SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
รายงานการวิจัยปฏิบัติการ
          เรื่อง การพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรูโดยใช้เว็บบล็อก
                                                   ้
ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา




                                 ผู้วิจัย
                            นายณัฐพล บัวอุไร
                             ตาแหน่งครู คศ.1
               โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
              กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
              สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4
1

                                             รายงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ

1. ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา

2. ความเป็นมาและความสาคัญ

             ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษามากขึ้น นั่นก็คือ การนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้
ในการเรียนการสอนอย่างกว้างขวาง เนื่องจากอินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีที่มีศักยภาพในการทางานสูง มีการ
เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ทั่วโลกเข้าด้วยกัน เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องหรือทุกเครือข่ายสามารถ
ติดต่อถึงกันได้ ส่งผลให้ผู้เรียนหรือผู้ใช้สามารถรับส่งข่าวสารข้อมูลรูปแบบต่างๆ ถึงกันได้ด้วยความสะดวกและ
รวดเร็ว ซึ่งอินเทอร์เน็ตมีรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย ดังนั้นนักการศึกษาจึงพยายามหารูปแบบมาใช้อย่าง
เต็มที่เพื่อสนั บ สนุ นการนเรีย นการสอน นั่ นคือ การเรียนการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Web-Based
Instruction) เป็นการนาเสนอโปรแกรมบทเรียนผ่านเว็บเพจ โดยนาเสนอผ่านเวิลด์ ไวด์ เว็บ เช่น เว็บบล็อก
เป็นต้น
             “เว็บบล็อก” (Weblog) หรือเรี ยกสั้นๆ ว่า “บล็อก” หมายถึงเว็บไซต์ที่ใช้สาหรับเขียนบันทึก
(Journal) และแสดงผลการบันทึกโดยการเรียงลาดับจากปัจจุบันไปหาอดีต โดยทั่วไปบล็อกจะประกอบด้วย
ตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ง (Images) ส่วนเชื่อมโยง (Links) ไปหาบล็อกหรือเว็บไซต์อื่นๆ ส่วนที่สาคัญของ
บล็อก คือ ความสามารถในการให้ผู้ อ่านแสดงความคิดเห็นแบบปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ผู้เรียนสามารถใช้
บล็อกในการเรียนและการจัดการเรียนรู้ได้ตามประเด็นดังต่อไปนี้ เช่น ใช้บล็อกในการสะท้อนความคิดเห็นใน
เรื่องที่ผู้เรียนได้รับประสบการณ์หรือเรียนมา แบ่งปันสิ่งที่เรียนมากับเพื่อน สามารถใช้บล็อกในการถ่ายทอด
ความรู้ความเข้าใจของตนเองจากการที่ได้เรียนมาในชั้นเรียนหรือจากการไปศึกษา ค้นคว้าและสืบค้นข้อมูล
ด้วยตนเอง นามาเขียน เรียบเรียง สรุป และเชื่อมโยงเนื้อหาหรือข้อมูลเหล่านั้นแล้วนาไปไว้ในบล็อกของวิชาที่
ได้เรี ย นเพื่อให้ เพื่อนๆ ได้เข้าไปอ่าน ส่ งหรือทบทวนงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้ ส อนและใช้บล็ อกระดม
ความคิดในการทางานกลุ่ม เนื่องจากบล็อกมีคุณสมบัติปฏิสัมพันธ์ ทาให้ใช้บล็อกเป็นเครื่องมือในการทางาน
กลุ่มได้ ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้อ่านและผู้ใช้ร่วมแสดงความคิดเห็นผ่านบล็อกได้เหมือนนั่งรวมกลุ่มกับเพื่อนๆ แล้ว
ระดมความคิดเห็นกัน หรืออาจจะเป็นการทางานกลุ่มแบบเสนอความคิดเห็นไว้ในบล็อก และให้สมาชิกในกลุ่ม
มาร่วมแสดงความคิดเห็นตามเวลาที่สะดวก และอยู่ในระยะเวลาที่กาหนด เป็นต้น
             จากสภาพและปัญหาในการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน จะมีนักเรียนจานวนหนึ่งที่เมื่อเรียนแล้ว
ไม่สามารถสรุปองค์ความรู้ หรือใจความสาคัญของเนื้อหานั้นๆ ได้ ซึ่งอาจจะด้วยสาเหตุหลายประการ เช่น
เป็นการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ที่นักเรียนได้เรียนอยู่ตรงหน้าคอมพิวเตอร์ของตนเอง ทาให้นักเรียนให้ความ
สนใจกับคอมพิวเตอร์มากกว่าเนื้อหาที่ครูจัดการเรียนการสอน อีกทั้งด้วยเนื้อหาวิช าที่ทาการเรียนการสอน
เป็ น รายวิ ช าคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ ป็ น ทฤษฎี แ ละเนื้ อ หาเป็น ส่ ว นใหญ่ และไม่ มี ก ารปฏิ บั ติ ก ารหรื อ การใช้ ง าน
2

คอมพิวเตอร์ ทาให้นักเรียนไม่เกิดความสนใจใฝุเรียนรู้ และอีกประการหนึ่งก็อาจจะมีสาเหตุมาจากวิธีการ
จัดการเรียนการสอนของครูที่ไม่กระตุ้นส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝุเรียนรู้และนักเรียนขาดแรงจูงใจที่
จะเรียน เป็นต้น
        ซึ่งจากปัญหาในการจัดการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ และประโยชน์ของการใช้เว็บบล็อกในการ
จัดการเรียนการสอนที่ได้กล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะนาเว็บบล็อกมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝุเรียนรู้ และสามารถสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนในห้องเรียนได้
โดยการบัน ทึกลงในเว็บ บล็ อกของตนเอง ทาให้ นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างนักเรียนกับนักเรียนและ
นักเรียนกับครู เกิดการเรียนรู้และเปลี่ยนข้อมูลร่วมกัน อีกทั้ งยังเป็นการแก้ปัญหานักเรียนที่ให้ความสนใจกับ
คอมพิวเตอร์มากเกินไป โดยให้นักเรียนได้ใช้คอมพิวเตอร์ในการบันทึกความรู้ลงในเว็บบล็อกหลังการเรียนการ
สอน

3. คาถามและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
       3.1 คาถามการวิจัย
                1. การจัดการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนลงในบล็อกทาให้
       นักเรียนมีความสามารถในการสรุปองค์ความรู้มากขึ้นหรือไม่ อย่างไร
                2. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้บล็อกทาให้นักเรียนกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น
       หรือไม่ อย่างไร
                3. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้บล็อกทาให้นักเรียนเห็นความสาคัญของการสรุปองค์
       ความรู้ลงในอินเทอร์เน็ตหรือไม่ อย่างไร
                4. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้บล็อกทาให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน และระหว่าง
       ครูผู้สอนมากขึ้นหรือไม่ อย่างไร

        3.2 วัตถุประสงค์การวิจัย
                1. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถสรุปองค์ความรู้หลังการเรียนในแต่ละชั่วโมง
                2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการ
        สอน
                3. เพื่ อ ศึ ก ษาวิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนของครู ที่ เ หมาะสมต่ อ การเรี ย นการสอนวิ ช า
        คอมพิวเตอร์

4. ขอบเขตของการวิจัย
        รูปแบบการวิจัยเป็นรูปแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ของนักเรียน ให้
นักเรียนสามารถสรุปองค์ความรู้และมีทักษะในการสรุปองค์ความรู้มากยิ่งขึ้น โดยใช้กระบวนการจัดการเรียน
การสอนโดยใช้เว็บบล็อกเป็นเครื่องมือหลักในการให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ ในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
3

และคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา โดยมีตัวแปรที่
ต้องการศึกษาคือ
       ตัวแปรปฏิบัติการ :     รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บบล็อก
       ตัวแปรตาม :            ความสามารถในการสรุปองค์ความรู้
                              ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้เว็บบล็อก
                              พฤติกรรมของนักเรียนในการเรียนการสอนในชั้นเรียน

5. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
          การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บบล็อก
                    จากการรวบรวมข้อมูลของงานวิจัยทางการศึกษาพบว่า ผู้สอนในสหรัฐอเมริกานิยมนา Blog
มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียนระดับมัธยมกันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะการ
เสนองานเขียนใน Blog เนื่องจาก Blog มีคุณสมบัติปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ที่ผู้อ่านสามารถให้ข้อคิดเห็นใน
งานนั้นได้ ดังนั้นเมื่อผู้เรียนเขียนเสร็จ ส่งงานเขียนของตนไว้ใน Blog จึงเท่ากับเป็นการเชิญชวนให้ผู้อ่านร่วม
วิจารณ์แสดงความคิดเห็นงานเขียนของผู้เรียน สาหรับผู้เรียนที่เริ่มเขียนการเสนอผลงานเขียนใน Blog เท่ากับ
เป็นการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของตนเอง อีกทั้งผู้เรียนอาจได้รับประโยชน์สูงสุดจากผู้อ่านที่เข้ามาแสดง
ความเห็นและให้คาแนะนา รวมทั้งผู้เรียนอาจได้เรียนรู้วิธี แนวทาง หรือรูปแบบ การเขียนที่ดีจากผู้อ่านที่เป็น
นักเขียนระดับมืออาชีพ ดังนั้น Blog จึงเป็นเสมือนสนามฝึกปฏิบัติการเขียนของผู้เรียนที่ให้ผู้เรียนได้ขัดเกลา
แก้ไข ปรับปรุง งานเขียนของตนจากผู้อ่านที่ได้มีปฏิสัมพันธ์กับงานเขียนด้วย
                    นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยทางการศึกษาในประเทศไทย ที่นิยมนา Blog มาใช้ในการจัดการ
เรียนการสอนอีกเป็นจานวนมาก ซึ่งล้วนแล้วแต่กล่าวว่า Blog ช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครู
นักเรียนกับนักเรียน รวมทั้งนักเรียนกับบุคคลภายนอก ทาให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการ
นามาปรับปรุงการพัฒนางานเขียนหรือองค์ความรู้ของตนเองได้เป็นอย่างดี
                    Kennedy (2007: 14) ได้ยกตัวอย่างการวิจัยเพิ่มเติม คือ การเรียนวิชาการหนังสือพิมพ์ที่
Hunterdon เป็นวิชาที่ไม่ใช้กระดาษเลย งานของผู้เรียนทุกชิ้นจะนาไปไว้ใน Blog ที่สร้างขึ้นเฉพาะสาหรับชั้น
เรียนนี้เท่านั้น ให้ผู้เรียนทางานร่วมกัน เช่น การสืบค้นเรื่องต่างๆ จากหนังสือพิมพ์ออนไลน์เพื่อส่งขึ้นไปไว้ใน
ส่วนที่ตนรับผิดชอบ กอบบรรณาธิการจะประชุมกับผู้สอนเพื่อเลือกเรื่องที่น่าสนใจที่สุดในแต่ละวัด จากการ
ดาเนินการวิธีนี้ ผู้สอนพบว่าผู้เรียนแต่ละคนจะสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เมื่อพบแล้วจะสะสมเรื่องต่างๆ ไว้
ใช้ในช่วงแรกของภาคการศึกษา แล้วเขียนเกี่ยวกับเรื่องนี้ตอนปลายภาคการศึกษา นอกจากนี้ผู้สอนยังพบว่า
การอภิปรายใน Blog เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการเรียนรู้ของผู้เรียนวิชาการหนังสือพิมพ์
                    การใช้ Blog ในการเรีย นการสอนคือการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยครูจะต้องเชื่อมโยงบทเรียน เนื้อหารายวิชา คาสอน แบบฝึกปฏิบัติต่างๆ
ทางวิชาการและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนอื่นๆ นอกจากนี้การที่นักเรียนในปัจจุบันนิยมใช้
เครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์อื่นๆ เช่น Facebook, Twiiter, Youtube เป็นต้น ครูก็ควรที่จะนาเครื่องมือที่
4

นักเรียนใช้บริการอยู่เหล่านี้ มาใช้ร่วมกับ Blog ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน เพื่อฝึกฝนให้นักเรียน
สามารถใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการศึกษา การเรียนรู้ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการนาสื่อสังคม
ออนไลน์มาใช้ในการเรียนการสอนจึงเป็นนวัตกรรมการศึกษาใหม่ที่ควรนามาพิจารณาเพื่อใช้เพิ่มประสิทธิภาพ
การเรียนการสอนทุกระดับชั้นของประเทศไทย

          รูปแบบการสอนที่เน้นการสรุปองค์ความรู้
                    บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์ (2540: 55-56) และ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2544: 9-10) กล่าวถึง
การสอนที่เน้นการสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง มี 5 ขั้นตอน สรุปได้ดังนี้
                    1. ขั้นปฐมนิเทศ ครูให้โอกาสนักเรียนสร้างจุดมุ่งหมายและแรงจูงใจในการเรียนรู้ในเนื้อหาที่
กาหนด
                    2. ขั้นทาความเข้าใจ นักเรียนปรับแนวคิดปัจจุบัน ในหัวข้อของบทเรียนให้ชัดเจนซึ่งสามารถ
ทาได้ โดยทาให้เกิดกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การอภิปรายกลุ่มเล็ก ออกแบบแผ่นโปสเตอร์ และการเขียน
รายงาน
                    3. ขั้นจัดโครงสร้างแนวคิดใหม่ เป็นหัวใจสาคัญของการสอนแบบการสรุปองค์ความรู้ ซึ่งมี
ขั้นตอนย่อยดังนี้
                              3.1 ทาแนวคิดให้กระจ่างชัดเจนและแลกเปลี่ยนกัน ผู้เรียนจะเข้าใจได้ดีขึ้น เมื่อได้
พิจารณาความแตกต่างและความขัดแย้งระหว่างความคิดของตนเองกับของคนอื่น ครูจะทาหน้าที่อานวยความ
สะดวก เช่น กาหนดประเด็น กระตุ้นให้คิด
                              3.2 สร้างแนวความคิดใหม่ จากการอภิปรายและการสาธิต ผู้เรียนจะเห็นแนวทาง
แบบวิธีการที่หลากหลายในการตีความประกฎการณ์ หรือเหตุการณ์ แล้วกาหนดความคิดใหม่หรือความรู้ใหม่
                              3.3 ประเมินแนวความคิดใหม่ โดยการทดลองหรือการคิดอย่างลึกซึ้ง ผู้เรียนควร
หาแนวทางที่ดีที่สุดในการทดสอบความคิดหรือความรู้ ในขั้นตอนนี้ผู้เรียนอาจจะรู้สึกไม่พึงพอใจความคิดความ
เข้าใจที่เคยมีอยู่ เนื่องจากหลักฐานการทดลองสนับสนุนแนวคิดใหม่มากกว่า
                    4. การนาแนวความคิดไปใช้ เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมีโอกาสใช้แนวคิดหรือความรู้ความเข้าใจที่
พัฒนาขึ้นมาใหม่สถานการณ์ต่างๆ ทั้งที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคย เป็นการแสดงว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความหมาย
                    5. การทบทวน เป็นขั้นตอนสุดท้าย ผู้เรียนจะได้ทบทวนว่า ความคิดความเข้าใจของเขาได้
เปลี่ยนไป โดยการเปรียบเทียบความคิดเมื่อเริ่มต้นบทเรียนกับความคิดของเขาเมื่อสิ้นสุดบทเรียน ความรู้ที่
ผู้เรียนสร้างด้วยตนเองนั้น จะทาให้เกิดโครงสร้างทางปัญญา ปรากฏในช่วงความจาระยะยาว เป็นการเรียนรู้
อย่างมีความหมาย ผู้เรียนสามารถจาได้ถาวร และสามารถนาไปใช้ได้ในสถานการณ์ต่างๆ

                 บุปผชาติ ทัพหิกรณ์ (2540: 5) ได้กล่าวถึงการประยุกต์การสอนตามแนวการสรุปองค์ความรู้
ทาให้มีการหาวิธีการเรียนที่ทาให้นักเรียนได้มีการกระทาเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง วิธีการเรียนแบบร่วมมือ
5

(Cooperative Learning) เป็นวิธีเรียนที่มีผู้เรียนให้ความสนใจศึกษา วิธีการเรียนแบบค้นพบ (Discovery
Learning) และการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inequity Method) ก็เป็นวิธีการตามแนวการสร้างองค์
ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับนันทิยา บุญเคลือบและคณะ (2540: 13) และ Martin (1994: 46) กล่าว
ว่า การสอนตามแนวการสรุปองค์ความรู้ ถือว่าการเรียนรู้ของนักเรียนเกิดขึ้นด้วยตนเอง การเรียนการสอนที่
เหมาะสมก็คือการให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยการสืบเสาะหาความรู้โดยผู้วิจัยใช้ขั้นตอนการสอนของนักการศึกษา
กลุ่ม BSCS (Biological Science Curriculum Study) ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้
          1. การนาเข้าสู่บทเรียน (Engagement) ขั้นนี้จะมีลักษะเป็นการแนะนาบทเรียน กิจกรรมจะประกอบ
ไปด้วยการซักถามปัญหา การทบทวนความรู้เดิม การกาหนดกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในการเรียนการสอนและ
เปูาหมายที่ต้องการ
          2. การสารวจ (Exploration) ขั้นนี้จะเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้แนวคิดที่มีอยู่แล้วมาจัดความสัมพันธ์
กับหัวข้อที่กาลังจะเรียนให้เป็นหมวดหมู่ ถ้าเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการทดลอง การสารวจ การสืบค้น รวมทั้ง
เทคนิคและความรู้ทางการปฏิบัติจะดาเนินไปด้วยตัวนักเรียนเอง โดยครูมีหน้าที่เป็นเพียงผู้แนะนาหรือผู้
เริ่มต้นในกรณีที่นักเรียนไม่สามารถหาจัดเริ่มต้นได้
          3. การอธิบาย (Explanation) ในขั้นตอนนี้เป็นขั้นที่ครูมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กเพื่อให้นักเรียนได้ค้นพบ
ความรู้ กิจกรรมหรือกระบวนการเรียนรู้จะมีการนาความรู้ที่รวบรวมมาแล้วในขั้นการสารวจมาใช้เป็นพื้นฐาน
ในการศึกษาอยู่ กิจกรรมอาจจะประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการอ่าน และนาข้อมูลมาอภิปราย
          4. การลงข้อสรุป (Elaboration) เป็นขั้นที่ให้นักเรียนได้พัฒนาความคิดในรูปของการอธิบายและใช้
ทักษะกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการสื่อสาร ความร่วมมือและการใช้เทคโนโลยี ในขั้นตอนนี้จะเน้นให้
นักเรียนได้นาความรู้หรือข้อมูลจากขั้นที่ผ่านมาแล้วมาใช้ กิจกรรมส่วนใหญ่อาจเป็นการอภิปรายภายในกลุ่ม
ของตนเอง เพื่อลงข้อสรุป เกิดเป็นมโนมติหลักขึ้น นักเรียนจะปรับมโนมติของตนเองในกรณีที่ไม่สอดคล้อง
หรือคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง
          5. การประเมินผล (Evaluation) เป็นขั้นตอนสุดท้ายจากการเรียนรู้โดยครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้
ตรวจสอบมโนมติที่ตนเองได้เรียนรู้มาแล้ว โดยการประเมินด้วยตนเองถึงมโนมติที่ระบุไว้ในขั้นที่ 4 ว่ามีความ
สอดคล้องถูกต้องมากน้อยเพียงใด

        สรุปได้ว่าการจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้เริ่มตั้งแต่ขั้นทาความเข้าใจ
หรือสารวจ ขั้นอธิบายจัดโครงสร้างความคิด ขั้นขยายความหรือการนาแนวคิดไปใช้ และขั้นประเมินผล โดยมี
การเปรียบเทียบความคิดของตนตอนเริ่มเรียน และตอนสิ้นสุดการเรียนในบทเรียนนั้น
6

                                        กรอบแนวคิดการวิจัย

           รูปแบบการจัดการเรียนรู้                             สิ่งที่จะเกิดกับผู้เรียน
                                                      1. นักเรียนสามารถสรุปความรู้หลังการ
    1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บ                 เรียนการสอนได้
    บล็อก                                             2. นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์และ
    2. การจัดการเรียนการสอนโดยให้                     อินเทอร์เน็ตในการเรียนรู้ได้
    นักเรียนสรุปองค์ความรู้                           3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียน
                                                      การสอน


6. วิธีดาเนินการวิจัย
         6.1 แบบแผนการวิจัย
         แบบแผนการวิจัย เป็นการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) ด้วย
กระบวนการวางแผน ปฏิบัติ ตรวจสอบผล และสะท้อนผลการปฏิบัติ หรือวงจร PDCA ตามวงจรปฏิบัติการ
ตามแนวคิดของ Kemmis
         6.2 ประชากรเป้าหมาย
         นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ที่เรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ จานวน 6
คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา

       6.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
                6.3.1 การสร้างแผนปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บบล็อก
                ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพและปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการเรียนการสอน
                         1. ศึกษาสภาพและปัญหาของนักเรียนในการจัดการเรียนรู้
                         2. รวบรวมปัญหาที่พบเจอทั้งหมด
                         3. เลือกปัญหาเร่งด่วนและมีความสาคัญที่จะต้องเร่งปรับปรุงแก้ไข
                ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบการเรียนรู้
                         1. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 4 แผน ๆ ละ 2 ชั่วโมง รวม 8 ชั่วโมง โดย
                แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ เท่ากับ 1 วงจรปฏิบัติตามกระบวนการ
                         2. นาแผนส่งให้ฝุายวิชาการโรงเรียน หัวหน้ากลุ่มสาระ และคณะครูผู้สอนวิชา
                คอมพิวเตอร์เป็นผู้ตรวจความเหมาะสมของเนื้อหาและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
                         3. ปรับแผนการจัดการเรียนการสอน เพราะทางวิชาการโรงเรียนเห็นว่ามีกิจกรรม
                เยอะเกินไป ซึ่งเวลาเพียง 2 ชั่วโมงต่อครั้งในการจัดการเรียนการสอนอาจจะไม่เพียงพอ และ
7

       ควรมีเวลาให้นักเรียนได้สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตบ้าง และยังมีกิจกรรมหลายอย่างที่ครู
       เป็นผู้นาในการทากิจกรรม ควรเปลี่ยนเป็นนักเรียนให้เป็นผู้นาในการทากิจกรรมบ้าง
       ขั้นตอนที่ 3 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
                1. แบบประเมินการสรุปองค์ความรู้ เป็นแบบประเมินโดยครูผู้สอนประเมินผลงาน
       นักเรียนหรือองค์ความรู้ที่นักเรียนสรุปลงในเว็บบล็อกของตนเอง โดยมีเกณฑ์ให้คะแนนแบบ
       รูบริค
                2. แบบบันทึกพฤติกรรมการทางานรายบุคคล โดยครูผู้สอนเป็นผู้บันทึกพฤติกรรม
       การทางานของนักเรียน ในด้าน ความมีวินัย ความมีน้าใจ เอื้อเฟื้อ เสียสละ การรับฟังความ
       คิดเห็น การแสดงความคิดเห็น และการตรงต่อเวลา
                3. แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม โดยครูผู้สอนเป็นผู้บันทึกพฤติกรรมการ
       ทางานกลุ่มของนักเรียน ในกรณีที่การจัดการเรียนการสอนในครั้งนั้นมีการทางานร่วมกันเป็น
       กลุ่ม โดยทาการสังเกตในประเด็น ความร่วมมือกันทากิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การ
       รับฟังความคิดเห็น การตั้งใจทางาน การแก้ปัญหาหรือปรับปรุงผลงานกลุ่ม
                4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
       เว็บบล็อกในการสรุปองค์ความรู้ เป็นแบบสอบถามที่ให้นักเรียนทาการประเมินระดับความ
       พึงพอใจในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีนี้
                5. แบบทดสอบ เป็นแบบทดสอบเรื่องการสื่อสารข้อมูล ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
       จานวน 20 ข้อ สร้างขึ้นโดยศึกษาเนื้อหา เอกสารข้อมูลเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลในระบบ
       คอมพิวเตอร์ ตามหนังสือเรียนของสานักพิมพ์พัฒนาวิชาการ และหลักสูตรสถานศึกษาของ
       โรงเรียน

6.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
        ขั้นตอนที่ 1 ปฏิบัติการวิจัย สังเกตผล และสะท้อนผลการปฏิบัติ
        นาแผนปฏิบัติการทั้ง 4 แผน ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และคอมพิวเตอร์ เวลา 8 ชั่วโมง โดยใช้วงจรการวิจัยปฏิบัติการ PDCA ในทุกแผนการจัดการเรียนรู้
        ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลการปฏิบัติ
        ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวมรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลการปฏิบัติดังนี้
        1. ประเมินการสรุปองค์ความรู้ของนักเรียนหลังการเรียนการสอน โดยใช้แบบประเมินการ
สรุปองค์ความรู้
        2. สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคลและการทางานกลุ่ม โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม
        3. ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บบล็อก
        ขั้นตอนที่ 3 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
8

       ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติพรรณนา คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้จากแบบ
ประเมินความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคลและการ
ทางานกลุ่ม และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้เว็บบล็อก
9

7. รายงานผลการวิจัยในแต่ละวงจร

  การดาเนินการ                                                    เครื่องมือ/วิธีการเก็บ                                               แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
                               กิจกรรมการเรียนรู้                                                        ผลการประเมิน
   เพื่อแก้ปัญหา                                                          ข้อมูล                                                                    ในวงจรต่อไป
วงจรที่ 1 วิเคราะห์   1. นักเรียนทุกคนทาแบบทดสอบ                1. แบบทดสอบก่อน            1. ผลการทดสอบก่อนเรียน พบว่านักเรียนทุก 1. จัดหาสื่อหรือวิธีการสอนที่
ปัญหา พื้น            ก่อนเรียน                                 เรียน                      คนมีความรู้พื้นฐานเรื่องการสื่อสารข้อมูลที่ ช่วยให้นักเรียนสามารถจดจา
ฐานความรู้ด้าน        2. ครูจัดการเรียนการสอนวิชา               2. แบบประเมินการสรุป       ใกล้เคียงกัน โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนน         และเข้าใจเนื้อหาบทเรียนได้ดี
คอมพิวเตอร์ และ       เทคโนโลยีสารสนเทศและ                      องค์ความรู้                แบบทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 11.38 จาก          ยิ่งขึ้น ซึ่งสื่อหรือวิธีการสอน
ความสามารถสรุป        คอมพิวเตอร์ เรื่องการสื่อสารข้อมูล        3. การสังเกตพฤติกรรม       คะแนนเต็ม 20 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงเบน ควรเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับ
ความรู้ของนักเรียน    ด้วยการอธิบาย สอบถาม และ                  การทางานรายบุคคล           มาตรฐานเท่ากับ 2.04                         นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
เป็นรายบุคคล          ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดกระบวนการ                                     2. เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการเรียนการสอน       ตอนปลาย ทาให้นักเรียนสนใจ
                      คิด จากนั้นให้นักเรียนศึกษาใบ                                        พบว่านักเรียนบางส่วนไม่สนใจทาใบงาน          ที่จะเรียนรู้ และไม่น่าเบื่อ
                      ความรู้ และแหล่งเรียนรู้ทาง                                          ตามที่ได้รับมอบหมาย แต่สนใจอยู่กับ          สาหรับการจัดการเรียนการ
                      อินเทอร์เน็ต แล้วจึงให้นักเรียนทาใบ                                  คอมพิวเตอร์ที่อยู่ตรงหน้า                   สอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์
                      งาน โดยในการทาใบงาน ไม่อนุญาต                                        3. จากการที่ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จาก
                      ให้นักเรียนเปิดหนังสือหรือค้นหา                                      การเรียนในครั้งนี้ลงในกระดาษที่แจกให้ และ
                      ข้อมูลใดๆ ทั้งสิ้น                                                   นาผลงานของนักเรียนมาทาการให้คะแนน
                      3. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้ในเรื่องที่                              ความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ ผล
                      ได้เรียนและได้ศึกษาจากเอกสารใบ                                       ปรากฏว่ามีนักเรียนจานวน 6 คน ซึ่งเป็น
                      ความรู้และแหล่งเรียนรู้อื่นลงใน                                      นักเรียนชาย 4 คน และนักเรียนหญิง 2 คน มี
                      กระดาษที่ครูแจกให้                                                   ระดับความสามารถในการสรุปองค์ความรู้อยู่
                                                                                           ในระดับปรับปรุง นั่นคือนักเรียนยังไม่สามารถ
                                                                                           สรุปประเด็นสาคัญของการเรียนในครั้งนี้ และ
                                                                                           ไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของประเด็น
10

 การดาเนินการ                                                เครื่องมือ/วิธีการเก็บ                                                  แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
                             กิจกรรมการเรียนรู้                                                     ผลการประเมิน
 เพื่อแก้ปัญหา                                                       ข้อมูล                                                               ในวงจรต่อไป
                                                                                      ต่างๆ ได้

จากการดาเนินการในวงจรที่ 1 สรุปได้ว่า
        กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูในรายวิชาคอมพิวเตอร์ยังขาดการนาสื่อหรือวิธีการสอนที่หลากหลายเข้ามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน การสอน เพื่อ
กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝุเรียนรู้มากขึ้น โดยปัญหาที่พบคือนักเรียนไม่สามารถสรุปความรู้จากการเรียนในแต่ละครั้งได้ รวมทั้งไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์
ระหว่างประเด็นต่างๆ ได้ ซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากนักเรียนให้ความสนใจกับคอมพิวเตอร์ตรงหน้านักเรียนและวิธีการสอนของครูไม่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ของนักเรียน
        ทั้งนี้การดาเนินการในครั้งต่อไป ผู้วิจัยจึงต้องปรับเปลี่ยนวิธีการสอนและการใช้สื่อประกอบในการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น และเนื่องจากรายวิชานี้เป็นรายวิชา
คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นรายวิชาที่นักเรียนมักจะให้ความสนใจกับคอมพิวเตอร์ ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะให้นักเรียนได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนของตนเอง
โดยในการวงจรการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป ครูจะให้นักเรียนสร้างเว็บบล็อกเป็นของตนเองทุกคน และจะให้เว็บบล็อกนี้เป็นเครื่องมื อสาหรับให้นักเรียนทุกคนได้
สรุปองค์ความรู้และพัฒนา ตกแต่งเว็บบล็อกของตนเองให้เกิดความสวยงาม และมีองค์ความรู้ที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ผู้วิจัยจะทาการสังเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลของนักเรียนที่
ได้ผลการประเมินการสร้างองค์ความรู้ที่อยู่ในระดับปรับปรุงเท่านั้น โดยไม่ให้กลุ่มเปูาหมายรู้ตัวว่ากาลังถูกจัดกระทาอยู่

   การดาเนินการ                                              เครื่องมือ/วิธีการเก็บ                                                    แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
                              กิจกรรมการเรียนรู้                                                    ผลการประเมิน
   เพื่อแก้ปัญหา                                                     ข้อมูล                                                                    ในวงจรต่อไป
วงจรที่ 2 ครูจัดทา   1. ครูชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงการ      1. แบบประเมินการ          1. นักเรียนทุกคนมีคะแนนการสรุปองค์              1. การที่นักเรียนยังขาดทักษะ
แผนการจัดการ         เรียนการสอนตั้งแต่ครั้งนี้เป็นต้นไป จะ สรุปองค์ความรู้           ความรู้เพิ่มขึ้น แต่ยังไม่นักเรียนบางคนที่ยังมี ในการเชื่อมโยงประเด็นองค์
เรียนรู้โดยใช้เว็บ   มีการใช้เว็บบล็อกเข้ามาเป็นเครื่องมือ 2. สังเกตพฤติกรรม          ข้อบกพร่องในการสรุปองค์ความรู้ เช่น             ความรู้ต่างๆ นั้น ในการจัดการ
บล็อก และจัดการ      และการสรุปความรู้ของนักเรียน           การทางานรายบุคคล          อธิบายไม่ชัดเจน ไม่ครอบคลุมทุกประเด็น ไม่ เรียนการสอนครั้งต่อไปอาจจะ
เรียนการสอนโดย       2. ครูแจ้งข้อบกพร่องในการสรุปองค์ 3. แบบสังเกต                   มีการยกตัวอย่างเพื่อประกอบการอธิบาย และ ใช้เทคนิค mind mapping มา
ใช้เว็บบล็อกเป็น     ความรู้ของเนื้อหาในชั่วโมงเรียนก่อน พฤติกรรมการทางาน             ไม่มีการอธิบายเชิงสังเคราะห์ ซึ่งส่วนใหญ่จะ ใช้ร่วมกับการสรุปองค์ความรู้ลง
11

  การดาเนินการ                                           เครื่องมือ/วิธีการเก็บ                                                     แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
                               กิจกรรมการเรียนรู้                                                ผลการประเมิน
   เพื่อแก้ปัญหา                                                 ข้อมูล                                                                      ในวงจรต่อไป
เครื่องมือสาหรับให้ หน้าให้นักเรียนทราบ พร้อมทั้งบอก กลุ่ม                        เป็นการจาแล้วนามาเขียนอธิบาย ทาให้ไม่มี          ในเว็บบล็อกด้วย เพื่อให้
นักเรียนได้สรุป     วิธีการปรับปรุงแก้ไขและการพัฒนาให้                            การเชื่อมโยงเนื้อหาหรือประเด็นสาคัญต่างๆ         นักเรียนได้รับทั้งองค์ความรู้
ความรู้             สามารถสรุปองค์ความรู้ได้ดียิ่งขึ้น                            2. สาหรับนักเรียนจานวน 6 ที่เป็น                 และสามารถเชื่อมโยงองค์
                    3. ครูจัดการเรียนการสอนเป็น                                   กลุ่มเปูาหมายในการพัฒนา มีคะแนนเพิ่ม             ความรู้นั้นได้
                    กระบวนการกลุ่มให้นักเรียนทุกคนได้                             สูงขึ้น แต่ยังไม่นักเรียนชายจานวน 2 คน ที่ยัง    2. กรณีที่นักเรียนคัดลอก
                    ร่วมกันศึกษาเรียนรู้ โดยจัดการเรียน                           มีคะแนนอยู่ในระดับปรับปรุง ซึ่งสาเหตุมา          เนื้อหาความรู้จากอินเทอร์เน็ต
                    การสอนโดยใช้เทคนิคจิ๊กซอร์ ซึ่ง                               จากการที่นักเรียนสรุปองค์ความรู้โดยการลอก        หนังสือเรียน หรือใบความรู้ที่
                    ในขณะนี้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล                            มาจากอินเทอร์เน็ต หนังสือ หรือใบความรู้          แจกไปนั้น สามารถแก้ปัญหาได้
                    จากอินเทอร์เน็ต หนังสือเรียน หรือใบ                           โดยไม่มีการสรุปเป็นคาพูดของตนเอง ไม่มี           โดยในขณะที่นักเรียนสรุปองค์
                    ความรู้ได้                                                    การวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ว่ามีประเด็นใดที่       ความรู้ ไม่อนุญาตให้นักเรียนใช้
                    4. ครูนาสื่อวีดีโอมาประกอบการ                                 สาคัญบ้าง และไม่มีความคิดสร้างสรรค์              งานอินเทอร์เน็ตหรือเปิด
                    จัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียน                            แตกต่างจากเพื่อน                                 หนังสือเรียน แต่หากนักเรียนมี
                    ได้เห็นภาพระบบการทางานของระบบ                                 3. มีนักเรียนบางคนที่มักจะแอบใช้งาน              ข้อสงสัยสามารถปรึกษาครูหรือ
                    เครือข่ายและรูปแบบเครือข่ายแบบ                                อินเทอร์เน็ตอย่างไม่เหมาะสม เช่น เล่นเกม         เพื่อนได้
                    ต่างๆ ได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น                                  หรือเปิดเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม เช่น               3. กรณีที่นักเรียนแอบใช้งาน
                    5. เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาจบ                          facebook ซึ่งในกรณีนี้ได้ทาโทษนักเรียนโดย        อินเทอร์เน็ตหรือใช้งานเว็บไซต์
                    ครบถ้วนแล้วครูจึงมอบหมายงานให้                                การให้นักเรียนคนนั้นปิดเครื่องคอมพิวเตอร์        ที่ไม่อนุญาต ในส่วนนี้จะทาการ
                    นักเรียนทุกคนสรุปองค์ความรู้ในเรื่อง                          และนั่งอยู่ที่โต๊ะของตนเอง โดยไม่ทากิจกรรม       ลงโทษนักเรียน โดยให้นักเรียน
                    ที่ได้เรียน (เรื่องรูปแบบของระบบ                              ใดๆ ทั้งสิ้นตลาดชั่วโมงเรียน เพื่อเป็นตัวอย่าง   งดใช้งานคอมพิวเตอร์และทา
                    เครือข่ายคอมพิวเตอร์) ลงในเว็บบล็อก                           แก่นักเรียนคนอื่นๆ ไม่ให้ทาผิดระเบียบในการ       กิจกรรมต่างๆ ในห้องเรียน
                    พร้อมกับตกแต่งเว็บบล็อกของตนเอง                               เรียนอีก                                         ตลอดชั่วโมงเรียน หรืออาจจะ
                    ให้สวยงาม (ครูได้สอนการใช้งานเว็บ                             4. ปัญหาอีกประการหนึ่งก็คือด้านการใช้งาน         หักคะแนนพฤติกรรมของ
12

 การดาเนินการ                                                 เครื่องมือ/วิธีการเก็บ                                                   แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
                              กิจกรรมการเรียนรู้                                                     ผลการประเมิน
 เพื่อแก้ปัญหา                                                        ข้อมูล                                                                   ในวงจรต่อไป
                     บล็อกก่อนเริ่มวงจรที่ 2 แล้ว)                                     เว็บบล็อก ซึ่งมีนักเรียนจานวนหนึ่งยังขาด       นักเรียน
                                                                                       ทักษะในการใช้งานเว็บบล็อก ซึ่งอาจ              4. ให้นักเรียนได้มีโอกาสมาใช้
                                                                                       เนื่องมาจากการสอนวิธีการใช้งานเว็บบล็อก        ห้องคอมพิวเตอร์ในการทางาน
                                                                                       ในตอนต้นยังไม่ครอบคลุมหรือยังไม่ชัดเจน         การตกแต่งเว็บบล็อก การใช้
                                                                                       นักเรียนจึงยังไม่เข้าใจ                        งานเว็บบล็อกในช่วงเย็นหลัง
                                                                                                                                      เลิกเรียน เพื่อเป็นการพัฒนา
                                                                                                                                      ความสามารถในการใช้งานเว็บ
                                                                                                                                      บล็อกของนักเรียน

จากผลการดาเนินงานในวงจรที่ 2 สรุปได้ว่า
          นักเรียนกลุ่มเปูาหมายมีทักษะและความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ได้มากขึ้น แต่ยังมีบางคน (2 คน) ที่ยังไม่คะแนนความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ใน
ระดับปรับปรุง ซึ่งสาเหตุมาจากการที่นักเรียนสรุปองค์ความรู้โดยการลอกมาจากอินเทอร์เน็ต หนังสือ หรือใบความรู้ โดยไม่มีการสรุปเป็ นคาพูดของตนเอง ไม่มีการ
วิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ว่ามีประเด็นใดที่สาคัญบ้าง และไม่มีความคิดสร้างสรรค์แตกต่างจากเพื่อน
          นอกจากนี้ยังประสบปัญหาในการที่นักเรียนคัดลอกเนื้อหาบทความจากเว็บไซต์ หนังสือเรียน หรือใบความรู้ที่ครูแจกให้ไป ซึ่งครูควรมีมาตรการหรือวิธีการในการ
ปูองกันการคัดลอกเนื้อหา เช่น บอกถึงคุณธรรม จริยธรรมในการคัดลอกเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ต บอกถึงโทษทางกฎหมายในการคัดลอกเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ตโดยไม่ได้รับ
อนุญาต นอกจากนี้ครูยังสามารถปูองกันการลอกเนื้อหาจากอินเทอร์เน็ตได้โดยการห้ามให้นักเรียนเข้าใจงานอินเทอร์เน็ตขณะทาการสรุปองค์ความรู้ ซึ่งหาทาผิดกฏอาจจะ
ถูกหักคะแนนหรือโดนทาโทษ
          เมื่อครูถามคาถามนักเรียนในประเด็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์หรือความเชื่อมโยงกันหรือความเป็นเหตุเป็นผล เช่น โทรศัพท์ของนักเรียนใช้สัญญาณชนิดใดในการ
ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เป็นต้น นักเรียนไม่สามารถตอบได้เนื่องจากนักเรียนได้เรียนรู้แต่เนื้อหา แต่ไม่ได้เรียนรู้ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันระหว่างเนื้อหาหรือประเด็นต่างๆ
13

ซึ่งครูจะต้องหาวิธีการจัดการเรียนการสอนเพื่อแก้ปัญหาต่อไป ซึ่งในที่นี้จะลอกใช้วิธีการวาดแผนภาพ mind mapping เพื่อให้นักเรียนได้สรุปองค์ความรู้และแสดงถึง
ความเชื่อมโยงของประเด็นองค์ความรู้ต่างๆ


   การดาเนินการ                                               เครื่องมือ/วิธีการเก็บ                                                  แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
                                กิจกรรมการเรียนรู้                                                   ผลการประเมิน
    เพื่อแก้ปัญหา                                                     ข้อมูล                                                                   ในวงจรต่อไป
วงจรที่ 3 ศึกษา        1. ครูสรุปหลักการใช้งานเว็บบล็อกใน 1. แบบประเมินการ             1. นักเรียนทุกคนมีคะแนนการสรุปองค์            1. จัดกิจกรรมให้พอดีกับการ
และพัฒนานักเรียน       การสรุปความรู้ เมนูสาคัญๆ ต่างๆ ที่ สรุปองค์ความรู้             ความรู้เพิ่มขึ้น และนักเรียนกลุ่มเปูาหมายทั้ง เรียนการสอนในชั่วโมงเรียน ไม่
ที่ยังไม่สามารถ        จาเป็นต่อการใช้งานเบื้องต้น ให้       2. สังเกตพฤติกรรม         6 คน มีคะแนนสูงขึ้นเช่นกัน โดยมีนักเรียน ควรมีกิจกรรมที่มากจนเกินไป
สรุปองค์ความรู้        นักเรียนทุกคนเข้าใจและสามารถ          การทางานรายบุคคล          จานวน 2 คน ได้คะแนนในระดับดีมาก               เพราะจะทาให้เวลาในการเรียน
หลังเรียนได้ยังไม่ดี   ปฏิบัติได้ทุกคน                       3. แบบสังเกต              จานวน 3 คน ได้คะแนนในระดับดี และ              สอนไม่เพียงพอ
เท่าที่ควร             2. ครูสะท้อนผลการประเมินการสรุป พฤติกรรมการทางาน                จานวน 1 คน ได้คะแนนในระดับพอใช้               2. กาหนดให้นักเรียนแต่ละคน
                       องค์ความรู้ของนักเรียนในการเรียน      กลุ่ม                     2. นักเรียนทุกคนให้ความร่วมมือในการเรียน เข้าไปแสดงความคิดเห็น ติชม
                       ชั่วโมงที่ผ่านมาให้นักเรียนทุกคนทราบ                            เป็นอย่างดี และตั้งใจในการสร้าง mind          เสนอแนะผลงานของเพื่อนใน
                       ถึงจุดเด่น และจุดที่ต้องปรับปรุงแก้ไข                           mapping ของตนเองให้สวยงามมากที่สุด            เว็บบล็อกที่ได้จัดทาไว้ เพื่อ
                       ของนักเรียนแต่ละคน เพื่อนาไปพัฒนา                               เพื่อนาเสนอในเว็บบล็อกของตนเอง                ก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
                       ปรับปรุงในการสรุปความรู้ครั้งต่อไป                              3. ในการเรียนครั้งนี้ประสบปัญหาในด้านของ และได้เห็นมุมมองความคิดของ
                       3. ครูจัดการเรียนการสอนโดยให้                                   เวลาเรียนไม่เพียงพอ เนื่องจากนักเรียนต้อง คนเพื่อนคนอื่น
                       นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้                            ทากิจกรรมสร้าง mind mapping ด้วย
                       เช่น ครูมอบหมายให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม                             power point ทาให้ต้องใช้เวลามาก ไม่ทาไม่
                       และศึกษาในประเด็นของสื่อกลางที่ใช้                              เสร็จในชั่วโมงเรียน ครูจึงเปิดโอกาสให้
                       ในการส่งข้อมูล จากนั้นให้แต่ละกลุ่ม                             นักเรียนได้ใช้เวลาในช่วงเย็นหลังเลิกเรียนใน
                       ออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมทั้ง                              การใช้งานห้องคอมพิวเตอร์ในการทางานชิ้น
                       ตอบคาถามต่างๆ ที่เพื่อนและครูถาม                                นี้
14

 การดาเนินการ                                              เครื่องมือ/วิธีการเก็บ                                                 แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
                           กิจกรรมการเรียนรู้                                                     ผลการประเมิน
 เพื่อแก้ปัญหา                                                     ข้อมูล                                                              ในวงจรต่อไป
                  หากตอบคาถามไม่ได้ให้หาคาตอบ ณ                                     4. เว็บบล็อกของนักเรียนแต่ละคนมีเพียงครูที่
                  เวลานั้นทันที จากนั้นครูเป็นผู้อธิบาย                             เข้าไปตรวจและแสดงความคิดเห็น ยังไม่เกิด
                  ความรู้เพิ่มเติมให้นักเรียนทุกคนเข้าใจ                            การเรียนรู้ร่วมกันหรือการมีส่วนร่วมในการ
                  เกี่ยวกับสื่อกลางในการสื่อสารแต่ละ                                แสดงความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
                  ประเภท                                                            เท่าที่ควร
                  4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสืบค้น
                  ข้อมูล ความรู้จากอินเทอร์เน็ต หนังสือ
                  เรียน และใบความรู้ แล้วทาการสรุป
                  องค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนในครั้งนี้
                  เป็น mind mapping โดยใช้โปรแกรม
                  power point ในการออกแบบ โดยมี
                  ข้อกาหนดว่า เมื่อนักเรียนออกแบบ
                  mind map ด้วย power point เสร็จ
                  เรียบร้อยแล้วให้นักเรียนทาการบันทึก
                  เป็นไฟล์รูปภาพและนาเสนอในเว็บ
                  บล็อกของตนเองพร้อมเขียนคาอธิบาย
                  mind map ของตนเอง ลงไปในเว็บ
                  บล็อกนั้นด้วย


จากผลการดาเนินงานในวงจรที่ 3 สรุปได้ว่า
15

         นักเรียนทุกคนมีพัฒนาการและความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ได้ดียิ่งขึ้น มีความสุขกับการเรียนมากขึ้น และนักเรียนกลุ่มเปูาหมายที่ต้องการพัฒนาก็มีทักษะ
และความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ได้เพิ่มขึ้นและผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดเช่นกัน แต่ยังมีข้อบกพร่องที่ควรพัฒนาต่อไปคือการให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดง
ความคิดเห็น ติชม เสนอแนะ ผลงานของเพื่อน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันและเกิดมุมมองที่หลากหลาย นอกจากนี้ในส่วนของเวลาในการจัด กิจกรรมการเรียน ควร
กาหนดให้พอดี ไม่มากหรือน้อยเกินไปเพราะจะทาให้นักเรียนไม่สามารถสร้างชิ้นงานที่มีคุณภาพตามศักยภาพของตนเองได้
   การดาเนินการ                                              เครื่องมือ/วิธีการเก็บ                                               แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
                                กิจกรรมการเรียนรู้                                                 ผลการประเมิน
   เพื่อแก้ปัญหา                                                     ข้อมูล                                                            ในวงจรต่อไป
วงจรที่ 4 สรุปผล 1. ครูสะท้อนผลความสามารถในการ 1. แบบประเมินการ                     1. นักเรียนทุกคนมีคะแนนความสามารถใน                      -
การนาเว็บบล็อก สรุปองค์ความรู้ของนักเรียน และ               สรุปองค์ความรู้         การสรุปองค์ความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด และ
มาใช้ในการจัดการ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาของแต่ละคน 2. สังเกตพฤติกรรม                 นักเรียนกลุ่มเปูาหมายทั้ง 6 คน มีคะแนน
เรียนการสอน          นอกจากนี้ก็เสนอแนะและกาหนดให้ การทางานรายบุคคล ความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ในระดับดี
                     นักเรียนทุกคนได้เข้าไปติดชม            3. แบบสังเกต            มากจานวน 4 คน และระดับดีจานวน 2 คน
                     เสนอแนะองค์ความรู้ หรือผลงานของ พฤติกรรมการทางาน 2. ผลการทดสอบหลังเรียนปรากฏว่านักเรียน
                     เพื่อนที่ได้จัดทาไว้ในเว็บบล็อกร่วมกัน กลุ่ม                   มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และมีค่าเฉลี่ย
                     โดยนักเรียนจะต้องเข้าไปแสดงความ 4. แบบทดสอบหลัง                เท่ากับ 15.69 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน
                     คิดเห็น ติชม เสนอแนะให้กับเพื่อนคน เรียน                       มาตรฐานเท่ากับ 1.56
                     อื่นในห้องอย่างน้อย 5 คน               5. แบบสอบถามความ 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้
                     2. ครูจัดการเรียนการสอนโดยให้          พึงพอใจของนักเรียน เว็บบล็อกประกอบการสรุปองค์ความรู้อยู่ใน
                     นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมเช่นเดิม คือ ต่อการเรียนโดยใช้เว็บ ระดับมาก (คิดจากความถี่มากที่สุด)
                     ใช้กระบวนการกลุ่ม ให้นักเรียนทุกคน บล็อกประกอบการ
                     ได้ศึกษาเรียนรู้เรื่องระบบบัส โดย      สรุปความรู้
                     แบ่งเป็นสามกลุ่ม แต่ละกลุ่มศึกษา
                     เนื้อหาในประเด็นของ address bus,
                     control bus และ data bus ใน
                     ระบบคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งออกมา
16

 การดาเนินการ                                                 เครื่องมือ/วิธีการเก็บ                                                  แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข
                              กิจกรรมการเรียนรู้                                                     ผลการประเมิน
 เพื่อแก้ปัญหา                                                        ข้อมูล                                                               ในวงจรต่อไป
                     นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยการนาเสนอ
                     ครูจะเป็นผู้สุ่มผู้นาเสนอหน้าชั้นเรียน
                     เอง
                     3. นักเรียนทุกคนร่วมกันสรุปลักษณะ
                     ของบัส การทางาน และหน้าที่สาคัญ
                     ของบัสประเภทต่างๆ
                     4. นักเรียนสรุปองค์ความรู้ลงในเว็บ
                     บล็อกของตนเอง โดยในครั้งนี้ให้
                     นักเรียนหาสื่อวีดีโอประกอบการ
                     อธิบายจากเว็บไซต์ Youtube

ผลจากการดาเนินงานในวงจรที่ 4 สรุปได้ว่า
            จากการนาเว็บบล็อกมาใช้ร่วมกับการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อพัฒนา
ทักษะการสรุปองค์ความรู้และการเชื่อมโยงองค์ความรู้ของนักเรียน ผลปรากฏว่านักเรียนมีทักษะและความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ได้ดียิ่งขึ้น และอยู่ในเกณฑ์ที่ดี
นักเรียนมีความสุขกับการเรียนมากขึ้น เนื่องจากรายวิชานี้เป็นวิชาที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทฤษฎีของคอมพิวเตอร์ การให้นักเรียนได้มีโอกาสได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยจึงเป็น
สิ่งที่ดี เพราะทาให้นักเรียนไม่เบื่อหน่ายกับการเรียนในชั้นเรียน อีกทั้งเว็บบล็อกยังเป็นสื่อออนไลน์ที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ทางสัง คมออนไลน์ ก่อให้เกิดการมีปฏิสัมพันธ์
ระหว่างกัน นักเรียนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นหรือสอบถามครูหรือเพื่อนมากขึ้น แต่ปัญหาที่พบและต้อ งแก้ไขอยู่เสมอคือการใช้อินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์ไม่ทางที่ไม่
เหมาะสมของนักเรียน ซึ่งมักจะเข้าใช้งานเว็บไซต์ที่ไม่ได้รับอนุญาต ทั้งนี้ครูต้องเป็นผู้ควบคุมดูแล และวางกฎระเบียบในการเรียนให้ ชัดเจน และหากนักเรียนคนใดทาผิดก็
อาจจะต้องถูกทาโทษหรือตักเตือนเพื่อเป็นตัวอย่างแก่นักเรียนคนอื่นไม่ให้ทาผิดในครั้งต่อไป
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥everadaq
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์koorimkhong
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)Chamada Rinzine
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 

What's hot (20)

ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 

Viewers also liked

ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมNattapon
 
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ Cupid Eros
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุNattapon
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์Nattapon
 
WTF - Why the Future Is Up to Us - pptx version
WTF - Why the Future Is Up to Us - pptx versionWTF - Why the Future Is Up to Us - pptx version
WTF - Why the Future Is Up to Us - pptx versionTim O'Reilly
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShareSlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Viewers also liked (9)

ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
WTF - Why the Future Is Up to Us - pptx version
WTF - Why the Future Is Up to Us - pptx versionWTF - Why the Future Is Up to Us - pptx version
WTF - Why the Future Is Up to Us - pptx version
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก

บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานAtima Teraksee
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8teannantika
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4bbeammaebb
 
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียน
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียนคำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียน
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียนเขมิกา กุลาศรี
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4Frong Like
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทNamphon Srikham
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 

Similar to รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
K4
K4K4
K4
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียน
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียนคำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียน
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียน
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Pp social
Pp socialPp social
Pp social
 
World class
World classWorld class
World class
 

More from Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 

More from Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 

รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก

  • 1. รายงานการวิจัยปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรูโดยใช้เว็บบล็อก ้ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ผู้วิจัย นายณัฐพล บัวอุไร ตาแหน่งครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4
  • 2.
  • 3. 1 รายงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ 1. ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา 2. ความเป็นมาและความสาคัญ ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษามากขึ้น นั่นก็คือ การนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ ในการเรียนการสอนอย่างกว้างขวาง เนื่องจากอินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีที่มีศักยภาพในการทางานสูง มีการ เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ทั่วโลกเข้าด้วยกัน เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องหรือทุกเครือข่ายสามารถ ติดต่อถึงกันได้ ส่งผลให้ผู้เรียนหรือผู้ใช้สามารถรับส่งข่าวสารข้อมูลรูปแบบต่างๆ ถึงกันได้ด้วยความสะดวกและ รวดเร็ว ซึ่งอินเทอร์เน็ตมีรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย ดังนั้นนักการศึกษาจึงพยายามหารูปแบบมาใช้อย่าง เต็มที่เพื่อสนั บ สนุ นการนเรีย นการสอน นั่ นคือ การเรียนการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Web-Based Instruction) เป็นการนาเสนอโปรแกรมบทเรียนผ่านเว็บเพจ โดยนาเสนอผ่านเวิลด์ ไวด์ เว็บ เช่น เว็บบล็อก เป็นต้น “เว็บบล็อก” (Weblog) หรือเรี ยกสั้นๆ ว่า “บล็อก” หมายถึงเว็บไซต์ที่ใช้สาหรับเขียนบันทึก (Journal) และแสดงผลการบันทึกโดยการเรียงลาดับจากปัจจุบันไปหาอดีต โดยทั่วไปบล็อกจะประกอบด้วย ตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ง (Images) ส่วนเชื่อมโยง (Links) ไปหาบล็อกหรือเว็บไซต์อื่นๆ ส่วนที่สาคัญของ บล็อก คือ ความสามารถในการให้ผู้ อ่านแสดงความคิดเห็นแบบปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ผู้เรียนสามารถใช้ บล็อกในการเรียนและการจัดการเรียนรู้ได้ตามประเด็นดังต่อไปนี้ เช่น ใช้บล็อกในการสะท้อนความคิดเห็นใน เรื่องที่ผู้เรียนได้รับประสบการณ์หรือเรียนมา แบ่งปันสิ่งที่เรียนมากับเพื่อน สามารถใช้บล็อกในการถ่ายทอด ความรู้ความเข้าใจของตนเองจากการที่ได้เรียนมาในชั้นเรียนหรือจากการไปศึกษา ค้นคว้าและสืบค้นข้อมูล ด้วยตนเอง นามาเขียน เรียบเรียง สรุป และเชื่อมโยงเนื้อหาหรือข้อมูลเหล่านั้นแล้วนาไปไว้ในบล็อกของวิชาที่ ได้เรี ย นเพื่อให้ เพื่อนๆ ได้เข้าไปอ่าน ส่ งหรือทบทวนงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้ ส อนและใช้บล็ อกระดม ความคิดในการทางานกลุ่ม เนื่องจากบล็อกมีคุณสมบัติปฏิสัมพันธ์ ทาให้ใช้บล็อกเป็นเครื่องมือในการทางาน กลุ่มได้ ผู้เรียนซึ่งเป็นผู้อ่านและผู้ใช้ร่วมแสดงความคิดเห็นผ่านบล็อกได้เหมือนนั่งรวมกลุ่มกับเพื่อนๆ แล้ว ระดมความคิดเห็นกัน หรืออาจจะเป็นการทางานกลุ่มแบบเสนอความคิดเห็นไว้ในบล็อก และให้สมาชิกในกลุ่ม มาร่วมแสดงความคิดเห็นตามเวลาที่สะดวก และอยู่ในระยะเวลาที่กาหนด เป็นต้น จากสภาพและปัญหาในการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน จะมีนักเรียนจานวนหนึ่งที่เมื่อเรียนแล้ว ไม่สามารถสรุปองค์ความรู้ หรือใจความสาคัญของเนื้อหานั้นๆ ได้ ซึ่งอาจจะด้วยสาเหตุหลายประการ เช่น เป็นการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ ที่นักเรียนได้เรียนอยู่ตรงหน้าคอมพิวเตอร์ของตนเอง ทาให้นักเรียนให้ความ สนใจกับคอมพิวเตอร์มากกว่าเนื้อหาที่ครูจัดการเรียนการสอน อีกทั้งด้วยเนื้อหาวิช าที่ทาการเรียนการสอน เป็ น รายวิ ช าคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ ป็ น ทฤษฎี แ ละเนื้ อ หาเป็น ส่ ว นใหญ่ และไม่ มี ก ารปฏิ บั ติ ก ารหรื อ การใช้ ง าน
  • 4. 2 คอมพิวเตอร์ ทาให้นักเรียนไม่เกิดความสนใจใฝุเรียนรู้ และอีกประการหนึ่งก็อาจจะมีสาเหตุมาจากวิธีการ จัดการเรียนการสอนของครูที่ไม่กระตุ้นส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝุเรียนรู้และนักเรียนขาดแรงจูงใจที่ จะเรียน เป็นต้น ซึ่งจากปัญหาในการจัดการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ และประโยชน์ของการใช้เว็บบล็อกในการ จัดการเรียนการสอนที่ได้กล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะนาเว็บบล็อกมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝุเรียนรู้ และสามารถสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนในห้องเรียนได้ โดยการบัน ทึกลงในเว็บ บล็ อกของตนเอง ทาให้ นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างนักเรียนกับนักเรียนและ นักเรียนกับครู เกิดการเรียนรู้และเปลี่ยนข้อมูลร่วมกัน อีกทั้ งยังเป็นการแก้ปัญหานักเรียนที่ให้ความสนใจกับ คอมพิวเตอร์มากเกินไป โดยให้นักเรียนได้ใช้คอมพิวเตอร์ในการบันทึกความรู้ลงในเว็บบล็อกหลังการเรียนการ สอน 3. คาถามและวัตถุประสงค์ของการวิจัย 3.1 คาถามการวิจัย 1. การจัดการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนลงในบล็อกทาให้ นักเรียนมีความสามารถในการสรุปองค์ความรู้มากขึ้นหรือไม่ อย่างไร 2. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้บล็อกทาให้นักเรียนกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น หรือไม่ อย่างไร 3. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้บล็อกทาให้นักเรียนเห็นความสาคัญของการสรุปองค์ ความรู้ลงในอินเทอร์เน็ตหรือไม่ อย่างไร 4. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้บล็อกทาให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน และระหว่าง ครูผู้สอนมากขึ้นหรือไม่ อย่างไร 3.2 วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถสรุปองค์ความรู้หลังการเรียนในแต่ละชั่วโมง 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการ สอน 3. เพื่ อ ศึ ก ษาวิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนของครู ที่ เ หมาะสมต่ อ การเรี ย นการสอนวิ ช า คอมพิวเตอร์ 4. ขอบเขตของการวิจัย รูปแบบการวิจัยเป็นรูปแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ของนักเรียน ให้ นักเรียนสามารถสรุปองค์ความรู้และมีทักษะในการสรุปองค์ความรู้มากยิ่งขึ้น โดยใช้กระบวนการจัดการเรียน การสอนโดยใช้เว็บบล็อกเป็นเครื่องมือหลักในการให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ ในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 5. 3 และคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา โดยมีตัวแปรที่ ต้องการศึกษาคือ ตัวแปรปฏิบัติการ : รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บบล็อก ตัวแปรตาม : ความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้เว็บบล็อก พฤติกรรมของนักเรียนในการเรียนการสอนในชั้นเรียน 5. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บบล็อก จากการรวบรวมข้อมูลของงานวิจัยทางการศึกษาพบว่า ผู้สอนในสหรัฐอเมริกานิยมนา Blog มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียนระดับมัธยมกันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะการ เสนองานเขียนใน Blog เนื่องจาก Blog มีคุณสมบัติปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ที่ผู้อ่านสามารถให้ข้อคิดเห็นใน งานนั้นได้ ดังนั้นเมื่อผู้เรียนเขียนเสร็จ ส่งงานเขียนของตนไว้ใน Blog จึงเท่ากับเป็นการเชิญชวนให้ผู้อ่านร่วม วิจารณ์แสดงความคิดเห็นงานเขียนของผู้เรียน สาหรับผู้เรียนที่เริ่มเขียนการเสนอผลงานเขียนใน Blog เท่ากับ เป็นการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของตนเอง อีกทั้งผู้เรียนอาจได้รับประโยชน์สูงสุดจากผู้อ่านที่เข้ามาแสดง ความเห็นและให้คาแนะนา รวมทั้งผู้เรียนอาจได้เรียนรู้วิธี แนวทาง หรือรูปแบบ การเขียนที่ดีจากผู้อ่านที่เป็น นักเขียนระดับมืออาชีพ ดังนั้น Blog จึงเป็นเสมือนสนามฝึกปฏิบัติการเขียนของผู้เรียนที่ให้ผู้เรียนได้ขัดเกลา แก้ไข ปรับปรุง งานเขียนของตนจากผู้อ่านที่ได้มีปฏิสัมพันธ์กับงานเขียนด้วย นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยทางการศึกษาในประเทศไทย ที่นิยมนา Blog มาใช้ในการจัดการ เรียนการสอนอีกเป็นจานวนมาก ซึ่งล้วนแล้วแต่กล่าวว่า Blog ช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครู นักเรียนกับนักเรียน รวมทั้งนักเรียนกับบุคคลภายนอก ทาให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการ นามาปรับปรุงการพัฒนางานเขียนหรือองค์ความรู้ของตนเองได้เป็นอย่างดี Kennedy (2007: 14) ได้ยกตัวอย่างการวิจัยเพิ่มเติม คือ การเรียนวิชาการหนังสือพิมพ์ที่ Hunterdon เป็นวิชาที่ไม่ใช้กระดาษเลย งานของผู้เรียนทุกชิ้นจะนาไปไว้ใน Blog ที่สร้างขึ้นเฉพาะสาหรับชั้น เรียนนี้เท่านั้น ให้ผู้เรียนทางานร่วมกัน เช่น การสืบค้นเรื่องต่างๆ จากหนังสือพิมพ์ออนไลน์เพื่อส่งขึ้นไปไว้ใน ส่วนที่ตนรับผิดชอบ กอบบรรณาธิการจะประชุมกับผู้สอนเพื่อเลือกเรื่องที่น่าสนใจที่สุดในแต่ละวัด จากการ ดาเนินการวิธีนี้ ผู้สอนพบว่าผู้เรียนแต่ละคนจะสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เมื่อพบแล้วจะสะสมเรื่องต่างๆ ไว้ ใช้ในช่วงแรกของภาคการศึกษา แล้วเขียนเกี่ยวกับเรื่องนี้ตอนปลายภาคการศึกษา นอกจากนี้ผู้สอนยังพบว่า การอภิปรายใน Blog เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการเรียนรู้ของผู้เรียนวิชาการหนังสือพิมพ์ การใช้ Blog ในการเรีย นการสอนคือการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศและ การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยครูจะต้องเชื่อมโยงบทเรียน เนื้อหารายวิชา คาสอน แบบฝึกปฏิบัติต่างๆ ทางวิชาการและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนอื่นๆ นอกจากนี้การที่นักเรียนในปัจจุบันนิยมใช้ เครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์อื่นๆ เช่น Facebook, Twiiter, Youtube เป็นต้น ครูก็ควรที่จะนาเครื่องมือที่
  • 6. 4 นักเรียนใช้บริการอยู่เหล่านี้ มาใช้ร่วมกับ Blog ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน เพื่อฝึกฝนให้นักเรียน สามารถใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการศึกษา การเรียนรู้ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการนาสื่อสังคม ออนไลน์มาใช้ในการเรียนการสอนจึงเป็นนวัตกรรมการศึกษาใหม่ที่ควรนามาพิจารณาเพื่อใช้เพิ่มประสิทธิภาพ การเรียนการสอนทุกระดับชั้นของประเทศไทย รูปแบบการสอนที่เน้นการสรุปองค์ความรู้ บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์ (2540: 55-56) และ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2544: 9-10) กล่าวถึง การสอนที่เน้นการสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง มี 5 ขั้นตอน สรุปได้ดังนี้ 1. ขั้นปฐมนิเทศ ครูให้โอกาสนักเรียนสร้างจุดมุ่งหมายและแรงจูงใจในการเรียนรู้ในเนื้อหาที่ กาหนด 2. ขั้นทาความเข้าใจ นักเรียนปรับแนวคิดปัจจุบัน ในหัวข้อของบทเรียนให้ชัดเจนซึ่งสามารถ ทาได้ โดยทาให้เกิดกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การอภิปรายกลุ่มเล็ก ออกแบบแผ่นโปสเตอร์ และการเขียน รายงาน 3. ขั้นจัดโครงสร้างแนวคิดใหม่ เป็นหัวใจสาคัญของการสอนแบบการสรุปองค์ความรู้ ซึ่งมี ขั้นตอนย่อยดังนี้ 3.1 ทาแนวคิดให้กระจ่างชัดเจนและแลกเปลี่ยนกัน ผู้เรียนจะเข้าใจได้ดีขึ้น เมื่อได้ พิจารณาความแตกต่างและความขัดแย้งระหว่างความคิดของตนเองกับของคนอื่น ครูจะทาหน้าที่อานวยความ สะดวก เช่น กาหนดประเด็น กระตุ้นให้คิด 3.2 สร้างแนวความคิดใหม่ จากการอภิปรายและการสาธิต ผู้เรียนจะเห็นแนวทาง แบบวิธีการที่หลากหลายในการตีความประกฎการณ์ หรือเหตุการณ์ แล้วกาหนดความคิดใหม่หรือความรู้ใหม่ 3.3 ประเมินแนวความคิดใหม่ โดยการทดลองหรือการคิดอย่างลึกซึ้ง ผู้เรียนควร หาแนวทางที่ดีที่สุดในการทดสอบความคิดหรือความรู้ ในขั้นตอนนี้ผู้เรียนอาจจะรู้สึกไม่พึงพอใจความคิดความ เข้าใจที่เคยมีอยู่ เนื่องจากหลักฐานการทดลองสนับสนุนแนวคิดใหม่มากกว่า 4. การนาแนวความคิดไปใช้ เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมีโอกาสใช้แนวคิดหรือความรู้ความเข้าใจที่ พัฒนาขึ้นมาใหม่สถานการณ์ต่างๆ ทั้งที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคย เป็นการแสดงว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี ความหมาย 5. การทบทวน เป็นขั้นตอนสุดท้าย ผู้เรียนจะได้ทบทวนว่า ความคิดความเข้าใจของเขาได้ เปลี่ยนไป โดยการเปรียบเทียบความคิดเมื่อเริ่มต้นบทเรียนกับความคิดของเขาเมื่อสิ้นสุดบทเรียน ความรู้ที่ ผู้เรียนสร้างด้วยตนเองนั้น จะทาให้เกิดโครงสร้างทางปัญญา ปรากฏในช่วงความจาระยะยาว เป็นการเรียนรู้ อย่างมีความหมาย ผู้เรียนสามารถจาได้ถาวร และสามารถนาไปใช้ได้ในสถานการณ์ต่างๆ บุปผชาติ ทัพหิกรณ์ (2540: 5) ได้กล่าวถึงการประยุกต์การสอนตามแนวการสรุปองค์ความรู้ ทาให้มีการหาวิธีการเรียนที่ทาให้นักเรียนได้มีการกระทาเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง วิธีการเรียนแบบร่วมมือ
  • 7. 5 (Cooperative Learning) เป็นวิธีเรียนที่มีผู้เรียนให้ความสนใจศึกษา วิธีการเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning) และการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inequity Method) ก็เป็นวิธีการตามแนวการสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับนันทิยา บุญเคลือบและคณะ (2540: 13) และ Martin (1994: 46) กล่าว ว่า การสอนตามแนวการสรุปองค์ความรู้ ถือว่าการเรียนรู้ของนักเรียนเกิดขึ้นด้วยตนเอง การเรียนการสอนที่ เหมาะสมก็คือการให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยการสืบเสาะหาความรู้โดยผู้วิจัยใช้ขั้นตอนการสอนของนักการศึกษา กลุ่ม BSCS (Biological Science Curriculum Study) ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การนาเข้าสู่บทเรียน (Engagement) ขั้นนี้จะมีลักษะเป็นการแนะนาบทเรียน กิจกรรมจะประกอบ ไปด้วยการซักถามปัญหา การทบทวนความรู้เดิม การกาหนดกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในการเรียนการสอนและ เปูาหมายที่ต้องการ 2. การสารวจ (Exploration) ขั้นนี้จะเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้แนวคิดที่มีอยู่แล้วมาจัดความสัมพันธ์ กับหัวข้อที่กาลังจะเรียนให้เป็นหมวดหมู่ ถ้าเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการทดลอง การสารวจ การสืบค้น รวมทั้ง เทคนิคและความรู้ทางการปฏิบัติจะดาเนินไปด้วยตัวนักเรียนเอง โดยครูมีหน้าที่เป็นเพียงผู้แนะนาหรือผู้ เริ่มต้นในกรณีที่นักเรียนไม่สามารถหาจัดเริ่มต้นได้ 3. การอธิบาย (Explanation) ในขั้นตอนนี้เป็นขั้นที่ครูมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กเพื่อให้นักเรียนได้ค้นพบ ความรู้ กิจกรรมหรือกระบวนการเรียนรู้จะมีการนาความรู้ที่รวบรวมมาแล้วในขั้นการสารวจมาใช้เป็นพื้นฐาน ในการศึกษาอยู่ กิจกรรมอาจจะประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการอ่าน และนาข้อมูลมาอภิปราย 4. การลงข้อสรุป (Elaboration) เป็นขั้นที่ให้นักเรียนได้พัฒนาความคิดในรูปของการอธิบายและใช้ ทักษะกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการสื่อสาร ความร่วมมือและการใช้เทคโนโลยี ในขั้นตอนนี้จะเน้นให้ นักเรียนได้นาความรู้หรือข้อมูลจากขั้นที่ผ่านมาแล้วมาใช้ กิจกรรมส่วนใหญ่อาจเป็นการอภิปรายภายในกลุ่ม ของตนเอง เพื่อลงข้อสรุป เกิดเป็นมโนมติหลักขึ้น นักเรียนจะปรับมโนมติของตนเองในกรณีที่ไม่สอดคล้อง หรือคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง 5. การประเมินผล (Evaluation) เป็นขั้นตอนสุดท้ายจากการเรียนรู้โดยครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ ตรวจสอบมโนมติที่ตนเองได้เรียนรู้มาแล้ว โดยการประเมินด้วยตนเองถึงมโนมติที่ระบุไว้ในขั้นที่ 4 ว่ามีความ สอดคล้องถูกต้องมากน้อยเพียงใด สรุปได้ว่าการจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้เริ่มตั้งแต่ขั้นทาความเข้าใจ หรือสารวจ ขั้นอธิบายจัดโครงสร้างความคิด ขั้นขยายความหรือการนาแนวคิดไปใช้ และขั้นประเมินผล โดยมี การเปรียบเทียบความคิดของตนตอนเริ่มเรียน และตอนสิ้นสุดการเรียนในบทเรียนนั้น
  • 8. 6 กรอบแนวคิดการวิจัย รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สิ่งที่จะเกิดกับผู้เรียน 1. นักเรียนสามารถสรุปความรู้หลังการ 1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บ เรียนการสอนได้ บล็อก 2. นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์และ 2. การจัดการเรียนการสอนโดยให้ อินเทอร์เน็ตในการเรียนรู้ได้ นักเรียนสรุปองค์ความรู้ 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียน การสอน 6. วิธีดาเนินการวิจัย 6.1 แบบแผนการวิจัย แบบแผนการวิจัย เป็นการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) ด้วย กระบวนการวางแผน ปฏิบัติ ตรวจสอบผล และสะท้อนผลการปฏิบัติ หรือวงจร PDCA ตามวงจรปฏิบัติการ ตามแนวคิดของ Kemmis 6.2 ประชากรเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ที่เรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ จานวน 6 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา 6.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 6.3.1 การสร้างแผนปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บบล็อก ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพและปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการเรียนการสอน 1. ศึกษาสภาพและปัญหาของนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ 2. รวบรวมปัญหาที่พบเจอทั้งหมด 3. เลือกปัญหาเร่งด่วนและมีความสาคัญที่จะต้องเร่งปรับปรุงแก้ไข ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบการเรียนรู้ 1. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 4 แผน ๆ ละ 2 ชั่วโมง รวม 8 ชั่วโมง โดย แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ เท่ากับ 1 วงจรปฏิบัติตามกระบวนการ 2. นาแผนส่งให้ฝุายวิชาการโรงเรียน หัวหน้ากลุ่มสาระ และคณะครูผู้สอนวิชา คอมพิวเตอร์เป็นผู้ตรวจความเหมาะสมของเนื้อหาและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3. ปรับแผนการจัดการเรียนการสอน เพราะทางวิชาการโรงเรียนเห็นว่ามีกิจกรรม เยอะเกินไป ซึ่งเวลาเพียง 2 ชั่วโมงต่อครั้งในการจัดการเรียนการสอนอาจจะไม่เพียงพอ และ
  • 9. 7 ควรมีเวลาให้นักเรียนได้สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตบ้าง และยังมีกิจกรรมหลายอย่างที่ครู เป็นผู้นาในการทากิจกรรม ควรเปลี่ยนเป็นนักเรียนให้เป็นผู้นาในการทากิจกรรมบ้าง ขั้นตอนที่ 3 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. แบบประเมินการสรุปองค์ความรู้ เป็นแบบประเมินโดยครูผู้สอนประเมินผลงาน นักเรียนหรือองค์ความรู้ที่นักเรียนสรุปลงในเว็บบล็อกของตนเอง โดยมีเกณฑ์ให้คะแนนแบบ รูบริค 2. แบบบันทึกพฤติกรรมการทางานรายบุคคล โดยครูผู้สอนเป็นผู้บันทึกพฤติกรรม การทางานของนักเรียน ในด้าน ความมีวินัย ความมีน้าใจ เอื้อเฟื้อ เสียสละ การรับฟังความ คิดเห็น การแสดงความคิดเห็น และการตรงต่อเวลา 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม โดยครูผู้สอนเป็นผู้บันทึกพฤติกรรมการ ทางานกลุ่มของนักเรียน ในกรณีที่การจัดการเรียนการสอนในครั้งนั้นมีการทางานร่วมกันเป็น กลุ่ม โดยทาการสังเกตในประเด็น ความร่วมมือกันทากิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การ รับฟังความคิดเห็น การตั้งใจทางาน การแก้ปัญหาหรือปรับปรุงผลงานกลุ่ม 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ เว็บบล็อกในการสรุปองค์ความรู้ เป็นแบบสอบถามที่ให้นักเรียนทาการประเมินระดับความ พึงพอใจในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีนี้ 5. แบบทดสอบ เป็นแบบทดสอบเรื่องการสื่อสารข้อมูล ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ สร้างขึ้นโดยศึกษาเนื้อหา เอกสารข้อมูลเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลในระบบ คอมพิวเตอร์ ตามหนังสือเรียนของสานักพิมพ์พัฒนาวิชาการ และหลักสูตรสถานศึกษาของ โรงเรียน 6.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนที่ 1 ปฏิบัติการวิจัย สังเกตผล และสะท้อนผลการปฏิบัติ นาแผนปฏิบัติการทั้ง 4 แผน ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์ เวลา 8 ชั่วโมง โดยใช้วงจรการวิจัยปฏิบัติการ PDCA ในทุกแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลการปฏิบัติ ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวมรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลการปฏิบัติดังนี้ 1. ประเมินการสรุปองค์ความรู้ของนักเรียนหลังการเรียนการสอน โดยใช้แบบประเมินการ สรุปองค์ความรู้ 2. สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคลและการทางานกลุ่ม โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม 3. ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บบล็อก ขั้นตอนที่ 3 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
  • 10. 8 ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติพรรณนา คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้จากแบบ ประเมินความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคลและการ ทางานกลุ่ม และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้เว็บบล็อก
  • 11. 9 7. รายงานผลการวิจัยในแต่ละวงจร การดาเนินการ เครื่องมือ/วิธีการเก็บ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมิน เพื่อแก้ปัญหา ข้อมูล ในวงจรต่อไป วงจรที่ 1 วิเคราะห์ 1. นักเรียนทุกคนทาแบบทดสอบ 1. แบบทดสอบก่อน 1. ผลการทดสอบก่อนเรียน พบว่านักเรียนทุก 1. จัดหาสื่อหรือวิธีการสอนที่ ปัญหา พื้น ก่อนเรียน เรียน คนมีความรู้พื้นฐานเรื่องการสื่อสารข้อมูลที่ ช่วยให้นักเรียนสามารถจดจา ฐานความรู้ด้าน 2. ครูจัดการเรียนการสอนวิชา 2. แบบประเมินการสรุป ใกล้เคียงกัน โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนน และเข้าใจเนื้อหาบทเรียนได้ดี คอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศและ องค์ความรู้ แบบทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 11.38 จาก ยิ่งขึ้น ซึ่งสื่อหรือวิธีการสอน ความสามารถสรุป คอมพิวเตอร์ เรื่องการสื่อสารข้อมูล 3. การสังเกตพฤติกรรม คะแนนเต็ม 20 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงเบน ควรเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับ ความรู้ของนักเรียน ด้วยการอธิบาย สอบถาม และ การทางานรายบุคคล มาตรฐานเท่ากับ 2.04 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา เป็นรายบุคคล ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดกระบวนการ 2. เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการเรียนการสอน ตอนปลาย ทาให้นักเรียนสนใจ คิด จากนั้นให้นักเรียนศึกษาใบ พบว่านักเรียนบางส่วนไม่สนใจทาใบงาน ที่จะเรียนรู้ และไม่น่าเบื่อ ความรู้ และแหล่งเรียนรู้ทาง ตามที่ได้รับมอบหมาย แต่สนใจอยู่กับ สาหรับการจัดการเรียนการ อินเทอร์เน็ต แล้วจึงให้นักเรียนทาใบ คอมพิวเตอร์ที่อยู่ตรงหน้า สอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ งาน โดยในการทาใบงาน ไม่อนุญาต 3. จากการที่ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จาก ให้นักเรียนเปิดหนังสือหรือค้นหา การเรียนในครั้งนี้ลงในกระดาษที่แจกให้ และ ข้อมูลใดๆ ทั้งสิ้น นาผลงานของนักเรียนมาทาการให้คะแนน 3. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้ในเรื่องที่ ความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ ผล ได้เรียนและได้ศึกษาจากเอกสารใบ ปรากฏว่ามีนักเรียนจานวน 6 คน ซึ่งเป็น ความรู้และแหล่งเรียนรู้อื่นลงใน นักเรียนชาย 4 คน และนักเรียนหญิง 2 คน มี กระดาษที่ครูแจกให้ ระดับความสามารถในการสรุปองค์ความรู้อยู่ ในระดับปรับปรุง นั่นคือนักเรียนยังไม่สามารถ สรุปประเด็นสาคัญของการเรียนในครั้งนี้ และ ไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของประเด็น
  • 12. 10 การดาเนินการ เครื่องมือ/วิธีการเก็บ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมิน เพื่อแก้ปัญหา ข้อมูล ในวงจรต่อไป ต่างๆ ได้ จากการดาเนินการในวงจรที่ 1 สรุปได้ว่า กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูในรายวิชาคอมพิวเตอร์ยังขาดการนาสื่อหรือวิธีการสอนที่หลากหลายเข้ามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน การสอน เพื่อ กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝุเรียนรู้มากขึ้น โดยปัญหาที่พบคือนักเรียนไม่สามารถสรุปความรู้จากการเรียนในแต่ละครั้งได้ รวมทั้งไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ระหว่างประเด็นต่างๆ ได้ ซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากนักเรียนให้ความสนใจกับคอมพิวเตอร์ตรงหน้านักเรียนและวิธีการสอนของครูไม่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ของนักเรียน ทั้งนี้การดาเนินการในครั้งต่อไป ผู้วิจัยจึงต้องปรับเปลี่ยนวิธีการสอนและการใช้สื่อประกอบในการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น และเนื่องจากรายวิชานี้เป็นรายวิชา คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นรายวิชาที่นักเรียนมักจะให้ความสนใจกับคอมพิวเตอร์ ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะให้นักเรียนได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนของตนเอง โดยในการวงจรการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป ครูจะให้นักเรียนสร้างเว็บบล็อกเป็นของตนเองทุกคน และจะให้เว็บบล็อกนี้เป็นเครื่องมื อสาหรับให้นักเรียนทุกคนได้ สรุปองค์ความรู้และพัฒนา ตกแต่งเว็บบล็อกของตนเองให้เกิดความสวยงาม และมีองค์ความรู้ที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ผู้วิจัยจะทาการสังเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลของนักเรียนที่ ได้ผลการประเมินการสร้างองค์ความรู้ที่อยู่ในระดับปรับปรุงเท่านั้น โดยไม่ให้กลุ่มเปูาหมายรู้ตัวว่ากาลังถูกจัดกระทาอยู่ การดาเนินการ เครื่องมือ/วิธีการเก็บ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมิน เพื่อแก้ปัญหา ข้อมูล ในวงจรต่อไป วงจรที่ 2 ครูจัดทา 1. ครูชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงการ 1. แบบประเมินการ 1. นักเรียนทุกคนมีคะแนนการสรุปองค์ 1. การที่นักเรียนยังขาดทักษะ แผนการจัดการ เรียนการสอนตั้งแต่ครั้งนี้เป็นต้นไป จะ สรุปองค์ความรู้ ความรู้เพิ่มขึ้น แต่ยังไม่นักเรียนบางคนที่ยังมี ในการเชื่อมโยงประเด็นองค์ เรียนรู้โดยใช้เว็บ มีการใช้เว็บบล็อกเข้ามาเป็นเครื่องมือ 2. สังเกตพฤติกรรม ข้อบกพร่องในการสรุปองค์ความรู้ เช่น ความรู้ต่างๆ นั้น ในการจัดการ บล็อก และจัดการ และการสรุปความรู้ของนักเรียน การทางานรายบุคคล อธิบายไม่ชัดเจน ไม่ครอบคลุมทุกประเด็น ไม่ เรียนการสอนครั้งต่อไปอาจจะ เรียนการสอนโดย 2. ครูแจ้งข้อบกพร่องในการสรุปองค์ 3. แบบสังเกต มีการยกตัวอย่างเพื่อประกอบการอธิบาย และ ใช้เทคนิค mind mapping มา ใช้เว็บบล็อกเป็น ความรู้ของเนื้อหาในชั่วโมงเรียนก่อน พฤติกรรมการทางาน ไม่มีการอธิบายเชิงสังเคราะห์ ซึ่งส่วนใหญ่จะ ใช้ร่วมกับการสรุปองค์ความรู้ลง
  • 13. 11 การดาเนินการ เครื่องมือ/วิธีการเก็บ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมิน เพื่อแก้ปัญหา ข้อมูล ในวงจรต่อไป เครื่องมือสาหรับให้ หน้าให้นักเรียนทราบ พร้อมทั้งบอก กลุ่ม เป็นการจาแล้วนามาเขียนอธิบาย ทาให้ไม่มี ในเว็บบล็อกด้วย เพื่อให้ นักเรียนได้สรุป วิธีการปรับปรุงแก้ไขและการพัฒนาให้ การเชื่อมโยงเนื้อหาหรือประเด็นสาคัญต่างๆ นักเรียนได้รับทั้งองค์ความรู้ ความรู้ สามารถสรุปองค์ความรู้ได้ดียิ่งขึ้น 2. สาหรับนักเรียนจานวน 6 ที่เป็น และสามารถเชื่อมโยงองค์ 3. ครูจัดการเรียนการสอนเป็น กลุ่มเปูาหมายในการพัฒนา มีคะแนนเพิ่ม ความรู้นั้นได้ กระบวนการกลุ่มให้นักเรียนทุกคนได้ สูงขึ้น แต่ยังไม่นักเรียนชายจานวน 2 คน ที่ยัง 2. กรณีที่นักเรียนคัดลอก ร่วมกันศึกษาเรียนรู้ โดยจัดการเรียน มีคะแนนอยู่ในระดับปรับปรุง ซึ่งสาเหตุมา เนื้อหาความรู้จากอินเทอร์เน็ต การสอนโดยใช้เทคนิคจิ๊กซอร์ ซึ่ง จากการที่นักเรียนสรุปองค์ความรู้โดยการลอก หนังสือเรียน หรือใบความรู้ที่ ในขณะนี้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล มาจากอินเทอร์เน็ต หนังสือ หรือใบความรู้ แจกไปนั้น สามารถแก้ปัญหาได้ จากอินเทอร์เน็ต หนังสือเรียน หรือใบ โดยไม่มีการสรุปเป็นคาพูดของตนเอง ไม่มี โดยในขณะที่นักเรียนสรุปองค์ ความรู้ได้ การวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ว่ามีประเด็นใดที่ ความรู้ ไม่อนุญาตให้นักเรียนใช้ 4. ครูนาสื่อวีดีโอมาประกอบการ สาคัญบ้าง และไม่มีความคิดสร้างสรรค์ งานอินเทอร์เน็ตหรือเปิด จัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียน แตกต่างจากเพื่อน หนังสือเรียน แต่หากนักเรียนมี ได้เห็นภาพระบบการทางานของระบบ 3. มีนักเรียนบางคนที่มักจะแอบใช้งาน ข้อสงสัยสามารถปรึกษาครูหรือ เครือข่ายและรูปแบบเครือข่ายแบบ อินเทอร์เน็ตอย่างไม่เหมาะสม เช่น เล่นเกม เพื่อนได้ ต่างๆ ได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น หรือเปิดเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม เช่น 3. กรณีที่นักเรียนแอบใช้งาน 5. เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาจบ facebook ซึ่งในกรณีนี้ได้ทาโทษนักเรียนโดย อินเทอร์เน็ตหรือใช้งานเว็บไซต์ ครบถ้วนแล้วครูจึงมอบหมายงานให้ การให้นักเรียนคนนั้นปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ไม่อนุญาต ในส่วนนี้จะทาการ นักเรียนทุกคนสรุปองค์ความรู้ในเรื่อง และนั่งอยู่ที่โต๊ะของตนเอง โดยไม่ทากิจกรรม ลงโทษนักเรียน โดยให้นักเรียน ที่ได้เรียน (เรื่องรูปแบบของระบบ ใดๆ ทั้งสิ้นตลาดชั่วโมงเรียน เพื่อเป็นตัวอย่าง งดใช้งานคอมพิวเตอร์และทา เครือข่ายคอมพิวเตอร์) ลงในเว็บบล็อก แก่นักเรียนคนอื่นๆ ไม่ให้ทาผิดระเบียบในการ กิจกรรมต่างๆ ในห้องเรียน พร้อมกับตกแต่งเว็บบล็อกของตนเอง เรียนอีก ตลอดชั่วโมงเรียน หรืออาจจะ ให้สวยงาม (ครูได้สอนการใช้งานเว็บ 4. ปัญหาอีกประการหนึ่งก็คือด้านการใช้งาน หักคะแนนพฤติกรรมของ
  • 14. 12 การดาเนินการ เครื่องมือ/วิธีการเก็บ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมิน เพื่อแก้ปัญหา ข้อมูล ในวงจรต่อไป บล็อกก่อนเริ่มวงจรที่ 2 แล้ว) เว็บบล็อก ซึ่งมีนักเรียนจานวนหนึ่งยังขาด นักเรียน ทักษะในการใช้งานเว็บบล็อก ซึ่งอาจ 4. ให้นักเรียนได้มีโอกาสมาใช้ เนื่องมาจากการสอนวิธีการใช้งานเว็บบล็อก ห้องคอมพิวเตอร์ในการทางาน ในตอนต้นยังไม่ครอบคลุมหรือยังไม่ชัดเจน การตกแต่งเว็บบล็อก การใช้ นักเรียนจึงยังไม่เข้าใจ งานเว็บบล็อกในช่วงเย็นหลัง เลิกเรียน เพื่อเป็นการพัฒนา ความสามารถในการใช้งานเว็บ บล็อกของนักเรียน จากผลการดาเนินงานในวงจรที่ 2 สรุปได้ว่า นักเรียนกลุ่มเปูาหมายมีทักษะและความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ได้มากขึ้น แต่ยังมีบางคน (2 คน) ที่ยังไม่คะแนนความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ใน ระดับปรับปรุง ซึ่งสาเหตุมาจากการที่นักเรียนสรุปองค์ความรู้โดยการลอกมาจากอินเทอร์เน็ต หนังสือ หรือใบความรู้ โดยไม่มีการสรุปเป็ นคาพูดของตนเอง ไม่มีการ วิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ว่ามีประเด็นใดที่สาคัญบ้าง และไม่มีความคิดสร้างสรรค์แตกต่างจากเพื่อน นอกจากนี้ยังประสบปัญหาในการที่นักเรียนคัดลอกเนื้อหาบทความจากเว็บไซต์ หนังสือเรียน หรือใบความรู้ที่ครูแจกให้ไป ซึ่งครูควรมีมาตรการหรือวิธีการในการ ปูองกันการคัดลอกเนื้อหา เช่น บอกถึงคุณธรรม จริยธรรมในการคัดลอกเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ต บอกถึงโทษทางกฎหมายในการคัดลอกเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ตโดยไม่ได้รับ อนุญาต นอกจากนี้ครูยังสามารถปูองกันการลอกเนื้อหาจากอินเทอร์เน็ตได้โดยการห้ามให้นักเรียนเข้าใจงานอินเทอร์เน็ตขณะทาการสรุปองค์ความรู้ ซึ่งหาทาผิดกฏอาจจะ ถูกหักคะแนนหรือโดนทาโทษ เมื่อครูถามคาถามนักเรียนในประเด็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์หรือความเชื่อมโยงกันหรือความเป็นเหตุเป็นผล เช่น โทรศัพท์ของนักเรียนใช้สัญญาณชนิดใดในการ ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เป็นต้น นักเรียนไม่สามารถตอบได้เนื่องจากนักเรียนได้เรียนรู้แต่เนื้อหา แต่ไม่ได้เรียนรู้ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันระหว่างเนื้อหาหรือประเด็นต่างๆ
  • 15. 13 ซึ่งครูจะต้องหาวิธีการจัดการเรียนการสอนเพื่อแก้ปัญหาต่อไป ซึ่งในที่นี้จะลอกใช้วิธีการวาดแผนภาพ mind mapping เพื่อให้นักเรียนได้สรุปองค์ความรู้และแสดงถึง ความเชื่อมโยงของประเด็นองค์ความรู้ต่างๆ การดาเนินการ เครื่องมือ/วิธีการเก็บ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมิน เพื่อแก้ปัญหา ข้อมูล ในวงจรต่อไป วงจรที่ 3 ศึกษา 1. ครูสรุปหลักการใช้งานเว็บบล็อกใน 1. แบบประเมินการ 1. นักเรียนทุกคนมีคะแนนการสรุปองค์ 1. จัดกิจกรรมให้พอดีกับการ และพัฒนานักเรียน การสรุปความรู้ เมนูสาคัญๆ ต่างๆ ที่ สรุปองค์ความรู้ ความรู้เพิ่มขึ้น และนักเรียนกลุ่มเปูาหมายทั้ง เรียนการสอนในชั่วโมงเรียน ไม่ ที่ยังไม่สามารถ จาเป็นต่อการใช้งานเบื้องต้น ให้ 2. สังเกตพฤติกรรม 6 คน มีคะแนนสูงขึ้นเช่นกัน โดยมีนักเรียน ควรมีกิจกรรมที่มากจนเกินไป สรุปองค์ความรู้ นักเรียนทุกคนเข้าใจและสามารถ การทางานรายบุคคล จานวน 2 คน ได้คะแนนในระดับดีมาก เพราะจะทาให้เวลาในการเรียน หลังเรียนได้ยังไม่ดี ปฏิบัติได้ทุกคน 3. แบบสังเกต จานวน 3 คน ได้คะแนนในระดับดี และ สอนไม่เพียงพอ เท่าที่ควร 2. ครูสะท้อนผลการประเมินการสรุป พฤติกรรมการทางาน จานวน 1 คน ได้คะแนนในระดับพอใช้ 2. กาหนดให้นักเรียนแต่ละคน องค์ความรู้ของนักเรียนในการเรียน กลุ่ม 2. นักเรียนทุกคนให้ความร่วมมือในการเรียน เข้าไปแสดงความคิดเห็น ติชม ชั่วโมงที่ผ่านมาให้นักเรียนทุกคนทราบ เป็นอย่างดี และตั้งใจในการสร้าง mind เสนอแนะผลงานของเพื่อนใน ถึงจุดเด่น และจุดที่ต้องปรับปรุงแก้ไข mapping ของตนเองให้สวยงามมากที่สุด เว็บบล็อกที่ได้จัดทาไว้ เพื่อ ของนักเรียนแต่ละคน เพื่อนาไปพัฒนา เพื่อนาเสนอในเว็บบล็อกของตนเอง ก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ปรับปรุงในการสรุปความรู้ครั้งต่อไป 3. ในการเรียนครั้งนี้ประสบปัญหาในด้านของ และได้เห็นมุมมองความคิดของ 3. ครูจัดการเรียนการสอนโดยให้ เวลาเรียนไม่เพียงพอ เนื่องจากนักเรียนต้อง คนเพื่อนคนอื่น นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทากิจกรรมสร้าง mind mapping ด้วย เช่น ครูมอบหมายให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม power point ทาให้ต้องใช้เวลามาก ไม่ทาไม่ และศึกษาในประเด็นของสื่อกลางที่ใช้ เสร็จในชั่วโมงเรียน ครูจึงเปิดโอกาสให้ ในการส่งข้อมูล จากนั้นให้แต่ละกลุ่ม นักเรียนได้ใช้เวลาในช่วงเย็นหลังเลิกเรียนใน ออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมทั้ง การใช้งานห้องคอมพิวเตอร์ในการทางานชิ้น ตอบคาถามต่างๆ ที่เพื่อนและครูถาม นี้
  • 16. 14 การดาเนินการ เครื่องมือ/วิธีการเก็บ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมิน เพื่อแก้ปัญหา ข้อมูล ในวงจรต่อไป หากตอบคาถามไม่ได้ให้หาคาตอบ ณ 4. เว็บบล็อกของนักเรียนแต่ละคนมีเพียงครูที่ เวลานั้นทันที จากนั้นครูเป็นผู้อธิบาย เข้าไปตรวจและแสดงความคิดเห็น ยังไม่เกิด ความรู้เพิ่มเติมให้นักเรียนทุกคนเข้าใจ การเรียนรู้ร่วมกันหรือการมีส่วนร่วมในการ เกี่ยวกับสื่อกลางในการสื่อสารแต่ละ แสดงความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้นเรียน ประเภท เท่าที่ควร 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสืบค้น ข้อมูล ความรู้จากอินเทอร์เน็ต หนังสือ เรียน และใบความรู้ แล้วทาการสรุป องค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนในครั้งนี้ เป็น mind mapping โดยใช้โปรแกรม power point ในการออกแบบ โดยมี ข้อกาหนดว่า เมื่อนักเรียนออกแบบ mind map ด้วย power point เสร็จ เรียบร้อยแล้วให้นักเรียนทาการบันทึก เป็นไฟล์รูปภาพและนาเสนอในเว็บ บล็อกของตนเองพร้อมเขียนคาอธิบาย mind map ของตนเอง ลงไปในเว็บ บล็อกนั้นด้วย จากผลการดาเนินงานในวงจรที่ 3 สรุปได้ว่า
  • 17. 15 นักเรียนทุกคนมีพัฒนาการและความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ได้ดียิ่งขึ้น มีความสุขกับการเรียนมากขึ้น และนักเรียนกลุ่มเปูาหมายที่ต้องการพัฒนาก็มีทักษะ และความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ได้เพิ่มขึ้นและผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดเช่นกัน แต่ยังมีข้อบกพร่องที่ควรพัฒนาต่อไปคือการให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็น ติชม เสนอแนะ ผลงานของเพื่อน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันและเกิดมุมมองที่หลากหลาย นอกจากนี้ในส่วนของเวลาในการจัด กิจกรรมการเรียน ควร กาหนดให้พอดี ไม่มากหรือน้อยเกินไปเพราะจะทาให้นักเรียนไม่สามารถสร้างชิ้นงานที่มีคุณภาพตามศักยภาพของตนเองได้ การดาเนินการ เครื่องมือ/วิธีการเก็บ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมิน เพื่อแก้ปัญหา ข้อมูล ในวงจรต่อไป วงจรที่ 4 สรุปผล 1. ครูสะท้อนผลความสามารถในการ 1. แบบประเมินการ 1. นักเรียนทุกคนมีคะแนนความสามารถใน - การนาเว็บบล็อก สรุปองค์ความรู้ของนักเรียน และ สรุปองค์ความรู้ การสรุปองค์ความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด และ มาใช้ในการจัดการ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาของแต่ละคน 2. สังเกตพฤติกรรม นักเรียนกลุ่มเปูาหมายทั้ง 6 คน มีคะแนน เรียนการสอน นอกจากนี้ก็เสนอแนะและกาหนดให้ การทางานรายบุคคล ความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ในระดับดี นักเรียนทุกคนได้เข้าไปติดชม 3. แบบสังเกต มากจานวน 4 คน และระดับดีจานวน 2 คน เสนอแนะองค์ความรู้ หรือผลงานของ พฤติกรรมการทางาน 2. ผลการทดสอบหลังเรียนปรากฏว่านักเรียน เพื่อนที่ได้จัดทาไว้ในเว็บบล็อกร่วมกัน กลุ่ม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และมีค่าเฉลี่ย โดยนักเรียนจะต้องเข้าไปแสดงความ 4. แบบทดสอบหลัง เท่ากับ 15.69 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน คิดเห็น ติชม เสนอแนะให้กับเพื่อนคน เรียน มาตรฐานเท่ากับ 1.56 อื่นในห้องอย่างน้อย 5 คน 5. แบบสอบถามความ 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้ 2. ครูจัดการเรียนการสอนโดยให้ พึงพอใจของนักเรียน เว็บบล็อกประกอบการสรุปองค์ความรู้อยู่ใน นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมเช่นเดิม คือ ต่อการเรียนโดยใช้เว็บ ระดับมาก (คิดจากความถี่มากที่สุด) ใช้กระบวนการกลุ่ม ให้นักเรียนทุกคน บล็อกประกอบการ ได้ศึกษาเรียนรู้เรื่องระบบบัส โดย สรุปความรู้ แบ่งเป็นสามกลุ่ม แต่ละกลุ่มศึกษา เนื้อหาในประเด็นของ address bus, control bus และ data bus ใน ระบบคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งออกมา
  • 18. 16 การดาเนินการ เครื่องมือ/วิธีการเก็บ แนวทางในการปรับปรุงแก้ไข กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมิน เพื่อแก้ปัญหา ข้อมูล ในวงจรต่อไป นาเสนอหน้าชั้นเรียน โดยการนาเสนอ ครูจะเป็นผู้สุ่มผู้นาเสนอหน้าชั้นเรียน เอง 3. นักเรียนทุกคนร่วมกันสรุปลักษณะ ของบัส การทางาน และหน้าที่สาคัญ ของบัสประเภทต่างๆ 4. นักเรียนสรุปองค์ความรู้ลงในเว็บ บล็อกของตนเอง โดยในครั้งนี้ให้ นักเรียนหาสื่อวีดีโอประกอบการ อธิบายจากเว็บไซต์ Youtube ผลจากการดาเนินงานในวงจรที่ 4 สรุปได้ว่า จากการนาเว็บบล็อกมาใช้ร่วมกับการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อพัฒนา ทักษะการสรุปองค์ความรู้และการเชื่อมโยงองค์ความรู้ของนักเรียน ผลปรากฏว่านักเรียนมีทักษะและความสามารถในการสรุปองค์ความรู้ได้ดียิ่งขึ้น และอยู่ในเกณฑ์ที่ดี นักเรียนมีความสุขกับการเรียนมากขึ้น เนื่องจากรายวิชานี้เป็นวิชาที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทฤษฎีของคอมพิวเตอร์ การให้นักเรียนได้มีโอกาสได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยจึงเป็น สิ่งที่ดี เพราะทาให้นักเรียนไม่เบื่อหน่ายกับการเรียนในชั้นเรียน อีกทั้งเว็บบล็อกยังเป็นสื่อออนไลน์ที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ทางสัง คมออนไลน์ ก่อให้เกิดการมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างกัน นักเรียนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นหรือสอบถามครูหรือเพื่อนมากขึ้น แต่ปัญหาที่พบและต้อ งแก้ไขอยู่เสมอคือการใช้อินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์ไม่ทางที่ไม่ เหมาะสมของนักเรียน ซึ่งมักจะเข้าใช้งานเว็บไซต์ที่ไม่ได้รับอนุญาต ทั้งนี้ครูต้องเป็นผู้ควบคุมดูแล และวางกฎระเบียบในการเรียนให้ ชัดเจน และหากนักเรียนคนใดทาผิดก็ อาจจะต้องถูกทาโทษหรือตักเตือนเพื่อเป็นตัวอย่างแก่นักเรียนคนอื่นไม่ให้ทาผิดในครั้งต่อไป