SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
นางศศิกญญา ดอนดีไพร
                   ั

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
การกลั่นอย่างง่าย (simple distillation) เป็นวิธีการแยกของเหลวออกจาก
สารละลายซึ่งมีตัวละลายที่จุดเดือดสูงกว่าตัวทาละลายมาก เช่น สารละลายจุนสี ประกอบด้วยตัวทา
ละลายคือ น้าซึ่งมีจุดเดือด 100 องศาเซลเซียส และตัวทาละลาย คือ จุนสีซึ่งมีจุดเดือด 650 องศา
เซลเซียส ละลายอยู่ด้วยกัน เมื่อให้ความร้อนแก่สารละลาย น้าซึ่งมีจุดเดือดต่ากว่าจะกลายเป็นไอไอ
น้าไปกระทบกับความเย็นจะควบแน่นเป็นของเหลว โดยที่จุนสีซึ่งมีจุดเดือด สูงยังคงละลายอยู่ใน
สาระละลาย น้าที่กลั่นได้จึงเป็นน้าบริสุทธิ์
การกลั่นใช้ในการทาให้ของเหลวบริสุทธิ์ หรือใช้แยกของเหลวชนิดหนึ่งออกจากของเหลวอื่นๆ ได้ซึ่ง
ของเหลวเหล่านั้นจะต้องมีคุณสมบัติทางกายภาพที่เรียกว่า การระเหยแตกต่างกัน โดยทั่วไปแล้วสาร
ที่ระเหยง่ายจะมีความดันไอสูงที่อุณหภูมิห้อง ส่วนสารที่ไม่ระเหยจะมีความดันไอต่า นั่นคือสารที่
ระเหยได้ง่ายจะมีความดันไอสูงกว่าแต่จุดเดือดต่ากว่าสารที่ไม่ระเหย
ของเหลวที่บริสุทธิ์จะมีลักษณะ ดังนี้
             1. ส่วนประกอบของสารที่กลั่นได้ จะมีลักษณะเหมือนกับส่วนประกอบของของเหลว
             2. ส่วนประกอบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
              3. อุณหภูมิของจุดเดือดในขณะกลั่นจะคงที่ตลอดเวลา
              4. การกลั่นจะทาให้เราทราบจุดเดือดของของเหลวบริสุทธิ์ได้
             ในกรณีที่สารละลายประกอบด้วยของเหลวละลายในของเหลว แม้ว่าจะมีจุดเดือด
ต่างกันก็ไม่สามารถแยกสารจนได้สารบริสุทธิ์ เช่น สารละลายแอลกอฮอล์ในน้า สารละลายโทลูอีน
ในเบนซีน เป็นต้น สารผสมเหล่านี้ต้องใช้วิธีการกลั่นลาดับส่วน ซึ่งจะได้ศึกษาต่อไป
การกลั่นน้าในห้องทดลองจะมีลักษณะดังรูป โดยใส่น้าที่ต้อง การกลั่นในขวดก้นแบนแล้วให้
ความร้อนกับน้าในขวดจนกลายเป็นไอ น้าลอยไปตามท่อนาก๊าซผ่านไปในเครื่องควบแน่นที่มีน้าไหล
ผ่านเข้า ออกตลอดเวลา จนทาให้ไอน้าในท่อนาก๊าซมีอุณหภูมิลดลง จน ควบแน่นกลายเป็นหยดน้า
ไหลลง สู่บีกเกอร์ การกลั่นน้าจะได้น้าใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส เป็นน้าที่บริสุทธิ์ แต่จะ
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก จึงเหมาะสาหรับประเทศที่ขาดแคลนน้าจืดมากๆ เท่านั้น
การกลั่นน้าด้วยแสงอาทิตย์ เป็น
อุปกรณ์ที่ใช้กลั่นน้าจืดโดยประกอบขึ้นได้
ง่ายๆ และมีราคาถูก สาหรับประเทศที่ขาด
แคลนน้าจืดได้ใช้ตู้กลั่นน้าชนิดนี้ช่วยกลั่น น้า                     ข้อควรรู้
ทะเลให้เป็นน้าจืดเพื่อนา มาใช้ในการ                น้ากลั่นเป็นน้าบริสุทธิ์ที่ใช้ดื่มได้แต่การ
                                                  ดื่มน้ากลั่น ทุกวันทุกครังจะมีผลท้าให้ เกลือ
ดารงชีวิต
                                                  แร่บางชนิดที่ปนอยู่ในน้าซึ่งมีประโยชน์
                                                  ต่อการท้างานของร่างกายต้อง สูญเสียไปด้วย
ใบงานที่
                                                           เรื่อง การกลันอย่างง่าย
                                                                        ่


