SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
นางศศิกญญา ดอนดีไพร
                   ั

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
การกรอง เป็นวิธีการแยกสารผสม 2 ชนิด ออกจากกัน
โดยมีสารชนิดหนึ่งที่ละลายได้ดีในตัวทาละลาย ส่วนสารอีกชนิดหนึ่ง
ไม่ละลายในตัวทาละลายเดียวกัน วิธีนี้ต้องให้น้าไหลผ่านวัสดุที่ใช้กรอง
เอาอนุภาคของแข็งที่ไม่ละลายน้าออกซึ่งจะมีขนาดใหญ่กว่ารูพรุนของ
วัสดุที่ใช้กรองให้ติดอยู่กับวัสดุที่ใช้กรองนั้น ส่วนน้าและอนุภาคที่เล็ก
กว่ารูพรุนของวัสดุที่ใช้กรองจะไหลผ่านไปได้ น้าที่ผ่านการกรองจะมี
คุณภาพคล้ายกับน้าที่ผ่านการตกตะกอนแต่จะใสกว่า
การกรองมีหลายวิธี ดังนี้
            1. วิธีการกรองแบบง่าย เช่น การกรองในห้องทดลอง โดยใช้กระดาษ
  กรองเป็นวัสดุสาหรับกรอง เมื่อเทน้าลงในกรวยกระดาษกรองที่เตรียมไว้ ตะกอน
ขนาดใหญ่จะติดอยู่กับกระดาษกรองส่วนที่เป็นน้าหรือของเหลวและสารละลายน้า
ได้ เช่น เกลือ น้าตาล จะไหลผ่านกระดาษกรองลงไป หรือการกรองน้าเชื่อมที่ ใช้
ผ้าขาวบาง เศษผงจะติดอยู่กับผ้าขาวบางน้าเชื่อมจะสะอาดขึ้นและยังมีรสหวาน
 เหมือนเดิม
2. ใช้วัสดุต่างๆ ทาเป็นชั้นกรอง
เครื่องกรองที่ใช้ตามบ้านจะเป็นชั้นกรอง โดย
นาวัสดุต่างๆ มาวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ จากชั้น
ล่างเรียงขึ้นไปชั้นบน ดังนี้ สาลี กรวดหยาบ
กรวดละเอียด ถ่าน ทรายหยาบ และทราย
ละเอียด อย่างไรก็ดีที่กรองได้จะมีความไม่
สะอาดพอจึงไม่ควรใช้ดื่มทันที
3. ใช้ไส้กรอง ไส้กรองที่ประดิษฐ์ขึ้นเป็นพิเศษที่นามาทาเป็นชั้นกรองของเครื่องกรองมี
อยู่หลายชนิด เช่น บางชนิดทาด้วยเซรามิกส์ที่มีรูพรุนขนาดเล็ก บางชนิดยังใช้สารช่วยดูดซับสีและ
สารเจือปนในน้าเพิ่มอีกด้วย น้าจะมีความสะอาดมากขึ้น บางชนิดดูดถ่านกัมมันต์ต์เพื่อดูดสีและกลิ่นอีก
ด้วย
             ในปัจจุบันมีผู้ผลิตเครื่องกรองน้าโดยใช้ไส้กรองชนิดต่างๆ ดังกล่าว นามาเป็นชั้น กรอง
เพราะสามารถใช้และทาความสะอาดได้สะดวกขึ้น แต่ปัญหาส่วนใหญ่บังมีราคาแพง
             สาหรับไส้กรองชนิดที่ใส่ถ่านกัมมันต์นับเป็นไส้กรองที่สามารถกรองน้าได้สะอาดอีกชนิด
หนื่ง จากถ่านกามันต์เป็นถ่านพิเศษที่ทาขึ้นจากส่วนผสมแกลบ กะลามะพร้าว ขี้เลื่อย ชายอ้อย กระดูก
สัตว์หรือเขาสัตว์ โดยใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ในการผลิต สมบัติของถ่านกามันต์นอกจากจะใช้
กรองสารที่ไม่ละลายในน้าได้แล้วยังช่วยดูดสีและกลิ่นออกจากน้าได้อีกด้วย สาหรับประเทศไทยมี
โรงงานผลิตถ่านกามันต์ขึ้นใช้ได้เองในประเทศแล้ว ทั้งยังส่งไปจาหน่ายต่างประเทศอีกด้วย
ข้อดีของวิธีการกรอง ถ้าใช้เครื่องกรองที่มีคุณภาพได้มาตรฐานจะกรองน้าได้สะอาดกว่า
วิธีตกตะกอน เพราะจะสามารถกรองสีและกลิ่นของน้าได้ด้วย
ข้อเสียของวิธีการกรอง
วิธีการยุ่งยากกว่าการตกตะกอน
เสียค่าใช้จ่ายในการจัดทาหรือซื้อชั้นกรองสูงกว่าการตกตะกอน
ต้องชาระล้างหรือเปลี่ยนชั้นกรองบ่อยๆ
ไม่สามารถใช้กรองน้าที่ขุ่นมากๆ ได้สะอาด เพราะจะทาให้ชั้นกรองสกปรกก่อนไม่
สามารถกาจัดสารที่ละลายน้าและเชื้อโรคได้ จึงไม่ควรนามาใช้ดื่ม
ใบงานเรือง การกรอง
                                                                      ่


