SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
วิชชา ๘
วิชชา  คือ  ความรู้แจ้ง  ความรู้วิเศษ  ( supernormal knowledge )  หมายถึง  การรู้แจ้ง หลังจากที่ผู้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานอย่างต่อ เนื่อง  ซึ่งในเบื้องต้น  ผู้ปฏิบัติต้องมีศีลบริสุทธิ์  สมาธิและปัญญา จึงจะเกิดตามมา  หากไม่มีศีล ที่บริสุทธิ์แล้ว วิชชา  ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ วิชชา ๘
ดังนั้น  คำว่า  “ วิชชา ”   จึงหมายถึง  ความรู้  หรือปัญญาอันยอดเยี่ยม  เป็นสมบัติที่ยอดเยี่ยมแก่ผู้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมอย่างจริงจังโดยฝึกจิตจนสามารถละกิเลสเบื้องต่ำได้ทั้งหมดพิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ ที่ตนละได้แล้ว ย่อมเกิดความเบิกบานใจ ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจมีปีติ กายย่อมสงบ เมื่อกายสงบย่อมได้รับความสุข วิชชา ๘
วิชชา ๘ ประการ ได้แก่   ๑ )  วิปัสสนาญาณ  ( ญาณในวิปัสสนา ญาณที่เป็นวิปัสสนาคือปัญญาที่พิจารณาเห็น สังขารคือนามรูปโดยไตรลักษณ์มีต่างกันออกไปเป็นชั้นๆ ต่อเนื่องกัน  ( insight  –  knowledg )
วิชชา ๘ ประการ ได้แก่ ๒ )  มโนมยิทธิญาณ  ( ฤทธิ์สำเร็จด้วยใจ ,  ฤทธิ์ทางใจ คือ นิรมิตกายอื่นออกจากกายนี้ดุจชักไส้จาก หญ้าปล้อง ชักดาบจากฝัก หรือชักงูออกจากคราบ  ( mind – mademagical power )
วิชชา ๘ ประการ ได้แก่ ๓ )  อิทธิวิธญาณ หรือ อิทธิวิธิ แสดงฤทธิ์ต่างๆ ได้ ( supernormal powers ) ๔ )  ทิพพโสตธาตุญาณหูทิพย์  ( divineear ) ๕ )  เจโตปริยญาณ ความรู้ที่กำหนดใจผู้อื่นได้  ( penetration of the maids of others )
วิชชา ๘ ประการ ได้แก่ ๖ )  ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติได้  ( remembrance of former existences ) ๗ )  ทิพพจักขุญาณ ตาทิพย์  ( divine eye ) ๘ )  อาสวักขยญาณ ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ  ( knowledge of the exhaustion of mental intoxicants )
Add title รายละเอียดของวิชชา ๘ 1)  วิปัสสนาญาณ วิปัสสนาญาณ หมายถึง ปัญญาที่พิจารณาเห็นสังขารคือนามรูปคือ พยายามฝึกฝนค้นคว้าหาความจริงด้วยกำลังของปัญญา เป็นคนรู้จักเหตุ รู้จักผล
ตั้งมั่น  ไม่หวั่นไหว  ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อญาณทัสสนะ ย่อมรู้ ชัดว่ากายของเรานี้ มีรูปประกอบ ด้วยมหาภูต ๔  เป็นเกิดแต่บิดามารดา ปัญญา ที่เห็นนาม - รูปทั้งปวง เป็นอนิจจัง ทุกขัง  อนัตตา   1)  วิปัสสนาญาณ
Add title   เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลสเพียง ปราศจากความ เศร้าหมองอ่อนควรแก่การงาน  1)  วิปัสสนาญาณ
รายละเอียดของวิชชา ๘ 2)  มโนมยิทธิญาณ มโนมยิทธิญาณหมายถึงฤทธิ์สำเร็จด้วยใจ  ฤทธิ์ทางใจ กล่าวคือ  เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว  ไม่มีกิเลสปราศจากความเศร้าหมอง อ่อนเหมาะแก่การใช้งานตั้งมั่น  ไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้ว  สามารถนิรมิตกาย อื่นออกจากกายนี้ ได้แก่ ปัญญา ที่สามารถเนรมิตร่างกายอื่นๆ ให้เกิดขึ้นภายในของตน ตามความต้องการได้
Add title รายละเอียดของวิชชา ๘ 3)  อิทธิวิธญาณ อิทธิวิธญาณหรืออิทธิวิธี หมายถึง ปัญญา ที่สามารถแสดงฤทธิ์ต่างๆได้ การที่สามารถ  แสดงฤทธิ์ต่างๆกล่าวคือเมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้วไม่มีกิเลสปราศจากความ เศร้าหมอง
ควรแก่การงาน  ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้  ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อบรรลุอิทธิวิธีหลายประการ คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้  หลายคนเป็นคนเดียว ก็ได้  ทำให้ปรากฏก็ได้ทำให้หายก็ได้  ลูบคลำพระจันทร์  พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากด้วยฝ่ามือก็ได้ ใช้อำนาจ  ทางกายไป ตลอดพรหมโลกก็ได้ 3)  อิทธิวิธญาณ
Add title รายละเอียดของวิชชา ๘ 4)  ทิพยโสตธาตุญาณ ทิพยโสตธาตุญาณหมายถึง ความรู้ที่ทำให้มี   หูทิพย์  กล่าวคือ  เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน  ปราศจากความเศร้าหมอง   อ่อน ควรแก่การงาน  ตั้งมั่น  ไม่หวั่นไหว
4)  ทิพยโสตธาตุญาณ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุญาณ  ย่อมได้ยินเสียง  ๒  ชนิด  คือเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์  ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้ด้วยทิพยโสตธาตุอันบริสุทธิ์ล่วงโสตของมนุษย์
รายละเอียดของวิชชา ๘ 5 )  เจโตปริยญาณ เจโตปริยญาณ  หมายถึง ความรู้ที่กำหนดใจ ผู้อื่นได้  กล่าวคือ  เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่อง แผ้ว  ไม่มีกิเลสปราศจากความเศร้าหมองอ่อน  ควรแก่การงาน  ตั้งมั่น  ไม่หวั่นไหว  อย่างนี้  ย่อมโน้มน้อมจิต ไปเพื่อเจโตปริยญาณ
ย่อมกำหนดรู้ใจของสัตว์อื่นหรือบุคคลอื่นด้วยใจคือ จิตมีราคะ  ก็รู้ว่าจิตมีราคะ  หรือจิตปราศจาก ราคะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ  จิตมีโทสะ  ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจาก โทสะ  ก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ  จิตมีโมหะ  ก็รู้ว่าจิตมีโมหะหรือปราศจาก โมหะก็รู้ว่าปราศจากโมหะ
รายละเอียดของวิชชา ๘ 6 )  ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ หมายถึง  ระลึกชาติ ได้  กล่าวคือ  เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้วไม่ มีกิเลสปราศจากความเศร้าหมองอ่อน ควรแก่การ งาน  ตั้งมั่น  ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ  คือย่อมระลึกชาติก่อนได้
Add title รายละเอียดของวิชชา ๘ 7 )  ทิพพจักขุญาณ ทิพพจักขุญาณ หมายถึง ตาทิพย์  กล่าวคือ  เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว  ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน  ปราศจากความเศร้าหมองอ่อน ควรแก่การงาน  ตั้งมั่น  ไม่หวั่นไหว  อย่างนี้  ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อจุตูปปาตญาณ   ได้แก่  รู้จุติและเกิดของสัตว์ ทั้งหลาย  เธอเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ  กำลังเกิด เลว ประณีต มีผิวพรรณดีมีผิวพรรณทราม  ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ ผู้เป็นไป ตามกรรมว่า  สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต  วจีทุจริตมโนทุจริตติเตียนพระอริยะเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ  ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก  เขาย่อมเข้าถึงอบาย  ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต  มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยะเจ้า  เป็นสัมมาทิฏฐิ  ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์  ดังนี้  เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่ กำลังจุติ กำลังเกิด เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอัน บริสุทธิ์ ล่วงจักษุ  ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ด้วยประการฉะนี้
วิชชา ๘ ประการ ได้แก่ 8)  อาสวักขยญาณ อาสวักขยญาณ หมายถึง  ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ  กล่าวคือ  เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว  ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน  ปราศจากความเศร้าหมองอ่อน เหมาะแก่การใช้งาน  ตั้งมั่น  ไม่หวั่นไหวอย่างนี้  ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ   ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า  นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ  นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา  นี้อาสวะ  นี้อาสวสมุทัย  นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา  เมื่อรู้เห็นอย่างนี้จิตย่อมหลุดพ้นแม้จากกามาสวะ  ภวาสวะ  และอวิชชาสวะ  เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วก็รู้ว่า  หลุดพ้นแล้ว  รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้วทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว  ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไป
วิธีเจริญวิชชา ๘ วิธีเจริญวิชชา  ๘  นั้น  ผู้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมอย่างจริงจัง  เริ่มต้นด้วยการสำรวมใน พระปาติโมกข์ เพียบพร้อมด้วยมารยาทและเที่ยวไป เห็นภัยในโทษแม้เพียงเล็กน้อย  สมาทานอยู่ในสิกขาบท  ประกอบด้วยกายกรรมและวจีกรรมอันเป็นกุศล  มีอาชีวะบริสุทธิ์  สมบูรณ์ด้วยศีล  คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย  สมบูรณ์ด้วยสัมปชัญญะ เป็นผู้สันโดษ ฝึกสมาธิจนสามารถละกิเลสเบื้องต่ำได้ทั้งหมด  พิจารณาเห็นนิวรณ์  ๕  ที่ตนละได้แล้ว  ย่อมเกิดความเบิกบานใจ ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจมีปีติ กายย่อมสงบ เมื่อกายสงบย่อมได้รับ ความสุข  เมื่อมีความสุข จิตย่อมตั้งมั่น  สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว  บรรลุปฐมฌาน ที่มีวิตกวิจาร  ปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่  ทำกายให้ชุ่มชื่นเอิบอิ่ม ด้วยปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกรู้สึกซาบซ่านอยู่  ไม่มีส่วนไหนของร่างกายที่ปีติและสุข อันเกิดจากวิเวกจะไม่ถูกต้อง  จากนั้นก็ยังทุติยฌานให้เกิด มีความผ่องใสในกายในมี ภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจารมีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิอยู่  เพราะปีติจางคลายไป  มีอุเบกขา  มีสัมปชัญญะ  เสวยสุขด้วยนามกาย  บรรลุตติฌาน  ผู้มีอุเบกขามีสติ  อยู่เป็นสุข  จากนั้นละสุขและทุกข์ได้  เพราะโสมนัสและโทมนัสดับไปก่อน  จึงบรรลุจตุตถฌาน  ที่ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข  มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา มีใจอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง นั่งแผ่ไปทั่วกายนี้ ต่อจากนี้จึงสามารถบรรลุวิชชาต่างๆ ได้
Contents เช่น การที่ผู้สอนสามารถรู้จิตของคนที่ถูกสอน ย่อมง่ายต่อการปฏิบัติธรรม ทำให้สอนถูกและสอนตรงกับจริตของเขา  รู้ความต้องการและรู้จิตของเขา  ดังกรณีของ มหาอุบาสิกาท่านหนึ่ง  รู้วาระจิตของเหล่าภิกษุทั้งต้องการเสนาสนะสัปปายะ  บุคคลสัปปายะ  อาหารสัปปายะ  แล้วนางก็ได้จัดแจงสิ่งเหล่านี้ตามความเหมาะสม  ภิกษุทั้งหลายเมื่อได้ เสนาสนะสัปปายะเป็นต้นจึงสามารถปฏิบัติธรรมได้ก้าวหน้า  ความสำคัญของวิชชา ๘ ประการ ดังกล่าวนี้ เมื่อกล่าวโดยสรุป คือวิชชาเกิดขึ้นเพื่อการทำลายอวิชชานั่นเอง
Thank You

Contenu connexe

Tendances

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมPadvee Academy
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดHappy Sara
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1MI
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกBeeBee ComEdu
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 

Tendances (20)

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 

Similaire à F7

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิOnpa Akaradech
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcoolTongsamut vorasan
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์nok_bb
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasatiTongsamut vorasan
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 

Similaire à F7 (20)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์
 
10
1010
10
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma  Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 

F7

  • 2. วิชชา คือ ความรู้แจ้ง ความรู้วิเศษ ( supernormal knowledge ) หมายถึง การรู้แจ้ง หลังจากที่ผู้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานอย่างต่อ เนื่อง ซึ่งในเบื้องต้น ผู้ปฏิบัติต้องมีศีลบริสุทธิ์ สมาธิและปัญญา จึงจะเกิดตามมา หากไม่มีศีล ที่บริสุทธิ์แล้ว วิชชา ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ วิชชา ๘
  • 3. ดังนั้น คำว่า “ วิชชา ” จึงหมายถึง ความรู้ หรือปัญญาอันยอดเยี่ยม เป็นสมบัติที่ยอดเยี่ยมแก่ผู้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมอย่างจริงจังโดยฝึกจิตจนสามารถละกิเลสเบื้องต่ำได้ทั้งหมดพิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ ที่ตนละได้แล้ว ย่อมเกิดความเบิกบานใจ ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจมีปีติ กายย่อมสงบ เมื่อกายสงบย่อมได้รับความสุข วิชชา ๘
  • 4. วิชชา ๘ ประการ ได้แก่ ๑ ) วิปัสสนาญาณ ( ญาณในวิปัสสนา ญาณที่เป็นวิปัสสนาคือปัญญาที่พิจารณาเห็น สังขารคือนามรูปโดยไตรลักษณ์มีต่างกันออกไปเป็นชั้นๆ ต่อเนื่องกัน ( insight – knowledg )
  • 5. วิชชา ๘ ประการ ได้แก่ ๒ ) มโนมยิทธิญาณ ( ฤทธิ์สำเร็จด้วยใจ , ฤทธิ์ทางใจ คือ นิรมิตกายอื่นออกจากกายนี้ดุจชักไส้จาก หญ้าปล้อง ชักดาบจากฝัก หรือชักงูออกจากคราบ ( mind – mademagical power )
  • 6. วิชชา ๘ ประการ ได้แก่ ๓ ) อิทธิวิธญาณ หรือ อิทธิวิธิ แสดงฤทธิ์ต่างๆ ได้ ( supernormal powers ) ๔ ) ทิพพโสตธาตุญาณหูทิพย์ ( divineear ) ๕ ) เจโตปริยญาณ ความรู้ที่กำหนดใจผู้อื่นได้ ( penetration of the maids of others )
  • 7. วิชชา ๘ ประการ ได้แก่ ๖ ) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติได้ ( remembrance of former existences ) ๗ ) ทิพพจักขุญาณ ตาทิพย์ ( divine eye ) ๘ ) อาสวักขยญาณ ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ ( knowledge of the exhaustion of mental intoxicants )
  • 8. Add title รายละเอียดของวิชชา ๘ 1) วิปัสสนาญาณ วิปัสสนาญาณ หมายถึง ปัญญาที่พิจารณาเห็นสังขารคือนามรูปคือ พยายามฝึกฝนค้นคว้าหาความจริงด้วยกำลังของปัญญา เป็นคนรู้จักเหตุ รู้จักผล
  • 9. ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อญาณทัสสนะ ย่อมรู้ ชัดว่ากายของเรานี้ มีรูปประกอบ ด้วยมหาภูต ๔ เป็นเกิดแต่บิดามารดา ปัญญา ที่เห็นนาม - รูปทั้งปวง เป็นอนิจจัง ทุกขัง  อนัตตา 1) วิปัสสนาญาณ
  • 10. Add title เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลสเพียง ปราศจากความ เศร้าหมองอ่อนควรแก่การงาน 1) วิปัสสนาญาณ
  • 11. รายละเอียดของวิชชา ๘ 2) มโนมยิทธิญาณ มโนมยิทธิญาณหมายถึงฤทธิ์สำเร็จด้วยใจ ฤทธิ์ทางใจ กล่าวคือ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลสปราศจากความเศร้าหมอง อ่อนเหมาะแก่การใช้งานตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้ว สามารถนิรมิตกาย อื่นออกจากกายนี้ ได้แก่ ปัญญา ที่สามารถเนรมิตร่างกายอื่นๆ ให้เกิดขึ้นภายในของตน ตามความต้องการได้
  • 12. Add title รายละเอียดของวิชชา ๘ 3) อิทธิวิธญาณ อิทธิวิธญาณหรืออิทธิวิธี หมายถึง ปัญญา ที่สามารถแสดงฤทธิ์ต่างๆได้ การที่สามารถ แสดงฤทธิ์ต่างๆกล่าวคือเมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้วไม่มีกิเลสปราศจากความ เศร้าหมอง
  • 13. ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อบรรลุอิทธิวิธีหลายประการ คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียว ก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ทำให้หายก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์ พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากด้วยฝ่ามือก็ได้ ใช้อำนาจ ทางกายไป ตลอดพรหมโลกก็ได้ 3) อิทธิวิธญาณ
  • 14. Add title รายละเอียดของวิชชา ๘ 4) ทิพยโสตธาตุญาณ ทิพยโสตธาตุญาณหมายถึง ความรู้ที่ทำให้มี หูทิพย์ กล่าวคือ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว
  • 15. 4) ทิพยโสตธาตุญาณ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุญาณ ย่อมได้ยินเสียง ๒ ชนิด คือเสียงทิพย์ และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้ด้วยทิพยโสตธาตุอันบริสุทธิ์ล่วงโสตของมนุษย์
  • 16. รายละเอียดของวิชชา ๘ 5 ) เจโตปริยญาณ เจโตปริยญาณ หมายถึง ความรู้ที่กำหนดใจ ผู้อื่นได้ กล่าวคือ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่อง แผ้ว ไม่มีกิเลสปราศจากความเศร้าหมองอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิต ไปเพื่อเจโตปริยญาณ
  • 17. ย่อมกำหนดรู้ใจของสัตว์อื่นหรือบุคคลอื่นด้วยใจคือ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจาก ราคะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจาก โทสะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ ก็รู้ว่าจิตมีโมหะหรือปราศจาก โมหะก็รู้ว่าปราศจากโมหะ
  • 18. รายละเอียดของวิชชา ๘ 6 ) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ หมายถึง ระลึกชาติ ได้ กล่าวคือ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้วไม่ มีกิเลสปราศจากความเศร้าหมองอ่อน ควรแก่การ งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือย่อมระลึกชาติก่อนได้
  • 19. Add title รายละเอียดของวิชชา ๘ 7 ) ทิพพจักขุญาณ ทิพพจักขุญาณ หมายถึง ตาทิพย์ กล่าวคือ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมองอ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่อจุตูปปาตญาณ ได้แก่ รู้จุติและเกิดของสัตว์ ทั้งหลาย เธอเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังเกิด เลว ประณีต มีผิวพรรณดีมีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ ผู้เป็นไป ตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริตมโนทุจริตติเตียนพระอริยะเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยะเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์ที่ กำลังจุติ กำลังเกิด เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอัน บริสุทธิ์ ล่วงจักษุ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ด้วยประการฉะนี้
  • 20. วิชชา ๘ ประการ ได้แก่ 8) อาสวักขยญาณ อาสวักขยญาณ หมายถึง ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ กล่าวคือ เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมองอ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา นี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อรู้เห็นอย่างนี้จิตย่อมหลุดพ้นแม้จากกามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วก็รู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้วทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไป
  • 21. วิธีเจริญวิชชา ๘ วิธีเจริญวิชชา ๘ นั้น ผู้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมอย่างจริงจัง เริ่มต้นด้วยการสำรวมใน พระปาติโมกข์ เพียบพร้อมด้วยมารยาทและเที่ยวไป เห็นภัยในโทษแม้เพียงเล็กน้อย สมาทานอยู่ในสิกขาบท ประกอบด้วยกายกรรมและวจีกรรมอันเป็นกุศล มีอาชีวะบริสุทธิ์ สมบูรณ์ด้วยศีล คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย สมบูรณ์ด้วยสัมปชัญญะ เป็นผู้สันโดษ ฝึกสมาธิจนสามารถละกิเลสเบื้องต่ำได้ทั้งหมด พิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ ที่ตนละได้แล้ว ย่อมเกิดความเบิกบานใจ ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจมีปีติ กายย่อมสงบ เมื่อกายสงบย่อมได้รับ ความสุข เมื่อมีความสุข จิตย่อมตั้งมั่น สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ที่มีวิตกวิจาร ปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ ทำกายให้ชุ่มชื่นเอิบอิ่ม ด้วยปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกรู้สึกซาบซ่านอยู่ ไม่มีส่วนไหนของร่างกายที่ปีติและสุข อันเกิดจากวิเวกจะไม่ถูกต้อง จากนั้นก็ยังทุติยฌานให้เกิด มีความผ่องใสในกายในมี ภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น ไม่มีวิตกไม่มีวิจารมีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิอยู่ เพราะปีติจางคลายไป มีอุเบกขา มีสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุตติฌาน ผู้มีอุเบกขามีสติ อยู่เป็นสุข จากนั้นละสุขและทุกข์ได้ เพราะโสมนัสและโทมนัสดับไปก่อน จึงบรรลุจตุตถฌาน ที่ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา มีใจอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง นั่งแผ่ไปทั่วกายนี้ ต่อจากนี้จึงสามารถบรรลุวิชชาต่างๆ ได้
  • 22. Contents เช่น การที่ผู้สอนสามารถรู้จิตของคนที่ถูกสอน ย่อมง่ายต่อการปฏิบัติธรรม ทำให้สอนถูกและสอนตรงกับจริตของเขา รู้ความต้องการและรู้จิตของเขา ดังกรณีของ มหาอุบาสิกาท่านหนึ่ง รู้วาระจิตของเหล่าภิกษุทั้งต้องการเสนาสนะสัปปายะ บุคคลสัปปายะ อาหารสัปปายะ แล้วนางก็ได้จัดแจงสิ่งเหล่านี้ตามความเหมาะสม ภิกษุทั้งหลายเมื่อได้ เสนาสนะสัปปายะเป็นต้นจึงสามารถปฏิบัติธรรมได้ก้าวหน้า ความสำคัญของวิชชา ๘ ประการ ดังกล่าวนี้ เมื่อกล่าวโดยสรุป คือวิชชาเกิดขึ้นเพื่อการทำลายอวิชชานั่นเอง