1. การกลั่น หมายถึง ....................................................................................................................
2. วิธีการที่ท้าน้าให้สะอาดและบริสุทธิ์จริงๆ คือ ..........................................................................
..........................................................................................................................................................
3. ประเทศในแถบอ่าวเปอร์เซียและในทวีปอเมริกาใต้ที่ขาดแคลนน้าจืด นิยมท้าน้า จืดจากน้า
ทะเลโดยใช้ วิธี..................................................................................................................................
4. น้าทุกชนิดไม่ว่าจะสกปรกเพียงไร เราสามารถท้าให้น้านันสะอาดจนใช้ดื่มกินได้ โดยใช้วิธี
..........................................................................................................................................................
5. คนไม่นิยมดื่มน้ากลั่นแต่นิยมใช้ผสมในตัวยา เพราะ .................................................................
6. ของเหลวที่บริสุทธิ์ควรมีลักษณะอย่างไร..................................................................................
...........................................................................................................................................................
เฉลยใบงาน
                                                                เรื่อง การกลันอย่างง่าย
                                                                             ่



 1. การกลั่น หมายถึง เป็นวิธีการแยกของเหลวออกจากสารละลายซึ่งมีตัวละลายที่จุดเดือดสูงกว่า
ตัวท้าละลายมาก ใช้ในการท้าให้ของเหลวบริสุทธิ์ หรือใช้แยกของเหลวชนิดหนึ่งออกจากของเหลว
อื่นๆ ได้ซึ่งของเหลวเหล่านันจะต้องมีคุณสมบัติทางกายภาพที่เรียกว่า การระเหยแตกต่างกัน
 2. วิธีการที่ท้าน้าให้สะอาดและบริสุทธิ์จริงๆ คือ ...การกลั่น..................................................
 3. ประเทศในแถบอ่าวเปอร์เซียและในทวีปอเมริกาใต้ที่ขาดแคลนน้าจืด นิยมท้าน้าจืดจาก
น้าทะเลโดยใช้ วิธี..........การกลั่นน้าด้วยแสงอาทิตย์ .............................................................
 4. น้าทุกชนิดไม่ว่าจะสกปรกเพียงไร เราสามารถท้าให้น้านันสะอาดจนใช้ดื่มกินได้
โดยใช้วิธี .............การกลั่น.......................................................................................................
 5. คนไม่นิยมดื่มน้ากลั่นแต่นิยมใช้ผสมในตัวยา เพราะ .......สินเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ..........
 6. ของเหลวที่บริสุทธิ์โดยใช้วิธีการกลั่นควรมีลักษณะอย่างไร....... 1. ส่วนประกอบของสารที่
กลั่นได้ จะมีลักษณะเหมือนกับส่วนประกอบของของเหลว 2. ส่วนประกอบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
 3. อุณหภูมิของจุดเดือดในขณะกลั่นจะคงที่ตลอดเวลา 4. การกลั่นจะท้าให้เราทราบจุดเดือดของ
ของเหลวบริสุทธิ์ได้ ……………………………………………………………………………………...
แบบฝึกหัด
                                   เรื่อง การกลั่นอย่างง่าย

คาชี้แจง ให้นักเรียนท้าเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และท้าเครื่องหมาย ×
หน้าข้อความที่ผิด

            1. การกลั่นน้าเกลือ จะได้น้าและเกลือออกมาพร้อมๆ กัน

            2. ถ้าน้าน้าทะเลมากลั่นนอกจากจะได้น้ากลั่นแล้วยังได้เกลือด้วย

            3. การกลั่นน้าจืดที่ประหยัดและได้ปริมาณมากคือการกลั่นด้วยแสงอาทิตย์

            4. ของเหลวที่น้ามากลั่นทังตัวท้าละลายและตัวถูกละลายจะต้องมีจุดเดือด
               ใกล้เคียงกัน

            5. การกลั่นน้าจะได้น้าใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส
เฉลยแบบฝึ กหัด


คาชี้แจง ให้นักเรียนท้าเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และท้าเครื่องหมาย ×
หน้าข้อความที่ผิด

 ×         1. การกลั่นน้าเกลือ จะได้น้าและเกลือออกมาพร้อมๆ กัน
 
           2. ถ้าน้าน้าทะเลมากลั่นนอกจากจะได้น้ากลั่นแล้วยังได้เกลือด้วย

          3. การกลั่นน้าจืดที่ประหยัดและได้ปริมาณมากคือการกลั่น
              ด้วยแสงอาทิตย์
  ×
           4. ของเหลวที่น้ามากลั่นทังตัวท้าละลายและตัวถูกละลายจะต้องมีจุดเดือด
              ใกล้เคียงกัน
  
           5. การกลั่นน้าจะได้น้าใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส
การกลั่นอย่างง่าย

Contenu connexe

Tendances

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 

Tendances (20)

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 

En vedette

Internet revoluciona el turismo 2.0 por Ana Santos - Congreso tycSocial
Internet revoluciona el turismo 2.0 por Ana Santos - Congreso tycSocialInternet revoluciona el turismo 2.0 por Ana Santos - Congreso tycSocial
Internet revoluciona el turismo 2.0 por Ana Santos - Congreso tycSocialTyC Social
 
Presentation19052011
Presentation19052011Presentation19052011
Presentation19052011vincecity2
 
The future of shopping with your mobile phone
The future of shopping with your mobile phoneThe future of shopping with your mobile phone
The future of shopping with your mobile phoneresimpa
 
Teaching, technology and time
Teaching, technology and timeTeaching, technology and time
Teaching, technology and timeKay Bolerjack
 
Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...
Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...
Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...Kathryn Coleman, PhD
 
LEAP Symposium Powerpoint 2.0
LEAP Symposium Powerpoint 2.0LEAP Symposium Powerpoint 2.0
LEAP Symposium Powerpoint 2.0mrhenderson1962
 
Digital Portfolios and Open Digital Badges - Warranting evidence (revisiting ...
Digital Portfolios and Open Digital Badges - Warranting evidence (revisiting ...Digital Portfolios and Open Digital Badges - Warranting evidence (revisiting ...
Digital Portfolios and Open Digital Badges - Warranting evidence (revisiting ...Kathryn Coleman, PhD
 

En vedette (20)

IRQA presentation
IRQA presentationIRQA presentation
IRQA presentation
 
CONSTITUTION
CONSTITUTIONCONSTITUTION
CONSTITUTION
 
Internet revoluciona el turismo 2.0 por Ana Santos - Congreso tycSocial
Internet revoluciona el turismo 2.0 por Ana Santos - Congreso tycSocialInternet revoluciona el turismo 2.0 por Ana Santos - Congreso tycSocial
Internet revoluciona el turismo 2.0 por Ana Santos - Congreso tycSocial
 
Mengenal blog
Mengenal blogMengenal blog
Mengenal blog
 
6widgets
6widgets6widgets
6widgets
 
Presentation19052011
Presentation19052011Presentation19052011
Presentation19052011
 
The future of shopping with your mobile phone
The future of shopping with your mobile phoneThe future of shopping with your mobile phone
The future of shopping with your mobile phone
 
Teaching, technology and time
Teaching, technology and timeTeaching, technology and time
Teaching, technology and time
 
Howtosignup
HowtosignupHowtosignup
Howtosignup
 
Taiwan food1
Taiwan food1Taiwan food1
Taiwan food1
 
Testchoice
TestchoiceTestchoice
Testchoice
 
Leap symposium
Leap symposiumLeap symposium
Leap symposium
 
Gameexcel
GameexcelGameexcel
Gameexcel
 
8 poll and my place
8 poll and my place8 poll and my place
8 poll and my place
 
Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...
Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...
Standing on the shoulders of giants: learning and researching value as a comm...
 
LEAP Symposium Powerpoint 2.0
LEAP Symposium Powerpoint 2.0LEAP Symposium Powerpoint 2.0
LEAP Symposium Powerpoint 2.0
 
Digital Portfolios and Open Digital Badges - Warranting evidence (revisiting ...
Digital Portfolios and Open Digital Badges - Warranting evidence (revisiting ...Digital Portfolios and Open Digital Badges - Warranting evidence (revisiting ...
Digital Portfolios and Open Digital Badges - Warranting evidence (revisiting ...
 
Krizarjenja
KrizarjenjaKrizarjenja
Krizarjenja
 
Dream
DreamDream
Dream
 
Leap symposium (final)
Leap symposium (final)Leap symposium (final)
Leap symposium (final)
 

Similaire à การกลั่นอย่างง่าย

โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรPornthip Nabnain
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11melody_fai
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Jar 'zzJuratip
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวmedfai
 

Similaire à การกลั่นอย่างง่าย (10)

โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
7.1 (1)
7.1 (1)7.1 (1)
7.1 (1)
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 

การกลั่นอย่างง่าย

  • 1. นางศศิกญญา ดอนดีไพร ั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
  • 2. การกลั่นอย่างง่าย (simple distillation) เป็นวิธีการแยกของเหลวออกจาก สารละลายซึ่งมีตัวละลายที่จุดเดือดสูงกว่าตัวทาละลายมาก เช่น สารละลายจุนสี ประกอบด้วยตัวทา ละลายคือ น้าซึ่งมีจุดเดือด 100 องศาเซลเซียส และตัวทาละลาย คือ จุนสีซึ่งมีจุดเดือด 650 องศา เซลเซียส ละลายอยู่ด้วยกัน เมื่อให้ความร้อนแก่สารละลาย น้าซึ่งมีจุดเดือดต่ากว่าจะกลายเป็นไอไอ น้าไปกระทบกับความเย็นจะควบแน่นเป็นของเหลว โดยที่จุนสีซึ่งมีจุดเดือด สูงยังคงละลายอยู่ใน สาระละลาย น้าที่กลั่นได้จึงเป็นน้าบริสุทธิ์ การกลั่นใช้ในการทาให้ของเหลวบริสุทธิ์ หรือใช้แยกของเหลวชนิดหนึ่งออกจากของเหลวอื่นๆ ได้ซึ่ง ของเหลวเหล่านั้นจะต้องมีคุณสมบัติทางกายภาพที่เรียกว่า การระเหยแตกต่างกัน โดยทั่วไปแล้วสาร ที่ระเหยง่ายจะมีความดันไอสูงที่อุณหภูมิห้อง ส่วนสารที่ไม่ระเหยจะมีความดันไอต่า นั่นคือสารที่ ระเหยได้ง่ายจะมีความดันไอสูงกว่าแต่จุดเดือดต่ากว่าสารที่ไม่ระเหย
  • 3. ของเหลวที่บริสุทธิ์จะมีลักษณะ ดังนี้ 1. ส่วนประกอบของสารที่กลั่นได้ จะมีลักษณะเหมือนกับส่วนประกอบของของเหลว 2. ส่วนประกอบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง 3. อุณหภูมิของจุดเดือดในขณะกลั่นจะคงที่ตลอดเวลา 4. การกลั่นจะทาให้เราทราบจุดเดือดของของเหลวบริสุทธิ์ได้ ในกรณีที่สารละลายประกอบด้วยของเหลวละลายในของเหลว แม้ว่าจะมีจุดเดือด ต่างกันก็ไม่สามารถแยกสารจนได้สารบริสุทธิ์ เช่น สารละลายแอลกอฮอล์ในน้า สารละลายโทลูอีน ในเบนซีน เป็นต้น สารผสมเหล่านี้ต้องใช้วิธีการกลั่นลาดับส่วน ซึ่งจะได้ศึกษาต่อไป
  • 4. การกลั่นน้าในห้องทดลองจะมีลักษณะดังรูป โดยใส่น้าที่ต้อง การกลั่นในขวดก้นแบนแล้วให้ ความร้อนกับน้าในขวดจนกลายเป็นไอ น้าลอยไปตามท่อนาก๊าซผ่านไปในเครื่องควบแน่นที่มีน้าไหล ผ่านเข้า ออกตลอดเวลา จนทาให้ไอน้าในท่อนาก๊าซมีอุณหภูมิลดลง จน ควบแน่นกลายเป็นหยดน้า ไหลลง สู่บีกเกอร์ การกลั่นน้าจะได้น้าใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส เป็นน้าที่บริสุทธิ์ แต่จะ สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก จึงเหมาะสาหรับประเทศที่ขาดแคลนน้าจืดมากๆ เท่านั้น
  • 5. การกลั่นน้าด้วยแสงอาทิตย์ เป็น อุปกรณ์ที่ใช้กลั่นน้าจืดโดยประกอบขึ้นได้ ง่ายๆ และมีราคาถูก สาหรับประเทศที่ขาด แคลนน้าจืดได้ใช้ตู้กลั่นน้าชนิดนี้ช่วยกลั่น น้า ข้อควรรู้ ทะเลให้เป็นน้าจืดเพื่อนา มาใช้ในการ น้ากลั่นเป็นน้าบริสุทธิ์ที่ใช้ดื่มได้แต่การ ดื่มน้ากลั่น ทุกวันทุกครังจะมีผลท้าให้ เกลือ ดารงชีวิต แร่บางชนิดที่ปนอยู่ในน้าซึ่งมีประโยชน์ ต่อการท้างานของร่างกายต้อง สูญเสียไปด้วย
  • 6. ใบงานที่ เรื่อง การกลันอย่างง่าย ่ 1. การกลั่น หมายถึง .................................................................................................................... 2. วิธีการที่ท้าน้าให้สะอาดและบริสุทธิ์จริงๆ คือ .......................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. ประเทศในแถบอ่าวเปอร์เซียและในทวีปอเมริกาใต้ที่ขาดแคลนน้าจืด นิยมท้าน้า จืดจากน้า ทะเลโดยใช้ วิธี.................................................................................................................................. 4. น้าทุกชนิดไม่ว่าจะสกปรกเพียงไร เราสามารถท้าให้น้านันสะอาดจนใช้ดื่มกินได้ โดยใช้วิธี .......................................................................................................................................................... 5. คนไม่นิยมดื่มน้ากลั่นแต่นิยมใช้ผสมในตัวยา เพราะ ................................................................. 6. ของเหลวที่บริสุทธิ์ควรมีลักษณะอย่างไร.................................................................................. ...........................................................................................................................................................
  • 7. เฉลยใบงาน เรื่อง การกลันอย่างง่าย ่ 1. การกลั่น หมายถึง เป็นวิธีการแยกของเหลวออกจากสารละลายซึ่งมีตัวละลายที่จุดเดือดสูงกว่า ตัวท้าละลายมาก ใช้ในการท้าให้ของเหลวบริสุทธิ์ หรือใช้แยกของเหลวชนิดหนึ่งออกจากของเหลว อื่นๆ ได้ซึ่งของเหลวเหล่านันจะต้องมีคุณสมบัติทางกายภาพที่เรียกว่า การระเหยแตกต่างกัน 2. วิธีการที่ท้าน้าให้สะอาดและบริสุทธิ์จริงๆ คือ ...การกลั่น.................................................. 3. ประเทศในแถบอ่าวเปอร์เซียและในทวีปอเมริกาใต้ที่ขาดแคลนน้าจืด นิยมท้าน้าจืดจาก น้าทะเลโดยใช้ วิธี..........การกลั่นน้าด้วยแสงอาทิตย์ ............................................................. 4. น้าทุกชนิดไม่ว่าจะสกปรกเพียงไร เราสามารถท้าให้น้านันสะอาดจนใช้ดื่มกินได้ โดยใช้วิธี .............การกลั่น....................................................................................................... 5. คนไม่นิยมดื่มน้ากลั่นแต่นิยมใช้ผสมในตัวยา เพราะ .......สินเปลืองค่าใช้จ่ายมาก .......... 6. ของเหลวที่บริสุทธิ์โดยใช้วิธีการกลั่นควรมีลักษณะอย่างไร....... 1. ส่วนประกอบของสารที่ กลั่นได้ จะมีลักษณะเหมือนกับส่วนประกอบของของเหลว 2. ส่วนประกอบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง 3. อุณหภูมิของจุดเดือดในขณะกลั่นจะคงที่ตลอดเวลา 4. การกลั่นจะท้าให้เราทราบจุดเดือดของ ของเหลวบริสุทธิ์ได้ ……………………………………………………………………………………...
  • 8. แบบฝึกหัด เรื่อง การกลั่นอย่างง่าย คาชี้แจง ให้นักเรียนท้าเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และท้าเครื่องหมาย × หน้าข้อความที่ผิด 1. การกลั่นน้าเกลือ จะได้น้าและเกลือออกมาพร้อมๆ กัน 2. ถ้าน้าน้าทะเลมากลั่นนอกจากจะได้น้ากลั่นแล้วยังได้เกลือด้วย 3. การกลั่นน้าจืดที่ประหยัดและได้ปริมาณมากคือการกลั่นด้วยแสงอาทิตย์ 4. ของเหลวที่น้ามากลั่นทังตัวท้าละลายและตัวถูกละลายจะต้องมีจุดเดือด ใกล้เคียงกัน 5. การกลั่นน้าจะได้น้าใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส
  • 9. เฉลยแบบฝึ กหัด คาชี้แจง ให้นักเรียนท้าเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และท้าเครื่องหมาย × หน้าข้อความที่ผิด × 1. การกลั่นน้าเกลือ จะได้น้าและเกลือออกมาพร้อมๆ กัน  2. ถ้าน้าน้าทะเลมากลั่นนอกจากจะได้น้ากลั่นแล้วยังได้เกลือด้วย  3. การกลั่นน้าจืดที่ประหยัดและได้ปริมาณมากคือการกลั่น ด้วยแสงอาทิตย์ × 4. ของเหลวที่น้ามากลั่นทังตัวท้าละลายและตัวถูกละลายจะต้องมีจุดเดือด ใกล้เคียงกัน  5. การกลั่นน้าจะได้น้าใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส