั้นมาจากความจริงที่ได้ เห็น ได้ยิน ได้สัมผัส ถึงได้จากสิ่งแวดล้อมนั้นๆ ทาให้การก่อร้ายสามารถเกิดขึ้นได้ ตามสภาพแวดล้อมต่างๆ เพราะจะเป็นตัวกาหนดจิตใจของมนุษย์ว่า ก่อการร้ายเพื่อสิ่งที่ดี เพื่อเสรี และอื่นๆ ได้เสมอ
  • 16. หน้าที่นิยม (จริยศาสตร์ของคานท์) • คานึงถึงเจตนาและการกระทา แนวคิดนี้เห็นว่า การตัดสินการกระทาว่าดี ชั่ว ถูก หรือผิด นั้นต้องพิจารณา จากเจตนาของผู้กระทา หน้าที่กับกฎศีลธรรม • การทาตามหน้าที่คือการทาตามเหตุผล ได้แก่การทาตามกฎโดยไม่คานึงถึงความรู้สึกใด ๆ ทั้งสิ้น กฎใน ที่นี้หมายถึง กฎทางศีลธรรมคือกฎที่มีลักษณะเป็นคาสั่ง เช่น จงพูดคาสัตย์ จงอย่าทาลายชีวิต การก่อการร้าย จึงเป็นความผิด เพราะมีเจตนาที่ไม่ดีและเป็นการกระทาที่ทาเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการมาเพื่อ ความสุขของตัวเอง คือ ทรัพย์สินเงินทองและของมีค่าต่างๆ ทาลายชีวิตผู้อื่น ที่ต้องการโดยแลกกับการก่อการ ร้าย เพื่อความสุขสบายและผลประโยชน์ต่อตัวเองและกลุ่มคนเพียงกลุ่มหนึ่งให้มีชีวิตที่ดีมีกินมีใช้และอยู่ อย่างมีความสุข ตามความต้องการของกลุ่ม
  • 17. ประโยชน์นิยม • หลักการสาคัญของลัทธินี้: หลักมหสุข (สิ่งที่ดีคือสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์สุขมากที่สุดแก่คนจานวนมาก ที่สุด) ผิด-ถูก ไม่ได้อยู่ที่ตัวการกระทา แต่อยู่ที่ผลลัพธ์ของมัน นั่นคือ ใช้ความสุขเป็นตัวตัดสิน โดยดูที่ผล ของการกระทา การกระทาที่ช่วยให้มนุษย์โดยส่วนมากมีความ สุขมากขึ้นถือเป็นการกระทาที่ดี แม้ว่ามัน อาจ ต้องทาให้คนส่วนน้อยได้รับผลกระทบก็ตาม (การสร้างเขื่อน / การทดลองทางแพทย์ ฯลฯ) - เบนธัม : เน้นความสุขในแง่ของปริมาณ - มิลล์ : เน้นความสุขทั้งปริมาณและคุณภาพ ดังนั้นการก่อการร้าย จึงเป็นความผิดเพราะการก่อการร้าย ทาให้กลุ่มคนจานวนมากเกิดความเดือดร้อน และ ส่งผลในเชิงลบอีกมาย ในขณะที่กลุ่มก่อการร้ายเองก็ได้สิ่งที่ต้องการได้เงินทองของมีค่าและความสุขตาม เป้าหมายของกลุ่ม โดยไม่สนใจกลุ่มอื่นๆที่ได้รับผลกระทบจากการก่อการร้าย
  • 18. อัตนิยม (Egoism) • ฮอบส์ (Hobbes) “โดยธรรมชาติ มนุษย์เป็นคนเห็นแก่ตัว ลึกๆ แล้ว มนุษย์ทาทุกอย่างเพื่อผลประโยชน์ ของตัวเองทั้งสิ้น (ตรง/อ้อม)” การทาดีแก่คนอื่นก็คือการทาดีแก่ตนเองนั่นเอง • คนฉลาดคือคนที่เห็นแก่ตัวอย่างรอบคอบ เพื่อที่ตนจะมีความสุขได้ตลอดไป การก่อการร้าย จึงไม่เป็นความผิด เพราะมนุษย์แต่ละคนมีความเห็นแก่ตัว และคิดถึงผลประโยชน์ของตัวเอง การก่อการร้ายก็เป็นอีกวิธีการซึ่งเป็นทางลัดในการสร้างความสุข ความสบายให้แก่ตัวเอง โดยอาจจะไม่สนใจ คนรอบข้าง