คาชี้แจง จงเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์และถูกต้อง
1. การท้าน้าให้สะอาดด้วยวิธีการกรองไม่สามารถที่จะขจัดสาร ...................................................................
........................................................................................................ที่เจือปนอยู่ในน้าออกได้
2. อุปกรณ์ที่ใช้ท้าน้าให้สะอาดที่มีผู้ผลิตออกจ้าหน่ายและนิยมใช้กันตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นอุปกรณ์ท้า
น้าให้สะอาดด้วยวิธี...............................................................................................................................................
3. การกรองเอาสิ่งต่างๆ ออกจากของเหลวจ้านวนไม่มากในห้องทดลอง ชันกรองที่นิยมใช้กัน คือ
.............................................................................................................................................................................
4. การกรองน้าโดยใช้วัสดุต่างๆ ท้าเป็นชันๆ วัสดุต่างๆ ที่นิยมใช้กันเรียงล้าดับตังแต่ชนล่างสุดถึงชัน                                           ั
บนสุด ได้แก่ .......................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
5. สารดูดกลิ่นและสีจากน้าที่นิยมน้าใส่ในไส้กรอง คือ ..................................................... ซึ่งสารนีท้าจาก
.......................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
เฉลยใบงาน
                                                                              เรื่อง การกรอง



คาชี้แจง จงเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์และถูกต้อง
1. การท้าน้าให้สะอาดด้วยวิธีการกรองไม่สามารถที่จะขจัด....เชือโรค และสารที่ละลายน้าได้..........ที่เจือปนอยู่
ในน้าออกได้
2. อุปกรณ์ที่ใช้ท้าน้าให้สะอาดที่มีผู้ผลิตออกจ้าหน่ายและนิยมใช้กันตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นอุปกรณ์ท้าน้า
ให้สะอาดด้วยวิธี.......การกรอง..................................................................................
3. การกรองเอาสิ่งต่างๆ ออกจากของเหลวจ้านวนไม่มากในห้องทดลอง ชันกรองที่นิยมใช้กัน คือ .............
วิธีการกรองแบบง่าย.............................................................................................................................................
4. การกรองน้าโดยใช้วัสดุต่างๆ ท้าเป็นชันๆ วัสดุต่างๆ ที่นิยมใช้กันเรียงล้าดับตังแต่ชนล่างสุดถึงชันบนสุด                       ั
ได้แก่ .......ส้าลี กรวดหยาบ กรวดละเอียด ถ่าน ทรายหยาบ และทรายละเอียด...
5. สารดูดกลิ่นและสีจากน้าที่นิยมน้าใส่ในไส้กรอง คือ .......ถ่านกัมมันต์..............................ซึ่งสารนีท้าจาก .......
ส่วนผสมแกลบ กะลามะพร้าว ขีเลื่อย ชายอ้อย กระดูกสัตว์หรือเขาสัตว์ โดยใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์
ในการผลิต....................
แบบฝึกหัด
                  เรื่อง การกรอง


คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบค้าถามต่อไปนี
เฉลยแบบฝึกหัด



                ทรายละเอียด

                ทรายหยาบ

                   ถ่าน

                กรวดละเอียด

                กรวดหยาบ
การกรอง

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชัญญานุช เนริกูล
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 

Tendances (20)

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 

Similaire à การกรอง

แบบทดสอบ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
แบบทดสอบ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพแบบทดสอบ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
แบบทดสอบ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพpeter dontoom
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากBiobiome
 
ใบงานท 11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
ใบงานท   11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_ใบงานท   11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
ใบงานท 11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_Sineenart Phromnin
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นtassanee chaicharoen
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5Tikaben Phutako
 

Similaire à การกรอง (10)

Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 
แบบทดสอบ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
แบบทดสอบ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพแบบทดสอบ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
แบบทดสอบ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
ใบงานท 11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
ใบงานท   11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_ใบงานท   11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
ใบงานท 11 เร__อง กำหนดและลำด_บข__นตอนการปฏ_บ_ต_
 
A
AA
A
 
ใบงาน11
ใบงาน11ใบงาน11
ใบงาน11
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 
แผนที่ 1
แผนที่ 1แผนที่ 1
แผนที่ 1
 
K11
K11K11
K11
 

Plus de ศศิกัญญา ดอนดีไพร (7)

การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 

การกรอง

  • 1. นางศศิกญญา ดอนดีไพร ั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
  • 2. การกรอง เป็นวิธีการแยกสารผสม 2 ชนิด ออกจากกัน โดยมีสารชนิดหนึ่งที่ละลายได้ดีในตัวทาละลาย ส่วนสารอีกชนิดหนึ่ง ไม่ละลายในตัวทาละลายเดียวกัน วิธีนี้ต้องให้น้าไหลผ่านวัสดุที่ใช้กรอง เอาอนุภาคของแข็งที่ไม่ละลายน้าออกซึ่งจะมีขนาดใหญ่กว่ารูพรุนของ วัสดุที่ใช้กรองให้ติดอยู่กับวัสดุที่ใช้กรองนั้น ส่วนน้าและอนุภาคที่เล็ก กว่ารูพรุนของวัสดุที่ใช้กรองจะไหลผ่านไปได้ น้าที่ผ่านการกรองจะมี คุณภาพคล้ายกับน้าที่ผ่านการตกตะกอนแต่จะใสกว่า
  • 3. การกรองมีหลายวิธี ดังนี้ 1. วิธีการกรองแบบง่าย เช่น การกรองในห้องทดลอง โดยใช้กระดาษ กรองเป็นวัสดุสาหรับกรอง เมื่อเทน้าลงในกรวยกระดาษกรองที่เตรียมไว้ ตะกอน ขนาดใหญ่จะติดอยู่กับกระดาษกรองส่วนที่เป็นน้าหรือของเหลวและสารละลายน้า ได้ เช่น เกลือ น้าตาล จะไหลผ่านกระดาษกรองลงไป หรือการกรองน้าเชื่อมที่ ใช้ ผ้าขาวบาง เศษผงจะติดอยู่กับผ้าขาวบางน้าเชื่อมจะสะอาดขึ้นและยังมีรสหวาน เหมือนเดิม
  • 4. 2. ใช้วัสดุต่างๆ ทาเป็นชั้นกรอง เครื่องกรองที่ใช้ตามบ้านจะเป็นชั้นกรอง โดย นาวัสดุต่างๆ มาวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ จากชั้น ล่างเรียงขึ้นไปชั้นบน ดังนี้ สาลี กรวดหยาบ กรวดละเอียด ถ่าน ทรายหยาบ และทราย ละเอียด อย่างไรก็ดีที่กรองได้จะมีความไม่ สะอาดพอจึงไม่ควรใช้ดื่มทันที
  • 5. 3. ใช้ไส้กรอง ไส้กรองที่ประดิษฐ์ขึ้นเป็นพิเศษที่นามาทาเป็นชั้นกรองของเครื่องกรองมี อยู่หลายชนิด เช่น บางชนิดทาด้วยเซรามิกส์ที่มีรูพรุนขนาดเล็ก บางชนิดยังใช้สารช่วยดูดซับสีและ สารเจือปนในน้าเพิ่มอีกด้วย น้าจะมีความสะอาดมากขึ้น บางชนิดดูดถ่านกัมมันต์ต์เพื่อดูดสีและกลิ่นอีก ด้วย ในปัจจุบันมีผู้ผลิตเครื่องกรองน้าโดยใช้ไส้กรองชนิดต่างๆ ดังกล่าว นามาเป็นชั้น กรอง เพราะสามารถใช้และทาความสะอาดได้สะดวกขึ้น แต่ปัญหาส่วนใหญ่บังมีราคาแพง สาหรับไส้กรองชนิดที่ใส่ถ่านกัมมันต์นับเป็นไส้กรองที่สามารถกรองน้าได้สะอาดอีกชนิด หนื่ง จากถ่านกามันต์เป็นถ่านพิเศษที่ทาขึ้นจากส่วนผสมแกลบ กะลามะพร้าว ขี้เลื่อย ชายอ้อย กระดูก สัตว์หรือเขาสัตว์ โดยใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ในการผลิต สมบัติของถ่านกามันต์นอกจากจะใช้ กรองสารที่ไม่ละลายในน้าได้แล้วยังช่วยดูดสีและกลิ่นออกจากน้าได้อีกด้วย สาหรับประเทศไทยมี โรงงานผลิตถ่านกามันต์ขึ้นใช้ได้เองในประเทศแล้ว ทั้งยังส่งไปจาหน่ายต่างประเทศอีกด้วย
  • 6. ข้อดีของวิธีการกรอง ถ้าใช้เครื่องกรองที่มีคุณภาพได้มาตรฐานจะกรองน้าได้สะอาดกว่า วิธีตกตะกอน เพราะจะสามารถกรองสีและกลิ่นของน้าได้ด้วย ข้อเสียของวิธีการกรอง วิธีการยุ่งยากกว่าการตกตะกอน เสียค่าใช้จ่ายในการจัดทาหรือซื้อชั้นกรองสูงกว่าการตกตะกอน ต้องชาระล้างหรือเปลี่ยนชั้นกรองบ่อยๆ ไม่สามารถใช้กรองน้าที่ขุ่นมากๆ ได้สะอาด เพราะจะทาให้ชั้นกรองสกปรกก่อนไม่ สามารถกาจัดสารที่ละลายน้าและเชื้อโรคได้ จึงไม่ควรนามาใช้ดื่ม
  • 7. ใบงานเรือง การกรอง ่ คาชี้แจง จงเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์และถูกต้อง 1. การท้าน้าให้สะอาดด้วยวิธีการกรองไม่สามารถที่จะขจัดสาร ................................................................... ........................................................................................................ที่เจือปนอยู่ในน้าออกได้ 2. อุปกรณ์ที่ใช้ท้าน้าให้สะอาดที่มีผู้ผลิตออกจ้าหน่ายและนิยมใช้กันตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นอุปกรณ์ท้า น้าให้สะอาดด้วยวิธี............................................................................................................................................... 3. การกรองเอาสิ่งต่างๆ ออกจากของเหลวจ้านวนไม่มากในห้องทดลอง ชันกรองที่นิยมใช้กัน คือ ............................................................................................................................................................................. 4. การกรองน้าโดยใช้วัสดุต่างๆ ท้าเป็นชันๆ วัสดุต่างๆ ที่นิยมใช้กันเรียงล้าดับตังแต่ชนล่างสุดถึงชัน ั บนสุด ได้แก่ ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 5. สารดูดกลิ่นและสีจากน้าที่นิยมน้าใส่ในไส้กรอง คือ ..................................................... ซึ่งสารนีท้าจาก ....................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................
  • 8. เฉลยใบงาน เรื่อง การกรอง คาชี้แจง จงเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์และถูกต้อง 1. การท้าน้าให้สะอาดด้วยวิธีการกรองไม่สามารถที่จะขจัด....เชือโรค และสารที่ละลายน้าได้..........ที่เจือปนอยู่ ในน้าออกได้ 2. อุปกรณ์ที่ใช้ท้าน้าให้สะอาดที่มีผู้ผลิตออกจ้าหน่ายและนิยมใช้กันตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นอุปกรณ์ท้าน้า ให้สะอาดด้วยวิธี.......การกรอง.................................................................................. 3. การกรองเอาสิ่งต่างๆ ออกจากของเหลวจ้านวนไม่มากในห้องทดลอง ชันกรองที่นิยมใช้กัน คือ ............. วิธีการกรองแบบง่าย............................................................................................................................................. 4. การกรองน้าโดยใช้วัสดุต่างๆ ท้าเป็นชันๆ วัสดุต่างๆ ที่นิยมใช้กันเรียงล้าดับตังแต่ชนล่างสุดถึงชันบนสุด ั ได้แก่ .......ส้าลี กรวดหยาบ กรวดละเอียด ถ่าน ทรายหยาบ และทรายละเอียด... 5. สารดูดกลิ่นและสีจากน้าที่นิยมน้าใส่ในไส้กรอง คือ .......ถ่านกัมมันต์..............................ซึ่งสารนีท้าจาก ....... ส่วนผสมแกลบ กะลามะพร้าว ขีเลื่อย ชายอ้อย กระดูกสัตว์หรือเขาสัตว์ โดยใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ ในการผลิต....................
  • 9. แบบฝึกหัด เรื่อง การกรอง คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบค้าถามต่อไปนี
  • 10. เฉลยแบบฝึกหัด ทรายละเอียด ทรายหยาบ ถ่าน กรวดละเอียด กรวดหยาบ