SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
[เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง]              1

                    ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic 2010

องค์ประกอบในการเขียนโปรแกรมที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
         การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา VB ค่อนข้างจะง่ายกว่าภาษาอื่นๆ เนื่องจากกฎเกณฑ์ทางด้านภาษมไม่
เคร่งครัด โดยส่งที่เราควรรูจักในเบื้องต้น มีดงนี้
                           ้                 ั

1. การกาหนดข้อมูลชนิดตัวเลขและสตริง
       วิธีการกาหนดข้อมูลพื้นฐานสองชนิดทีเ่ ราควรรู้จักคือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขและสตริง(ข้อความ) โดยมี
รูปแบบการประกาศตัวแปรดังนี้

        การกาหนดตัวแปรชนิดตัวเลข
        Dim x = 123
        Dim y = 456.78

        การกาหนดตัวแปรชนิดสตริง(ข้อความ)
        Dim e = “Visual Studio”
        Dim t = “สวัสดีครับ”

2. การรันและหยุดรัน
        การรัน (Run) ก็คือการสั่งให้โปรแกรมทางานตามโค๊ดที่เราเขียนไว้ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น
                    กดแป้นพิมพ์ F5
                    คลิกที่ปม Start Debugging บนทูลบาร์
                                 ุ่
        หากต้องการหยุดรันสามารถทาได้โดย
                    กดแป้มพิมพ์ Shift + F5
                    คลิกที่ปม Stop Debugging บนทูลบาร์
                                    ุ่

3. การแสดงข้อความด้วย MessagBox.Show()
       การแสดงข้อความ เป็นการแจ้งข้อมูลบางอย่างแก่ผู้ใช้ เช่น แสดงผลลัพธ์ หรือคาเตือน เป็นต้น ซึง
                                                                                                ่
การแสดงข้อมูลเราจะใช้คาสั่ง MessageBox.Show() โดยมีรูปแบบอย่างง่ายดังนี้

                MessageBox.Show(ข้อความ)

                ข้อความเขียนในแบบสตริง เช่น

                MessageBox.Show(“สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับสู่ Visual Basic 2010”)




ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]                         โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
[เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง]               2

4. การตรวจสอบข้อผิดพลาดเบื้องต้น
         “ข้อผิดพลาด” คือสิงที่เกิดขึ้นได้เสมอในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ทเี่ พิ่งเริมต้นศึกษา
                           ่                                                                    ่
การเขียนโปรแกรม มักจะพบกับปัญหามากมาย แต่ถ้าผ่านการเขียนโปรแกรมไปสักระยะ ปัญหาจะลดลง
เรื่อยๆ และสามารถหาทางแก้ปัญหาได้เร็วขึ้น โดยการเขียนโปรแกรมด้วย VB นี้ หากเป็นข้อผิดพลาดทางไว
ยกรณ์ (Syntax Error) เช่น พิมพ์ผิด ระบบจะแสดงข้อความให้ทันที ดังรูปด้านล่าง




        โดยถ้าต้องการแก้ไข ให้คลิกปุ่ม No แต่หากต้องการย้อนกลับไปใช้การรันครั้งล่าสุดที่ไม่เกิด
ข้อผิดพลาดให้คลิกปุ่ม Yes

5. การสร้างปุ่มสั่งงานด้วย Button
          Button เป็นปุ่มสาหรับคลิกเพือสังงานให้กระทาการบางอย่างตามที่เราต้องการ เช่น เมื่อคลิก
                                      ่ ่
Button ก็ให้อ่านข้อมูลไปประมวลผล เป็นต้น ทั้งนี้ ปุ่ม Button ถือว่าเป็นคอนโทรลที่เราต้องใช้งานมากทีสุด
                                                                                                   ่
ตัวหนึ่ง โดยมีแนวทางการนามาใช้งานดังนี้
              1) นาคอนโทรล Button จากทูลบ็อกซ์มาวางบนฟอร์ม




            2) กาหนดข้อความบน Button ที่ Properties ที่ชื่อว่า Text




ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]                           โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
[เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง]            3

            3) ปกติแล้วโปรแกรมจะกาหนดชื่อ (Properties Name) โดยนาตัวเลขมาต่อท้ายชื่อคอนโทรล
               นั่น เช่น Button1, Button2 เป็นต้น ซึ่งการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ การกาหนดชื่อ
               คอนโทรลเป็นสิงสาคัญที่จะทาให้เข้าใจโปรแกรมนั้นๆ ได้ง่าย ดังนั้นเราจึงควรกาหนดชื่อ
                              ่
               ให้กับคอนโทรลนั้นๆ ด้วย ดังรูป




6. การกาหนดข้อความด้วย Label
       Label เป็นเสมือนป้ายที่ใช้แสดงข้อความบนฟอร์ม ทังนี้เนื่องจากเราไม่สามารถเขียนข้อความลงไป
                                                       ้
บนฟอร์มโดยตรงได้ จึงต้องนา Label ไปวางไว้ ณ ตาแหน่งที่ต้องการแล้วกาหนดข้อความนั้นผ่านทาง Label
แทน โดยมีหลักการดังนี้
       1) นา Label มาวางบนฟอร์ม
       2) กาหนดข้อความที่ต้องการแสดงบน Label ที่ Properties ที่ชื่อว่า Text




7. การรับข้อมูลด้วย TextBox
        TextBox เป็นคอนโทรลทีมีลกษณะเป็นช่องรับข้อมูล โดยผูใช้สามารถพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการลงไป แล้ว
                                   ่ ั                         ้
จากนั้นเราก็สามารถอ่านข้อมูลนั้นไปใช้งานอื่นๆ ต่อไปนี้ โดยแนวทางการใช้ TextBox มีดังนี้
        1) นา TextBox จากทูลบ็อกซ์มาวางบนฟอร์ม
        2) ในการใช้ TextBox โดยทั่วไปเราต้องเขียนโค้ดเพื่อจัดการข้อมูลอยู่แล้ว ดังนั้น เราควรกาหนดชื่อ
             หรือ Properties ที่ชื่อ Name ของ TextBox ให้สื่อความหมายต่อการใช้งาน
        3) ปกติแล้วแล้วภายใน TextBox จะยังไม่มีข้อความใดๆ อยู่กอน เพราะต้องรับจากข้อมูลผู้ใช้ แต่
                                                                  ่
             หากเราต้องการแสดงข้อความบางอย่างไว้ล่วงหน้า สามารถกาหนดได้ที่ Properties ที่ชื่อ Text
             เช่นเดียวกับคอนโทรลอื่นๆ




ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]                        โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
[เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง]             4

8. การแปลงข้อมูล String Number ให้เป็นตัวเลข
         String Number ก็คือข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเลขแต่เขียนในแบบสตริง เช่น ตัวเลขทีเ่ ขียนไว้ในเครื่องหมาย
“…” หรือตัวเลขทีอ่านจาก Properties ชื่อ Text ของคอนโทรลต่างๆ จะถือว่าเป็นข้อมูลสตริง แม้ว่าจะเป็น
                 ่
ตัวเลขทั้งหมดก็ตาม
         ในการแปลงสตริงเป็นตัวเลขจานวนเต็มที่ไม่มีจุดทศนิยม ใช้คาสั่ง CInt(“123”)
         ในการแปลงสตริงเป็นตัวเลขทีมีทศนิยม ใช้คาสั่ง CDbl(“123.456”)
                                      ่

9. การเชื่อมต่อสตริง
         การเชื่อมต่อสตริงหรือข้อความ เป็นการนาสตริงตั้งแต่ 2 สตริงขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน การเชื่อมต่อจะใช้
เครื่องหมาย + หรือ & อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีรูปแบบการใช้ดังนี้
         Dim a = “Visual” + “ ” + “Basic” จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual Basic
         Dim b = “Visual” & “ ” & “Basic” จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual Basic
         Dim c = “Visual ” & 2010 จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual 2010
         หมายเหตุ : การเชื่อมสตริงกับตัวเลข สามารถใช้เครืองหมาย & ได้โดยตรง
                                                         ่

10. การแสดงข้อความหลายบรรทัด
         ปกติแล้วสตริงทั้งหมดจะถูกเขียนเรียงต่อกัน ซึ่งหากเรานาไปแสดงผลด้วย MessageBox จะทาให้
อ่านข้อมูลได้ยากและดูไม่สวยงาม แต่หากต้องการตัดสตริงหรือเว้นบรรทัด จะสามารถทาได้ ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้

        Dim a = “My name is Nattapon” + vbNewLine + _
               “My surname is Buaurai” + vbNewLine + _
               “I’m a teacher”

เอกสารอ้างอิง : หนังสือ “การพัฒนาแอปพลิเคชั่นด้วย Visual Basic 2010” ผู้แต่ง : “บัญชา ปะสีละเตสัง”




ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]                          โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา

Contenu connexe

Tendances

การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
Nattapon
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
Somchart Phaeumnart
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
Nattapon
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
Tophuto Piyapan
 
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
peter dontoom
 

Tendances (20)

การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Visual basic
การเขียนโปรแกรมด้วย Visual basicการเขียนโปรแกรมด้วย Visual basic
การเขียนโปรแกรมด้วย Visual basic
 
โปรแกรม Paint คืออะไร
โปรแกรม Paint คืออะไรโปรแกรม Paint คืออะไร
โปรแกรม Paint คืออะไร
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
 
คู่มือ Handbook app inventor
คู่มือ Handbook app inventorคู่มือ Handbook app inventor
คู่มือ Handbook app inventor
 
ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010 ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
 
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
คำสั่งในการวนรอบการทำงาน Vb2010 (1)
 
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 

Similaire à ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010

ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
Nattapon
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Onrutai Intanin
 
C:\Users\Karnpitcha\Ms Power Point2003\Teach Power Point2003
C:\Users\Karnpitcha\Ms Power Point2003\Teach Power Point2003C:\Users\Karnpitcha\Ms Power Point2003\Teach Power Point2003
C:\Users\Karnpitcha\Ms Power Point2003\Teach Power Point2003
karnpitcha jeerasiri
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
mansuang1978
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
Visiene Lssbh
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
Aeew Autaporn
 

Similaire à ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010 (20)

Visualbasic2010
Visualbasic2010Visualbasic2010
Visualbasic2010
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกองค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
 
การเขียนโปรแกรม Netbeans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรม Netbeans และการสร้าง App Androidการเขียนโปรแกรม Netbeans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรม Netbeans และการสร้าง App Android
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007
 
C:\Users\Karnpitcha\Ms Power Point2003\Teach Power Point2003
C:\Users\Karnpitcha\Ms Power Point2003\Teach Power Point2003C:\Users\Karnpitcha\Ms Power Point2003\Teach Power Point2003
C:\Users\Karnpitcha\Ms Power Point2003\Teach Power Point2003
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Language com
Language comLanguage com
Language com
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 

