SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
Télécharger pour lire hors ligne
ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขที่เป็นคาตอบ จานวน 5 ข้อ
41. กราฟ อุณหภูมิกับเวลาเมื่อให้พลังงานความร้อนแก่น้าอย่างสม่้าเสมอ




ถ้าน้้ามีมวล 50 กรัม อยากทราบว่าในช่วงเวลาที่ 5-15 นาที น้้าจะใช้พลังงานความร้อนกี่กิโลแคลอรี
ก้าหนดให้        ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้้าแข็ง มีค่าเท่ากับ 80 แคลอรี/กรัม
                 ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้้าเดือด มีค่าเท่ากับ 540 แคลอรี/กรัม

เฉลย
    ในช่วงนาทีที่ 5-10 นาเปลี่ยนอุณหภูมิ แต่ไม่เปลี่ยนสถานะ การคานวณหาพลังงานความร้อนขึน
ตอนนีใช้สูตร Q = ms t
     โดย Q คือ ปริมาณพลังงานความร้อน มีหน่วยเป็น แคลอรี หรือ กิโลแคลอรี่
              m คือ มวลของน้้า
              s คือ ค่าความจุความร้อนจ้าเพาะของน้้าซึ่งมีค่าเป็น 1 เสมอ
              t คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป (อุณหภูมิสุดท้าย – อุณหภูมิเริ่มต้น)
       ดังนั้น Q = 50 x 1 x (100-0)
                    = 5000 แคลอรี่
    ในช่วงนาทีที่ 10-15 นาเปลี่ยนสถานะ แต่ไม่เปลี่ยนอุณหภูมิ การคานวณหาพลังงานความร้อนขึน
ตอนนีใช้สูตร Q = ml
  โดย l คือ ค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ
    ดังนั้น Q = 50 x 540
                   = 270,000 แคลอรี่
  รวมพลังงานที่ใช้ไปทั้งหมด = 5,000 + 270,000
                             = 275,000 แคลอรี หรือ 275 กิโลแคลอรี Ans
42. เด็กชายมาริโอ้ เดินทางไปทางทิศเหนือ 8 เมตร แล้วเปลี่ยนไปทางทิศตะวันออก 6 เมตร การกระจัดมีค่า
กี่เมตร เมื่อเทียบกับต้าแหน่งเริ่มต้น
เฉลย                      N
                                   การกระจัดลัพธ์
                    8 เมตร

                                          E
                              6 เมตร

หาการกระจัดลัพธ์จากสูตร R2 = A2 + B2
                           = 82 + 62
                           = 64 + 36
                           = 100
                        R =√
                               = 10 เมตร Ans

43. น้้าอุณหภูมิ 15 C เข้ามาทางท่อ 1 ในอัตรา 300 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที น้้าอุณหภูมิ 75 C ไหล
เข้ามาทางท่อ 2 ในอัตรา 200 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาทีน้าจะไหลออกทางท่อ 3 โดยมีอุณหภูมิเท่ากับกี่
องศาเซลเซียส




เฉลย ใช้สูตรอุณหภูมิผสม Qลด = Qเพิ่ม
               ms ∆ t = ms ∆ t
              300(t-15) = 200 (75-t)
            300t – 4500 = 15000 – 200t
            300t+200t = 15000+4500
               500t       = 19500
                   t      = 19500/500
นาจะไหลออกทางท่อ 3 มีอุณหภูมิ = 39 องศาเซลเซียส Ans
44. ทองค้าปริมาณ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีมวล 195 กรัม เหล็กปริมาตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีมวล
78 กรัม ทองค้ามีความหนาแน่นมากกว่าเหล็กกี่เท่า
   เฉลย ใช้สูตร D =
          โดย D = ความหนาแน่น มีหน่วยเป็น g/cm3
              M = มวลของสาร มีหน่วยเป็น กรัม g
              V = ปริมาตรของสาร มีหน่วยเป็น cm3
   ดังนั้น Dทองค้า =        = 1.95 g/cm3

          Dเหล็ก =       = 0.78 g/cm3

ทองค้ามีความหนาแน่นมากกว่าเหล็ก =          = 2.5 เท่า Ans

45. ยอดเขา A วัดความดันอากาศได้ 750 มิลลิเมตรของปรอท ยอดเขา B วัดความดันอากาศ ได้ 640
มิลลิเมตรของปรอท ยอดเขาทั้งสองนี้มีความสูงต่างกันกี่เมตร
         เฉลย ยอดเขา A ความดันอากาศลดลง 760 – 750 = 10 มิลลิเมตรของปรอท
               ยอดเขา B ความดันอากาศลดลง 760 – 640 = 120 มิลลิเมตรของปรอท
       ความดันอากาศลดลง 1 มิลลิเมตรของปรอททุกความสูงที่เพิ่มขึ้น 11 เมตร
ยอดเขา A ความดันอากาศลดลง 10 มิลลิเมตรของปรอท มีความสูง =                = 110 เมตร
ยอดเขา B ความดันอากาศลดลง 120 มิลลิเมตรของปรอท มีความสูง =                 = 1320เมตร
ดังนัน ยอดเขาทังสองนีมีความสูงต่างกัน = 1320 – 110 = 1210 เมตร Ans

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
rumpin
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
nik2529
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
Khwankamon Changwiriya
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
Sutisa Tantikulwijit
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
crazygno
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
10846
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 

Tendances (20)

แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
2
22
2
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
เคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอมเคมีเรื่องอตอม
เคมีเรื่องอตอม
 

En vedette

Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
krupornpana55
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
krupornpana55
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
krupornpana55
 
ตัวอย่างภาพการเกิดงาน และพลังงาน
ตัวอย่างภาพการเกิดงาน และพลังงานตัวอย่างภาพการเกิดงาน และพลังงาน
ตัวอย่างภาพการเกิดงาน และพลังงาน
krupornpana55
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
krupornpana55
 
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
krupornpana55
 
แบบฝึกหัดทบทวน พลังงานกล
แบบฝึกหัดทบทวน พลังงานกลแบบฝึกหัดทบทวน พลังงานกล
แบบฝึกหัดทบทวน พลังงานกล
krupornpana55
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
สิปป์แสง สุขผล
 

En vedette (12)

M3 91d
M3 91dM3 91d
M3 91d
 
M3 91c
M3 91cM3 91c
M3 91c
 
Science
ScienceScience
Science
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงานSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 งานและพลังงาน
 
ตัวอย่างภาพการเกิดงาน และพลังงาน
ตัวอย่างภาพการเกิดงาน และพลังงานตัวอย่างภาพการเกิดงาน และพลังงาน
ตัวอย่างภาพการเกิดงาน และพลังงาน
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
 
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
 
แบบฝึกหัดทบทวน พลังงานกล
แบบฝึกหัดทบทวน พลังงานกลแบบฝึกหัดทบทวน พลังงานกล
แบบฝึกหัดทบทวน พลังงานกล
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
 

Similaire à เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2 (6)

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรืวิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 

เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2

  • 1. ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขที่เป็นคาตอบ จานวน 5 ข้อ 41. กราฟ อุณหภูมิกับเวลาเมื่อให้พลังงานความร้อนแก่น้าอย่างสม่้าเสมอ ถ้าน้้ามีมวล 50 กรัม อยากทราบว่าในช่วงเวลาที่ 5-15 นาที น้้าจะใช้พลังงานความร้อนกี่กิโลแคลอรี ก้าหนดให้ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้้าแข็ง มีค่าเท่ากับ 80 แคลอรี/กรัม ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้้าเดือด มีค่าเท่ากับ 540 แคลอรี/กรัม เฉลย ในช่วงนาทีที่ 5-10 นาเปลี่ยนอุณหภูมิ แต่ไม่เปลี่ยนสถานะ การคานวณหาพลังงานความร้อนขึน ตอนนีใช้สูตร Q = ms t โดย Q คือ ปริมาณพลังงานความร้อน มีหน่วยเป็น แคลอรี หรือ กิโลแคลอรี่ m คือ มวลของน้้า s คือ ค่าความจุความร้อนจ้าเพาะของน้้าซึ่งมีค่าเป็น 1 เสมอ t คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป (อุณหภูมิสุดท้าย – อุณหภูมิเริ่มต้น) ดังนั้น Q = 50 x 1 x (100-0) = 5000 แคลอรี่ ในช่วงนาทีที่ 10-15 นาเปลี่ยนสถานะ แต่ไม่เปลี่ยนอุณหภูมิ การคานวณหาพลังงานความร้อนขึน ตอนนีใช้สูตร Q = ml โดย l คือ ค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ดังนั้น Q = 50 x 540 = 270,000 แคลอรี่ รวมพลังงานที่ใช้ไปทั้งหมด = 5,000 + 270,000 = 275,000 แคลอรี หรือ 275 กิโลแคลอรี Ans
  • 2. 42. เด็กชายมาริโอ้ เดินทางไปทางทิศเหนือ 8 เมตร แล้วเปลี่ยนไปทางทิศตะวันออก 6 เมตร การกระจัดมีค่า กี่เมตร เมื่อเทียบกับต้าแหน่งเริ่มต้น เฉลย N การกระจัดลัพธ์ 8 เมตร E 6 เมตร หาการกระจัดลัพธ์จากสูตร R2 = A2 + B2 = 82 + 62 = 64 + 36 = 100 R =√ = 10 เมตร Ans 43. น้้าอุณหภูมิ 15 C เข้ามาทางท่อ 1 ในอัตรา 300 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที น้้าอุณหภูมิ 75 C ไหล เข้ามาทางท่อ 2 ในอัตรา 200 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาทีน้าจะไหลออกทางท่อ 3 โดยมีอุณหภูมิเท่ากับกี่ องศาเซลเซียส เฉลย ใช้สูตรอุณหภูมิผสม Qลด = Qเพิ่ม ms ∆ t = ms ∆ t 300(t-15) = 200 (75-t) 300t – 4500 = 15000 – 200t 300t+200t = 15000+4500 500t = 19500 t = 19500/500 นาจะไหลออกทางท่อ 3 มีอุณหภูมิ = 39 องศาเซลเซียส Ans
  • 3. 44. ทองค้าปริมาณ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีมวล 195 กรัม เหล็กปริมาตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีมวล 78 กรัม ทองค้ามีความหนาแน่นมากกว่าเหล็กกี่เท่า เฉลย ใช้สูตร D = โดย D = ความหนาแน่น มีหน่วยเป็น g/cm3 M = มวลของสาร มีหน่วยเป็น กรัม g V = ปริมาตรของสาร มีหน่วยเป็น cm3 ดังนั้น Dทองค้า = = 1.95 g/cm3 Dเหล็ก = = 0.78 g/cm3 ทองค้ามีความหนาแน่นมากกว่าเหล็ก = = 2.5 เท่า Ans 45. ยอดเขา A วัดความดันอากาศได้ 750 มิลลิเมตรของปรอท ยอดเขา B วัดความดันอากาศ ได้ 640 มิลลิเมตรของปรอท ยอดเขาทั้งสองนี้มีความสูงต่างกันกี่เมตร เฉลย ยอดเขา A ความดันอากาศลดลง 760 – 750 = 10 มิลลิเมตรของปรอท ยอดเขา B ความดันอากาศลดลง 760 – 640 = 120 มิลลิเมตรของปรอท ความดันอากาศลดลง 1 มิลลิเมตรของปรอททุกความสูงที่เพิ่มขึ้น 11 เมตร ยอดเขา A ความดันอากาศลดลง 10 มิลลิเมตรของปรอท มีความสูง = = 110 เมตร ยอดเขา B ความดันอากาศลดลง 120 มิลลิเมตรของปรอท มีความสูง = = 1320เมตร ดังนัน ยอดเขาทังสองนีมีความสูงต่างกัน = 1320 – 110 = 1210 เมตร Ans