SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  62
Télécharger pour lire hors ligne
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะ
ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
ผู้วิจัย
นายณัฐพล บัวอุไร
ตาแหน่งครู คศ.1
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะ
ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
ผู้วิจัย
นายณัฐพล บัวอุไร
ตาแหน่งครู คศ.1
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4
(1)
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนา 1
ความสาคัญของปัญหา 1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
ขอบเขตของการวิจัย 2
นิยามศัพท์ 4
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6
1. ความหมายของโครงงาน (Project) 6
2. ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ (Computer Project) 6
3. ความหมายของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน 6
4. ปรัชญาการศึกษาของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน 6
5. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทาโครงงาน 7
6. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ 8
7. รายละเอียดของโครงงานแต่ละประเภท 8
8. ประเภทโครงงานแบ่งตามระดับการให้คาปรึกษาของครู 12
9. ขั้นตอนการทาโครงงาน 14
10. การประเมินผลโครงงาน 17
11. ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 18
12. แนวทางการประเมินผล 19
13. วิธีการประเมินผล 20
14. ลักษณะของแฟ้มผลงานดีเด่นสาหรับโครงงาน 21
15. ประโยชน์ของโครงงาน 21
(2)
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
16. ตัวอย่างเค้าโครงของโครงงาน 21
17. ตัวอย่างโครงงาน 22
18 กรอบแนวคิดการวิจัย 24
บทที่ 3 วิธีการวิจัย 25
การกาหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง 25
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 26
การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 29
การจัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูล 30
บทที่ 4 ผลการวิจัยและข้อวิจารณ์ 31
ผลการวิจัย 31
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 37
สรุปผลการวิจัย 37
ข้อเสนอแนะ 38
เอกสารและสิ่งอ้างอิง 39
ภาคผนวก 40
ภาคผนวก ก ตัวอย่างผลงานนักเรียน 41
ภาคผนวก ข โครงสร้างการสอน 53
ภาคผนวก ค หน่วยการเรียนรู้ 56
ประวัติการศึกษาและการทางาน
บทที่ 1
บทนา
ความสาคัญของปัญหา
มาตรา 22 และ 23 ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้กาหนดแนวทางการ
จัดการศึกษาที่ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียน การจัดการศึกษาต้องคานึงถึงคุณภาพทั้งด้านความรู้
กระบวนการเรียนรู้ และการเชื่อมโยงความรู้ที่ผู้เรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ และเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดการปฏิบัติจริงเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการคิดเป็น ทาเป็น และ
แก้ปัญหาได้อย่างฉลาดและพอเพียง ตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถของผู้เรียน
การสอนแบบโครงงานเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบหนึ่งที่สอดคล้องกับแนวทางการจัด
การศึกษาตามมาตรา 22 และ มาตรา 23 และใช้พัฒนาวิธีการเรียนรู้ทางปัญญา (Intellectual strat-
egy) เพื่อเอื้อหนุนผู้เรียนให้เข้าถึงตัวความรู้ (Body of Knowledge) และความชานาญทางด้านทักษะใน
สิ่งที่เรียน (Body of Process) เพราะเป็นการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถคิด
วิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีกระบวนการทางานและทางานร่วมกับผู้อื่นได้โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาให้
คาแนะนา และกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็มศักยภาพ
ทั้งนี้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ได้ส่งเสริมให้ครูได้จัดการเรียนการสอน
แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการในการปฏิบัติ และทักษะทางการคิดใน
ด้านต่างๆ เพื่อพัฒนาและเตรียมความพร้อมของผู้เรียนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชาติให้สูงขึ้น ประกอบกับรายวิชาที่ผู้วิจัยจัดการเรียนการสอนคือ
วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นวิชาพื้นฐานสาคัญที่จะช่วยส่งเสริมกระบวนการคิด ทั้ง
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์
เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นวิชาพื้นฐานที่นักเรียนจะสามารถนาไปใช้ในการศึกษาต่อในอนาคต ซึ่งเป็นสาชา
วิชาที่เป็นที่ต้องการของตลาดในปัจจุบัน
ด้วยเหตุที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนแบบ
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน
เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ซึ่งหากการวิจัยสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีแล้ว ผู้วิจัยจะสามารถ
2
สรุปได้ว่าการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ในรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นี้ จะ
เป็นการจัดการเรียนการสอนอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการ และทักษะการคิดของ
นักเรียน อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมนักเรียนให้สามารถพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความรู้
พื้นฐานด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมทั้งทักษะพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อนาไปใช้ใน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพในอนาคต
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน รายวิชาการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้กระบวนการจัดการเรียนการ
สอนแบบโครงงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ข้อมูลเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับการเรียน วิชา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ที่สามารถพัฒนา
โปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างง่ายได้ด้วยตนเอง
ขอบเขตของการวิจัย
1. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยนี้ ประกอบด้วย
1.1 ตัวจัดกระทา คือ วิธีสอนแบบโครงงาน
1.2 ตัวแปรตาม มี 2 ตัวแปร คือ
1.2.1 ผลการประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยวิธีสอนแบบโครงงาน
3
2. ประชากรในการวิจัยนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
พัฒนาการ ลาลูกกา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 6 ห้องเรียน ซึ่งเป็นนักเรียนที่เรียนใน
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ จานวน 3 ห้องเรียน แผนการเรียนคณิตศาสตร์ –
ภาษาอังกฤษ จานวน 1 ห้องเรียน และแผนการเรียนภาษาอังกฤษ – ภาษาจีน จานวน 2 ห้องเรียน
รวมนักเรียนทั้งสิ้น 258 คน
3. เนื้อหาวิชาที่นามาใช้ในการวิจัยนี้ เป็นวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
4. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้วิจัยได้ประยุกต์แนวคิดในการใช้กิจกรรมของ
นักการศึกษาหลายท่านแล้วสรุปเป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของผู้วิจัยเอง ซึ่งมี
ขั้นตอนดังนี้
4.1 การนาเข้าสู่การเรียนรู้ ครูเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียน โดยให้โอกาสนักเรียน
สร้างจุดมุ่งหมายและแรงจูงใจในการเรียนรู้ในเนื้อหาที่กาหนด เช่น การเล่นเกม การตอบคาถาม
และดูวีดีทัศน์ที่มีความเกี่ยวข้องกับเนื้อหาและองค์ความรู้ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน เป็นต้น
4.2 ทบทวนความรู้เดิม ครูตรวจสอบพื้นฐานความรู้เดิมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่
จะเรียน เพื่อให้ทราบว่านักเรียนมีพื้นฐานในเนื้อหาสาระที่จะเรียนอย่างไร โดยให้นักเรียนอธิบาย
หรือเขียนเป็นแผนภาพ แล้วนาความรู้เดิมมาเชื่อมต่อกับความรู้ใหม่ เป็นการทาความเข้าใจเพื่อให้
นักเรียนปรับแนวคิดปัจจุบัน ในหัวข้อของเนื้อหาสาระการเรียนให้ชัดเจน ซึ่งสามารถทาได้โดยให้มี
กิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การอภิปรายกลุ่มย่อย การเขียนรายงาน การเขียนผังความคิด เป็นต้น
4.3 กระบวนการเรียนรู้ เป็นขั้นจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องการตั้งชื่อโครงงาน
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบการทาโครงงาน การวางแผนรูปแบบโครงงานที่ทา
ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
1. การตั้งชื่อโครงงาน
2. การเขียนความเป็นมาของโครงงาน
3. การเขียนวัตถุประสงค์ของโครงงาน
4
4. การเขียนแผนผังความคิดของโครงงานแบบWeb
5. การเขียนแผนผังโครงงานแบบตาราง
6. การเขียนขั้นตอนการดาเนินการ
7. การเขียนผลการศึกษา
8. การเขียนประโยชน์ที่ได้รับ
9. วิธีการนาเสนอผลการศึกษา
10. การเขียนแหล่งอ้างอิง
11. การเขียนความรู้สึกที่มีต่อการทาโครงงานชิ้นนี้
ขั้นตอนที่ 3 การลงมือทาโครงงาน ลงมือปฏิบัติงานตามที่วางแผนไว้ในขั้นตอนที่ 2
ขั้นตอนที่ 4 การเขียนรายงานโครงงาน เขียนรายงานโครงงานจากข้อมูลที่ไปศึกษา
ค้นคว้ามาตรวจสอบกับสมมุติฐานลงในแบบบันทึก
ขั้นตอนที่ 5 การนาเสนอผลงาน เขียนบรรยายวิธีการนาเสนอผลงาน
ขั้นตอนที่ 6 การวัดผลประเมินผล เขียนความรู้สึกที่มีต่อการทาโครงงาน
แลกเปลี่ยนตรวจสอบกับเพื่อนผู้ปกครอง ครู
5. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
โดยผู้วิจัยทาการสอนด้วยตนเอง และประเมินผลงานหรือโครงงานนักเรียนตามแบบประเมินที่ผู้วิจัย
สร้างขึ้น และสอบถามความพึงพอใจโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
นิยามศัพท์
การเรียนการสอนแบบโครงงาน หมายถึง การจัดการเรียนการสอนตามกระบวนการสอบ
แบบโครงงาน ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องการตั้งชื่อโครงงาน
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบการทาโครงงาน การวางแผนรูปแบบโครงงานที่ทา
ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
1. การตั้งชื่อโครงงาน
2. การเขียนความเป็นมาของโครงงาน
3. การเขียนวัตถุประสงค์ของโครงงาน
4. การเขียนแผนผังความคิดของโครงงานแบบ Web
5. การเขียนแผนผังโครงงานแบบตาราง
6. การเขียนขั้นตอนการดาเนินการ
5
7. การเขียนผลการศึกษา
8. การเขียนประโยชน์ที่ได้รับ
9. วิธีการนาเสนอผลการศึกษา
10. การเขียนแหล่งอ้างอิง
11. การเขียนความรู้สึกที่มีต่อการทาโครงงานชิ้นนี้
ขั้นตอนที่ 3 การลงมือทาโครงงาน ลงมือปฏิบัติงานตามที่วางแผนไว้ในขั้นตอนที่ 2
ขั้นตอนที่ 4 การเขียนรายงานโครงงาน เขียนรายงานโครงงานจากข้อมูลที่ไปศึกษา
ค้นคว้ามาตรวจสอบกับสมมุติฐานลงในแบบบันทึก
ขั้นตอนที่ 5 การนาเสนอผลงาน เขียนบรรยายวิธีการนาเสนอผลงาน
ขั้นตอนที่ 6 การวัดผลประเมินผล เขียนความรู้สึกที่มีต่อการทาโครงงาน
แลกเปลี่ยนตรวจสอบกับเพื่อนผู้ปกครอง ครู
ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
หมายถึง ความรู้สึกหรือความคิดของนักเรียนหลังจากที่ครูใช้กระบวนการสอนแบบโครงงาน โดย
พิจารณาจากระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่ตอบลงในแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มี
ต่อการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการวิจัยเพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน รายวิชาคอมพิวเตอร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1. ความหมายของโครงงาน (Project)
โครงงาน คือ งานที่มอบหมายให้นักเรียนหรือกลุ่มนักเรียนทาตามรายวิชาต่างๆ ในหลักสูตร
มีลักษณะงานเหมือนที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติ
ด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การวางแผนการ
ดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติรวมทั้งร่วมกาหนดแนวทางในการวัดผลและประเมิน
2. ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ (Computer Project)
โครงงานวิทยาศาสตร์ คือ กระบวนการศึกษาค้นคว้าตามความถนัด ความสนใจ ความสามารถ
ของผู้เรียนเองภายใต้กระบวนการต่างๆ โดยนาคอมพิวเตอร์เข้าไปประยุกต์หรือช่วยในการทางาน เพื่อให้
ได้มาซึ่งคาตอบหรือผลงานที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง โดยนักเรียนเป็นผู้วางแผนการศึกษาค้นคว้า
ดาเนินการด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็นเพียง
ผู้ให้คาปรึกษาเท่านั้น
3. ความหมายของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือ การจัดการสอนที่จัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
ให้แก่ผู้เรียนเหมือนกับการทางานในชีวิตจริงอย่างมีระบบ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรง
ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้ทาการทดลอง ได้พิสูจน์สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง รู้จัก
การวางแผนการทางาน ฝึกการเป็นผู้นา ผู้ตาม ตลอดจนได้พัฒนากระบวนการคิดโดยเฉพาะการคิดขั้นสูง
(Higher Order Thinking) และการประเมินตนเอง
4. ปรัชญาการศึกษาของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานได้อาศัยพื้นฐานแนวคิดที่ว่ามนุษย์จะสร้างความรู้ใหม่
ขึ้นจากการกระทาและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การสอนในลักษณะดังกล่าวยังตั้งอยู่บนข้อสนับสนุน
7
ที่ว่าความรู้ใหม่ได้มาจากสิ่งที่สัมพันธ์กับความรู้ที่มีมาก่อน การสร้างความคิดริเริ่มใหม่และ
ประสบการณ์เดิมที่ไม่เป็นทางการและยังสอดคล้องกับแนวคิดที่ว่าการเรียนรู้แบบโครงงานจะมีพลัง
มากยิ่งขึ้นถ้าได้รับการส่งเสริมจากสมาชิกในกลุ่มมากกว่าให้นักเรียนคนใดคนหนึ่งคิดคนเดียว การ
เรียนรู้แบบโครงงานถูกสร้างขึ้นจากความต้องการของผู้เรียนที่ต้องการขยายแหล่งเรียนรู้ของตนให้
กว้างขวางขึ้น จากข้อมูลที่มีอยู่ในตาราเล่มหนึ่งไปสู่การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันกว้างขวางยิ่งขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากอินเตอร์เน็ต ซึ่งการเรียนรู้ในลักษณะดังกล่าวจะช่วยส่งเสริมการทางาน
ร่วมกัน และนาความรู้ที่แต่ละคนมีอยู่มารวมกัน แนวคิดดังกล่าว
พอสรุปได้ดังนี้
1. เพื่อให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพด้านการคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา และ
การคิดขั้นสูง
3. เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนและทางานร่วมกัน ได้ฝึกภาวะผู้นาและผู้ตาม
4. เพื่อจัดประสบการณ์ตรงให้ผู้เรียนได้นาไปใช้ในการดารงชีวิต
5. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทาโครงงาน
บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน
5.1 อาจารย์ผู้สอนวิชาโครงงาน
(1) ให้คาปรึกษา แนะนา กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดหัวข้อโครงงานและวิธีการเขียน
โครงงาน
(2) จัดงบประมาณ อุปกรณ์สนับสนุนแต่ละโครงงาน
(3) ติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของผู้เรียนแต่ละสัปดาห์
(4) เป็นกรรมการตรวจสอบโครงงาน
(5) รวบรวมผลการประเมินเพื่อตัดสินความสาเร็จในวิชาโครงงานของนักเรียน
(6) ประชาสัมพันธ์หรือจัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานโครงงานไปสู่สาธารณชน และ
สถานประกอบการ
5.2 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
(1) ให้ความรู้ด้านทฤษฎี หลักการ กระบวนการ วิธีการคิด และยุทธศาสตร์
การคิด
(2) ให้คาแนะนา ชี้แนะแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ และวิธีการดาเนินงานที่ถูกต้อง
(3) ให้ความรู้ ทักษะ และเทคนิคในการทาโครงงาน
(4) เป็นที่ปรึกษาโครงงาน
(5) เป็นกรรมการสอนโครงงานทั้งหมด ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
8
(6) ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
(7) ติดตามผลและประเมินผลวิชาโครงงาน
6. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงาน แบ่งตามลักษณะของกิจกรรมได้ 4 ประเภท คือ
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
2. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
3. โครงงานพัฒนาเกม
4. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
5. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
7. รายละเอียดของโครงงานแต่ละประเภท
7.1 โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิต
สื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาค
แบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
การสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการ
พัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน ประเภทนี้สามารถ
พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็น
หัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริย
จักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศ
ไทย เป็นต้น
ภาพที่ 1 ตัวอย่างโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
9
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อ
ประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายใน
อาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภท
นี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้น
ใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้อง
ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนา
สิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ
ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ภาพที่ 2 ตัวอย่างโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
7.3 โครงงานพัฒนาเกม
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือเพื่อความ
เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ
โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อม
ทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ
ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่น
กลุ่มต่างๆ
10
ภาพที่ 3 ตัวอย่างโครงงานพัฒนาเกม
7.4 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ
โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วย
การมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรม
ประมวลคา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์
การวาดรูป พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปได้
โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น
ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณ
ค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก
ภาพที่ 4 ตัวอย่างโครงงานพัฒนาเครื่องมือ
11
7.5 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการทดลองของสาขา
ต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็น
โครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่อง
ที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือ
คาอธิบาย พร้อมทั้งการจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไป
ตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มี
จุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การ
ทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่อง
การมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น
ภาพที่ 5 ตัวอย่างโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
12
8. ประเภทโครงงานแบ่งตามระดับการให้คาปรึกษาของครูหรือระดับความคิดเห็นของนักเรียนได้
3 ประเภท คือ
8.1 โครงงานประเภท Guided project
ครูกาหนดปัญหาให้
ครูออกแบบการรวบรวมข้อมูล
กาหนดวิธีทากิจกรรม
นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม
ตามวิธีที่กาหนด
ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการบันทึกผล
ทักษะการตี
ความหมายข้อมูล
ทักษะการสรุปผล
ภาพที่ 6 โครงงานประเภท Guided project
13
8.2 โครงงานประเภท Less – guided project
ครูและนักเรียนร่วมกันระบุปัญหา
ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบ
การรวบรวมข้อมูลเพื่อหาคาตอบ
นักเรียนใช้เครื่องมือใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการบันทึกผล
ทักษะการตี
ความหมายข้อมูล
ทักษะการสรุปผล
ภาพที่ 7 โครงงานประเภท Less – guided project
14
8.3 โครงงานประเภท Unguided project
นักเรียนระบุปัญหาตามความสนใจ
นักเรียนออกแบบการรวบรวม
ข้อมูลเพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง
นักเรียนใช้เครื่องมือใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการบันทึกผล
ทักษะการตี
ความหมายข้อมูล
ทักษะการสรุปผล
ภาพที่ 8 โครงงานประเภท Unguided project
9. ขั้นตอนการทาโครงงาน
การทาโครงงานเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องและมีการดาเนินงานหลายขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้น
จนถึงขั้นสุดท้าย อาจสรุปลาดับได้ดังนี้
9.1 การคิดและเลือกหัวเรื่อง
9.2 การวางแผน
9.3 การดาเนินงาน
9.4 การเขียนรายงาน
15
9.5 การนาเสนอผลงาน
9.1 การคิดและเลือกหัวเรื่อง
ผู้เรียนจะต้องคิดและเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะ
ศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความอยาก
รู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน
เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้ว ควรเข้าใจและรู้เรื่องว่า โครงงานนี้ทาอะไร การกาหนดหัวเรื่องของ
โครงงานนั้น มีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและสนใจ จากหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการ
อ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชม
นิทรรศการ หรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคลต่างๆ หรือจากการ
สังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ควรคานึงถึงในเรื่องต่อไปนี้
 ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
 วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้
 งบประมาณ
 ระยะเวลา
 ความปลอดภัย
 แหล่งความรู้
9.2 การวางแผน
การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่ง
ต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้ว
นาเสนอต่อผู้สอน หรือครูที่ปรึกษา เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขั้นต่อไป
การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไปเขียนเพื่อแสดงแนวคิด
แผนงานและขั้นตอนการทาโครงงาน ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้
(1) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้
ตรง
(2) ชื่อผู้ทาโครงงาน/ชั้น/ปีการศึกษา
(3) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
(4) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทา
โครงงานเรื่องนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่
เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษา ค้นคว้าเรื่องนี้ไว้
16
บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลเป็นอย่างไร เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติมปรับปรุง
จากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล
(5) จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ ควรมีความเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดได้
เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทาได้ชัดเจนขึ้น
(6) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคาตอบ หรือ
คาอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมี
ทฤษฎี หรือหลักการรองรับ และที่สาคัญคือเป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการ
ดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
ด้วย
(7) วิธีดาเนินงาน/ขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่าจะออกแบบ
การทดลองอะไร อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง รวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้มี
อะไรบ้าง
(8) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น
การดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน
(9) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
(10) เอกสารอ้างอิง
9.3 การดาเนินงาน
เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็
เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ได้ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียม
วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อม ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความประหยัดและ
ปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหา
และข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน
9.4 การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้
ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับ
โครงงานนั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็น
สาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
17
9.5 การนาเสนอผลงาน
การนาเสนอผลงานเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงาน เป็นวิธีการที่
จะทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับ
ความเหมาะสมกับประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ
การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจจะมีทั้งการ
จัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย การใช้ CAI (Computer
Assisted Instruction) การใช้ Multimedia Computer/ Homepage แต่สิ่งที่สาคัญคือ ผลงานที่จัด
แสดงต้องดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา
10. การประเมินผลโครงงาน
การประเมินผลเป็นหัวใจของการเรียนการสอน ที่สะท้อนสภาพความสาเร็จของการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันประเมินผลว่ากิจกรรมที่ทาไปนั้นบรรลุตาม
จุดประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ อย่างไร ปัญหาและอุปสรรคที่พบคืออะไรบ้าง ได้ใช้วิธีการแก้ไข
อย่างไร ผู้เรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการทาโครงงานนี้
10.1 ผู้ประเมินโครงงาน
อาจดาเนินการด้วยบุคคล ต่อไปนี้
(1) ผู้เรียนประเมินตนเอง
(2) เพื่อนช่วยประเมิน
(3) ผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาประเมิน
(4) ผู้ปกครองประเมิน
(5) บุคคลอื่น ๆ ที่สนใจและมีส่วนเกี่ยวข้อง
(1) ผู้เรียนประเมินตนเอง จะแสดงออกให้เห็นว่า ผู้เรียนเจ้าของโครงงาน ซึ่งอาจ
เป็นรายบุคคล หรือกลุ่มทางาน มีความพึงพอใจต่อขั้นตอนของกิจกรรมแต่ละขั้นตอนที่ได้กาหนด
หรือร่วมกันกาหนดขึ้นเองเพียงใด มีหัวข้อกิจกรรมใดที่ยังขาดตกบกพร่อง จะต้องเพิ่มเติมในส่วน
ใดบ้าง ความละเอียด รัดกุม ในแต่ละขั้นเป็นอย่างไร
(2) ผู้ประเมินซึ่งเป็นเพื่อนร่วมชั้น อาจให้ข้อคิดเห็นสะท้อนภาพเพิ่มเติม เช่น ใน
ระดับชั้นประถมศึกษา เพื่อนอาจให้ความเห็นไปในเรื่องของการเรียน การใช้ตัวสะกด การันต์ วรรค
ตอน ซึ่งเน้นไปในด้านภาษา ระดับชั้นมัธยมศึกษา การประเมินโครงงาน อาจเริ่มขยายขอบเขตจาก
ด้านการใช้ภาษา ออกไปถึงการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งชื่อโครงงานกับ
18
จุดประสงค์ของโครงงาน และตามความเข้าใจของผู้ประเมิน เสนอแนะวิธีการศึกษาของผู้ประเมิน
เพื่อการพิจารณาการจัดรูปเล่มเพื่อการนาเสนอโครงงาน ฯลฯ
(3) ผู้ประเมินซึ่งเป็นผู้สอน หรือครูที่ปรึกษา อาจให้คาแนะนาเพิ่มเติมได้ในเรื่อง
วิธีการอื่นที่ใช้ในการศึกษาหาคาตอบ ความสัมพันธ์ของวิชาตามหัวเรื่องที่ศึกษากับวิชาอื่น ข้อค้นพบ
ที่ผู้เรียนได้จากโครงงาน การนาคาตอบของการศึกษาที่ได้ไปใช้ประโยชน์ การนาข้อค้นพบที่ต่างไป
จากเป้าหมายของการศึกษาไปใช้ประโยชน์หรือขยายผลการศึกษาเป็นโครงงานใหม่ ฯลฯ
(4) ผู้ประเมินที่เป็นพ่อ แม่ ผู้ปกครอง จะได้รับทราบถึงความสามารถ ความถนัด
ทางการเรียนของลูกหรือเด็กในความปกครอง ความรู้สึก ความต้องการของเด็กผู้ทาโครงงาน ทาให้
สามารถปรับตัวปรับใจเพื่อการสนับสนุนทั้งด้านการเงิน กาลังใจ ให้โอกาส ให้เวลาร่วมกิจกรรมตาม
ความสนใจของเด็ก ชี้แนะอุปสรรค ปัญหาเบื้องต้นที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติกิจกรรมขั้นต่างๆ
ของโครงงาน ข้อเสนอแนะสาหรับการทาโครงงานครั้งต่อไป
11. ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
เพื่อความสะดวก ผู้ประเมินอาจจะสร้างแบบประเมินเป็น 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ความสาคัญของการจัดทาโครงงานเป็นแบบตรวจคาตอบ (Check – list)
ตอนที่ 2 เนื้อหาของโครงงานและการนาเสนอโครงงาน เป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า
(Rating scale)
แบบประเมินโครงงาน
ตอนที่ 1 ความสาคัญของการจัดทาโครงงาน
จงทาเครื่องหมาย  ลงใน  ตามความคิดเห็นของท่าน
1. โครงงานที่จัดทาเป็น  งานเดี่ยว  งานกลุ่ม
2. การริเริ่มโครงงาน  ผู้เรียนริเริ่มเอง
 ผู้สอนช่วยแนะแนวทาง
3. การพัฒนาตนเอง  มี  ไม่มี
4. การพัฒนางาน  มี  ไม่มี
5. ความเกี่ยวพันกับเนื้อหา
ในบทเรียน  สอดคล้อง  ไม่สอดคล้อง
6. ประโยชน์ในชีวิตจริง  มี  ไม่มี
19
ตอนที่ 2 เนื้อหาของโครงงาน และการนาเสนอโครงงาน
จงทาเครื่องหมาย  ลงในช่องตรงข้อความที่ท่านเห็นด้วยที่สุด
ข้อความ
ระดับความคิดเห็น
มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลาง
น้อย น้อย
ที่สุด
เนื้อหาของโครงงาน
1. ความถูกต้อง
2. ความเหมาะสมในการใช้แนวคิด
3. เลือกใช้ข้อมูลข่าวสารเหมาะสม
ตรงประเด็น
4. มีการสรุปที่ชัดเจน
5. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
กระบวนการทางาน
6. มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ
7. มีการดาเนินงานตามแผน
8. มีการประเมินและปรับปรุงการ
ดาเนินงาน
การนาเสนอโครงงาน
9. การรายงานสามารถสื่อ
ความหมาย ได้ชัดเจน
10. ความสมบูรณ์ของข้อมูล
11. ความเหมาะสมของรูปแบบ
12. ข้อสรุปของโครงงานบรรลุ
จุดประสงค์ที่ตั้งไว้
12. แนวทางการประเมินผล
การประเมินผลโครงงานควรใช้การประเมินผลตามสภาพที่แท้จริง (Authentic
Assessment) ซึ่งมีลักษณะดังนี้
(1) ทาไปพร้อมๆ กับการเรียนรู้ของผู้เรียน
20
(2) ยึดพฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกเป็นสาคัญ
(3) เน้นการพัฒนาตนและการประเมินตนเอง
(4) ให้ความสาคัญในการพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน
(5) มีการเก็บข้อมูลระหว่างปฏิบัติได้ทุกบริบท (Context) ทั้งที่บ้าน โรงเรียนและชุมชน
(6) อยู่บนพื้นฐานของเหตุการณ์ในชีวิตจริง เอื้อต่อการเชื่อมโยงการเรียนรู้สู่ชีวิตจริง
(7) เน้นคุณภาพของผลงาน ซึ่งเป็นผลจากการบูรณาการความรู้สู่ความสามารถของผู้เรียน
(8) เน้นการวัดความสามารถในการคิดระดับสูง เช่น ใช้ข้อมูลในการสังเคราะห์ อธิบาย
สรุปเป็นกฎทั่วไป ตั้งสมมติฐาน สรุปและแปลผล เป็นต้น
(9) วัดปฏิสัมพันธ์เชิงบวก มีการชื่นชม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสุข สนุกสนาน ไม่เครียด
(10) สนับสนุนการมีส่วนร่วม และรับผิดชอบร่วมกัน
13. วิธีการประเมินผล
1. การสังเกต เป็นวิธีประเมินพฤติกรรมที่สามารถทาได้ทุกเวลาและสถานการณ์ ทั้งแบบมี
และไม่มีเครื่องมือในการสังเกต
2. การสัมภาษณ์ การสอบถาม อาจมีลักษณะเป็นทางการ หรือสัมภาษณ์ สอบถาม ขณะ
ปฏิบัติโครงงานก็ได้
3. วัดความรู้ ความสามารถ (Authentic Test) ควรเป็นแบบสอบถามแบบปลายเปิดเพื่อดู
ความเชื่อมโยงระหว่างความรู้ความเข้าใจเดิมกับสิ่งที่ได้เพิ่มเติมจากประสบการณ์ในการปฏิบัติ
โครงงาน
ลักษณะสาคัญของแบบทดสอบ
(1) ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการวัด
(2) เป็นคาถามที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน
(3) เชื่อมโยง บูรณาการความรู้ ความสามารถ ได้หลายด้าน และใช้ความคิดที่ลึกซึ้งขึ้นตาม
วัย
(4) มีเกณฑ์การให้คะแนนตามความสมบูรณ์ของพฤติกรรม
(5) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดและเขียนคาตอบเอง
4. การรายงาน เป็นการเขียนรายงาน หรือบอกขั้น หรือประสบการณ์ในการทาโครงงาน
เพื่อให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเองจากการที่ได้พูด หรือเขียนบรรยายสะท้อนความรู้
ความเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิดตามแนวทางการเรียนรู้ที่ผ่านประสบการณ์ขณะปฏิบัติ
กิจกรรมตามโครงงาน
5. แฟ้มผลงาน (Portfolio) เป็นการเก็บรวบรวมผลงานที่มีความโดดเด่น ในช่วงเวลาใด
เวลาหนึ่ง ที่เลือกรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อแสดงถึงความรู้ ความเข้าใจ ความสนใจ
21
ความถนัด ทักษะ ความสามารถ อันแสดงออกถึงพัฒนาการความก้าวหน้า ความสาเร็จ
ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือในหลายๆ เรื่อง หรือจะเป็นการเก็บผลการประเมินการปฏิบัติ
โครงงานในวิธีที่ 1 – 4 ด้วยก็ได้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการติดตามพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
ได้อย่างต่อเนื่อง
14. ลักษณะของแฟ้มผลงานดีเด่นสาหรับโครงงาน
แฟ้มโครงงานควรมีลักษณะเป็นบทความที่แสดงออกถึงการมีขั้นตอนในการทางานโครงงาน
ความพยายามในการแก้ปัญหา หรือการศึกษาส่วนบุคคล ภายในแฟ้มโครงงานอาจประกอบด้วย
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ยุทธวิธีในการปฏิบัติโครงงาน ภาพถ่ายของกระบวนการทางานขั้นตอนต่างๆ
การแก้ปัญหาในการดาเนินงาน การผลิตตามโครงงาน บันทึกผลการทางาน บันทึกความคิดเห็น
ความรู้สึกส่วนตัวหรือของกลุ่ม ต่อโครงงานและบันทึกผลการประเมินผลโครงงาน
15. ประโยชน์ของโครงงาน
1. กิจกรรมโครงงานเหมาะกับการศึกษาในยุคข้อมูลข่าวสาร
2. เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้เต็มที่
3. เกิดความรู้จริง ซึ่งได้จากการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการทดลอง ปฏิบัติค้นคว้า
4. สามารถใช้ความรู้ได้หลายด้าน (หลายมิติ)
5. เกิดปัญญาเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ เข้าด้วยกัน
6. ฝึกให้ผู้เรียนเป็นคนคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น
7. ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และเกิดความภูมิใจที่ทางานสาเร็จ
8. ผู้เรียนเกิดความสนุกสนานจากการเรียนรู้
9. ช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนเป็นนักค้นคว้า
16. ตัวอย่างเค้าโครงของโครงงาน
- ชื่อโครงงาน.................................................................................
- ชื่อผู้จัดทาโครงงาน/คณะทางาน.................................................
- ระดับการศึกษา.............................ชั้น.........................................
- อาจารย์ที่ปรึกษา.........................................................................
- ปีการศึกษา..................................................................................
1) แนวคิด ที่มา และความสาคัญที่ต้องการศึกษา
....................................................................................................
2) หลักการ ทฤษฎี หรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง (ว่ามีใครทาอะไรไว้บ้าง)
22
...................................................................................................
3) จุดมุ่งหมายของการทดลอง
..................................................................................................
4) สมมติฐานที่กาหนด
...................................................................................................
5) วิธีดาเนินการทดลอง
...................................................................................................
6) งบประมาณที่ใช้ในการทดลอง (ถ้ามี)
...................................................................................................
7) ประโยชน์ที่จะได้รับ
...................................................................................................
8) ชื่อเอกสารอ้างอิง
...................................................................................................
17. ตัวอย่างโครงงาน
ชื่อโครงงาน : การแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศด้วยมือเรา
ชื่อผู้ทาโครงงาน :
ด.ช.ภูสิทธิ์ ใจดี
ด.ญ.พิมพ์ชนก มาลารัตน์
ด.ญ.มาศินี ด้วงขจาย
ระดับชั้น : มัธยมศึกษาตอนต้น
ชื่อครูที่ปรึกษา :
ดร.จิต นวนแก้ว
อาจารย์นิตยา ทวีกิจการ
อาจารย์ณรัตน์ อรชร
โรงเรียนกัลยาณี ศรีธรรมราช อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ปี พ.ศ.2551
ที่มาของโครงงาน
ไขมันอุดตันตามท่อระบายน้า ก็มีส่วนก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน เราจึงนาการ
เรียนรู้ที่ได้มาแก้ปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับไขมันตามท่อระบายน้า
23
จุดมุ่งหมาย เพื่อแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน
สมมติฐาน การแก้ปัญหาไขมันตามท่อระบายน้า จะมีผลดีที่สุดสาหรับภาวะโลกร้อน
วิธีดาเนินงาน
- ปรึกษาวางแผนการแก้ปัญหาไขมันตามท่อ
- เริ่มการรณรงค์กับบุคลในสังคม
- จัดหาอุปกรณ์ต่าง ๆ
- ลงมือร่วมกันขัดถูท่อระบายน้าในครัวเรือนและที่ชุมชน
- ทาแบบนี้ทุกอาทิตย์
- สังเกตผลโครงงาน
- รายงาน
- สรุป
ประโยชน์โครงงาน
- ลดภาวะโลกร้อนได้
- สร้างความมีระเบียบในครัวเรือน
- เพิ่มความสามัคคี
เอกสารอ้างอิง
www.ipst.ac.th
24
กรอบแนวคิดในการวิจัย
การจัดการเรียนการสอนแบบ
โครงงาน รายวิชาคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือก
หัวข้อเรื่องการตั้งชื่อโครงงาน
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบ
การทาโครงงาน
ขั้นตอนที่ 3 การลงมือทา
โครงงาน
ขั้นตอนที่ 4 การเขียน
รายงานโครงงาน
ขั้นตอนที่ 5 การนาเสนอ
ผลงาน
ขั้นตอนที่ 6 การวัดผล
ประเมินผล
คุณภาพของโครงงาน
คอมพิวเตอร์
ความพึงพอใจของนักเรียนต่อ
การเรียนการสอนแบบโครงงาน
บทที่ 3
วิธีการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน วิชาการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการดาเนินการวิจัยซึ่งแสดงไว้ในหัวข้อต่อไปนี้
1. การกาหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การจัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูล
การกาหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
ประชากรเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ลาลูกกา อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 6 ห้องเรียน
ได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1, 5/2, 5/3, 5/4, 5/5 และ 5/6 รวมนักเรียนทั้งหมด 258
คน โดยทั้ง 6 ห้องเรียนมีลักษณะหรือระดับของความรู้ความสามารถในรายวิชาคอมพิวเตอร์
ใกล้เคียงกัน
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ลาลูกกา อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 1 ห้องเรียน ซึ่ง
ประชากรทั้ง 6 ห้องเรียนที่กาหนดไว้มีลักษณะหรือระดับของความรู้ความสามารถในรายวิชา
26
คอมพิวเตอร์ใกล้เคียงกัน ผู้วิจัยจึงใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ได้นักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 จานวน 43 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้
1. แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง จานวน 40 ชั่วโมง
2. แบบประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์
3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้วิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง จานวน 40 ชั่วโมง
การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้วิชาการสร้างงานสื่อผสม เรื่องคอมพิวเตอร์และ
อินเทอร์เน็ต จานวน 8 ชั่วโมง ในการกาหนดวัตถุประสงค์การเรียนการสอนแต่ละชั่วโมง เป็นไปตาม
ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา และสอดคล้องกับ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน
ซึ่งมีขั้นตอนการสร้างดังนี้
1. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา
2. ศึกษาแนวคิดและกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ตามขั้นตอนดังนี้
2.1 การคิดและเลือกหัวเรื่อง
2.2 การวางแผน
2.3 การดาเนินงาน
2.4 การเขียนรายงาน
2.5 การนาเสนอผลงาน
27
3. กาหนดเนื้อหา ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานปี พ.ศ. 2551 หลักสูตร
สถานศึกษา ตัวชี้วัด แบบเรียน คู่มือครู และอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิชาการเขียน
โปรแกรมขั้นสูง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ดังนี้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Microsoft Visual Studio เบื้องต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมโดยใช้ฟังก์ชันพื้นฐาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมที่มีการคานวณทางคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เทคนิคและฟังก์ชันเพิ่มเติมในการพัฒนาโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
4. สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีความสอดคล้องกับแนวทางของการเรียนรู้แบบ
โครงงาน เหมาะกับลักษณะและสภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมีโครงสร้างของ
แผนการจัดการเรียนรู้ดังนี้
5. นาแผนการจัดการเรียนรู้เสนอต่อหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียน รองผู้อานวยการกลุ่ม
บริหารวิชาการ และผู้อานวยการ ในการตรวจสอบความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียน และขอ
อนุมัติการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
2. การสร้างแบบประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์
มีขั้นตอนในการสร้าง ดังต่อไปนี้
1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีการประเมิน และการประเมินโครงงาน
คอมพิวเตอร์ การสร้างแบบประเมินแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) และเกณฑ์การให้
คะแนนแบบรูบริค
2. กาหนดคาชี้แจง จุดประสงค์ และกาหนดประเด็นในการประเมินให้สอดคล้องกับ
จุดประสงค์ และทักษะ ความสามารถในการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
28
3. สร้างแบบประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยเป็นเกณฑ์ที่มี 5 ระดับ ดังนี้
ระดับ 1 หมายถึง ต้องปรับปรุง
ระดับ 2 หมายถึง พอใช้
ระดับ 3 หมายถึง ปานกลาง
ระดับ 4 หมายถึง ดี
ระดับ 5 หมายถึง ดีมาก
4. นาแบบประเมินไปจัดพิมพ์ และนาไปใช้ในการประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์
3. การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการ
จัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน
มีขั้นตอนในการสร้างและพัฒนา ดังต่อไปนี้
1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับการสร้างแบบสอบถามในด้านทฤษฎีและวิธีการสร้าง
2. กาหนดคาชี้แจง จุดประสงค์ และกาหนดหัวข้อที่จะถามให้สอดคล้องกับ
จุดประสงค์
3. สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการ
เรียนการสอนแบบโครงงาน เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) 5 ระดับ โดยกาหนด
ระดับความพึงพอใจ ดังนี้
ระดับ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด
ระดับ 4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
29
ระดับ 3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย
ระดับ 1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด
4. นาแบบสอบถามมาจัดพิมพ์และนามาใช้ในการสอบถามความพึงพอใจ
การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ซึ่งดาเนินการทดลองตามแบบการทดลอง
Posttest – Only - Design ซึ่งมีรูปแบบการวิจัยดังนี้
แบบแผนการวิจัย
ก่อนเรียน ทดลอง หลังเรียน
O X1 T1
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการทดลอง
T1 แทน การประเมินหลังการทดลอง
X1 แทน การสอนแบบโครงงาน
ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลตามลาดับขั้นตอนดังนี้
1. ชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงรายละเอียด ขั้นตอน พร้อมทั้งข้อตกลงในการดาเนินการ
ทดลองในครั้งนี้
2. ดาเนินการทดลองโดยผู้วิจัยเป็นผู้สอนด้วยตนเอง โดยทาการสอนตามกระบวนการสอน
แบบโครงงาน วิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น
30
3. ระหว่างดาเนินการทดลอง ผู้วิจัยทาการแนะนาการจัดทาโครงการ การให้นักเรียนศึกษา
ความสนใจของตนเองในการพัฒนาโปรแกรม และเรียนรู้วิธีการพัฒนาโปรแกรมจากง่ายไประดับยาก
4. หลังจากเสร็จสิ้นการเรียนการสอน ได้มอบหมายให้นักเรียนแบ่งกลุ่มและจัดทาโครงงาน
คอมพิวเตอร์ ตามกรอบที่ผู้วิจัยเป็นผู้กาหนด
5. ให้นักเรียนทาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนแบบ
โครงงาน
6. นาข้อมูลที่ได้ไปทาการวิเคราะห์ สรุป
การจัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการดาเนินการทดลองดังนี้
1. ข้อมูลที่ได้จากการประเมินโครงงาน นามาหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทาไป
เทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด เพื่อหาคุณภาพของโครงงานคอมพิวเตอร์
2. ข้อมูลที่ได้จากการสอบถามความพึงพอใจ ผู้วิจัยทาการตรวจสอบข้อมูล ในด้านความ
สมบูรณ์ ความเป็นไปได้ของข้อมูล จากนั้นนามาหาค่าความถี่ ร้อยละและแปลความหมาย
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docbenjawankokonz
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
ผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่านผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่านยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯChanti Choolkonghor
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายratchadaphun
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2iberryh
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1KruKaiNui
 

Tendances (20)

ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
ผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่านผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯเกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
เกณฑ์การแข่งขันการงานฯ
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลาย
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
 

Similaire à ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKruthai Kidsdee
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
Eng ppt
Eng pptEng ppt
Eng pptSopa
 
Eng ppt
Eng pptEng ppt
Eng pptSopa
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่prangkupk
 
แบบฟอร์มโครงงาน
แบบฟอร์มโครงงานแบบฟอร์มโครงงาน
แบบฟอร์มโครงงานBest Tanakorn
 
แบบฟอร์มโครงงาน
แบบฟอร์มโครงงานแบบฟอร์มโครงงาน
แบบฟอร์มโครงงานKritayoch Kaewsutti
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...Noppakhun Suebloei
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 

Similaire à ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (20)

รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Eng ppt
Eng pptEng ppt
Eng ppt
 
Eng ppt
Eng pptEng ppt
Eng ppt
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
แบบฟอร์มโครงงาน
แบบฟอร์มโครงงานแบบฟอร์มโครงงาน
แบบฟอร์มโครงงาน
 
แบบฟอร์มโครงงาน
แบบฟอร์มโครงงานแบบฟอร์มโครงงาน
แบบฟอร์มโครงงาน
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Plus de Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายNattapon
 

Plus de Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
 

ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะ ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ผู้วิจัย นายณัฐพล บัวอุไร ตาแหน่งครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4
  • 2. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะ ด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ผู้วิจัย นายณัฐพล บัวอุไร ตาแหน่งครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4
  • 3.
  • 4. (1) สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนา 1 ความสาคัญของปัญหา 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 ขอบเขตของการวิจัย 2 นิยามศัพท์ 4 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6 1. ความหมายของโครงงาน (Project) 6 2. ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ (Computer Project) 6 3. ความหมายของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน 6 4. ปรัชญาการศึกษาของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน 6 5. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทาโครงงาน 7 6. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ 8 7. รายละเอียดของโครงงานแต่ละประเภท 8 8. ประเภทโครงงานแบ่งตามระดับการให้คาปรึกษาของครู 12 9. ขั้นตอนการทาโครงงาน 14 10. การประเมินผลโครงงาน 17 11. ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 18 12. แนวทางการประเมินผล 19 13. วิธีการประเมินผล 20 14. ลักษณะของแฟ้มผลงานดีเด่นสาหรับโครงงาน 21 15. ประโยชน์ของโครงงาน 21
  • 5. (2) สารบัญ (ต่อ) หน้า 16. ตัวอย่างเค้าโครงของโครงงาน 21 17. ตัวอย่างโครงงาน 22 18 กรอบแนวคิดการวิจัย 24 บทที่ 3 วิธีการวิจัย 25 การกาหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง 25 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 26 การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 29 การจัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูล 30 บทที่ 4 ผลการวิจัยและข้อวิจารณ์ 31 ผลการวิจัย 31 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 37 สรุปผลการวิจัย 37 ข้อเสนอแนะ 38 เอกสารและสิ่งอ้างอิง 39 ภาคผนวก 40 ภาคผนวก ก ตัวอย่างผลงานนักเรียน 41 ภาคผนวก ข โครงสร้างการสอน 53 ภาคผนวก ค หน่วยการเรียนรู้ 56 ประวัติการศึกษาและการทางาน
  • 6. บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของปัญหา มาตรา 22 และ 23 ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้กาหนดแนวทางการ จัดการศึกษาที่ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียน การจัดการศึกษาต้องคานึงถึงคุณภาพทั้งด้านความรู้ กระบวนการเรียนรู้ และการเชื่อมโยงความรู้ที่ผู้เรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ และเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดการปฏิบัติจริงเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการคิดเป็น ทาเป็น และ แก้ปัญหาได้อย่างฉลาดและพอเพียง ตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถของผู้เรียน การสอนแบบโครงงานเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบหนึ่งที่สอดคล้องกับแนวทางการจัด การศึกษาตามมาตรา 22 และ มาตรา 23 และใช้พัฒนาวิธีการเรียนรู้ทางปัญญา (Intellectual strat- egy) เพื่อเอื้อหนุนผู้เรียนให้เข้าถึงตัวความรู้ (Body of Knowledge) และความชานาญทางด้านทักษะใน สิ่งที่เรียน (Body of Process) เพราะเป็นการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถคิด วิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีกระบวนการทางานและทางานร่วมกับผู้อื่นได้โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาให้ คาแนะนา และกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็มศักยภาพ ทั้งนี้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ได้ส่งเสริมให้ครูได้จัดการเรียนการสอน แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการในการปฏิบัติ และทักษะทางการคิดใน ด้านต่างๆ เพื่อพัฒนาและเตรียมความพร้อมของผู้เรียนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชาติให้สูงขึ้น ประกอบกับรายวิชาที่ผู้วิจัยจัดการเรียนการสอนคือ วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นวิชาพื้นฐานสาคัญที่จะช่วยส่งเสริมกระบวนการคิด ทั้ง การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์ เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นวิชาพื้นฐานที่นักเรียนจะสามารถนาไปใช้ในการศึกษาต่อในอนาคต ซึ่งเป็นสาชา วิชาที่เป็นที่ต้องการของตลาดในปัจจุบัน ด้วยเหตุที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนแบบ โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ซึ่งหากการวิจัยสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีแล้ว ผู้วิจัยจะสามารถ
  • 7. 2 สรุปได้ว่าการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ในรายวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นี้ จะ เป็นการจัดการเรียนการสอนอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการ และทักษะการคิดของ นักเรียน อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมนักเรียนให้สามารถพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และมีความรู้ พื้นฐานด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมทั้งทักษะพื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อนาไปใช้ใน การศึกษาต่อและประกอบอาชีพในอนาคต วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน รายวิชาการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้กระบวนการจัดการเรียนการ สอนแบบโครงงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้ข้อมูลเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับการเรียน วิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ที่สามารถพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างง่ายได้ด้วยตนเอง ขอบเขตของการวิจัย 1. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยนี้ ประกอบด้วย 1.1 ตัวจัดกระทา คือ วิธีสอนแบบโครงงาน 1.2 ตัวแปรตาม มี 2 ตัวแปร คือ 1.2.1 ผลการประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์ 1.2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนด้วยวิธีสอนแบบโครงงาน
  • 8. 3 2. ประชากรในการวิจัยนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ ลาลูกกา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 6 ห้องเรียน ซึ่งเป็นนักเรียนที่เรียนใน แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ จานวน 3 ห้องเรียน แผนการเรียนคณิตศาสตร์ – ภาษาอังกฤษ จานวน 1 ห้องเรียน และแผนการเรียนภาษาอังกฤษ – ภาษาจีน จานวน 2 ห้องเรียน รวมนักเรียนทั้งสิ้น 258 คน 3. เนื้อหาวิชาที่นามาใช้ในการวิจัยนี้ เป็นวิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้วิจัยได้ประยุกต์แนวคิดในการใช้กิจกรรมของ นักการศึกษาหลายท่านแล้วสรุปเป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของผู้วิจัยเอง ซึ่งมี ขั้นตอนดังนี้ 4.1 การนาเข้าสู่การเรียนรู้ ครูเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียน โดยให้โอกาสนักเรียน สร้างจุดมุ่งหมายและแรงจูงใจในการเรียนรู้ในเนื้อหาที่กาหนด เช่น การเล่นเกม การตอบคาถาม และดูวีดีทัศน์ที่มีความเกี่ยวข้องกับเนื้อหาและองค์ความรู้ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน เป็นต้น 4.2 ทบทวนความรู้เดิม ครูตรวจสอบพื้นฐานความรู้เดิมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ จะเรียน เพื่อให้ทราบว่านักเรียนมีพื้นฐานในเนื้อหาสาระที่จะเรียนอย่างไร โดยให้นักเรียนอธิบาย หรือเขียนเป็นแผนภาพ แล้วนาความรู้เดิมมาเชื่อมต่อกับความรู้ใหม่ เป็นการทาความเข้าใจเพื่อให้ นักเรียนปรับแนวคิดปัจจุบัน ในหัวข้อของเนื้อหาสาระการเรียนให้ชัดเจน ซึ่งสามารถทาได้โดยให้มี กิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การอภิปรายกลุ่มย่อย การเขียนรายงาน การเขียนผังความคิด เป็นต้น 4.3 กระบวนการเรียนรู้ เป็นขั้นจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องการตั้งชื่อโครงงาน ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบการทาโครงงาน การวางแผนรูปแบบโครงงานที่ทา ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ 1. การตั้งชื่อโครงงาน 2. การเขียนความเป็นมาของโครงงาน 3. การเขียนวัตถุประสงค์ของโครงงาน
  • 9. 4 4. การเขียนแผนผังความคิดของโครงงานแบบWeb 5. การเขียนแผนผังโครงงานแบบตาราง 6. การเขียนขั้นตอนการดาเนินการ 7. การเขียนผลการศึกษา 8. การเขียนประโยชน์ที่ได้รับ 9. วิธีการนาเสนอผลการศึกษา 10. การเขียนแหล่งอ้างอิง 11. การเขียนความรู้สึกที่มีต่อการทาโครงงานชิ้นนี้ ขั้นตอนที่ 3 การลงมือทาโครงงาน ลงมือปฏิบัติงานตามที่วางแผนไว้ในขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 4 การเขียนรายงานโครงงาน เขียนรายงานโครงงานจากข้อมูลที่ไปศึกษา ค้นคว้ามาตรวจสอบกับสมมุติฐานลงในแบบบันทึก ขั้นตอนที่ 5 การนาเสนอผลงาน เขียนบรรยายวิธีการนาเสนอผลงาน ขั้นตอนที่ 6 การวัดผลประเมินผล เขียนความรู้สึกที่มีต่อการทาโครงงาน แลกเปลี่ยนตรวจสอบกับเพื่อนผู้ปกครอง ครู 5. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โดยผู้วิจัยทาการสอนด้วยตนเอง และประเมินผลงานหรือโครงงานนักเรียนตามแบบประเมินที่ผู้วิจัย สร้างขึ้น และสอบถามความพึงพอใจโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น นิยามศัพท์ การเรียนการสอนแบบโครงงาน หมายถึง การจัดการเรียนการสอนตามกระบวนการสอบ แบบโครงงาน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องการตั้งชื่อโครงงาน ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบการทาโครงงาน การวางแผนรูปแบบโครงงานที่ทา ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ 1. การตั้งชื่อโครงงาน 2. การเขียนความเป็นมาของโครงงาน 3. การเขียนวัตถุประสงค์ของโครงงาน 4. การเขียนแผนผังความคิดของโครงงานแบบ Web 5. การเขียนแผนผังโครงงานแบบตาราง 6. การเขียนขั้นตอนการดาเนินการ
  • 10. 5 7. การเขียนผลการศึกษา 8. การเขียนประโยชน์ที่ได้รับ 9. วิธีการนาเสนอผลการศึกษา 10. การเขียนแหล่งอ้างอิง 11. การเขียนความรู้สึกที่มีต่อการทาโครงงานชิ้นนี้ ขั้นตอนที่ 3 การลงมือทาโครงงาน ลงมือปฏิบัติงานตามที่วางแผนไว้ในขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 4 การเขียนรายงานโครงงาน เขียนรายงานโครงงานจากข้อมูลที่ไปศึกษา ค้นคว้ามาตรวจสอบกับสมมุติฐานลงในแบบบันทึก ขั้นตอนที่ 5 การนาเสนอผลงาน เขียนบรรยายวิธีการนาเสนอผลงาน ขั้นตอนที่ 6 การวัดผลประเมินผล เขียนความรู้สึกที่มีต่อการทาโครงงาน แลกเปลี่ยนตรวจสอบกับเพื่อนผู้ปกครอง ครู ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน หมายถึง ความรู้สึกหรือความคิดของนักเรียนหลังจากที่ครูใช้กระบวนการสอนแบบโครงงาน โดย พิจารณาจากระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่ตอบลงในแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มี ต่อการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
  • 11. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการวิจัยเพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน รายวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. ความหมายของโครงงาน (Project) โครงงาน คือ งานที่มอบหมายให้นักเรียนหรือกลุ่มนักเรียนทาตามรายวิชาต่างๆ ในหลักสูตร มีลักษณะงานเหมือนที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติ ด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การวางแผนการ ดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติรวมทั้งร่วมกาหนดแนวทางในการวัดผลและประเมิน 2. ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ (Computer Project) โครงงานวิทยาศาสตร์ คือ กระบวนการศึกษาค้นคว้าตามความถนัด ความสนใจ ความสามารถ ของผู้เรียนเองภายใต้กระบวนการต่างๆ โดยนาคอมพิวเตอร์เข้าไปประยุกต์หรือช่วยในการทางาน เพื่อให้ ได้มาซึ่งคาตอบหรือผลงานที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง โดยนักเรียนเป็นผู้วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็นเพียง ผู้ให้คาปรึกษาเท่านั้น 3. ความหมายของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือ การจัดการสอนที่จัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ให้แก่ผู้เรียนเหมือนกับการทางานในชีวิตจริงอย่างมีระบบ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้ทาการทดลอง ได้พิสูจน์สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง รู้จัก การวางแผนการทางาน ฝึกการเป็นผู้นา ผู้ตาม ตลอดจนได้พัฒนากระบวนการคิดโดยเฉพาะการคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking) และการประเมินตนเอง 4. ปรัชญาการศึกษาของการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานได้อาศัยพื้นฐานแนวคิดที่ว่ามนุษย์จะสร้างความรู้ใหม่ ขึ้นจากการกระทาและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การสอนในลักษณะดังกล่าวยังตั้งอยู่บนข้อสนับสนุน
  • 12. 7 ที่ว่าความรู้ใหม่ได้มาจากสิ่งที่สัมพันธ์กับความรู้ที่มีมาก่อน การสร้างความคิดริเริ่มใหม่และ ประสบการณ์เดิมที่ไม่เป็นทางการและยังสอดคล้องกับแนวคิดที่ว่าการเรียนรู้แบบโครงงานจะมีพลัง มากยิ่งขึ้นถ้าได้รับการส่งเสริมจากสมาชิกในกลุ่มมากกว่าให้นักเรียนคนใดคนหนึ่งคิดคนเดียว การ เรียนรู้แบบโครงงานถูกสร้างขึ้นจากความต้องการของผู้เรียนที่ต้องการขยายแหล่งเรียนรู้ของตนให้ กว้างขวางขึ้น จากข้อมูลที่มีอยู่ในตาราเล่มหนึ่งไปสู่การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากอินเตอร์เน็ต ซึ่งการเรียนรู้ในลักษณะดังกล่าวจะช่วยส่งเสริมการทางาน ร่วมกัน และนาความรู้ที่แต่ละคนมีอยู่มารวมกัน แนวคิดดังกล่าว พอสรุปได้ดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพด้านการคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา และ การคิดขั้นสูง 3. เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนและทางานร่วมกัน ได้ฝึกภาวะผู้นาและผู้ตาม 4. เพื่อจัดประสบการณ์ตรงให้ผู้เรียนได้นาไปใช้ในการดารงชีวิต 5. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทาโครงงาน บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน 5.1 อาจารย์ผู้สอนวิชาโครงงาน (1) ให้คาปรึกษา แนะนา กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดหัวข้อโครงงานและวิธีการเขียน โครงงาน (2) จัดงบประมาณ อุปกรณ์สนับสนุนแต่ละโครงงาน (3) ติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของผู้เรียนแต่ละสัปดาห์ (4) เป็นกรรมการตรวจสอบโครงงาน (5) รวบรวมผลการประเมินเพื่อตัดสินความสาเร็จในวิชาโครงงานของนักเรียน (6) ประชาสัมพันธ์หรือจัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานโครงงานไปสู่สาธารณชน และ สถานประกอบการ 5.2 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน (1) ให้ความรู้ด้านทฤษฎี หลักการ กระบวนการ วิธีการคิด และยุทธศาสตร์ การคิด (2) ให้คาแนะนา ชี้แนะแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ และวิธีการดาเนินงานที่ถูกต้อง (3) ให้ความรู้ ทักษะ และเทคนิคในการทาโครงงาน (4) เป็นที่ปรึกษาโครงงาน (5) เป็นกรรมการสอนโครงงานทั้งหมด ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
  • 13. 8 (6) ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้อง (7) ติดตามผลและประเมินผลวิชาโครงงาน 6. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทของโครงงาน แบ่งตามลักษณะของกิจกรรมได้ 4 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา 2. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 3. โครงงานพัฒนาเกม 4. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 7. รายละเอียดของโครงงานแต่ละประเภท 7.1 โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิต สื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาค แบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการ พัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน ประเภทนี้สามารถ พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็น หัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริย จักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศ ไทย เป็นต้น ภาพที่ 1 ตัวอย่างโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
  • 14. 9 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อ ประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายใน อาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภท นี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้น ใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้อง ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนา สิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ภาพที่ 2 ตัวอย่างโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 7.3 โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือเพื่อความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อม ทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่น กลุ่มต่างๆ
  • 15. 10 ภาพที่ 3 ตัวอย่างโครงงานพัฒนาเกม 7.4 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วย การมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรม ประมวลคา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์ การวาดรูป พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปได้ โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณ ค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก ภาพที่ 4 ตัวอย่างโครงงานพัฒนาเครื่องมือ
  • 16. 11 7.5 โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการทดลองของสาขา ต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็น โครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่อง ที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือ คาอธิบาย พร้อมทั้งการจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไป ตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มี จุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การ ทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่อง การมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น ภาพที่ 5 ตัวอย่างโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
  • 17. 12 8. ประเภทโครงงานแบ่งตามระดับการให้คาปรึกษาของครูหรือระดับความคิดเห็นของนักเรียนได้ 3 ประเภท คือ 8.1 โครงงานประเภท Guided project ครูกาหนดปัญหาให้ ครูออกแบบการรวบรวมข้อมูล กาหนดวิธีทากิจกรรม นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ตามวิธีที่กาหนด ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการบันทึกผล ทักษะการตี ความหมายข้อมูล ทักษะการสรุปผล ภาพที่ 6 โครงงานประเภท Guided project
  • 18. 13 8.2 โครงงานประเภท Less – guided project ครูและนักเรียนร่วมกันระบุปัญหา ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบ การรวบรวมข้อมูลเพื่อหาคาตอบ นักเรียนใช้เครื่องมือใน การเก็บรวบรวมข้อมูล ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการบันทึกผล ทักษะการตี ความหมายข้อมูล ทักษะการสรุปผล ภาพที่ 7 โครงงานประเภท Less – guided project
  • 19. 14 8.3 โครงงานประเภท Unguided project นักเรียนระบุปัญหาตามความสนใจ นักเรียนออกแบบการรวบรวม ข้อมูลเพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง นักเรียนใช้เครื่องมือใน การเก็บรวบรวมข้อมูล ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการบันทึกผล ทักษะการตี ความหมายข้อมูล ทักษะการสรุปผล ภาพที่ 8 โครงงานประเภท Unguided project 9. ขั้นตอนการทาโครงงาน การทาโครงงานเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องและมีการดาเนินงานหลายขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้น จนถึงขั้นสุดท้าย อาจสรุปลาดับได้ดังนี้ 9.1 การคิดและเลือกหัวเรื่อง 9.2 การวางแผน 9.3 การดาเนินงาน 9.4 การเขียนรายงาน
  • 20. 15 9.5 การนาเสนอผลงาน 9.1 การคิดและเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิดและเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะ ศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความอยาก รู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้ว ควรเข้าใจและรู้เรื่องว่า โครงงานนี้ทาอะไร การกาหนดหัวเรื่องของ โครงงานนั้น มีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและสนใจ จากหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการ อ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชม นิทรรศการ หรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคลต่างๆ หรือจากการ สังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ควรคานึงถึงในเรื่องต่อไปนี้  ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน  วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้  งบประมาณ  ระยะเวลา  ความปลอดภัย  แหล่งความรู้ 9.2 การวางแผน การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่ง ต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้ว นาเสนอต่อผู้สอน หรือครูที่ปรึกษา เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไปเขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงานและขั้นตอนการทาโครงงาน ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ (1) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ ตรง (2) ชื่อผู้ทาโครงงาน/ชั้น/ปีการศึกษา (3) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน (4) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทา โครงงานเรื่องนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่ เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษา ค้นคว้าเรื่องนี้ไว้
  • 21. 16 บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลเป็นอย่างไร เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติมปรับปรุง จากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล (5) จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ ควรมีความเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทาได้ชัดเจนขึ้น (6) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคาตอบ หรือ คาอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมี ทฤษฎี หรือหลักการรองรับ และที่สาคัญคือเป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการ ดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ด้วย (7) วิธีดาเนินงาน/ขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่าจะออกแบบ การทดลองอะไร อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง รวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้มี อะไรบ้าง (8) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น การดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน (9) ผลที่คาดว่าจะได้รับ (10) เอกสารอ้างอิง 9.3 การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็ เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ได้ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียม วัสดุอุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อม ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความประหยัดและ ปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหา และข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน 9.4 การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับ โครงงานนั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็น สาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
  • 22. 17 9.5 การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงานเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงาน เป็นวิธีการที่ จะทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับ ความเหมาะสมกับประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจจะมีทั้งการ จัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย การใช้ CAI (Computer Assisted Instruction) การใช้ Multimedia Computer/ Homepage แต่สิ่งที่สาคัญคือ ผลงานที่จัด แสดงต้องดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา 10. การประเมินผลโครงงาน การประเมินผลเป็นหัวใจของการเรียนการสอน ที่สะท้อนสภาพความสาเร็จของการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันประเมินผลว่ากิจกรรมที่ทาไปนั้นบรรลุตาม จุดประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ อย่างไร ปัญหาและอุปสรรคที่พบคืออะไรบ้าง ได้ใช้วิธีการแก้ไข อย่างไร ผู้เรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการทาโครงงานนี้ 10.1 ผู้ประเมินโครงงาน อาจดาเนินการด้วยบุคคล ต่อไปนี้ (1) ผู้เรียนประเมินตนเอง (2) เพื่อนช่วยประเมิน (3) ผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาประเมิน (4) ผู้ปกครองประเมิน (5) บุคคลอื่น ๆ ที่สนใจและมีส่วนเกี่ยวข้อง (1) ผู้เรียนประเมินตนเอง จะแสดงออกให้เห็นว่า ผู้เรียนเจ้าของโครงงาน ซึ่งอาจ เป็นรายบุคคล หรือกลุ่มทางาน มีความพึงพอใจต่อขั้นตอนของกิจกรรมแต่ละขั้นตอนที่ได้กาหนด หรือร่วมกันกาหนดขึ้นเองเพียงใด มีหัวข้อกิจกรรมใดที่ยังขาดตกบกพร่อง จะต้องเพิ่มเติมในส่วน ใดบ้าง ความละเอียด รัดกุม ในแต่ละขั้นเป็นอย่างไร (2) ผู้ประเมินซึ่งเป็นเพื่อนร่วมชั้น อาจให้ข้อคิดเห็นสะท้อนภาพเพิ่มเติม เช่น ใน ระดับชั้นประถมศึกษา เพื่อนอาจให้ความเห็นไปในเรื่องของการเรียน การใช้ตัวสะกด การันต์ วรรค ตอน ซึ่งเน้นไปในด้านภาษา ระดับชั้นมัธยมศึกษา การประเมินโครงงาน อาจเริ่มขยายขอบเขตจาก ด้านการใช้ภาษา ออกไปถึงการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการตั้งชื่อโครงงานกับ
  • 23. 18 จุดประสงค์ของโครงงาน และตามความเข้าใจของผู้ประเมิน เสนอแนะวิธีการศึกษาของผู้ประเมิน เพื่อการพิจารณาการจัดรูปเล่มเพื่อการนาเสนอโครงงาน ฯลฯ (3) ผู้ประเมินซึ่งเป็นผู้สอน หรือครูที่ปรึกษา อาจให้คาแนะนาเพิ่มเติมได้ในเรื่อง วิธีการอื่นที่ใช้ในการศึกษาหาคาตอบ ความสัมพันธ์ของวิชาตามหัวเรื่องที่ศึกษากับวิชาอื่น ข้อค้นพบ ที่ผู้เรียนได้จากโครงงาน การนาคาตอบของการศึกษาที่ได้ไปใช้ประโยชน์ การนาข้อค้นพบที่ต่างไป จากเป้าหมายของการศึกษาไปใช้ประโยชน์หรือขยายผลการศึกษาเป็นโครงงานใหม่ ฯลฯ (4) ผู้ประเมินที่เป็นพ่อ แม่ ผู้ปกครอง จะได้รับทราบถึงความสามารถ ความถนัด ทางการเรียนของลูกหรือเด็กในความปกครอง ความรู้สึก ความต้องการของเด็กผู้ทาโครงงาน ทาให้ สามารถปรับตัวปรับใจเพื่อการสนับสนุนทั้งด้านการเงิน กาลังใจ ให้โอกาส ให้เวลาร่วมกิจกรรมตาม ความสนใจของเด็ก ชี้แนะอุปสรรค ปัญหาเบื้องต้นที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติกิจกรรมขั้นต่างๆ ของโครงงาน ข้อเสนอแนะสาหรับการทาโครงงานครั้งต่อไป 11. ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เพื่อความสะดวก ผู้ประเมินอาจจะสร้างแบบประเมินเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ความสาคัญของการจัดทาโครงงานเป็นแบบตรวจคาตอบ (Check – list) ตอนที่ 2 เนื้อหาของโครงงานและการนาเสนอโครงงาน เป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating scale) แบบประเมินโครงงาน ตอนที่ 1 ความสาคัญของการจัดทาโครงงาน จงทาเครื่องหมาย  ลงใน  ตามความคิดเห็นของท่าน 1. โครงงานที่จัดทาเป็น  งานเดี่ยว  งานกลุ่ม 2. การริเริ่มโครงงาน  ผู้เรียนริเริ่มเอง  ผู้สอนช่วยแนะแนวทาง 3. การพัฒนาตนเอง  มี  ไม่มี 4. การพัฒนางาน  มี  ไม่มี 5. ความเกี่ยวพันกับเนื้อหา ในบทเรียน  สอดคล้อง  ไม่สอดคล้อง 6. ประโยชน์ในชีวิตจริง  มี  ไม่มี
  • 24. 19 ตอนที่ 2 เนื้อหาของโครงงาน และการนาเสนอโครงงาน จงทาเครื่องหมาย  ลงในช่องตรงข้อความที่ท่านเห็นด้วยที่สุด ข้อความ ระดับความคิดเห็น มาก ที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด เนื้อหาของโครงงาน 1. ความถูกต้อง 2. ความเหมาะสมในการใช้แนวคิด 3. เลือกใช้ข้อมูลข่าวสารเหมาะสม ตรงประเด็น 4. มีการสรุปที่ชัดเจน 5. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ กระบวนการทางาน 6. มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ 7. มีการดาเนินงานตามแผน 8. มีการประเมินและปรับปรุงการ ดาเนินงาน การนาเสนอโครงงาน 9. การรายงานสามารถสื่อ ความหมาย ได้ชัดเจน 10. ความสมบูรณ์ของข้อมูล 11. ความเหมาะสมของรูปแบบ 12. ข้อสรุปของโครงงานบรรลุ จุดประสงค์ที่ตั้งไว้ 12. แนวทางการประเมินผล การประเมินผลโครงงานควรใช้การประเมินผลตามสภาพที่แท้จริง (Authentic Assessment) ซึ่งมีลักษณะดังนี้ (1) ทาไปพร้อมๆ กับการเรียนรู้ของผู้เรียน
  • 25. 20 (2) ยึดพฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกเป็นสาคัญ (3) เน้นการพัฒนาตนและการประเมินตนเอง (4) ให้ความสาคัญในการพัฒนาจุดเด่นของผู้เรียน (5) มีการเก็บข้อมูลระหว่างปฏิบัติได้ทุกบริบท (Context) ทั้งที่บ้าน โรงเรียนและชุมชน (6) อยู่บนพื้นฐานของเหตุการณ์ในชีวิตจริง เอื้อต่อการเชื่อมโยงการเรียนรู้สู่ชีวิตจริง (7) เน้นคุณภาพของผลงาน ซึ่งเป็นผลจากการบูรณาการความรู้สู่ความสามารถของผู้เรียน (8) เน้นการวัดความสามารถในการคิดระดับสูง เช่น ใช้ข้อมูลในการสังเคราะห์ อธิบาย สรุปเป็นกฎทั่วไป ตั้งสมมติฐาน สรุปและแปลผล เป็นต้น (9) วัดปฏิสัมพันธ์เชิงบวก มีการชื่นชม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสุข สนุกสนาน ไม่เครียด (10) สนับสนุนการมีส่วนร่วม และรับผิดชอบร่วมกัน 13. วิธีการประเมินผล 1. การสังเกต เป็นวิธีประเมินพฤติกรรมที่สามารถทาได้ทุกเวลาและสถานการณ์ ทั้งแบบมี และไม่มีเครื่องมือในการสังเกต 2. การสัมภาษณ์ การสอบถาม อาจมีลักษณะเป็นทางการ หรือสัมภาษณ์ สอบถาม ขณะ ปฏิบัติโครงงานก็ได้ 3. วัดความรู้ ความสามารถ (Authentic Test) ควรเป็นแบบสอบถามแบบปลายเปิดเพื่อดู ความเชื่อมโยงระหว่างความรู้ความเข้าใจเดิมกับสิ่งที่ได้เพิ่มเติมจากประสบการณ์ในการปฏิบัติ โครงงาน ลักษณะสาคัญของแบบทดสอบ (1) ครอบคลุมสิ่งที่ต้องการวัด (2) เป็นคาถามที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน (3) เชื่อมโยง บูรณาการความรู้ ความสามารถ ได้หลายด้าน และใช้ความคิดที่ลึกซึ้งขึ้นตาม วัย (4) มีเกณฑ์การให้คะแนนตามความสมบูรณ์ของพฤติกรรม (5) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดและเขียนคาตอบเอง 4. การรายงาน เป็นการเขียนรายงาน หรือบอกขั้น หรือประสบการณ์ในการทาโครงงาน เพื่อให้ผู้เรียนได้ประเมินตนเองจากการที่ได้พูด หรือเขียนบรรยายสะท้อนความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิดตามแนวทางการเรียนรู้ที่ผ่านประสบการณ์ขณะปฏิบัติ กิจกรรมตามโครงงาน 5. แฟ้มผลงาน (Portfolio) เป็นการเก็บรวบรวมผลงานที่มีความโดดเด่น ในช่วงเวลาใด เวลาหนึ่ง ที่เลือกรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อแสดงถึงความรู้ ความเข้าใจ ความสนใจ
  • 26. 21 ความถนัด ทักษะ ความสามารถ อันแสดงออกถึงพัฒนาการความก้าวหน้า ความสาเร็จ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือในหลายๆ เรื่อง หรือจะเป็นการเก็บผลการประเมินการปฏิบัติ โครงงานในวิธีที่ 1 – 4 ด้วยก็ได้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการติดตามพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ได้อย่างต่อเนื่อง 14. ลักษณะของแฟ้มผลงานดีเด่นสาหรับโครงงาน แฟ้มโครงงานควรมีลักษณะเป็นบทความที่แสดงออกถึงการมีขั้นตอนในการทางานโครงงาน ความพยายามในการแก้ปัญหา หรือการศึกษาส่วนบุคคล ภายในแฟ้มโครงงานอาจประกอบด้วย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ยุทธวิธีในการปฏิบัติโครงงาน ภาพถ่ายของกระบวนการทางานขั้นตอนต่างๆ การแก้ปัญหาในการดาเนินงาน การผลิตตามโครงงาน บันทึกผลการทางาน บันทึกความคิดเห็น ความรู้สึกส่วนตัวหรือของกลุ่ม ต่อโครงงานและบันทึกผลการประเมินผลโครงงาน 15. ประโยชน์ของโครงงาน 1. กิจกรรมโครงงานเหมาะกับการศึกษาในยุคข้อมูลข่าวสาร 2. เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้เต็มที่ 3. เกิดความรู้จริง ซึ่งได้จากการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการทดลอง ปฏิบัติค้นคว้า 4. สามารถใช้ความรู้ได้หลายด้าน (หลายมิติ) 5. เกิดปัญญาเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ เข้าด้วยกัน 6. ฝึกให้ผู้เรียนเป็นคนคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น 7. ผู้เรียนได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และเกิดความภูมิใจที่ทางานสาเร็จ 8. ผู้เรียนเกิดความสนุกสนานจากการเรียนรู้ 9. ช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนเป็นนักค้นคว้า 16. ตัวอย่างเค้าโครงของโครงงาน - ชื่อโครงงาน................................................................................. - ชื่อผู้จัดทาโครงงาน/คณะทางาน................................................. - ระดับการศึกษา.............................ชั้น......................................... - อาจารย์ที่ปรึกษา......................................................................... - ปีการศึกษา.................................................................................. 1) แนวคิด ที่มา และความสาคัญที่ต้องการศึกษา .................................................................................................... 2) หลักการ ทฤษฎี หรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง (ว่ามีใครทาอะไรไว้บ้าง)
  • 27. 22 ................................................................................................... 3) จุดมุ่งหมายของการทดลอง .................................................................................................. 4) สมมติฐานที่กาหนด ................................................................................................... 5) วิธีดาเนินการทดลอง ................................................................................................... 6) งบประมาณที่ใช้ในการทดลอง (ถ้ามี) ................................................................................................... 7) ประโยชน์ที่จะได้รับ ................................................................................................... 8) ชื่อเอกสารอ้างอิง ................................................................................................... 17. ตัวอย่างโครงงาน ชื่อโครงงาน : การแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศด้วยมือเรา ชื่อผู้ทาโครงงาน : ด.ช.ภูสิทธิ์ ใจดี ด.ญ.พิมพ์ชนก มาลารัตน์ ด.ญ.มาศินี ด้วงขจาย ระดับชั้น : มัธยมศึกษาตอนต้น ชื่อครูที่ปรึกษา : ดร.จิต นวนแก้ว อาจารย์นิตยา ทวีกิจการ อาจารย์ณรัตน์ อรชร โรงเรียนกัลยาณี ศรีธรรมราช อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ปี พ.ศ.2551 ที่มาของโครงงาน ไขมันอุดตันตามท่อระบายน้า ก็มีส่วนก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน เราจึงนาการ เรียนรู้ที่ได้มาแก้ปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับไขมันตามท่อระบายน้า
  • 28. 23 จุดมุ่งหมาย เพื่อแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน สมมติฐาน การแก้ปัญหาไขมันตามท่อระบายน้า จะมีผลดีที่สุดสาหรับภาวะโลกร้อน วิธีดาเนินงาน - ปรึกษาวางแผนการแก้ปัญหาไขมันตามท่อ - เริ่มการรณรงค์กับบุคลในสังคม - จัดหาอุปกรณ์ต่าง ๆ - ลงมือร่วมกันขัดถูท่อระบายน้าในครัวเรือนและที่ชุมชน - ทาแบบนี้ทุกอาทิตย์ - สังเกตผลโครงงาน - รายงาน - สรุป ประโยชน์โครงงาน - ลดภาวะโลกร้อนได้ - สร้างความมีระเบียบในครัวเรือน - เพิ่มความสามัคคี เอกสารอ้างอิง www.ipst.ac.th
  • 29. 24 กรอบแนวคิดในการวิจัย การจัดการเรียนการสอนแบบ โครงงาน รายวิชาคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือก หัวข้อเรื่องการตั้งชื่อโครงงาน ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบ การทาโครงงาน ขั้นตอนที่ 3 การลงมือทา โครงงาน ขั้นตอนที่ 4 การเขียน รายงานโครงงาน ขั้นตอนที่ 5 การนาเสนอ ผลงาน ขั้นตอนที่ 6 การวัดผล ประเมินผล คุณภาพของโครงงาน คอมพิวเตอร์ ความพึงพอใจของนักเรียนต่อ การเรียนการสอนแบบโครงงาน
  • 30. บทที่ 3 วิธีการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน วิชาการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการดาเนินการวิจัยซึ่งแสดงไว้ในหัวข้อต่อไปนี้ 1. การกาหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3. การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การจัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูล การกาหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 6 ห้องเรียน ได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1, 5/2, 5/3, 5/4, 5/5 และ 5/6 รวมนักเรียนทั้งหมด 258 คน โดยทั้ง 6 ห้องเรียนมีลักษณะหรือระดับของความรู้ความสามารถในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ใกล้เคียงกัน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 1 ห้องเรียน ซึ่ง ประชากรทั้ง 6 ห้องเรียนที่กาหนดไว้มีลักษณะหรือระดับของความรู้ความสามารถในรายวิชา
  • 31. 26 คอมพิวเตอร์ใกล้เคียงกัน ผู้วิจัยจึงใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) ได้นักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 จานวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง จานวน 40 ชั่วโมง 2. แบบประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้วิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง จานวน 40 ชั่วโมง การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้วิชาการสร้างงานสื่อผสม เรื่องคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต จานวน 8 ชั่วโมง ในการกาหนดวัตถุประสงค์การเรียนการสอนแต่ละชั่วโมง เป็นไปตาม ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา และสอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน ซึ่งมีขั้นตอนการสร้างดังนี้ 1. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา 2. ศึกษาแนวคิดและกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ตามขั้นตอนดังนี้ 2.1 การคิดและเลือกหัวเรื่อง 2.2 การวางแผน 2.3 การดาเนินงาน 2.4 การเขียนรายงาน 2.5 การนาเสนอผลงาน
  • 32. 27 3. กาหนดเนื้อหา ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานปี พ.ศ. 2551 หลักสูตร สถานศึกษา ตัวชี้วัด แบบเรียน คู่มือครู และอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิชาการเขียน โปรแกรมขั้นสูง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม Microsoft Visual Studio เบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมโดยใช้ฟังก์ชันพื้นฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมที่มีการคานวณทางคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เทคนิคและฟังก์ชันเพิ่มเติมในการพัฒนาโปรแกรม หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ 4. สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีความสอดคล้องกับแนวทางของการเรียนรู้แบบ โครงงาน เหมาะกับลักษณะและสภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมีโครงสร้างของ แผนการจัดการเรียนรู้ดังนี้ 5. นาแผนการจัดการเรียนรู้เสนอต่อหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียน รองผู้อานวยการกลุ่ม บริหารวิชาการ และผู้อานวยการ ในการตรวจสอบความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียน และขอ อนุมัติการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 2. การสร้างแบบประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนในการสร้าง ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีการประเมิน และการประเมินโครงงาน คอมพิวเตอร์ การสร้างแบบประเมินแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) และเกณฑ์การให้ คะแนนแบบรูบริค 2. กาหนดคาชี้แจง จุดประสงค์ และกาหนดประเด็นในการประเมินให้สอดคล้องกับ จุดประสงค์ และทักษะ ความสามารถในการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 33. 28 3. สร้างแบบประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยเป็นเกณฑ์ที่มี 5 ระดับ ดังนี้ ระดับ 1 หมายถึง ต้องปรับปรุง ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับ 3 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 4 หมายถึง ดี ระดับ 5 หมายถึง ดีมาก 4. นาแบบประเมินไปจัดพิมพ์ และนาไปใช้ในการประเมินโครงงานคอมพิวเตอร์ 3. การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการ จัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน มีขั้นตอนในการสร้างและพัฒนา ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับการสร้างแบบสอบถามในด้านทฤษฎีและวิธีการสร้าง 2. กาหนดคาชี้แจง จุดประสงค์ และกาหนดหัวข้อที่จะถามให้สอดคล้องกับ จุดประสงค์ 3. สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการ เรียนการสอนแบบโครงงาน เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) 5 ระดับ โดยกาหนด ระดับความพึงพอใจ ดังนี้ ระดับ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก
  • 34. 29 ระดับ 3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย ระดับ 1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด 4. นาแบบสอบถามมาจัดพิมพ์และนามาใช้ในการสอบถามความพึงพอใจ การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ซึ่งดาเนินการทดลองตามแบบการทดลอง Posttest – Only - Design ซึ่งมีรูปแบบการวิจัยดังนี้ แบบแผนการวิจัย ก่อนเรียน ทดลอง หลังเรียน O X1 T1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการทดลอง T1 แทน การประเมินหลังการทดลอง X1 แทน การสอนแบบโครงงาน ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลตามลาดับขั้นตอนดังนี้ 1. ชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงรายละเอียด ขั้นตอน พร้อมทั้งข้อตกลงในการดาเนินการ ทดลองในครั้งนี้ 2. ดาเนินการทดลองโดยผู้วิจัยเป็นผู้สอนด้วยตนเอง โดยทาการสอนตามกระบวนการสอน แบบโครงงาน วิชาการเขียนโปรแกรมขั้นสูง ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น
  • 35. 30 3. ระหว่างดาเนินการทดลอง ผู้วิจัยทาการแนะนาการจัดทาโครงการ การให้นักเรียนศึกษา ความสนใจของตนเองในการพัฒนาโปรแกรม และเรียนรู้วิธีการพัฒนาโปรแกรมจากง่ายไประดับยาก 4. หลังจากเสร็จสิ้นการเรียนการสอน ได้มอบหมายให้นักเรียนแบ่งกลุ่มและจัดทาโครงงาน คอมพิวเตอร์ ตามกรอบที่ผู้วิจัยเป็นผู้กาหนด 5. ให้นักเรียนทาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนแบบ โครงงาน 6. นาข้อมูลที่ได้ไปทาการวิเคราะห์ สรุป การจัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการดาเนินการทดลองดังนี้ 1. ข้อมูลที่ได้จากการประเมินโครงงาน นามาหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทาไป เทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด เพื่อหาคุณภาพของโครงงานคอมพิวเตอร์ 2. ข้อมูลที่ได้จากการสอบถามความพึงพอใจ ผู้วิจัยทาการตรวจสอบข้อมูล ในด้านความ สมบูรณ์ ความเป็นไปได้ของข้อมูล จากนั้นนามาหาค่าความถี่ ร้อยละและแปลความหมาย