Plus de Nattapon

รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
Nattapon
 

Plus de Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
 

ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010

  • 1. [เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 1 ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic 2010 องค์ประกอบในการเขียนโปรแกรมที่ควรรู้จักในเบื้องต้น การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา VB ค่อนข้างจะง่ายกว่าภาษาอื่นๆ เนื่องจากกฎเกณฑ์ทางด้านภาษมไม่ เคร่งครัด โดยส่งที่เราควรรูจักในเบื้องต้น มีดงนี้ ้ ั 1. การกาหนดข้อมูลชนิดตัวเลขและสตริง วิธีการกาหนดข้อมูลพื้นฐานสองชนิดทีเ่ ราควรรู้จักคือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขและสตริง(ข้อความ) โดยมี รูปแบบการประกาศตัวแปรดังนี้ การกาหนดตัวแปรชนิดตัวเลข Dim x = 123 Dim y = 456.78 การกาหนดตัวแปรชนิดสตริง(ข้อความ) Dim e = “Visual Studio” Dim t = “สวัสดีครับ” 2. การรันและหยุดรัน การรัน (Run) ก็คือการสั่งให้โปรแกรมทางานตามโค๊ดที่เราเขียนไว้ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น  กดแป้นพิมพ์ F5  คลิกที่ปม Start Debugging บนทูลบาร์ ุ่ หากต้องการหยุดรันสามารถทาได้โดย  กดแป้มพิมพ์ Shift + F5  คลิกที่ปม Stop Debugging บนทูลบาร์ ุ่ 3. การแสดงข้อความด้วย MessagBox.Show() การแสดงข้อความ เป็นการแจ้งข้อมูลบางอย่างแก่ผู้ใช้ เช่น แสดงผลลัพธ์ หรือคาเตือน เป็นต้น ซึง ่ การแสดงข้อมูลเราจะใช้คาสั่ง MessageBox.Show() โดยมีรูปแบบอย่างง่ายดังนี้ MessageBox.Show(ข้อความ) ข้อความเขียนในแบบสตริง เช่น MessageBox.Show(“สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับสู่ Visual Basic 2010”) ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
  • 2. [เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 2 4. การตรวจสอบข้อผิดพลาดเบื้องต้น “ข้อผิดพลาด” คือสิงที่เกิดขึ้นได้เสมอในการเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ทเี่ พิ่งเริมต้นศึกษา ่ ่ การเขียนโปรแกรม มักจะพบกับปัญหามากมาย แต่ถ้าผ่านการเขียนโปรแกรมไปสักระยะ ปัญหาจะลดลง เรื่อยๆ และสามารถหาทางแก้ปัญหาได้เร็วขึ้น โดยการเขียนโปรแกรมด้วย VB นี้ หากเป็นข้อผิดพลาดทางไว ยกรณ์ (Syntax Error) เช่น พิมพ์ผิด ระบบจะแสดงข้อความให้ทันที ดังรูปด้านล่าง โดยถ้าต้องการแก้ไข ให้คลิกปุ่ม No แต่หากต้องการย้อนกลับไปใช้การรันครั้งล่าสุดที่ไม่เกิด ข้อผิดพลาดให้คลิกปุ่ม Yes 5. การสร้างปุ่มสั่งงานด้วย Button Button เป็นปุ่มสาหรับคลิกเพือสังงานให้กระทาการบางอย่างตามที่เราต้องการ เช่น เมื่อคลิก ่ ่ Button ก็ให้อ่านข้อมูลไปประมวลผล เป็นต้น ทั้งนี้ ปุ่ม Button ถือว่าเป็นคอนโทรลที่เราต้องใช้งานมากทีสุด ่ ตัวหนึ่ง โดยมีแนวทางการนามาใช้งานดังนี้ 1) นาคอนโทรล Button จากทูลบ็อกซ์มาวางบนฟอร์ม 2) กาหนดข้อความบน Button ที่ Properties ที่ชื่อว่า Text ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
  • 3. [เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 3 3) ปกติแล้วโปรแกรมจะกาหนดชื่อ (Properties Name) โดยนาตัวเลขมาต่อท้ายชื่อคอนโทรล นั่น เช่น Button1, Button2 เป็นต้น ซึ่งการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ การกาหนดชื่อ คอนโทรลเป็นสิงสาคัญที่จะทาให้เข้าใจโปรแกรมนั้นๆ ได้ง่าย ดังนั้นเราจึงควรกาหนดชื่อ ่ ให้กับคอนโทรลนั้นๆ ด้วย ดังรูป 6. การกาหนดข้อความด้วย Label Label เป็นเสมือนป้ายที่ใช้แสดงข้อความบนฟอร์ม ทังนี้เนื่องจากเราไม่สามารถเขียนข้อความลงไป ้ บนฟอร์มโดยตรงได้ จึงต้องนา Label ไปวางไว้ ณ ตาแหน่งที่ต้องการแล้วกาหนดข้อความนั้นผ่านทาง Label แทน โดยมีหลักการดังนี้ 1) นา Label มาวางบนฟอร์ม 2) กาหนดข้อความที่ต้องการแสดงบน Label ที่ Properties ที่ชื่อว่า Text 7. การรับข้อมูลด้วย TextBox TextBox เป็นคอนโทรลทีมีลกษณะเป็นช่องรับข้อมูล โดยผูใช้สามารถพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการลงไป แล้ว ่ ั ้ จากนั้นเราก็สามารถอ่านข้อมูลนั้นไปใช้งานอื่นๆ ต่อไปนี้ โดยแนวทางการใช้ TextBox มีดังนี้ 1) นา TextBox จากทูลบ็อกซ์มาวางบนฟอร์ม 2) ในการใช้ TextBox โดยทั่วไปเราต้องเขียนโค้ดเพื่อจัดการข้อมูลอยู่แล้ว ดังนั้น เราควรกาหนดชื่อ หรือ Properties ที่ชื่อ Name ของ TextBox ให้สื่อความหมายต่อการใช้งาน 3) ปกติแล้วแล้วภายใน TextBox จะยังไม่มีข้อความใดๆ อยู่กอน เพราะต้องรับจากข้อมูลผู้ใช้ แต่ ่ หากเราต้องการแสดงข้อความบางอย่างไว้ล่วงหน้า สามารถกาหนดได้ที่ Properties ที่ชื่อ Text เช่นเดียวกับคอนโทรลอื่นๆ ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
  • 4. [เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง] 4 8. การแปลงข้อมูล String Number ให้เป็นตัวเลข String Number ก็คือข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเลขแต่เขียนในแบบสตริง เช่น ตัวเลขทีเ่ ขียนไว้ในเครื่องหมาย “…” หรือตัวเลขทีอ่านจาก Properties ชื่อ Text ของคอนโทรลต่างๆ จะถือว่าเป็นข้อมูลสตริง แม้ว่าจะเป็น ่ ตัวเลขทั้งหมดก็ตาม ในการแปลงสตริงเป็นตัวเลขจานวนเต็มที่ไม่มีจุดทศนิยม ใช้คาสั่ง CInt(“123”) ในการแปลงสตริงเป็นตัวเลขทีมีทศนิยม ใช้คาสั่ง CDbl(“123.456”) ่ 9. การเชื่อมต่อสตริง การเชื่อมต่อสตริงหรือข้อความ เป็นการนาสตริงตั้งแต่ 2 สตริงขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน การเชื่อมต่อจะใช้ เครื่องหมาย + หรือ & อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีรูปแบบการใช้ดังนี้ Dim a = “Visual” + “ ” + “Basic” จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual Basic Dim b = “Visual” & “ ” & “Basic” จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual Basic Dim c = “Visual ” & 2010 จะได้ผลลัพธ์เป็น Visual 2010 หมายเหตุ : การเชื่อมสตริงกับตัวเลข สามารถใช้เครืองหมาย & ได้โดยตรง ่ 10. การแสดงข้อความหลายบรรทัด ปกติแล้วสตริงทั้งหมดจะถูกเขียนเรียงต่อกัน ซึ่งหากเรานาไปแสดงผลด้วย MessageBox จะทาให้ อ่านข้อมูลได้ยากและดูไม่สวยงาม แต่หากต้องการตัดสตริงหรือเว้นบรรทัด จะสามารถทาได้ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ Dim a = “My name is Nattapon” + vbNewLine + _ “My surname is Buaurai” + vbNewLine + _ “I’m a teacher” เอกสารอ้างอิง : หนังสือ “การพัฒนาแอปพลิเคชั่นด้วย Visual Basic 2010” ผู้แต่ง : “บัญชา ปะสีละเตสัง” ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา