SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  59
การพัฒ นาวิช าชีพ ครู


สภาพปัจ จุบ ัน และปัญ หาวิช าชีพ ครูใ นประเทศไทย
     ครู คือ ผู้กำาหนดคุณภาพประชากรในสังคม และคุณภาพ
ประชากรในสังคม คือ ตัวพยากรณ์ความสำาเร็จในการพัฒนา
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม วิชาชีพครูจึงควรเป็นที่
รวมของคนเก่ง คนดี สามารถเป็นต้นแบบทางคุณธรรม จริยธรรม
การประพฤติปฏิบัติตน การดำารงชีวิต และการชี้นำาสังคมไปใน
ทางที่เหมาะสม
         ในสภาพความเป็นจริงที่ปรากฏในปัจจุบัน วิชาชีพครูกลับ
เป็นวิชาชีพที่คนทั่วไปดูหมิ่นดูแคลน เป็นวิชาชีพที่รายได้ตำ่า ผู้
ประกอบวิชาชีพครูยากจน ผู้ปกครองที่มีการศึกษาสูงและมีฐานะดี
ไม่ประสงค์จะให้บุตรหลานของตนศึกษาเพื่อออกไปประกอบ
วิชาชีพครู เยาวชนที่สำาเร็จการศึกษาชั้น ม. 6 ก็ไม่ประสงค์ที่จะ
สมัครเรียนในสาขาวิชาชีพครู ผูสมัครเรียนในสาขาครูจึงมักเป็น
                                  ้
ผู้ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตำ่า เมื่อไม่สามารถสอบเข้าเรียนใน
สาขาวิชาชีพอื่นได้แล้วจึงจะสมัครเรียนเพื่อออกไปเป็นครู


ปัญ หาเกี่ย วกับ วิช าชีพ ครูอ าจสรุป ได้เ ป็น 3 กลุ่ม ใหญ่
ดัง นี้
      ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการผลิต เช่น ปัญหาอันเนื่องมาจาก
ตัวป้อนเข้าของกระบวนการ ผลิตครู กระบวนการเรียนการสอน
นักศึกษาครู การกำาหนดคุณลักษณะของบัณฑิตครู และการ
ควบคุมให้บัณฑิตที่สำาเร็จการศึกษามีคุณลักษณะตามที่กำาหนด
เป็นต้น
      ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการใช้ครู เช่น ปัญหาเกี่ยวกับการ
ส่งเสริมสนับสนุนด้าน งบประมาณ การบำารุงขวัญกำาลังใจครูดี
การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของชุมชนใน
การใช้ครู เป็นต้น
ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเพื่อให้การผลิตและการใช้
ครูเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล เช่น ปัญหาความด้อยประสิทธิภาพ
ของผู้บริหาร การขาดระบบการตรวจสอบและประเมินผู้บริหาร
การไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานของท้องถิ่น การขาดแคลน
ทรัพยากรเพื่อการบริหาร รวมทั้งการขาดสถาบันพัฒนาผู้บริหาร
ระดับมืออาชีพ เป็นต้น




1. ปัญ หาเกี่ย วกับ กระบวนการผลิต
สถาบันผลิตครูไม่สามารถผลิตครูให้มีคุณลักษณะตามที่สังคม
ต้องการได้ สาเหตุสำาคัญที่ทำาให้การผลิตครูมีประสิทธิผลตำ่าอาจ
สรุปได้ 5 ประการดังนี้
1. คนเก่ง ไม่เ รีย นครู เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า คนเก่ง
ส่วนใหญ่ไม่สนใจเป็นครู จากข้อมูลการเลือกเข้าเรียนต่อของผู้
สมัครสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2539 ผู้สมัคร
ส่วนใหญ่จะเลือกคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์เป็นอันดับสุดท้าย
มีเพียงร้อยละ 19 ที่เลือกคณะครุศาสตร์เป็นอันดับ 1 และ
นักศึกษาครู มีผลการเรียนในระดับปานกลางถึงค่อนข้างตำ่า จาก
ข้อมูลเกรดเฉลี่ยในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของนักศึกษาครู
ในสถาบันราชภัฏ(ซึ่งเป็นสถาบันผลิตครูแหล่งใหญ่) พบว่า มี
เกรดเฉลี่ย ประมาณ 2.3 (สำานักงานสภาสถาบันราชภัฏ, 2540)
นอกจากนี้ นักศึกษาครูมักไม่เลือกเรียนวิชาเอกที่เป็นสาขา
ขาดแคลน เช่น สาขาทางด้านวิทยาศาสตร์ เพราะต้องใช้ความ
พยายามในการเรียนสูงกว่าสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์
(สำานักงานสภาสถาบันราชภัฏ, 2540)
2. รัฐ ลงทุน เพื่อ การผลิต ครูต ำ่า เมื่อเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย
โดยเฉลี่ยในการผลิตบัณฑิตสาขาต่าง ๆ มีหลักฐานชัดเจนว่า รัฐ
ลงทุนเพื่อการผลิตครูตำ่ากว่าวิชาชีพอื่น ๆ มาก (สำานักงานสภา
สถาบัน ราชภัฏ, 2540) สถาบันผลิตครูส่วนใหญ่ จึงมีปัญหา
ความขาดแคลนปัจจัยที่จำาเป็นต่อการผลิตครู ทั้งเชิงปริมาณและ
คุณภาพ ขาดงบดำาเนินการเพื่อพัฒนาคณาจารย์ และพัฒนาการ
เรียนการสอน นอกจากนี้ การผลิตครูดำาเนินการโดยสถาบันของ
รัฐทั้งหมด ถึงแม้กฎหมายเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาผลิตครูได้
แต่ยังไม่มีเอกชนรายใดดำาเนินการเพราะไม่คุ้มทุน
3. กระบวนการเรีย นการสอนเน้น ทฤษฏีม ากกว่า เน้น
การปฏิบ ัต ิจ ริง ถ้าพิจารณาจากหลักสูตรการผลิตครูจะพบว่า
หลักสูตรที่ใช้ในปัจจุบันเป็นหลักสูตรที่กำาหนดจากส่วนกลางและ
ผูกติดกับแนวคิดสากลมากกว่าท้องถิ่น เน้นทฤษฎีมากกว่าการ
ปฏิบัติจริง เน้นองค์ความรู้มากกว่าวิธีแสวงหาความรู้ วิชาที่สอน
เป็นแบบแยกส่วน ขาดความเชื่อมโยงและบูรณาการ มีผลให้ผู้
เรียนไม่ได้พัฒนาทักษะและวิธีการมองปัญหาในเชิงองค์รวม
กระบวนการเรียนการสอนเพื่อผลิตครูยังเน้นครูเป็นศูนย์กลาง
เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้มากกว่าการส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้ รักที่จะเรียนรู้ อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้กำาหนด
กิจกรรมการเรียนการสอนและการวัดผลฝ่ายเดียว ผู้เรียนไม่มี
ส่วนร่วม และ ที่สำาคัญการจัดการเรียนการสอนขาดการประสาน
สัมพันธ์กับวิถีชีวิตของท้องถิ่นและชุมชน ทำาให้นักศึกษาครูไม่
สามารถเรียนรู้ และพัฒนาวิชาชีพครูให้เหมาะสมกลมกลืนกับวิถี
ชีวิตของสภาพแวดล้อม ได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้ สือ นวัตกรรม
                                                    ่
และแหล่งการเรียนรู้ในสถาบันผลิตครูไม่เอื้อให้นักศึกษาครู
แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง การวัดผลและประเมินผล
เน้นการสอบวัดเนื้อหาวิชาการมากกว่าการประยุกต์ใช้ความรู้ที่
ชี้นำาแนวความคิดและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับการเป็นครูใน
อนาคต และที่สำาคัญ หลักสูตรการผลิตครูไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อ
รองรับการผลิตครูรุ่นใหม่ซึ่งต้องมีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีความ
พร้อมทั้งความรู้ในเนื้อหาวิชาการ ความสามารถในการชี้นำาความ
รู้ มีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ และมีคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้ง
สามารถปรับใช้เทคโนโลยีในวิชาชีพได้
4. ขาดระบบการประกัน คุณ ภาพบัณ ฑิต ครู เนื่องจาก
คุณภาพของบัณฑิตครูเป็นไปตามเกณฑ์การวัดและประเมินผล
ของสภาประจำาแต่ละสถาบันและไม่มีองค์กรอิสระที่ทำาหน้าที่ตรวจ
สอบ ติดตาม และประเมินคุณภาพบัณฑิตของสถาบันต่าง ๆ ฝ่าย
ผลิตครูเป็นผู้ตรวจสอบคุณภาพการผลิตครูแต่เพียงผู้เดียว การ
ประเมินคุณภาพบัณฑิตเน้นการท่องจำาเนื้อหาสาระควบคู่กับ
ระเบียบราชการมากกว่าการวัดคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการเป็นครู
5. ขาดการตรวจสอบคุณ ภาพการผลิต ครูแ ละสถาบัน
ผลิต ครู การประกันคุณภาพการผลิตครูและสถาบันผลิตครูเพิ่ง
เป็นที่ยอมรับ และเริ่มดำาเนินการมาไม่นานนัก การดำาเนินการใน
ปัจจุบันอยู่ในขั้นการสร้างหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ในช่วงที่
ผ่านมาจึงไม่มีการดำาเนินการประกันคุณภาพการผลิตครูและ
สถาบันผลิตครูอย่างชัดเจน นอกจากนี้ สถาบันผลิตครูของรัฐมี
จำานวนถึง 114 แห่ง และอยู่ต่างสังกัดกัน ส่งผลให้สถาบันผลิตครู
ขาดเอกภาพในนโยบายและมาตรฐานการผลิตครู ประกอบกับ
การไม่มีหน่วยงานกลางที่มีอำานาจตามกฎหมายในการกำาหนด
เกณฑ์มาตรฐานและติดตามประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพการ
ดำาเนินงานของสถาบันผลิตครู คุณภาพการผลิตครูจึงแตกต่างกัน
ไปตามเกณฑ์การวัดและประเมินผลของแต่ละสถาบัน


2. ปัญ หาเกี่ย วกับ กระบวนการใช้ค รู
สาเหตุที่ทำาให้การใช้ครูมีประสิทธิผลตำ่าอาจสรุปได้ 4 ประการ
ดังนี้
1. ค่า ตอบแทนครูต ำ่า เมื่อเปรียบเทียบกับวิชาชีพอื่น ๆ ที่รับ
ผิดชอบต่ออนาคตและความสงบเรียบร้อยของคนในชาติ เป็นต้น
ว่า อัยการ ตุลาการ แพทย์ และตำารวจแล้ว วิชาชีพครูได้รับค่า
ตอบแทนตำ่า ผลการสำารวจในปี พ.ศ. 2539 พบว่ามีครูเพียงร้อย
ละ 50 ที่สามารถอยู่ได้อย่างประหยัดด้วยเงินเดือนครู (สำานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2539) จากการสำารวจของ
กระทรวงศึกษาธิการ (2539) พบว่า 95% ของครูไทยเป็นหนี้และ
ภาวะหนี้สินนี้ ส่งผลให้ครูขาดขวัญกำาลังใจในการปฏิบัติงานและ
มีผลกระทบต่อการเรียนการสอนของตน รวมทั้ง การที่รัฐไม่
สามารถปรับ เงินเดือนข้าราชการครูให้เหมาะสมกับสภาพ
เศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำาให้ครูส่วนใหญ่มีปัญหา
ทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากรายได้น้อยแต่ค่าครองชีพสูง ครูบาง
ส่วนต้องหารายได้เพิ่มจากการประกอบอาชีพเสริมต่าง ๆ ซึ่งบาง
ครั้งเป็นการ เบียดบังเวลางาน และส่งผลให้ครูเอาใจใส่ต่อการ
เรียนการสอนน้อยลง นอกจากนี้ ครูที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ห่างไกล
ความเจริญยังต้องเสียสละเงินเดือนบางส่วนเพื่อช่วยเหลือนักเรียน
และซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอนด้วย (สำานักงานเลขาธิการคุรุ
สภา และกรมการฝึกหัดครู, 2536) วิชาชีพครูจึงไม่ได้รับความ
สนใจจากคนทั่วไป แม้กระทั่งผู้ที่เป็นครูหากมีทางเลือกอื่นก็เลือก
ที่จะไม่ประกอบอาชีพครู
นอกจากนี้การที่ระบบเงินเดือน สวัสดิการ และค่าตอบแทน
ของครูโดยทั่วไป เป็นระบบเดียวกันไม่มีความแตกต่างระหว่างครู
ดี ครูเก่ง กับครูเฉื่อยชาขาดความ รับผิดชอบ สภาพเช่นนี้ทำาให้
ครูดีมีแนวโน้มจะออกจากวิชาชีพมากขึ้น ส่วนครู ที่ยังคงอยู่ใน
ระบบก็ขาดแรงจูงใจที่จะพัฒนาตนและพัฒนางาน ส่งผลให้ผู้
สมัครเรียนครูสาขาขาดแคลนซึ่งเรียนยากกว่าสาขาอื่นยิ่งลดน้อย
ลง เพราะครูทุกสาขาวิชาได้รับ ผลตอบแทนในระบบเดียวกัน
2. ระเบีย บปฏิบ ัต ิไ ม่เ อื้อ ต่อ การพัฒ นางานและการ
พัฒ นาตนเอง ครู ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการ ทำาให้ครูมีสถานภาพ
มั่นคง ไม่เห็นความสำาคัญของการพัฒนาตนเอง ระเบียบ กฎ
เกณฑ์ การบริหารของระบบราชการสะกัดกั้นเสรีภาพความ
ก้าวหน้าทางวิชาการ และไม่กระตุ้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของ
ครู ระบบงบประมาณในปัจจุบันไม่เปิดโอกาสให้ครูและโรงเรียนมี
ส่วนกำาหนดระบบบริหารไม่ยืดหยุ่นให้ครู แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ส่ง
ผลให้ครูรู้สึกไร้พลังอำานาจการควบคุมงานของตน การบริหาร
สถานศึกษาใช้ระบบการบังคับบัญชาแบบราชการตามลำาดับขั้น
หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้มีอำานาจสั่งการเบ็ดเสร็จเป็นระบบอำานาจ
นิยม ผลคือ สถานศึกษาขาดบรรยากาศของชุมชนวิชาการที่เอื้อ
ต่อการพัฒนาตนเองของครู สภาพการร่วมมือทำางานร่วมกัน รับ
ผิดชอบของครูมีน้อย ส่วนผู้ประกอบอาชีพครูในสถานศึกษา
เอกชนก็ขาดความ มั่นคงในวิชาชีพ ขาดความก้าวหน้า ค่า
ตอบแทนตำ่าแต่ภาระงานสูง และขาดอิสระในการปฏิบัติงาน ทำาให้
พัฒนาตนเองได้น้อย เกิดสภาพขาดขวัญกำาลังใจ ท้อแท้ มากกว่า
ครูของรัฐเสียอีก
3. ขาดระบบการติด ตามและประเมิน ผลที่ม ีป ระสิท ธิผ ล
การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานของครูใน
ปัจจุบันดำาเนินการโดยผู้บังคับบัญชาของครู ซึ่งก็ทำาตามนโยบาย
ผู้บังคับบัญชาซึ่งเปลี่ยนแปลงค่อนข้างบ่อย ระบบ เกณฑ์ วิธีการ
และประสิทธิภาพของการประเมินมีความแตกต่างกันไปตาม
คุณภาพ ความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชาแต่ละคน ผู้ใกล้ชิด
และได้รับผลจากการปฏิบัติงานของครูโดยตรง เช่น ผู้ปกครอง
ชุมชน รวมทั้งเพื่อนครูไม่มีส่วนในการประเมินครู และ ผลการ
ประเมินก็ไม่มีความหมายในทางให้คุณให้โทษต่อครูมากนัก ครูที่
ได้รับการ คัดเลือกเป็นครูดีเด่นของโรงเรียนก็ไม่เป็นหลักประกัน
ว่าจะได้รับการเลื่อนเงินเดือน 2 ขัน ดังนั้น ในสภาพความเป็นจริง
                                  ้
จึงมีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานของครู
อย่างจริงจังน้อยมากและยังไม่เป็นที่ยอมรับจากครูโดยทั่วไปเท่าที่
ควร ระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล จึงยังไม่ถูกนำามา
ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาครูและพัฒนาการศึกษา
4. ชุม ชนมีส ่ว นร่ว มในการใช้ค รูน ้อ ย ปัจจุบันผู้ใช้ครูมี
อำานาจและผูกขาดการคัดเลือก การใช้ การประเมินและพัฒนาครู
แต่ฝ่ายเดียว ชุมชนซึ่งได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติงานของครู
โดยตรง ไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการนี้
       การคัดเลือก บรรจุ แต่งตั้งครู เป็นอำานาจตามกฎหมายของ
หน่วยงานส่วนกลาง คือ สำานักงานคณะกรรมการข้าราชการครู
และกรมเจ้าสังกัดครู กรมเจ้าสังกัดบางกรมได้กระจายอำานาจการ
บริหารงานบุคคลให้จังหวัดหรือสถานศึกษาในระดับหนึ่ง แต่
อำานาจแต่งตั้ง โยกย้ายผู้บริหารสถานศึกษายังเป็นของส่วนกลาง
การวิ่งเต้นเอาตำาแหน่งโดยอาศัยอำานาจนอกระบบจึงปรากฏให้
เห็นเสมอ การที่ท้องถิ่นและชุมชนไม่มีส่วนรับรู้และพิจารณา
เลือกสรรบุคคลที่จะมาดำารงตำาแหน่งผู้บริหารโรงเรียนในท้องถิ่น
ของตน ทำาให้การจัดการศึกษาในโรงเรียนถูกมองว่าเป็นหน้าที่
ของโรงเรียนหรือรัฐแต่เพียงฝ่ายเดียว ชุมชนเป็นเพียงผู้รับบริการ
และไม่สนใจที่จะให้ความร่วมมือในการพัฒนาการศึกษา การ
ติดตามความก้าวหน้าการดำาเนินงาน การตรวจสอบ ประเมินผล
และให้ความร่วมมือในการพัฒนาการศึกษา การพัฒนาการศึกษา
จึงไม่ก้าวไกลเท่าที่ควร
       นอกจากนี้ การจัดการศึกษาในปัจจุบัน สถานศึกษาดำาเนิน
การไปตามนโยบาย และแผนจากส่วนกลาง หลักสูตร เนื้อหาสาระ
ในการเรียนการสอนก็มาจากส่วนกลาง ชุมชนไม่ได้เข้าไปมีส่วน
ร่วมในการจัดการศึกษา ครูเองก็ไม่สนใจที่จะเรียนรู้จากชุมชน
และไม่นำาเอาวิถีชีวิตในชุมชนเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน ส่งผลให้สถานศึกษาและครูแยก
ตัวออกจากชุมชน ทำาให้ครูสอนในสิ่งที่ไม่สอดคล้องและไม่
สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ในชุมชนได้ นักเรียนเมื่อเรียนจบแล้ว
ก็ไม่ได้ทำางานในชุมชนนั้น ต้องอพยพเคลื่อนย้ายหางานทำาที่อื่น
ความแข็งแกร่งของชุมชนถูกทำาลาย ในส่วนของครูก็ขาดความรู้
เกี่ยวกับชุมชน ขาดการพัฒนาตนเอง ขาดสำานึกรับผิดชอบต่อ
ชุมชนและสังคม ส่งผลให้ไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมเท่าที่ควร
3. ปัญ หาเกี่ย วกับ การบริห ารจัด การ
สาเหตุที่ทำาให้การบริหารจัดการมีประสิทธิผลตำ่าอาจสรุปได้ 6
ประการ ดังนี้
1. ผู้บ ริห ารโรงเรีย นมีค วามรู้แ ละความสามารถทางการ
บริห ารตำ่า จากข้อมูลของสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ง
ชาติ(2539) พบว่า ผู้บริหารโรงเรียน ส่วนใหญ่มีพื้นความรู้ระดับ
ปริญญาตรีและปฏิบัติราชการโดยเฉลี่ย ประมาณ 20-30 ปี มี
ความรู้ความสามารถไม่เพียงพอในการบริหาร ผู้บริหารโรงเรียน
บริหารโดยยึดความเห็นของตนเองเป็นใหญ่ ให้ครูมีส่วนร่วมใน
การบริหารโรงเรียนตำ่า ไม่ให้ความสำาคัญของการมีส่วนร่วมของผู้
ปกครองและชุมชน การประชุมระหว่างผู้บริหารโรงเรียน ครู และ
ผู้ปกครองส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะการชี้แจงข้อเท็จจริง
มากกว่าการแสวงหาแนวทางการแก้ปัญหา ครู ผู้ปกครองและผู้
แทนชุมชนจึงแทบไม่มีส่วนร่วมในการบริหารโรงเรียน ขวัญและ
กำาลังใจของครูส่วนใหญ่จึงอยู่ในระดับตำ่า
2. ผู้บ ริห ารโรงเรีย นไม่ส นใจพัฒ นาตนเอง เป็นที่ทราบ
และยอมรับกันโดยทั่วไปว่า เส้นทางการก้าวขึ้นสู่ตำาแหน่งผู้
บริหารโรงเรียนขึ้นกับอำานาจสั่งการของนักการเมือง ดังนั้น
แทนที่ผู้บริหารจะสนใจพัฒนาตนเองเพื่อให้การบริหารงาน
โรงเรียนเป็นไปเพื่อสร้างขวัญ กำาลังใจกับครูในโรงเรียน หรือเพื่อ
พัฒนาครูและการศึกษาในโรงเรียน ผู้บริหารกลับเสียเวลาไปกับ
การประจบหรือทำางานให้นักการเมือง ความใส่ใจในการพัฒนา
ตนเองเพื่อบริหารงานในหน้าที่รับผิดชอบจึงมีน้อย และมิได้เป็น
ไปเพื่อการพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาและบริการทางการศึกษาของ
โรงเรียนอย่างแท้จริง
3. ขาดระบบการตรวจสอบและประเมิน ผลผู้บ ริห าร
โรงเรีย นที่ม ีป ระสิท ธิผ ล ปัญหาด้านการประเมินผลที่ผู้บริหาร
ประสบมีลักษณะคล้ายกันกับปัญหาของครู ผู้บริหารส่วนใหญ่มี
ความคิดว่าการตรวจสอบและประเมิน คือ การจับผิด การตรวจ
สอบและประเมินผู้บริหารโรงเรียนจึงดำาเนินการเฉพาะกรณีที่มี
ความผิดชัดเจน หรือเพื่อเลือนขั้นเลื่อนตำาแหน่ง การประเมินเพื่อ
                            ่
ปรับปรุงและพัฒนางานมีค่อนข้างจำากัด การปรับปรุงและพัฒนา
งานอย่างเป็นระบบในโรงเรียนจึง ไม่ปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัด
4. ผู้ป กครอง ชุม ชน และภูม ิป ัญ ญาท้อ งถิ่น มีส ่ว นร่ว มใน
การบริห ารโรงเรีย นตำ่า เนื่องจากอำานาจรัฐเข้าไปมีบทบาทใน
การบริหารการศึกษา และบริหารงานบุคคลในโรงเรียนค่อนข้าง
สูง ทั้งทำาหน้าที่กำาหนดบทบาทของการบริหาร และผู้ทำาหน้าที่ใน
การบริหารโรงเรียน โดยมิได้กระจายอำานาจในส่วนนี้ให้แก่ชุมชน
ส่งผลให้ผู้ปกครอง ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการ
บริหารโรงเรียนตำ่า สิ่งที่ชุมชนจะรับรู้เกี่ยวกับการบริหารโรงเรียน
อย่างมากที่สุด คือ การรับทราบนโยบายของโรงเรียน หรือมีส่วน
ร่วมโดยให้การสนับสนุนหรือช่วยเหลือโรงเรียนตามความต้องการ
ของโรงเรียนเท่านั้น
5. ขาดทรัพ ยากรเพื่อ การบริห ารโรงเรีย น ในช่วงเวลาที่
ผ่านมา รัฐเป็นฝ่ายเดียวที่สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการบริหาร
โรงเรียน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับจำานวนโรงเรียน และจำานวนครู
กว่าหกแสนคนที่มีอยู่งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้เกือบทั้งหมด จึง
เป็น งบประมาณเพื่อจ่ายเป็นเงินเดือนและเงินประจำาตำาแหน่งของ
ครู งบประมาณเพื่อการบริหารโรงเรียนโดยเฉพาะเพื่อให้โรงเรียน
ได้พัฒนาบุคลากรมีน้อยมาก นอกจากได้รับงบประมาณจากรัฐไม่
เพียงพอแล้ว ในสภาพปัจจุบันโรงเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ประสาน
งานเพื่อแสวงหาความร่วมมือในการระดมทรัพยากร ความ
เชี่ยวชาญจากชุมชน เอกชน เพื่อการบริหาร เป็นผลให้ครูใน
โรงเรียนไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร และการบริหารงานใน
โรงเรียนก็ไม่สามารถก้าวทันกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่
น่าจะนำามาใช้เพื่อการบริหารจัดการ
6. ขาดสถาบัน พัฒ นาผู้บ ริห ารโรงเรีย นระดับ มือ อาชีพ
ปัจจุบันมีสถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษาซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ
มีหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อพัฒนา ผู้บริหารได้จำานวนจำากัด หลักสูตร
ฝึกอบรม ผู้บริหารโรงเรียนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ไม่เข้มข้นเพียง
พอที่จะทำาให้ผู้บริหารกลายเป็นผู้บริหารมืออาชีพได้
เพื่อผ่อนคลายปัญหาข้างต้น โรงเรียนและหน่วยงานทางการ
ศึกษาได้ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย กำาหนดแนวทางในการแก้ปัญหา
และดำาเนินการแก้ปัญหาไปแล้วระดับหนึ่ง ตัวอย่างของผลการ
ศึกษา วิจัย และแนวทางการแก้ปัญหาที่กำาลังดำาเนินการอยู่ และที่
กำาลังจะดำาเนินการในอนาคตจะได้นำามากล่าวถึงในตอนต่อไป
ความพยายามในการแก้ป ัญ หาวิช าชีพ ครูใ นประเทศไทย
     รัฐบาลไทยได้ดำาเนินการหลายอย่างเพื่อการแก้ปัญหา
วิชาชีพครู ที่ปรากฏเห็นเด่นชัดอาจดูได้จากกฎหมาย นโยบาย
และแนวทางดำาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
        1. กฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพครู
        2. นโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู
        3. แผนพัฒนาการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวกับการพัฒนา
           วิชาชีพครู
        4. การปรับปรุงโครงสร้างและบทบาทองค์กรวิชาชีพครู
1. กฎหมายเกี่ย วกับ วิช าชีพ ครูท ี่ส ำา คัญ และใช้อ ยู่ใ น
ปัจ จุบ ัน มี 2 ฉบับ ดังนี้
1.1 พระราชบัญ ญัต ิค รู พ.ศ. 2488
พระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488 กำาหนดให้มีคุรุสภาในกระทรวง
ศึกษาธิการ คณะกรรมการอำานวยการคุรุสภาประกอบด้วย
1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน
2) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ               เป็นรองประธาน
3) อธิบดีและหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะ
                                       เป็นกรรมการ
เป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการทุกกรม
4) ผู้แทนข้าราชการครูจำานวน 6 คน       เป็นกรรมการ
5) ผู้แทนพนักงานครูเทศบาล 1 คน         เป็นกรรมการ
6) ผู้แทนครู กทม. 1 คน                 เป็นกรรมการ
7) ผู้แทนครูโรงเรียนเอกชน 2 คน         เป็นกรรมการ
                                       เป็นกรรมการและ
8) เลขาธิการคุรุสภา
                                       เลขานุการ
เพื่อให้การดำาเนินงานของคณะกรรมการอำานวยการคุรุสภาเป็นไป
อย่างมีประสิทธิผล พระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488 กำาหนดให้คุรุ
สภาซึ่งทำาหน้าที่สำานักงานเลขาธิการคณะกรรมการอำานวยการคุรุ
สภามีหน้าที่ดังต่อไปนี้
              1. ให้ความเห็นแก่กระทรวงศึกษาธิการในเรื่องการ
                 จัดการศึกษาโดยทั่วไป หลักสูตร แบบเรียน
                 อุปกรณ์ประกอบการเรียน การสอน การฝึก
อบรม การวัดผลและประเมินผลการศึกษา การ
                นิเทศการศึกษา และเรื่องอื่นที่เกี่ยวเนื่องโดยตรง
                กับการจัดการศึกษา
             2. ควบคุมและสอดส่องจรรยา มรรยาท และวินัย
                ของครู พิจารณาโทษครูผู้ประพฤติผิด และ
                พิจารณาคำาร้องทุกข์ของครู
             3. พิทักษ์สิทธิ์ของครูภายในขอบเขตที่กฎหมาย
                กำาหนด
             4. ส่งเสริมให้ครูได้รับสวัสดิการต่างๆตามสมควร
             5. พัฒนาความรู้ ความสามารถ และประสิทธิภาพ
                ของครู
      ด้วยเหตุที่คุรุสภาได้รับงบประมาณจากรัฐบาลค่อนข้างจำากัด
การดำาเนินงานที่ผ่านมาต้องอาศัยเงินรายได้จากการประกอบ
ธุรกิจขององค์การค้าคุรุสภา(ศึกษาภัณฑ์) ทำาให้คนส่วนใหญ่รู้จัก
ธุรกิจขององค์การค้าคุรุสภามากกว่ารู้จักคุรุสภา มีผลให้ คณะ
กรรมการอำานวยการคุรุสภาใส่ใจกับการหารายได้ให้แก่คุรุสภา
มากกว่าการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาวิชาชีพครูซึ่งเป็นภารกิจ
หลักของคุรุสภาและของคณะกรรมการอำานวยการคุรุสภา
      นอกจากนั้นองค์ประกอบของคณะกรรมการอำานวยการและ
วิธีการได้มาซึ่งกรรมการก็เป็นอุปสรรคอย่างหนึ่งของการปฏิบัติ
ภารกิจพัฒนาวิชาชีพครูของคุรุสภา กรรมการโดยตำาแหน่ง
ประกอบด้วยข้าราชการระดับสูงของแต่ละกรมซึ่งต่างมีภารกิจ
ประจำาค่อนข้างรัดตัวจึงยากที่จะมีเวลาเพียงพอที่จะอุทิศตนให้กับ
การคิดหามาตรการ แนวทางที่จะนำามาใช้ในการพัฒนาและแก้
ปัญหา และไม่มีเวลาเพียงพอที่จะติดตามประเมินผลการนำา
มาตรการ แนวทางไปใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับวิชาชีพครูเพื่อก่อให้
เกิดการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างแท้จริง
      หลายคนคาดหวังว่ากรรมการอำานวยการคุรุสภาจากผู้แทน
ครูสังกัดหน่วยงานต่างๆจะทำาหน้าที่ผู้นำาในการผลักดันให้เกิดการ
พัฒนาวิชาชีพครูแต่ที่ผ่านมา ผู้แทนครูที่มาจากการเลือกตั้งมักจะ
ถูกมองว่าเป็นกลุ่มที่เข้ามาเพื่อแสวงหาอำานาจและผลประโยชน์
ความร่วมมือและการสนับสนุนจากฝ่ายต่างๆทั้งจากครู ผู้ปกครอง
และบุคคลในวิชาชีพอื่นในการผลักดันให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพ
ครูอย่างแท้จริงจึงมีไม่สูงนัก
2.2 พระราชบัญ ญัต ิร ะเบีย บข้า ราชการครู พ.ศ. 2523
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูกำาหนดให้มีคณะกรรมการ
ข้าราชการครูทำาหน้าที่บริหารงานบุคคลของข้าราชการครูโดย
เฉพาะ คณะกรรมการข้าราชการครู ประกอบด้วย
1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ     เป็นประธาน
2) เลขาธิการ ก.พ.                      เป็นกรรมการ
3) เลขาธิการคุรุสภา                    เป็นกรรมการ
4) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง ค.ร.ม.แต่งตั้งจาก
บุคคลที่อยู่ในตำาแหน่งข้าราชการไม่ตำ่า
กว่าอธิบดี หรือเคยรับราชการตำาแหน่ง
                                         เป็นกรรมการ
ไม่ตำ่ากว่าอธิบดี จำานวน 5 คนโดยใน
จำานวนนี้ต้อง เป็นบุคคลที่อยู่ในตำาแหน่ง
ไม่ตำ่ากว่า 3 คน
5) ผู้แทนข้าราชการครู จำานวน 7 คน      เป็นกรรมการ
                                       เป็นกรรมการและ
6) เลขาธิการ ก.ค.
                                       เลขานุการ
คณะกรรมการข้าราชการครูอาจเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งเป็น
รองประธาน คณะกรรมการ
คณะกรรมการข้าราชการครูมีอำานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
        1. เสนอแนะและให้คำาปรึกษาแก่รัฐมนตรีเกี่ยวกับ
           นโยบายการบริหารงานบุคคลและการจัดระบบ
           ราชการในหน่วยงานทางการศึกษา
        2. ออกกฏ ก.ค. และระเบียบเพื่อปฏิบัติตามพระราช
           บัญญัตินี้ กฏ ก.ค.เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
           และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้
3. ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้
          บังคับพระราชบัญญัตินี้ มติของ ก.ค. เมื่อได้รับความ
          เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้วให้ใช้บังคับได้
       4. ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ แนะนำาชี้แจง เพื่อให้หน่วย
          งานทางการศึกษาและกรม ปฏิบัติการตามพระราช
          บัญญัตินี้ ในการนี้ให้มีอำานาจเรียกเอกสารและหลัก
          ฐานจากหน่วยงานทางการศึกษาและกรม ให้ผู้แทน
          หน่วยงานทางการศึกษาและกรม ข้าราชการหรือ
          บุคคลใดมาชี้แจงข้อเท็จจริงและให้มีอำานาจออก
          ระเบียบให้หน่วยงานทางการศึกษาและกรมรายงาน
          เกี่ยวกับการสอบ การบรรจุ การแต่งตั้ง การเลื่อนขั้น
          เงินเดือน การดำาเนินการทางวินัย และการออกจาก
          ราชการ ตลอดจนรายงานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงใน
          ลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของตำาแหน่ง และ
          เกี่ยวกับทะเบียนประวัติของข้าราชการครูไปยัง ก.ค.
       5. รายงานนายกรัฐมนตรีในกรณีที่ปรากฏว่าหน่วยงาน
          ทางการศึกษา กรม อ.กค.กรม หรือ อ.ก.ค.จังหวัดใด
          หรือผู้มีหน้าที่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ไม่ปฏิบัติ
          ตามพระราชบัญญัตินี้หรือปฏิบัติการโดยไม่เหมาะสม
          เพื่อนายกรัฐมนตรีจะได้สั่งการต่อไป
       6. รักษาทะเบียนประวัติข้าราชการครู
       7. รับรองคุณวุฒิของผู้ได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตร
          วิชาชีพ เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้ง
          ข้าราชการครู และกำาหนดอัตราเงินเดือนที่ควรได้รับ
          โดยคำานึงถึงอัตราเงินเดือนตามที่คณะกรรมการ
          ข้าราชการพลเรือนกำาหนดสำาหรับปริญญาหรือ
          ประกาศนียบัตรวิชาชีพเดียวกัน
       8. กำาหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการตามพระ
          ราชบัญญัตินี้
       9. ปฏิบัติการอื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และ
          กฎหมายอื่น
     ด้วยเหตุที่พระราชบัญญัติข้าราชครู พ.ศ. 2523 กำาหนดให้
ก.ค. ทำาหน้าที่ทุกอย่างเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของ
ข้าราชการครู ซึ่งมีจำานวนประมาณ 5 แสนกว่าคน แต่บุคลากร
และงบประมาณของสำานักงาน ก.ค. มีจำานวนจำากัดจึงทำาให้การ
ปฏิบัติภารกิจตามที่กฎหมายบัญญัติของ ก.ค. ไม่มีประสิทธิผล
ข้าราชการครูมักเบื่อหน่ายกับความล่าช้า(red-tape) ในการ
ดำาเนินงานและสั่งการในเรื่องต่างๆ หลายคนเบื่อหน่ายกับการรวบ
อำานาจและลงลึกในรายละเอียดในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่
สำานักงาน ก.ค. หลายคนเห็นว่าหน้าที่หลายอย่างของ ก.ค. ควร
จะได้มีการกระจายอำานาจให้กรมหรือสถานศึกษาเป็นผู้ตัดสินใจ
แต่ ก.ค. ก็ยังรวบอำานาจเอาไว้อยู่ นอกจากนั้นหน้าที่บางอย่าง
เป็นต้นว่า การรักษาทะเบียนประวัติครู การกำาหนดอัตราค่า
ธรรมเนียมก็ไม่ควรเป็นหน้าที่ของ ก.ค.ต่อไป แต่ ก.ค. ควรมอบ
หน้าที่ดังกล่าวให้กับกรมต่างๆทำาหน้าที่แทน การที่กฎหมาย
กำาหนดภารกิจให้ ก.ค. ต้องปฏิบัติหน้าที่ทุกอย่างเกี่ยวกับการ
บริหารงานบุคคลของข้าราชการครูผ่านสำานักงาน ก.ค. ซึ่งตั้งอยู่
ที่ส่วนกลาง มีผลให้การบริหารงานบุคคลผูกติดกับรายงานที่อยู่
ในรูปเอกสารซึ่งอาจคลาดเคลื่อนและไม่ตรงกับความเป็นจริงได้
     นอกจากนั้น การที่กฎหมายบัญญัติให้รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการเป็นประธานก.ค. โดยตำาแหน่ง แต่รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงศึกษาธิการมีภารกิจอื่นค่อนข้างมาก การนัดเวลา
ประชุมในเรื่องสำาคัญต้องเลื่อนตามตารางปฏิบัติภารกิจเฉพาะหน้า
ของรัฐมนตรี ทำาให้ฝ่ายเลขานุการกำาหนดตารางประชุมล่วงหน้า
ลำาบาก บ่อยครั้งการประชุมนัดสำาคัญต้องเลื่อนไปไม่มีกำาหนด
เพราะต้องรอเวลานัดหมายจากรัฐมนตรี
     ด้วยเหตุที่กรรมการ ก.ค. ประกอบด้วยข้าราชการในสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการเป็นส่วนใหญ่ นโยบายการบริหารงานบุคคล
ของข้าราชการครูจึงขึ้นอยู่กับความต้องการและความปรารถนา
ของตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นสำาคัญ กรรมการ
ก.ค. จากผู้แทนครูอาจไม่เห็นด้วยกับความเห็นของรัฐมนตรีใน
หลายๆเรื่องแต่โดยวัฒนธรรมของคนไทยแล้วย่อมเป็นการยากที่
จะทำาให้ข้าราชการครูซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการกล้าเสนอความเห็นขัดแย้งและท้าทายความ
เห็นของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
      แม้ว่าการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการครูเป็น
หน้าที่หลักอย่างหนึ่งของงานการบริหารงานบุคคล แต่ในทาง
ปฏิบัติ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ข้าราชการครูมักกระทำา
เฉพาะในช่วงขอเงินเดือนเพิ่มประจำาปีให้แก่ข้าราชการครู ซึ่งมัก
จะถูกครูทั่วไปตำาหนิเสมอว่าไม่เป็นธรรม เล่นพรรคเล่นพวก และ
ไม่สัมพันธ์กับ ความสำาเร็จทางการเรียนและพัฒนาการด้านต่างๆ
ของผู้เรียน นักเรียนและผู้ปกครองไม่มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล
เกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานของครู รายงานการประเมินผลจึงมักขึ้น
อยู่กับข้อมูลที่ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ หรือผู้อำานวยการโรงเรียน
เสนอเป็นหลัก ครูส่วนใหญ่เกิดความรู้สึกว่าความสำาเร็จในการ
ปฏิบัติหน้าที่ขึ้นอยู่กับผลการประเมินของผู้บริหารโรงเรียน
มากกว่าความสำาเร็จของผู้เรียน
     พระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488 และพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการครู พ.ศ. 2523 มีเจตนาต้องการให้วิชาชีพครูเป็น
วิชาชีพชั้นสูง ต้องการเห็นผู้ประกอบวิชาชีพครูมีความขยันอดทน
เสียสละ ตั้งใจอบรมสั่งสอน พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และเป็น
แบบฉบับที่ดีให้แก่ศิษย์ ทั้งนี้ ดังจะเห็นได้จากจรรยาบรรณครูทั้ง
11 ข้อที่ประกาศใช้ภายใต้บทบัญญัติพระราชบัญญัติครู พ.ศ.
2488 และวินัยข้าราชการครูที่ปรากฏในพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการครู พ.ศ. 2523
อย่างไรก็ตาม ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันข้าราชการครูเป็นจำานวนมาก
ไม่ใส่ใจกับจรรยาบรรณและวินัยข้าราชการครู มีการฝ่าฝืนวินัย
และประพฤติตนผิดจรรยาบรรณครูให้เห็นอยู่บ่อยๆ มาตรการ
ป้องกันการฝ่าฝืนวินัยและจรรยาบรรณและมาตรการลงโทษที่มี
ประสิทธิผลกว่าที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เช่น การบังคับให้ผู้ประกอบ
วิชาชีพครูต้องมี ใบอนุญาตประกอบการสอน จึงควรได้รับการ
พัฒนาและนำามาใช้ในโอกาสต่อๆไป




2. นโยบายรัฐ บาลเกี่ย วกับ การพัฒ นาวิช าชีพ ครูข องไทย
      การให้ความสำาคัญแก่วิชาชีพครูได้ปรากฏในนโยบาย
รัฐบาลหลายยุคหลายสมัย ที่เห็นเด่นชัด ได้แก่ นโยบายในส่วนที่
เกี่ยวกับการศึกษาและสังคมของรัฐบาลในอดีตจนถึงปัจจุบันที่
สำาคัญ เช่น
รัฐบาลนายอานันท์ ปัญญาชุน (2534) มองเห็นความสำาคัญ
ของการศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพครูโดยได้กำาหนดนโยบาย
ในส่วนนี้ว่า
    วางมาตรการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนอาจารย์ที่มีคุณภาพ
โดยเฉพาะในสาขาวิชาที่มีความต้องการสูง
      รัฐบาลนายชวน หลีกภัย (2535) กำาหนดนโยบายในส่วนที่
เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู ว่า
จะพัฒนามาตรฐานวิชาชีพครูและมาตรฐานบุคลกรทางการศึกษา
ให้เป็นวิชาชีพอย่างแท้จริง โดยการปรับกระบวนการผลิตและการ
ใช้ ตลอดจนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็น
ระบบ และต่อเนื่อง ปรับปรุงสวัสดิการ ที่เหมาะสมให้แก่บุคลากร
ในสถาบันการศึกษา ทุกระดับ เพื่อสร้างขวัญ กำาลังใจและความ
ภาคภูมิใจในอาชีพ
รัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา (2538) กำาหนดนโยบายด้านการ
ผลิตและการพัฒนาครูไว้โดยเฉพาะ ดังนี้
             1. ปฏิรูปการผลิตครู และพัฒนาครูประจำาการอย่าง
                เป็นระบบและเสริมสร้างเครือข่ายทั่วประเทศโดย
                เร่งพัฒนาครูในสาขาวิชาที่ขาดแคลนเป็นลำาดับ
                แรกและเร่งพัฒนาในด้านคุณธรรมและจริยธรรม
             2. ดำาเนินการด้านสวัสดิการและสิทธิประโยชน์เพื่อ
                ส่งเสริมขวัญกำาลังใจ และความมั่นคงให้กับครู
                และ พัฒนาองค์กรวิชาชีพครูในสาขาวิชาต่าง ๆ
                ในท้องถิ่น รวมทั้งพัฒนากองทุนกาญจนาภิเษก
                และระดมทุนจากภาคเอกชน เพื่อจัดตั้งกองทุน
                สำาหรับให้ครูกู้โดยจ่ายดอกเบี้ยตำ่าเพื่อส่งเสริม
                การพัฒนาคุณภาพครู
รัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (2539) ประกาศว่า
รัฐจะยกระดับคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากร
ทางการศึกษา รวมทั้งเร่งรัดการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและล่าสุด
รัฐบาลนายชวน หลีกภัย (2540) ได้ประกาศแนวทางในการ
พัฒนาวิชาชีพครูว่า จะเร่งพัฒนาวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพที่ได้รับ
การยอมรับเพื่อให้ครูได้ทำางานอย่างมีเกียรติ โดยปฏิรูป
กระบวนการผลิตครู และการพัฒนาครู เน้นการผลิตในสาขา
ขาดแคลน ตลอดจนสร้างเกณฑ์มาตรฐานเพื่อการยกย่องให้
รางวัลครูที่ดี และเก่งมีความก้าวหน้าในอาชีพ โดยส่งเสริม
สวัสดิการของครู
        จากนโยบายของหลายรัฐบาลที่กล่าวถึงข้างต้นย่อมบ่งบอก
ให้พวกเราทั้งหลายทราบว่าปัญหาเกี่ยวกับวิชาชีพครูเป็นปัญหา
ใหญ่ระดับชาติ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมาช้านาน รัฐบาลในอดีตทุก
รัฐบาลรับทราบและตระหนักในปัญหา ได้พยายามมองหาแนวทาง
และมาตรการเพื่อการแก้ปัญหามาอย่างต่อเนื่อง และรัฐบาลเห็น
ความจำาเป็นที่ประเทศไทยต้องระดมทรัพยากรและ ภูมิปัญญาที่มี
อยู่ทั้งในท้องถิ่นและสากลมาร่วมแก้ปัญหา
       ด้วยเหตุที่รัฐบาลที่ผ่านมามี เวลาในการบริหารประเทศค่อน
ข้างสั้น และไม่ต่อเนื่อง นโยบายที่ประกาศออกไปจึงขาดการนำา
ไปปฏิบัติให้บังเกิดผล เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลแต่ละครั้ง
รัฐบาลจึงต้องเริ่มต้นร่างนโยบายใหม่อยู่รำ่าไป ส่วนนโยบายเก่า
มักจะถูกเก็บไว้ก่อน ไม่นำามาสานต่อความตั้งใจในการแก้ปัญหา
วิชาชีพครูของแทบทุกรัฐบาลในอดีตจึงไม่ประสบความสำาเร็จ
     หลังจากการประกาศใช้กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราช
อาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 บทบัญญัติมาตรา 81 แห่งกฎหมาย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ระบุว่า
มาตรา 81 รัฐต้องจัดการศึกษาอบรม และสนับสนุนให้เอกชน
จัดการศึกษาอบรมให้เกิดความรู้คู่คุณธรรม จัดให้มีกฎหมายเกี่ยว
กับการศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างเสริมความรู้และปลูกฝัง
จิตสำานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สนับสนุนการ
ค้นคว้าวิจัยในศิลปวิทยาการต่าง ๆ เร่งรัดพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ พัฒ นาวิช าชีพ ครู และส่ง
เสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ
      มาตรา 81 บัญญัติให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ
และยังบัญญัติต่อไปอีก ว่ากฎหมายการศึกษาแห่งชาติต้องบัญญัติ
ให้ฝ่ายบริหารเร่งรัดดำาเนินการให้มีการพัฒนาวิชาชีพครู การ
กำาหนดแนวปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับแนวทางการผลิต การพัฒนา
การใช้ การ ส่งเสริม และการสนับสนุนครูจึงเป็นสิ่งจำาเป็นและต้อง
บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติที่จะประกาศใช้ นี้
      การมีกฎหมายการศึกษาและมีบทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับ
การพัฒนาวิชาชีพครูไว้ โดยเฉพาะย่อมเป็นหลักประกันการ
พัฒนาวิชาชีพครูให้เกิดความต่อเนื่องและมีประสิทธิผล ก่อให้เกิด
การพัฒนาวิชาชีพครูที่ยั่งยืนและถาวร และเป็นที่หวังว่ากฎหมาย
การศึกษาที่จะประกาศใช้ในเร็ววันนี้จะทำาให้ประเทศไทยมีแนว
ปฏิบัติที่ชัดเจนในการพัฒนาวิชีพครู
3.แผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คมและการศึก ษาในส่ว นที่
เกี่ย วกับ การพัฒ นาวิช าชีพ ครู
3.1 แผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คมแห่ง ชาติ ฉบับ ที่ 8
(2540-2544) เน้น ความสำา คัญ ของการพัฒ นาวิช าชีพ ครู
ทั้ง ในส่ว นที่เ กี่ย วกับ กระบวนการผลิต การใช้ และการ ส่ง
เสริม พัฒ นาครู โดยได้ก ำา หนดเป็น นโยบายไว้ด ัง นี้
             1. สร้างปัจจัยและโอกาสให้คนดีคนเก่งเข้าสู่
                วิชาชีพครูอาจารย์ เช่น การปรับปรุงระบบการ
                คัดเลือกผู้รับทุน การปรับปรุงระบบตำาแหน่ง การ
                เปิดโอกาสให้แสดง ความสามารถอย่างอิสระ
                ควบคู่กับการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน
                และเนื้อหาสาระ ให้ครูอาจารย์เรียนรู้วิธีการ
                เรียนรู้ด้วยตนเองมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ
                มีการทดลองปฏิบัติจริงมากขึ้น
             2. เร่งรัดให้มีการพัฒนาครูอาจารย์และบุคลากร
                โดยฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง ตลอดทั้งพัฒนาให้
                สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมี
                ประสิทธิภาพในการ แบ่งเบาภาระและสนับสนุน
                การปฏิบัติงาน
             3. สร้างจิตสำานึกและส่งเสริมขวัญกำาลังใจในการ
                ทำางานของครู อาจารย์ โดยการสร้างทางเลือก
                และความก้าวหน้าในวิชาชีพที่เปิดกว้างหลาก
                หลาย ให้การยกย่องเกียรติคุณ ตลอดทั้งการ
                ประเมินการสอนเพื่อนำาไปประกอบการส่งเสริม
                ความก้าวหน้าและสวัสดิการต่าง ๆ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 เน้นว่าคน
ต้องเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ถ้าเราพัฒนาคนได้สำาเร็จ การ
พัฒนาด้านอื่นๆก็จะเกิดขึ้นตามมา หรืออาจกล่าวในอีกทำานอง
หนึ่งได้ว่าการพัฒนาทุกอย่างจะสำาเร็จถ้าคนได้รับการพัฒนาและ
นำาความรู้ ทักษะ ความคิด และประสบการณ์ที่ได้รับจากการ
พัฒนาไปแก้ปัญหา และพัฒนาความรู้ใหม่ขึ้นมาอย่างไม่หยุดยั้ง
การพัฒนาคนจะสำาเร็จไม่ได้เด็ดขาดถ้าครูและวิชาชีพครูไม่ได้รับ
การพัฒนาและยกย่อง
3.2 แผนการศึก ษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2535 เพื่อเป็นกรอบและ
แนวทางในการพัฒนาวิชาชีพครู แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2535 กำาหนดแนวทางในการพัฒนาวิชาชีพครูทั้งในส่วนที่เกี่ยว
กับการผลิต การใช้ การพัฒนาและส่งเสริมครูและวิชาชีพครูไว้
ดังนี้
             1. พัฒนาระบบการคัดเลือกผู้เข้าศึกษาวิชาชีพครู
                เพื่อให้ได้ผู้ที่มีความสนใจ ความถนัด และความ
                ตั้งใจจริง มาเรียนครูและประกอบอาชีพครู
                พร้อมทั้งสนับสนุนส่งเสริมให้ผู้ที่มีความรู้ความ
                สามารถในวิชาชีพอื่นมาประกอบอาชีพครู โดย
                ให้ได้รับการฝึกอบรมวิชาครูเพิ่มเติมก่อนประจำา
                การ
             2. พัฒนากระบวนการฝึกหัดครู การอบรม และ
                พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยเน้นให้
                มีการฝึกปฏิบัติและการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการ
                พัฒนาคุณธรรม ความสามารถในการสอนและ
                การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การวิเคราะห์
                สังเคราะห์ การแสวงหาความรู้ และการเรียนรู้
                ด้วยตนเอง การริเริ่มสร้างสรรค์ การสร้าง การ
                ประยุกต์และใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา ตลอด
                จนการมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาของ
                ชุมชน การฟื้นฟู อนุรักษ์ และเสริมสร้างสิ่ง
                แวดล้อม และวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของ
                ประเทศ
             3. ส่งเสริมให้ครูมีบทบาทเป็นผู้นำาทางความคิด และ
                เป็นผู้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาชุมชน
ตลอดจนประสานแหล่งความรู้วิทยาการสากลกับ
               ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดแลก
               เปลี่ยนและกระจายความรู้อย่างกว้างขวาง
             4. จัดอัตรากำาลังของหน่วยงานทางการศึกษาต่าง ๆ
                ให้เหมาะสมกับปริมาณงานเพื่อให้การใช้ครู
                และบุคลากรทางการศึกษาของแต่ละหน่วยงาน
                เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
             5. พัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลของครูให้
                เหมาะสมกับวิชาชีพ พร้อมทั้งให้มีการกำาหนด
                ระเบียบและวิธีการ เพื่อยกฐานะอาชีพครู
             6. จัดให้มีการกำากับดูแลคุณภาพ มาตรฐาน และ
                การปฏิบัติวิชาชีพตามจรรยาวิชาชีพครูโดยการ
                พัฒนาองค์กรวิชาชีพให้เข้มแข็ง และให้มีใบ
                อนุญาตประกอบวิชาชีพครูที่มีกฎหมายรองรับ
3.3 แผนพัฒ นาการศึก ษาแห่ง ชาติ ฉบับ ที่ 8 (2540-
2544) เพื่อให้การพัฒนาวิชาชีพครูมีความต่อเนื่อง และเน้นยำ้า
ให้เห็นความสำาคัญของการพัฒนาวิชาชีพครู แผนพัฒนาการ
ศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 8 กำาหนดแนวทางการพัฒนาวิชาชีพครูทั้ง
ในส่วนที่ เกี่ยวกับการผลิต การใช้ การพัฒนาและส่งเสริมครูและ
วิชาชีพครูเพิ่มเติมจากแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 7
(2535-2539) ไว้ดังนี้
             1. เพิ่มทุนการศึกษาในโครงการพิเศษต่าง ๆ ให้มี
                สัดส่วนประมาณร้อยละ 50 ของจำานวนครู
                อาจารย์ที่เกษียณอายุในแต่ละปี
             2. เพิ่มปริมาณการผลิตครูอาจารย์ด้านวิทยาศาสตร์
                และเทคโนโลยีให้เพียงพอกับความต้องการ และ
                มีการรับผู้สำาเร็จอาชีวศึกษาเข้ามาเรียนวิชาชีพ
                ครูให้มากขึ้น
             3. มีการพัฒนาครูประจำาการอย่างต่อเนื่อง โดยครู
                ทุกคนต้องได้รับการพัฒนาตลอดระยะเวลาที่
                ปฏิบัติหน้าที่ครู อย่างน้อยในทุก ๆ 5 ปี
4. สนับสนุนและให้ทุนการศึกษาดูงานแก่ครูช่าง
               เพื่อเพิ่มความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับ
               วิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ อย่างน้อยปีละ
               1 ครั้ง
            5. มีการปรับปรุงระบบการสรรหาคนเข้าเรียน
               วิชาชีพครู ระบบตำาแหน่ง และการประเมินผล
               บุคคลเข้าสู่ตำาแหน่งครู
            6. มีการจัดสวัสดิการให้ครูในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้
               ครูสามารถดำารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข
     เพื่อให้การนำานโยบายในแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ฉบับที่ 8 (2540-2544) ไปปฏิบัติให้บังเกิดผลคณะกรรมการการ
ศึกษาแห่งชาติได้เสนอมาตรการเพื่อการพัฒนาวิชาชีพครูดังนี้
            1. ปรับระบบการผลิตครู โดยสรรหาคนเก่งและดี
               เข้าเรียนวิชาชีพครู ปฏิรูปการเรียนการสอนใน
               การผลิตครู เพื่อผลิตครูที่มีคุณภาพตามที่
               ต้องการ และเร่งรัดการผลิตครูสาขาที่ขาดแคลน
               ให้เพียงพอ
            2. อบรมและพัฒนาครูประจำาการอย่างเป็นระบบ
               และต่อเนื่อง ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและ
               บุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาอย่างต่อ
               เนื่อง และเร่งปรับระบบการพัฒนาผู้บริหารการ
               ศึกษาให้มีความสามารถในการบริหารและ
               จัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
            3. ปรับปรุงระบบการบริหารบุคลากรและระบบ
               สวัสดิการ โดยปรับปรุงแก้ไข กฎ ระเบียบการ
               บริหารงานบุคลากรเพื่อสนับสนุนครูเก่งและดี
               และปรับปรุงระบบสวัสดิการในสถาบันการศึกษา
               ทุกระดับให้เหมาะสม เพื่อสร้างขวัญกำาลังใจและ
               ความภาคภูมิใจในอาชีพแก่ครู ฯลฯ
3.4 แนวทางปฏิร ูป การศึก ษาของกระทรวงศึก ษาธิก าร
เพื่อให้สอดรับกับนโยบายรัฐบาล และสอดรับกับแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษา กระทรวง
ศึกษาธิการได้กำาหนดแนวทางการปฏิรูปครูไว้ดังนี้
1. สร้างจิตสำานึกในความรับผิดชอบของครู ผู้
   บริหารโรงเรียน และบุคลากรทางการศึกษาให้
   มุ่งมั่นต่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างจริงจัง
2. ในการประเมินความก้าวหน้าของครู ให้มุ่งเน้นที่
   การวัดประสิทธิภาพของผลการปฏิบัติงานโดย
   เฉพาะคุณภาพการเรียนของผู้เรียน และ
3. ให้ครูทุกคนได้เพิ่มพูนความรู้ และพัฒนาทักษะ
   ในรูปแบบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องทั่วถึง และทันต่อ
   การเปลี่ยนแปลงสนับสนุนให้ครูทำาการวิจัยเพื่อ
   พัฒนาการเรียนการสอนควบคู่กันไปกับการ
   เปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยี โดยในทุก
   2 ปี ต้องผ่านการอบรมอย่างน้อย 1 ครั้ง ทั้งการ
   อบรมของกระทรวงศึกษาธิการ และ/หรือกรมต้น
   สังกัด และการอบรมของสถาบันอื่น ๆ ทั้งภาครัฐ
   และเอกชนที่มีวุฒิบัตรรับรอง ตลอดจนการอบรม
   ทางไกล การเข้าประชุมสัมมนา และการพัฒนา
   ตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ให้ถือเป็นการปฏิบัติ
   หน้าที่ และให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเป็นส่วน
   หนึ่งของผลการปฏิบัติงานของครูด้วย
4. ให้ครูเลือกแผนการสอนหรือพัฒนาให้เหมาะสม
   กับผู้เรียนเพื่อมุ่งให้ผู้เรียนสามารถสร้างและ
   พัฒนาความรู้ได้ตลอดชีวิตอย่างแท้จริง
5. ให้ครูที่สังกัดส่วนราชการต่าง ๆ ในกระทรวง
   ศึกษาธิการ สามารถทำาการสอนในสถานศึกษา
   ทั้งในและนอกสังกัด ได้มากกว่า 1 แห่ง ทั้งนี้
   โดยได้รับความเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชา และ
   ให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษ และให้นับรวมเป็น
   ส่วนหนึ่งของผลงานของครู ในการบรรจุครูใหม่
   ให้นำาประสบการณ์ของครูมาพิจารณาประกอบ
   การกำาหนดเงินเดือนด้วย
6. กำาหนดคุณสมบัติและเปิดโอกาสให้ภูมิปัญญา
   ท้องถิ่น ครูชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวุฒิจากภาค
   เอกชน และส่วนราชการต่าง ๆ รวมทั้งผู้เกษียณ
   อายุราชการ มาสอนในสถานศึกษาสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีค่าตอบแทนให้ตาม
  ความเหมาะสม
7. แก้ไขปัญหาการขาดแคลนครู โดยการบรรจุแต่ง
   ตั้งครูให้ครบทุกตำาแหน่ง ตามแผนอัตรากำาลัง
   ของแต่ละสถานศึกษา การเกลี่ยอัตรากำาลังครู
   และการลดจำานวนครูช่วยราชการให้คงเหลือ
   น้อยที่สุด สำาหรับครูผู้สอนวิชาขาดแคลนให้ได้
   รับค่าตอบแทนพิเศษ อีกทั้งสนับสนุนให้สถาน
   ศึกษาที่จัดการศึกษาระดับหลังมัธยมศึกษาที่มี
   ความพร้อมในการเปิดสอนสาขาวิชาขาดแคลน
   จัดสอนได้ถึงระดับปริญญาตรี
8. รื้อปรับระบบการกำาหนดตำาแหน่งครูในสถาน
   ศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อจำาแนก
   ความก้าวหน้าในสายงาน(Career Ladder)
   ระหว่างครูกับผู้บริหารสถานศึกษาให้มีสาย
   วิชาชีพ(Career Pattern)ที่ชัดเจนแต่มีความ
   ยืดหยุ่นและสามารถสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันได้
   โดยเฉพาะครูสามารถก้าวหน้าตามสายงานการ
   สอนในระดับตำาแหน่งที่สูงขึ้นได้ด้วยผลงานของ
   ตนเอง ทั้งนี้กำาหนดให้มีคู่มือปฏิบัติงานของครู
   และคู่มือปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา
9. กำาหนดมาตรฐานวิชาชีพครู โดยให้คุรุสภา
   คณะกรรมการข้าราชการครู และสถาบันผลิตครู
   ดำาเนินการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และให้มี
   มาตรการพัฒนาวิชาชีพ โดยการกำาหนดให้มีใบ
   ประกอบวิชาชีพครู
10.     ปฏิรูประบบสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูล
  ของครูทุกประเภท ทุกสังกัด เพื่อ ยกระดับ
  คุณภาพชีวิตของครู ส่งเสริมขวัญกำาลังใจและ
  ความมั่นคงในอาชีพให้กับครู รวมทั้งปรับปรุง
  โครงสร้างเงินเดือนและสวัสดิการอื่น ๆ ของครู
  โดยมุ่งส่งเสริม สนับสนุนแก่ครูที่สอนในถิ่น
  ทุรกันดาร ครูที่สอนหลายชั้นเป็นพิเศษ
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)

Contenu connexe

Tendances

นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กนำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กsosoksg
 
อช31001
อช31001อช31001
อช31001patara4
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ
ช่องทางการเข้าสู่อาชีพช่องทางการเข้าสู่อาชีพ
ช่องทางการเข้าสู่อาชีพpatara4
 
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
อช21003
อช21003อช21003
อช21003patara4
 

Tendances (6)

นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กนำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
นำเสนออบรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก
 
อช31001
อช31001อช31001
อช31001
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ
ช่องทางการเข้าสู่อาชีพช่องทางการเข้าสู่อาชีพ
ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ
 
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
 
อช21003
อช21003อช21003
อช21003
 

Similaire à 2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)

บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1Pala333
 
เอสารนโยบาย
เอสารนโยบายเอสารนโยบาย
เอสารนโยบายqlf
 
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...Napadon Yingyongsakul
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำruathai
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทองneungzaba
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าaon04937
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55Montree Jareeyanuwat
 
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542บราลี ประดับศรี
 

Similaire à 2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ) (20)

W 2
W 2W 2
W 2
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
จุดเน้นที่ 2
จุดเน้นที่  2จุดเน้นที่  2
จุดเน้นที่ 2
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1
 
เอสารนโยบาย
เอสารนโยบายเอสารนโยบาย
เอสารนโยบาย
 
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2
 
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542
 

2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)

  • 1. การพัฒ นาวิช าชีพ ครู สภาพปัจ จุบ ัน และปัญ หาวิช าชีพ ครูใ นประเทศไทย ครู คือ ผู้กำาหนดคุณภาพประชากรในสังคม และคุณภาพ ประชากรในสังคม คือ ตัวพยากรณ์ความสำาเร็จในการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม วิชาชีพครูจึงควรเป็นที่ รวมของคนเก่ง คนดี สามารถเป็นต้นแบบทางคุณธรรม จริยธรรม การประพฤติปฏิบัติตน การดำารงชีวิต และการชี้นำาสังคมไปใน ทางที่เหมาะสม ในสภาพความเป็นจริงที่ปรากฏในปัจจุบัน วิชาชีพครูกลับ เป็นวิชาชีพที่คนทั่วไปดูหมิ่นดูแคลน เป็นวิชาชีพที่รายได้ตำ่า ผู้ ประกอบวิชาชีพครูยากจน ผู้ปกครองที่มีการศึกษาสูงและมีฐานะดี ไม่ประสงค์จะให้บุตรหลานของตนศึกษาเพื่อออกไปประกอบ วิชาชีพครู เยาวชนที่สำาเร็จการศึกษาชั้น ม. 6 ก็ไม่ประสงค์ที่จะ สมัครเรียนในสาขาวิชาชีพครู ผูสมัครเรียนในสาขาครูจึงมักเป็น ้ ผู้ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตำ่า เมื่อไม่สามารถสอบเข้าเรียนใน สาขาวิชาชีพอื่นได้แล้วจึงจะสมัครเรียนเพื่อออกไปเป็นครู ปัญ หาเกี่ย วกับ วิช าชีพ ครูอ าจสรุป ได้เ ป็น 3 กลุ่ม ใหญ่ ดัง นี้ ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการผลิต เช่น ปัญหาอันเนื่องมาจาก ตัวป้อนเข้าของกระบวนการ ผลิตครู กระบวนการเรียนการสอน นักศึกษาครู การกำาหนดคุณลักษณะของบัณฑิตครู และการ ควบคุมให้บัณฑิตที่สำาเร็จการศึกษามีคุณลักษณะตามที่กำาหนด เป็นต้น ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการใช้ครู เช่น ปัญหาเกี่ยวกับการ ส่งเสริมสนับสนุนด้าน งบประมาณ การบำารุงขวัญกำาลังใจครูดี การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของชุมชนใน การใช้ครู เป็นต้น
  • 2. ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเพื่อให้การผลิตและการใช้ ครูเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล เช่น ปัญหาความด้อยประสิทธิภาพ ของผู้บริหาร การขาดระบบการตรวจสอบและประเมินผู้บริหาร การไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานของท้องถิ่น การขาดแคลน ทรัพยากรเพื่อการบริหาร รวมทั้งการขาดสถาบันพัฒนาผู้บริหาร ระดับมืออาชีพ เป็นต้น 1. ปัญ หาเกี่ย วกับ กระบวนการผลิต สถาบันผลิตครูไม่สามารถผลิตครูให้มีคุณลักษณะตามที่สังคม ต้องการได้ สาเหตุสำาคัญที่ทำาให้การผลิตครูมีประสิทธิผลตำ่าอาจ สรุปได้ 5 ประการดังนี้ 1. คนเก่ง ไม่เ รีย นครู เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า คนเก่ง ส่วนใหญ่ไม่สนใจเป็นครู จากข้อมูลการเลือกเข้าเรียนต่อของผู้ สมัครสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2539 ผู้สมัคร ส่วนใหญ่จะเลือกคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์เป็นอันดับสุดท้าย มีเพียงร้อยละ 19 ที่เลือกคณะครุศาสตร์เป็นอันดับ 1 และ นักศึกษาครู มีผลการเรียนในระดับปานกลางถึงค่อนข้างตำ่า จาก ข้อมูลเกรดเฉลี่ยในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของนักศึกษาครู ในสถาบันราชภัฏ(ซึ่งเป็นสถาบันผลิตครูแหล่งใหญ่) พบว่า มี เกรดเฉลี่ย ประมาณ 2.3 (สำานักงานสภาสถาบันราชภัฏ, 2540) นอกจากนี้ นักศึกษาครูมักไม่เลือกเรียนวิชาเอกที่เป็นสาขา ขาดแคลน เช่น สาขาทางด้านวิทยาศาสตร์ เพราะต้องใช้ความ พยายามในการเรียนสูงกว่าสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ (สำานักงานสภาสถาบันราชภัฏ, 2540) 2. รัฐ ลงทุน เพื่อ การผลิต ครูต ำ่า เมื่อเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย โดยเฉลี่ยในการผลิตบัณฑิตสาขาต่าง ๆ มีหลักฐานชัดเจนว่า รัฐ ลงทุนเพื่อการผลิตครูตำ่ากว่าวิชาชีพอื่น ๆ มาก (สำานักงานสภา สถาบัน ราชภัฏ, 2540) สถาบันผลิตครูส่วนใหญ่ จึงมีปัญหา ความขาดแคลนปัจจัยที่จำาเป็นต่อการผลิตครู ทั้งเชิงปริมาณและ คุณภาพ ขาดงบดำาเนินการเพื่อพัฒนาคณาจารย์ และพัฒนาการ เรียนการสอน นอกจากนี้ การผลิตครูดำาเนินการโดยสถาบันของ
  • 3. รัฐทั้งหมด ถึงแม้กฎหมายเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาผลิตครูได้ แต่ยังไม่มีเอกชนรายใดดำาเนินการเพราะไม่คุ้มทุน 3. กระบวนการเรีย นการสอนเน้น ทฤษฏีม ากกว่า เน้น การปฏิบ ัต ิจ ริง ถ้าพิจารณาจากหลักสูตรการผลิตครูจะพบว่า หลักสูตรที่ใช้ในปัจจุบันเป็นหลักสูตรที่กำาหนดจากส่วนกลางและ ผูกติดกับแนวคิดสากลมากกว่าท้องถิ่น เน้นทฤษฎีมากกว่าการ ปฏิบัติจริง เน้นองค์ความรู้มากกว่าวิธีแสวงหาความรู้ วิชาที่สอน เป็นแบบแยกส่วน ขาดความเชื่อมโยงและบูรณาการ มีผลให้ผู้ เรียนไม่ได้พัฒนาทักษะและวิธีการมองปัญหาในเชิงองค์รวม กระบวนการเรียนการสอนเพื่อผลิตครูยังเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้มากกว่าการส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ รักที่จะเรียนรู้ อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้กำาหนด กิจกรรมการเรียนการสอนและการวัดผลฝ่ายเดียว ผู้เรียนไม่มี ส่วนร่วม และ ที่สำาคัญการจัดการเรียนการสอนขาดการประสาน สัมพันธ์กับวิถีชีวิตของท้องถิ่นและชุมชน ทำาให้นักศึกษาครูไม่ สามารถเรียนรู้ และพัฒนาวิชาชีพครูให้เหมาะสมกลมกลืนกับวิถี ชีวิตของสภาพแวดล้อม ได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้ สือ นวัตกรรม ่ และแหล่งการเรียนรู้ในสถาบันผลิตครูไม่เอื้อให้นักศึกษาครู แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง การวัดผลและประเมินผล เน้นการสอบวัดเนื้อหาวิชาการมากกว่าการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ ชี้นำาแนวความคิดและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับการเป็นครูใน อนาคต และที่สำาคัญ หลักสูตรการผลิตครูไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อ รองรับการผลิตครูรุ่นใหม่ซึ่งต้องมีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีความ พร้อมทั้งความรู้ในเนื้อหาวิชาการ ความสามารถในการชี้นำาความ รู้ มีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ และมีคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้ง สามารถปรับใช้เทคโนโลยีในวิชาชีพได้ 4. ขาดระบบการประกัน คุณ ภาพบัณ ฑิต ครู เนื่องจาก คุณภาพของบัณฑิตครูเป็นไปตามเกณฑ์การวัดและประเมินผล ของสภาประจำาแต่ละสถาบันและไม่มีองค์กรอิสระที่ทำาหน้าที่ตรวจ สอบ ติดตาม และประเมินคุณภาพบัณฑิตของสถาบันต่าง ๆ ฝ่าย ผลิตครูเป็นผู้ตรวจสอบคุณภาพการผลิตครูแต่เพียงผู้เดียว การ ประเมินคุณภาพบัณฑิตเน้นการท่องจำาเนื้อหาสาระควบคู่กับ ระเบียบราชการมากกว่าการวัดคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการเป็นครู 5. ขาดการตรวจสอบคุณ ภาพการผลิต ครูแ ละสถาบัน ผลิต ครู การประกันคุณภาพการผลิตครูและสถาบันผลิตครูเพิ่ง
  • 4. เป็นที่ยอมรับ และเริ่มดำาเนินการมาไม่นานนัก การดำาเนินการใน ปัจจุบันอยู่ในขั้นการสร้างหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ในช่วงที่ ผ่านมาจึงไม่มีการดำาเนินการประกันคุณภาพการผลิตครูและ สถาบันผลิตครูอย่างชัดเจน นอกจากนี้ สถาบันผลิตครูของรัฐมี จำานวนถึง 114 แห่ง และอยู่ต่างสังกัดกัน ส่งผลให้สถาบันผลิตครู ขาดเอกภาพในนโยบายและมาตรฐานการผลิตครู ประกอบกับ การไม่มีหน่วยงานกลางที่มีอำานาจตามกฎหมายในการกำาหนด เกณฑ์มาตรฐานและติดตามประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพการ ดำาเนินงานของสถาบันผลิตครู คุณภาพการผลิตครูจึงแตกต่างกัน ไปตามเกณฑ์การวัดและประเมินผลของแต่ละสถาบัน 2. ปัญ หาเกี่ย วกับ กระบวนการใช้ค รู สาเหตุที่ทำาให้การใช้ครูมีประสิทธิผลตำ่าอาจสรุปได้ 4 ประการ ดังนี้ 1. ค่า ตอบแทนครูต ำ่า เมื่อเปรียบเทียบกับวิชาชีพอื่น ๆ ที่รับ ผิดชอบต่ออนาคตและความสงบเรียบร้อยของคนในชาติ เป็นต้น ว่า อัยการ ตุลาการ แพทย์ และตำารวจแล้ว วิชาชีพครูได้รับค่า ตอบแทนตำ่า ผลการสำารวจในปี พ.ศ. 2539 พบว่ามีครูเพียงร้อย ละ 50 ที่สามารถอยู่ได้อย่างประหยัดด้วยเงินเดือนครู (สำานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2539) จากการสำารวจของ กระทรวงศึกษาธิการ (2539) พบว่า 95% ของครูไทยเป็นหนี้และ ภาวะหนี้สินนี้ ส่งผลให้ครูขาดขวัญกำาลังใจในการปฏิบัติงานและ มีผลกระทบต่อการเรียนการสอนของตน รวมทั้ง การที่รัฐไม่ สามารถปรับ เงินเดือนข้าราชการครูให้เหมาะสมกับสภาพ เศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำาให้ครูส่วนใหญ่มีปัญหา ทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากรายได้น้อยแต่ค่าครองชีพสูง ครูบาง ส่วนต้องหารายได้เพิ่มจากการประกอบอาชีพเสริมต่าง ๆ ซึ่งบาง ครั้งเป็นการ เบียดบังเวลางาน และส่งผลให้ครูเอาใจใส่ต่อการ เรียนการสอนน้อยลง นอกจากนี้ ครูที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ห่างไกล ความเจริญยังต้องเสียสละเงินเดือนบางส่วนเพื่อช่วยเหลือนักเรียน และซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอนด้วย (สำานักงานเลขาธิการคุรุ สภา และกรมการฝึกหัดครู, 2536) วิชาชีพครูจึงไม่ได้รับความ สนใจจากคนทั่วไป แม้กระทั่งผู้ที่เป็นครูหากมีทางเลือกอื่นก็เลือก ที่จะไม่ประกอบอาชีพครู
  • 5. นอกจากนี้การที่ระบบเงินเดือน สวัสดิการ และค่าตอบแทน ของครูโดยทั่วไป เป็นระบบเดียวกันไม่มีความแตกต่างระหว่างครู ดี ครูเก่ง กับครูเฉื่อยชาขาดความ รับผิดชอบ สภาพเช่นนี้ทำาให้ ครูดีมีแนวโน้มจะออกจากวิชาชีพมากขึ้น ส่วนครู ที่ยังคงอยู่ใน ระบบก็ขาดแรงจูงใจที่จะพัฒนาตนและพัฒนางาน ส่งผลให้ผู้ สมัครเรียนครูสาขาขาดแคลนซึ่งเรียนยากกว่าสาขาอื่นยิ่งลดน้อย ลง เพราะครูทุกสาขาวิชาได้รับ ผลตอบแทนในระบบเดียวกัน 2. ระเบีย บปฏิบ ัต ิไ ม่เ อื้อ ต่อ การพัฒ นางานและการ พัฒ นาตนเอง ครู ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการ ทำาให้ครูมีสถานภาพ มั่นคง ไม่เห็นความสำาคัญของการพัฒนาตนเอง ระเบียบ กฎ เกณฑ์ การบริหารของระบบราชการสะกัดกั้นเสรีภาพความ ก้าวหน้าทางวิชาการ และไม่กระตุ้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของ ครู ระบบงบประมาณในปัจจุบันไม่เปิดโอกาสให้ครูและโรงเรียนมี ส่วนกำาหนดระบบบริหารไม่ยืดหยุ่นให้ครู แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ส่ง ผลให้ครูรู้สึกไร้พลังอำานาจการควบคุมงานของตน การบริหาร สถานศึกษาใช้ระบบการบังคับบัญชาแบบราชการตามลำาดับขั้น หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้มีอำานาจสั่งการเบ็ดเสร็จเป็นระบบอำานาจ นิยม ผลคือ สถานศึกษาขาดบรรยากาศของชุมชนวิชาการที่เอื้อ ต่อการพัฒนาตนเองของครู สภาพการร่วมมือทำางานร่วมกัน รับ ผิดชอบของครูมีน้อย ส่วนผู้ประกอบอาชีพครูในสถานศึกษา เอกชนก็ขาดความ มั่นคงในวิชาชีพ ขาดความก้าวหน้า ค่า ตอบแทนตำ่าแต่ภาระงานสูง และขาดอิสระในการปฏิบัติงาน ทำาให้ พัฒนาตนเองได้น้อย เกิดสภาพขาดขวัญกำาลังใจ ท้อแท้ มากกว่า ครูของรัฐเสียอีก 3. ขาดระบบการติด ตามและประเมิน ผลที่ม ีป ระสิท ธิผ ล การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานของครูใน ปัจจุบันดำาเนินการโดยผู้บังคับบัญชาของครู ซึ่งก็ทำาตามนโยบาย ผู้บังคับบัญชาซึ่งเปลี่ยนแปลงค่อนข้างบ่อย ระบบ เกณฑ์ วิธีการ และประสิทธิภาพของการประเมินมีความแตกต่างกันไปตาม คุณภาพ ความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชาแต่ละคน ผู้ใกล้ชิด และได้รับผลจากการปฏิบัติงานของครูโดยตรง เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน รวมทั้งเพื่อนครูไม่มีส่วนในการประเมินครู และ ผลการ ประเมินก็ไม่มีความหมายในทางให้คุณให้โทษต่อครูมากนัก ครูที่ ได้รับการ คัดเลือกเป็นครูดีเด่นของโรงเรียนก็ไม่เป็นหลักประกัน ว่าจะได้รับการเลื่อนเงินเดือน 2 ขัน ดังนั้น ในสภาพความเป็นจริง ้
  • 6. จึงมีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานของครู อย่างจริงจังน้อยมากและยังไม่เป็นที่ยอมรับจากครูโดยทั่วไปเท่าที่ ควร ระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล จึงยังไม่ถูกนำามา ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาครูและพัฒนาการศึกษา 4. ชุม ชนมีส ่ว นร่ว มในการใช้ค รูน ้อ ย ปัจจุบันผู้ใช้ครูมี อำานาจและผูกขาดการคัดเลือก การใช้ การประเมินและพัฒนาครู แต่ฝ่ายเดียว ชุมชนซึ่งได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติงานของครู โดยตรง ไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการนี้ การคัดเลือก บรรจุ แต่งตั้งครู เป็นอำานาจตามกฎหมายของ หน่วยงานส่วนกลาง คือ สำานักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และกรมเจ้าสังกัดครู กรมเจ้าสังกัดบางกรมได้กระจายอำานาจการ บริหารงานบุคคลให้จังหวัดหรือสถานศึกษาในระดับหนึ่ง แต่ อำานาจแต่งตั้ง โยกย้ายผู้บริหารสถานศึกษายังเป็นของส่วนกลาง การวิ่งเต้นเอาตำาแหน่งโดยอาศัยอำานาจนอกระบบจึงปรากฏให้ เห็นเสมอ การที่ท้องถิ่นและชุมชนไม่มีส่วนรับรู้และพิจารณา เลือกสรรบุคคลที่จะมาดำารงตำาแหน่งผู้บริหารโรงเรียนในท้องถิ่น ของตน ทำาให้การจัดการศึกษาในโรงเรียนถูกมองว่าเป็นหน้าที่ ของโรงเรียนหรือรัฐแต่เพียงฝ่ายเดียว ชุมชนเป็นเพียงผู้รับบริการ และไม่สนใจที่จะให้ความร่วมมือในการพัฒนาการศึกษา การ ติดตามความก้าวหน้าการดำาเนินงาน การตรวจสอบ ประเมินผล และให้ความร่วมมือในการพัฒนาการศึกษา การพัฒนาการศึกษา จึงไม่ก้าวไกลเท่าที่ควร นอกจากนี้ การจัดการศึกษาในปัจจุบัน สถานศึกษาดำาเนิน การไปตามนโยบาย และแผนจากส่วนกลาง หลักสูตร เนื้อหาสาระ ในการเรียนการสอนก็มาจากส่วนกลาง ชุมชนไม่ได้เข้าไปมีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษา ครูเองก็ไม่สนใจที่จะเรียนรู้จากชุมชน และไม่นำาเอาวิถีชีวิตในชุมชนเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน ส่งผลให้สถานศึกษาและครูแยก ตัวออกจากชุมชน ทำาให้ครูสอนในสิ่งที่ไม่สอดคล้องและไม่ สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ในชุมชนได้ นักเรียนเมื่อเรียนจบแล้ว ก็ไม่ได้ทำางานในชุมชนนั้น ต้องอพยพเคลื่อนย้ายหางานทำาที่อื่น ความแข็งแกร่งของชุมชนถูกทำาลาย ในส่วนของครูก็ขาดความรู้ เกี่ยวกับชุมชน ขาดการพัฒนาตนเอง ขาดสำานึกรับผิดชอบต่อ ชุมชนและสังคม ส่งผลให้ไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมเท่าที่ควร
  • 7. 3. ปัญ หาเกี่ย วกับ การบริห ารจัด การ สาเหตุที่ทำาให้การบริหารจัดการมีประสิทธิผลตำ่าอาจสรุปได้ 6 ประการ ดังนี้ 1. ผู้บ ริห ารโรงเรีย นมีค วามรู้แ ละความสามารถทางการ บริห ารตำ่า จากข้อมูลของสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ง ชาติ(2539) พบว่า ผู้บริหารโรงเรียน ส่วนใหญ่มีพื้นความรู้ระดับ ปริญญาตรีและปฏิบัติราชการโดยเฉลี่ย ประมาณ 20-30 ปี มี ความรู้ความสามารถไม่เพียงพอในการบริหาร ผู้บริหารโรงเรียน บริหารโดยยึดความเห็นของตนเองเป็นใหญ่ ให้ครูมีส่วนร่วมใน การบริหารโรงเรียนตำ่า ไม่ให้ความสำาคัญของการมีส่วนร่วมของผู้ ปกครองและชุมชน การประชุมระหว่างผู้บริหารโรงเรียน ครู และ ผู้ปกครองส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะการชี้แจงข้อเท็จจริง มากกว่าการแสวงหาแนวทางการแก้ปัญหา ครู ผู้ปกครองและผู้ แทนชุมชนจึงแทบไม่มีส่วนร่วมในการบริหารโรงเรียน ขวัญและ กำาลังใจของครูส่วนใหญ่จึงอยู่ในระดับตำ่า 2. ผู้บ ริห ารโรงเรีย นไม่ส นใจพัฒ นาตนเอง เป็นที่ทราบ และยอมรับกันโดยทั่วไปว่า เส้นทางการก้าวขึ้นสู่ตำาแหน่งผู้ บริหารโรงเรียนขึ้นกับอำานาจสั่งการของนักการเมือง ดังนั้น แทนที่ผู้บริหารจะสนใจพัฒนาตนเองเพื่อให้การบริหารงาน โรงเรียนเป็นไปเพื่อสร้างขวัญ กำาลังใจกับครูในโรงเรียน หรือเพื่อ พัฒนาครูและการศึกษาในโรงเรียน ผู้บริหารกลับเสียเวลาไปกับ การประจบหรือทำางานให้นักการเมือง ความใส่ใจในการพัฒนา ตนเองเพื่อบริหารงานในหน้าที่รับผิดชอบจึงมีน้อย และมิได้เป็น ไปเพื่อการพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาและบริการทางการศึกษาของ โรงเรียนอย่างแท้จริง 3. ขาดระบบการตรวจสอบและประเมิน ผลผู้บ ริห าร โรงเรีย นที่ม ีป ระสิท ธิผ ล ปัญหาด้านการประเมินผลที่ผู้บริหาร ประสบมีลักษณะคล้ายกันกับปัญหาของครู ผู้บริหารส่วนใหญ่มี ความคิดว่าการตรวจสอบและประเมิน คือ การจับผิด การตรวจ สอบและประเมินผู้บริหารโรงเรียนจึงดำาเนินการเฉพาะกรณีที่มี ความผิดชัดเจน หรือเพื่อเลือนขั้นเลื่อนตำาแหน่ง การประเมินเพื่อ ่ ปรับปรุงและพัฒนางานมีค่อนข้างจำากัด การปรับปรุงและพัฒนา งานอย่างเป็นระบบในโรงเรียนจึง ไม่ปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัด
  • 8. 4. ผู้ป กครอง ชุม ชน และภูม ิป ัญ ญาท้อ งถิ่น มีส ่ว นร่ว มใน การบริห ารโรงเรีย นตำ่า เนื่องจากอำานาจรัฐเข้าไปมีบทบาทใน การบริหารการศึกษา และบริหารงานบุคคลในโรงเรียนค่อนข้าง สูง ทั้งทำาหน้าที่กำาหนดบทบาทของการบริหาร และผู้ทำาหน้าที่ใน การบริหารโรงเรียน โดยมิได้กระจายอำานาจในส่วนนี้ให้แก่ชุมชน ส่งผลให้ผู้ปกครอง ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการ บริหารโรงเรียนตำ่า สิ่งที่ชุมชนจะรับรู้เกี่ยวกับการบริหารโรงเรียน อย่างมากที่สุด คือ การรับทราบนโยบายของโรงเรียน หรือมีส่วน ร่วมโดยให้การสนับสนุนหรือช่วยเหลือโรงเรียนตามความต้องการ ของโรงเรียนเท่านั้น 5. ขาดทรัพ ยากรเพื่อ การบริห ารโรงเรีย น ในช่วงเวลาที่ ผ่านมา รัฐเป็นฝ่ายเดียวที่สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการบริหาร โรงเรียน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับจำานวนโรงเรียน และจำานวนครู กว่าหกแสนคนที่มีอยู่งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้เกือบทั้งหมด จึง เป็น งบประมาณเพื่อจ่ายเป็นเงินเดือนและเงินประจำาตำาแหน่งของ ครู งบประมาณเพื่อการบริหารโรงเรียนโดยเฉพาะเพื่อให้โรงเรียน ได้พัฒนาบุคลากรมีน้อยมาก นอกจากได้รับงบประมาณจากรัฐไม่ เพียงพอแล้ว ในสภาพปัจจุบันโรงเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ประสาน งานเพื่อแสวงหาความร่วมมือในการระดมทรัพยากร ความ เชี่ยวชาญจากชุมชน เอกชน เพื่อการบริหาร เป็นผลให้ครูใน โรงเรียนไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร และการบริหารงานใน โรงเรียนก็ไม่สามารถก้าวทันกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ น่าจะนำามาใช้เพื่อการบริหารจัดการ 6. ขาดสถาบัน พัฒ นาผู้บ ริห ารโรงเรีย นระดับ มือ อาชีพ ปัจจุบันมีสถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษาซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ มีหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อพัฒนา ผู้บริหารได้จำานวนจำากัด หลักสูตร ฝึกอบรม ผู้บริหารโรงเรียนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ไม่เข้มข้นเพียง พอที่จะทำาให้ผู้บริหารกลายเป็นผู้บริหารมืออาชีพได้ เพื่อผ่อนคลายปัญหาข้างต้น โรงเรียนและหน่วยงานทางการ ศึกษาได้ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย กำาหนดแนวทางในการแก้ปัญหา และดำาเนินการแก้ปัญหาไปแล้วระดับหนึ่ง ตัวอย่างของผลการ ศึกษา วิจัย และแนวทางการแก้ปัญหาที่กำาลังดำาเนินการอยู่ และที่ กำาลังจะดำาเนินการในอนาคตจะได้นำามากล่าวถึงในตอนต่อไป
  • 9. ความพยายามในการแก้ป ัญ หาวิช าชีพ ครูใ นประเทศไทย รัฐบาลไทยได้ดำาเนินการหลายอย่างเพื่อการแก้ปัญหา วิชาชีพครู ที่ปรากฏเห็นเด่นชัดอาจดูได้จากกฎหมาย นโยบาย และแนวทางดำาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. กฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพครู 2. นโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู 3. แผนพัฒนาการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวกับการพัฒนา วิชาชีพครู 4. การปรับปรุงโครงสร้างและบทบาทองค์กรวิชาชีพครู 1. กฎหมายเกี่ย วกับ วิช าชีพ ครูท ี่ส ำา คัญ และใช้อ ยู่ใ น ปัจ จุบ ัน มี 2 ฉบับ ดังนี้ 1.1 พระราชบัญ ญัต ิค รู พ.ศ. 2488 พระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488 กำาหนดให้มีคุรุสภาในกระทรวง ศึกษาธิการ คณะกรรมการอำานวยการคุรุสภาประกอบด้วย 1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน 2) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นรองประธาน 3) อธิบดีและหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะ เป็นกรรมการ เป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการทุกกรม 4) ผู้แทนข้าราชการครูจำานวน 6 คน เป็นกรรมการ 5) ผู้แทนพนักงานครูเทศบาล 1 คน เป็นกรรมการ 6) ผู้แทนครู กทม. 1 คน เป็นกรรมการ 7) ผู้แทนครูโรงเรียนเอกชน 2 คน เป็นกรรมการ เป็นกรรมการและ 8) เลขาธิการคุรุสภา เลขานุการ เพื่อให้การดำาเนินงานของคณะกรรมการอำานวยการคุรุสภาเป็นไป อย่างมีประสิทธิผล พระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488 กำาหนดให้คุรุ สภาซึ่งทำาหน้าที่สำานักงานเลขาธิการคณะกรรมการอำานวยการคุรุ สภามีหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. ให้ความเห็นแก่กระทรวงศึกษาธิการในเรื่องการ จัดการศึกษาโดยทั่วไป หลักสูตร แบบเรียน อุปกรณ์ประกอบการเรียน การสอน การฝึก
  • 10. อบรม การวัดผลและประเมินผลการศึกษา การ นิเทศการศึกษา และเรื่องอื่นที่เกี่ยวเนื่องโดยตรง กับการจัดการศึกษา 2. ควบคุมและสอดส่องจรรยา มรรยาท และวินัย ของครู พิจารณาโทษครูผู้ประพฤติผิด และ พิจารณาคำาร้องทุกข์ของครู 3. พิทักษ์สิทธิ์ของครูภายในขอบเขตที่กฎหมาย กำาหนด 4. ส่งเสริมให้ครูได้รับสวัสดิการต่างๆตามสมควร 5. พัฒนาความรู้ ความสามารถ และประสิทธิภาพ ของครู ด้วยเหตุที่คุรุสภาได้รับงบประมาณจากรัฐบาลค่อนข้างจำากัด การดำาเนินงานที่ผ่านมาต้องอาศัยเงินรายได้จากการประกอบ ธุรกิจขององค์การค้าคุรุสภา(ศึกษาภัณฑ์) ทำาให้คนส่วนใหญ่รู้จัก ธุรกิจขององค์การค้าคุรุสภามากกว่ารู้จักคุรุสภา มีผลให้ คณะ กรรมการอำานวยการคุรุสภาใส่ใจกับการหารายได้ให้แก่คุรุสภา มากกว่าการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาวิชาชีพครูซึ่งเป็นภารกิจ หลักของคุรุสภาและของคณะกรรมการอำานวยการคุรุสภา นอกจากนั้นองค์ประกอบของคณะกรรมการอำานวยการและ วิธีการได้มาซึ่งกรรมการก็เป็นอุปสรรคอย่างหนึ่งของการปฏิบัติ ภารกิจพัฒนาวิชาชีพครูของคุรุสภา กรรมการโดยตำาแหน่ง ประกอบด้วยข้าราชการระดับสูงของแต่ละกรมซึ่งต่างมีภารกิจ ประจำาค่อนข้างรัดตัวจึงยากที่จะมีเวลาเพียงพอที่จะอุทิศตนให้กับ การคิดหามาตรการ แนวทางที่จะนำามาใช้ในการพัฒนาและแก้ ปัญหา และไม่มีเวลาเพียงพอที่จะติดตามประเมินผลการนำา มาตรการ แนวทางไปใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับวิชาชีพครูเพื่อก่อให้ เกิดการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างแท้จริง หลายคนคาดหวังว่ากรรมการอำานวยการคุรุสภาจากผู้แทน ครูสังกัดหน่วยงานต่างๆจะทำาหน้าที่ผู้นำาในการผลักดันให้เกิดการ พัฒนาวิชาชีพครูแต่ที่ผ่านมา ผู้แทนครูที่มาจากการเลือกตั้งมักจะ ถูกมองว่าเป็นกลุ่มที่เข้ามาเพื่อแสวงหาอำานาจและผลประโยชน์ ความร่วมมือและการสนับสนุนจากฝ่ายต่างๆทั้งจากครู ผู้ปกครอง
  • 11. และบุคคลในวิชาชีพอื่นในการผลักดันให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพ ครูอย่างแท้จริงจึงมีไม่สูงนัก 2.2 พระราชบัญ ญัต ิร ะเบีย บข้า ราชการครู พ.ศ. 2523 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูกำาหนดให้มีคณะกรรมการ ข้าราชการครูทำาหน้าที่บริหารงานบุคคลของข้าราชการครูโดย เฉพาะ คณะกรรมการข้าราชการครู ประกอบด้วย 1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน 2) เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการ 3) เลขาธิการคุรุสภา เป็นกรรมการ 4) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง ค.ร.ม.แต่งตั้งจาก บุคคลที่อยู่ในตำาแหน่งข้าราชการไม่ตำ่า กว่าอธิบดี หรือเคยรับราชการตำาแหน่ง เป็นกรรมการ ไม่ตำ่ากว่าอธิบดี จำานวน 5 คนโดยใน จำานวนนี้ต้อง เป็นบุคคลที่อยู่ในตำาแหน่ง ไม่ตำ่ากว่า 3 คน 5) ผู้แทนข้าราชการครู จำานวน 7 คน เป็นกรรมการ เป็นกรรมการและ 6) เลขาธิการ ก.ค. เลขานุการ คณะกรรมการข้าราชการครูอาจเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งเป็น รองประธาน คณะกรรมการ คณะกรรมการข้าราชการครูมีอำานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. เสนอแนะและให้คำาปรึกษาแก่รัฐมนตรีเกี่ยวกับ นโยบายการบริหารงานบุคคลและการจัดระบบ ราชการในหน่วยงานทางการศึกษา 2. ออกกฏ ก.ค. และระเบียบเพื่อปฏิบัติตามพระราช บัญญัตินี้ กฏ ก.ค.เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้
  • 12. 3. ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้ บังคับพระราชบัญญัตินี้ มติของ ก.ค. เมื่อได้รับความ เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้วให้ใช้บังคับได้ 4. ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ แนะนำาชี้แจง เพื่อให้หน่วย งานทางการศึกษาและกรม ปฏิบัติการตามพระราช บัญญัตินี้ ในการนี้ให้มีอำานาจเรียกเอกสารและหลัก ฐานจากหน่วยงานทางการศึกษาและกรม ให้ผู้แทน หน่วยงานทางการศึกษาและกรม ข้าราชการหรือ บุคคลใดมาชี้แจงข้อเท็จจริงและให้มีอำานาจออก ระเบียบให้หน่วยงานทางการศึกษาและกรมรายงาน เกี่ยวกับการสอบ การบรรจุ การแต่งตั้ง การเลื่อนขั้น เงินเดือน การดำาเนินการทางวินัย และการออกจาก ราชการ ตลอดจนรายงานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงใน ลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของตำาแหน่ง และ เกี่ยวกับทะเบียนประวัติของข้าราชการครูไปยัง ก.ค. 5. รายงานนายกรัฐมนตรีในกรณีที่ปรากฏว่าหน่วยงาน ทางการศึกษา กรม อ.กค.กรม หรือ อ.ก.ค.จังหวัดใด หรือผู้มีหน้าที่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ไม่ปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัตินี้หรือปฏิบัติการโดยไม่เหมาะสม เพื่อนายกรัฐมนตรีจะได้สั่งการต่อไป 6. รักษาทะเบียนประวัติข้าราชการครู 7. รับรองคุณวุฒิของผู้ได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตร วิชาชีพ เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้ง ข้าราชการครู และกำาหนดอัตราเงินเดือนที่ควรได้รับ โดยคำานึงถึงอัตราเงินเดือนตามที่คณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือนกำาหนดสำาหรับปริญญาหรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเดียวกัน 8. กำาหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการปฏิบัติการตามพระ ราชบัญญัตินี้ 9. ปฏิบัติการอื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และ กฎหมายอื่น ด้วยเหตุที่พระราชบัญญัติข้าราชครู พ.ศ. 2523 กำาหนดให้ ก.ค. ทำาหน้าที่ทุกอย่างเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของ
  • 13. ข้าราชการครู ซึ่งมีจำานวนประมาณ 5 แสนกว่าคน แต่บุคลากร และงบประมาณของสำานักงาน ก.ค. มีจำานวนจำากัดจึงทำาให้การ ปฏิบัติภารกิจตามที่กฎหมายบัญญัติของ ก.ค. ไม่มีประสิทธิผล ข้าราชการครูมักเบื่อหน่ายกับความล่าช้า(red-tape) ในการ ดำาเนินงานและสั่งการในเรื่องต่างๆ หลายคนเบื่อหน่ายกับการรวบ อำานาจและลงลึกในรายละเอียดในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ สำานักงาน ก.ค. หลายคนเห็นว่าหน้าที่หลายอย่างของ ก.ค. ควร จะได้มีการกระจายอำานาจให้กรมหรือสถานศึกษาเป็นผู้ตัดสินใจ แต่ ก.ค. ก็ยังรวบอำานาจเอาไว้อยู่ นอกจากนั้นหน้าที่บางอย่าง เป็นต้นว่า การรักษาทะเบียนประวัติครู การกำาหนดอัตราค่า ธรรมเนียมก็ไม่ควรเป็นหน้าที่ของ ก.ค.ต่อไป แต่ ก.ค. ควรมอบ หน้าที่ดังกล่าวให้กับกรมต่างๆทำาหน้าที่แทน การที่กฎหมาย กำาหนดภารกิจให้ ก.ค. ต้องปฏิบัติหน้าที่ทุกอย่างเกี่ยวกับการ บริหารงานบุคคลของข้าราชการครูผ่านสำานักงาน ก.ค. ซึ่งตั้งอยู่ ที่ส่วนกลาง มีผลให้การบริหารงานบุคคลผูกติดกับรายงานที่อยู่ ในรูปเอกสารซึ่งอาจคลาดเคลื่อนและไม่ตรงกับความเป็นจริงได้ นอกจากนั้น การที่กฎหมายบัญญัติให้รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการเป็นประธานก.ค. โดยตำาแหน่ง แต่รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการมีภารกิจอื่นค่อนข้างมาก การนัดเวลา ประชุมในเรื่องสำาคัญต้องเลื่อนตามตารางปฏิบัติภารกิจเฉพาะหน้า ของรัฐมนตรี ทำาให้ฝ่ายเลขานุการกำาหนดตารางประชุมล่วงหน้า ลำาบาก บ่อยครั้งการประชุมนัดสำาคัญต้องเลื่อนไปไม่มีกำาหนด เพราะต้องรอเวลานัดหมายจากรัฐมนตรี ด้วยเหตุที่กรรมการ ก.ค. ประกอบด้วยข้าราชการในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการเป็นส่วนใหญ่ นโยบายการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการครูจึงขึ้นอยู่กับความต้องการและความปรารถนา ของตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นสำาคัญ กรรมการ ก.ค. จากผู้แทนครูอาจไม่เห็นด้วยกับความเห็นของรัฐมนตรีใน หลายๆเรื่องแต่โดยวัฒนธรรมของคนไทยแล้วย่อมเป็นการยากที่ จะทำาให้ข้าราชการครูซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการกล้าเสนอความเห็นขัดแย้งและท้าทายความ เห็นของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แม้ว่าการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการครูเป็น หน้าที่หลักอย่างหนึ่งของงานการบริหารงานบุคคล แต่ในทาง ปฏิบัติ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ข้าราชการครูมักกระทำา
  • 14. เฉพาะในช่วงขอเงินเดือนเพิ่มประจำาปีให้แก่ข้าราชการครู ซึ่งมัก จะถูกครูทั่วไปตำาหนิเสมอว่าไม่เป็นธรรม เล่นพรรคเล่นพวก และ ไม่สัมพันธ์กับ ความสำาเร็จทางการเรียนและพัฒนาการด้านต่างๆ ของผู้เรียน นักเรียนและผู้ปกครองไม่มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล เกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานของครู รายงานการประเมินผลจึงมักขึ้น อยู่กับข้อมูลที่ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ หรือผู้อำานวยการโรงเรียน เสนอเป็นหลัก ครูส่วนใหญ่เกิดความรู้สึกว่าความสำาเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ขึ้นอยู่กับผลการประเมินของผู้บริหารโรงเรียน มากกว่าความสำาเร็จของผู้เรียน พระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488 และพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครู พ.ศ. 2523 มีเจตนาต้องการให้วิชาชีพครูเป็น วิชาชีพชั้นสูง ต้องการเห็นผู้ประกอบวิชาชีพครูมีความขยันอดทน เสียสละ ตั้งใจอบรมสั่งสอน พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และเป็น แบบฉบับที่ดีให้แก่ศิษย์ ทั้งนี้ ดังจะเห็นได้จากจรรยาบรรณครูทั้ง 11 ข้อที่ประกาศใช้ภายใต้บทบัญญัติพระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488 และวินัยข้าราชการครูที่ปรากฏในพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครู พ.ศ. 2523 อย่างไรก็ตาม ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันข้าราชการครูเป็นจำานวนมาก ไม่ใส่ใจกับจรรยาบรรณและวินัยข้าราชการครู มีการฝ่าฝืนวินัย และประพฤติตนผิดจรรยาบรรณครูให้เห็นอยู่บ่อยๆ มาตรการ ป้องกันการฝ่าฝืนวินัยและจรรยาบรรณและมาตรการลงโทษที่มี ประสิทธิผลกว่าที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เช่น การบังคับให้ผู้ประกอบ วิชาชีพครูต้องมี ใบอนุญาตประกอบการสอน จึงควรได้รับการ พัฒนาและนำามาใช้ในโอกาสต่อๆไป 2. นโยบายรัฐ บาลเกี่ย วกับ การพัฒ นาวิช าชีพ ครูข องไทย การให้ความสำาคัญแก่วิชาชีพครูได้ปรากฏในนโยบาย รัฐบาลหลายยุคหลายสมัย ที่เห็นเด่นชัด ได้แก่ นโยบายในส่วนที่ เกี่ยวกับการศึกษาและสังคมของรัฐบาลในอดีตจนถึงปัจจุบันที่ สำาคัญ เช่น
  • 15. รัฐบาลนายอานันท์ ปัญญาชุน (2534) มองเห็นความสำาคัญ ของการศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพครูโดยได้กำาหนดนโยบาย ในส่วนนี้ว่า วางมาตรการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนอาจารย์ที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะในสาขาวิชาที่มีความต้องการสูง รัฐบาลนายชวน หลีกภัย (2535) กำาหนดนโยบายในส่วนที่ เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู ว่า จะพัฒนามาตรฐานวิชาชีพครูและมาตรฐานบุคลกรทางการศึกษา ให้เป็นวิชาชีพอย่างแท้จริง โดยการปรับกระบวนการผลิตและการ ใช้ ตลอดจนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็น ระบบ และต่อเนื่อง ปรับปรุงสวัสดิการ ที่เหมาะสมให้แก่บุคลากร ในสถาบันการศึกษา ทุกระดับ เพื่อสร้างขวัญ กำาลังใจและความ ภาคภูมิใจในอาชีพ รัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา (2538) กำาหนดนโยบายด้านการ ผลิตและการพัฒนาครูไว้โดยเฉพาะ ดังนี้ 1. ปฏิรูปการผลิตครู และพัฒนาครูประจำาการอย่าง เป็นระบบและเสริมสร้างเครือข่ายทั่วประเทศโดย เร่งพัฒนาครูในสาขาวิชาที่ขาดแคลนเป็นลำาดับ แรกและเร่งพัฒนาในด้านคุณธรรมและจริยธรรม 2. ดำาเนินการด้านสวัสดิการและสิทธิประโยชน์เพื่อ ส่งเสริมขวัญกำาลังใจ และความมั่นคงให้กับครู และ พัฒนาองค์กรวิชาชีพครูในสาขาวิชาต่าง ๆ ในท้องถิ่น รวมทั้งพัฒนากองทุนกาญจนาภิเษก และระดมทุนจากภาคเอกชน เพื่อจัดตั้งกองทุน สำาหรับให้ครูกู้โดยจ่ายดอกเบี้ยตำ่าเพื่อส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพครู รัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (2539) ประกาศว่า รัฐจะยกระดับคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากร ทางการศึกษา รวมทั้งเร่งรัดการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและล่าสุด รัฐบาลนายชวน หลีกภัย (2540) ได้ประกาศแนวทางในการ พัฒนาวิชาชีพครูว่า จะเร่งพัฒนาวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพที่ได้รับ การยอมรับเพื่อให้ครูได้ทำางานอย่างมีเกียรติ โดยปฏิรูป
  • 16. กระบวนการผลิตครู และการพัฒนาครู เน้นการผลิตในสาขา ขาดแคลน ตลอดจนสร้างเกณฑ์มาตรฐานเพื่อการยกย่องให้ รางวัลครูที่ดี และเก่งมีความก้าวหน้าในอาชีพ โดยส่งเสริม สวัสดิการของครู จากนโยบายของหลายรัฐบาลที่กล่าวถึงข้างต้นย่อมบ่งบอก ให้พวกเราทั้งหลายทราบว่าปัญหาเกี่ยวกับวิชาชีพครูเป็นปัญหา ใหญ่ระดับชาติ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมาช้านาน รัฐบาลในอดีตทุก รัฐบาลรับทราบและตระหนักในปัญหา ได้พยายามมองหาแนวทาง และมาตรการเพื่อการแก้ปัญหามาอย่างต่อเนื่อง และรัฐบาลเห็น ความจำาเป็นที่ประเทศไทยต้องระดมทรัพยากรและ ภูมิปัญญาที่มี อยู่ทั้งในท้องถิ่นและสากลมาร่วมแก้ปัญหา ด้วยเหตุที่รัฐบาลที่ผ่านมามี เวลาในการบริหารประเทศค่อน ข้างสั้น และไม่ต่อเนื่อง นโยบายที่ประกาศออกไปจึงขาดการนำา ไปปฏิบัติให้บังเกิดผล เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลแต่ละครั้ง รัฐบาลจึงต้องเริ่มต้นร่างนโยบายใหม่อยู่รำ่าไป ส่วนนโยบายเก่า มักจะถูกเก็บไว้ก่อน ไม่นำามาสานต่อความตั้งใจในการแก้ปัญหา วิชาชีพครูของแทบทุกรัฐบาลในอดีตจึงไม่ประสบความสำาเร็จ หลังจากการประกาศใช้กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 บทบัญญัติมาตรา 81 แห่งกฎหมาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ระบุว่า มาตรา 81 รัฐต้องจัดการศึกษาอบรม และสนับสนุนให้เอกชน จัดการศึกษาอบรมให้เกิดความรู้คู่คุณธรรม จัดให้มีกฎหมายเกี่ยว กับการศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างเสริมความรู้และปลูกฝัง จิตสำานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สนับสนุนการ ค้นคว้าวิจัยในศิลปวิทยาการต่าง ๆ เร่งรัดพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ พัฒ นาวิช าชีพ ครู และส่ง เสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ มาตรา 81 บัญญัติให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ และยังบัญญัติต่อไปอีก ว่ากฎหมายการศึกษาแห่งชาติต้องบัญญัติ ให้ฝ่ายบริหารเร่งรัดดำาเนินการให้มีการพัฒนาวิชาชีพครู การ กำาหนดแนวปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับแนวทางการผลิต การพัฒนา
  • 17. การใช้ การ ส่งเสริม และการสนับสนุนครูจึงเป็นสิ่งจำาเป็นและต้อง บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติที่จะประกาศใช้ นี้ การมีกฎหมายการศึกษาและมีบทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับ การพัฒนาวิชาชีพครูไว้ โดยเฉพาะย่อมเป็นหลักประกันการ พัฒนาวิชาชีพครูให้เกิดความต่อเนื่องและมีประสิทธิผล ก่อให้เกิด การพัฒนาวิชาชีพครูที่ยั่งยืนและถาวร และเป็นที่หวังว่ากฎหมาย การศึกษาที่จะประกาศใช้ในเร็ววันนี้จะทำาให้ประเทศไทยมีแนว ปฏิบัติที่ชัดเจนในการพัฒนาวิชีพครู 3.แผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คมและการศึก ษาในส่ว นที่ เกี่ย วกับ การพัฒ นาวิช าชีพ ครู 3.1 แผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คมแห่ง ชาติ ฉบับ ที่ 8 (2540-2544) เน้น ความสำา คัญ ของการพัฒ นาวิช าชีพ ครู ทั้ง ในส่ว นที่เ กี่ย วกับ กระบวนการผลิต การใช้ และการ ส่ง เสริม พัฒ นาครู โดยได้ก ำา หนดเป็น นโยบายไว้ด ัง นี้ 1. สร้างปัจจัยและโอกาสให้คนดีคนเก่งเข้าสู่ วิชาชีพครูอาจารย์ เช่น การปรับปรุงระบบการ คัดเลือกผู้รับทุน การปรับปรุงระบบตำาแหน่ง การ เปิดโอกาสให้แสดง ความสามารถอย่างอิสระ ควบคู่กับการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน และเนื้อหาสาระ ให้ครูอาจารย์เรียนรู้วิธีการ เรียนรู้ด้วยตนเองมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ มีการทดลองปฏิบัติจริงมากขึ้น 2. เร่งรัดให้มีการพัฒนาครูอาจารย์และบุคลากร โดยฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง ตลอดทั้งพัฒนาให้ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมี ประสิทธิภาพในการ แบ่งเบาภาระและสนับสนุน การปฏิบัติงาน 3. สร้างจิตสำานึกและส่งเสริมขวัญกำาลังใจในการ ทำางานของครู อาจารย์ โดยการสร้างทางเลือก และความก้าวหน้าในวิชาชีพที่เปิดกว้างหลาก หลาย ให้การยกย่องเกียรติคุณ ตลอดทั้งการ ประเมินการสอนเพื่อนำาไปประกอบการส่งเสริม ความก้าวหน้าและสวัสดิการต่าง ๆ
  • 18. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 เน้นว่าคน ต้องเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ถ้าเราพัฒนาคนได้สำาเร็จ การ พัฒนาด้านอื่นๆก็จะเกิดขึ้นตามมา หรืออาจกล่าวในอีกทำานอง หนึ่งได้ว่าการพัฒนาทุกอย่างจะสำาเร็จถ้าคนได้รับการพัฒนาและ นำาความรู้ ทักษะ ความคิด และประสบการณ์ที่ได้รับจากการ พัฒนาไปแก้ปัญหา และพัฒนาความรู้ใหม่ขึ้นมาอย่างไม่หยุดยั้ง การพัฒนาคนจะสำาเร็จไม่ได้เด็ดขาดถ้าครูและวิชาชีพครูไม่ได้รับ การพัฒนาและยกย่อง 3.2 แผนการศึก ษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2535 เพื่อเป็นกรอบและ แนวทางในการพัฒนาวิชาชีพครู แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กำาหนดแนวทางในการพัฒนาวิชาชีพครูทั้งในส่วนที่เกี่ยว กับการผลิต การใช้ การพัฒนาและส่งเสริมครูและวิชาชีพครูไว้ ดังนี้ 1. พัฒนาระบบการคัดเลือกผู้เข้าศึกษาวิชาชีพครู เพื่อให้ได้ผู้ที่มีความสนใจ ความถนัด และความ ตั้งใจจริง มาเรียนครูและประกอบอาชีพครู พร้อมทั้งสนับสนุนส่งเสริมให้ผู้ที่มีความรู้ความ สามารถในวิชาชีพอื่นมาประกอบอาชีพครู โดย ให้ได้รับการฝึกอบรมวิชาครูเพิ่มเติมก่อนประจำา การ 2. พัฒนากระบวนการฝึกหัดครู การอบรม และ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยเน้นให้ มีการฝึกปฏิบัติและการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการ พัฒนาคุณธรรม ความสามารถในการสอนและ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ การแสวงหาความรู้ และการเรียนรู้ ด้วยตนเอง การริเริ่มสร้างสรรค์ การสร้าง การ ประยุกต์และใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา ตลอด จนการมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาของ ชุมชน การฟื้นฟู อนุรักษ์ และเสริมสร้างสิ่ง แวดล้อม และวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของ ประเทศ 3. ส่งเสริมให้ครูมีบทบาทเป็นผู้นำาทางความคิด และ เป็นผู้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาชุมชน
  • 19. ตลอดจนประสานแหล่งความรู้วิทยาการสากลกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดแลก เปลี่ยนและกระจายความรู้อย่างกว้างขวาง 4. จัดอัตรากำาลังของหน่วยงานทางการศึกษาต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับปริมาณงานเพื่อให้การใช้ครู และบุคลากรทางการศึกษาของแต่ละหน่วยงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 5. พัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลของครูให้ เหมาะสมกับวิชาชีพ พร้อมทั้งให้มีการกำาหนด ระเบียบและวิธีการ เพื่อยกฐานะอาชีพครู 6. จัดให้มีการกำากับดูแลคุณภาพ มาตรฐาน และ การปฏิบัติวิชาชีพตามจรรยาวิชาชีพครูโดยการ พัฒนาองค์กรวิชาชีพให้เข้มแข็ง และให้มีใบ อนุญาตประกอบวิชาชีพครูที่มีกฎหมายรองรับ 3.3 แผนพัฒ นาการศึก ษาแห่ง ชาติ ฉบับ ที่ 8 (2540- 2544) เพื่อให้การพัฒนาวิชาชีพครูมีความต่อเนื่อง และเน้นยำ้า ให้เห็นความสำาคัญของการพัฒนาวิชาชีพครู แผนพัฒนาการ ศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 8 กำาหนดแนวทางการพัฒนาวิชาชีพครูทั้ง ในส่วนที่ เกี่ยวกับการผลิต การใช้ การพัฒนาและส่งเสริมครูและ วิชาชีพครูเพิ่มเติมจากแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 7 (2535-2539) ไว้ดังนี้ 1. เพิ่มทุนการศึกษาในโครงการพิเศษต่าง ๆ ให้มี สัดส่วนประมาณร้อยละ 50 ของจำานวนครู อาจารย์ที่เกษียณอายุในแต่ละปี 2. เพิ่มปริมาณการผลิตครูอาจารย์ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีให้เพียงพอกับความต้องการ และ มีการรับผู้สำาเร็จอาชีวศึกษาเข้ามาเรียนวิชาชีพ ครูให้มากขึ้น 3. มีการพัฒนาครูประจำาการอย่างต่อเนื่อง โดยครู ทุกคนต้องได้รับการพัฒนาตลอดระยะเวลาที่ ปฏิบัติหน้าที่ครู อย่างน้อยในทุก ๆ 5 ปี
  • 20. 4. สนับสนุนและให้ทุนการศึกษาดูงานแก่ครูช่าง เพื่อเพิ่มความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับ วิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. มีการปรับปรุงระบบการสรรหาคนเข้าเรียน วิชาชีพครู ระบบตำาแหน่ง และการประเมินผล บุคคลเข้าสู่ตำาแหน่งครู 6. มีการจัดสวัสดิการให้ครูในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ ครูสามารถดำารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข เพื่อให้การนำานโยบายในแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (2540-2544) ไปปฏิบัติให้บังเกิดผลคณะกรรมการการ ศึกษาแห่งชาติได้เสนอมาตรการเพื่อการพัฒนาวิชาชีพครูดังนี้ 1. ปรับระบบการผลิตครู โดยสรรหาคนเก่งและดี เข้าเรียนวิชาชีพครู ปฏิรูปการเรียนการสอนใน การผลิตครู เพื่อผลิตครูที่มีคุณภาพตามที่ ต้องการ และเร่งรัดการผลิตครูสาขาที่ขาดแคลน ให้เพียงพอ 2. อบรมและพัฒนาครูประจำาการอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและ บุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาอย่างต่อ เนื่อง และเร่งปรับระบบการพัฒนาผู้บริหารการ ศึกษาให้มีความสามารถในการบริหารและ จัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ปรับปรุงระบบการบริหารบุคลากรและระบบ สวัสดิการ โดยปรับปรุงแก้ไข กฎ ระเบียบการ บริหารงานบุคลากรเพื่อสนับสนุนครูเก่งและดี และปรับปรุงระบบสวัสดิการในสถาบันการศึกษา ทุกระดับให้เหมาะสม เพื่อสร้างขวัญกำาลังใจและ ความภาคภูมิใจในอาชีพแก่ครู ฯลฯ 3.4 แนวทางปฏิร ูป การศึก ษาของกระทรวงศึก ษาธิก าร เพื่อให้สอดรับกับนโยบายรัฐบาล และสอดรับกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการได้กำาหนดแนวทางการปฏิรูปครูไว้ดังนี้
  • 21. 1. สร้างจิตสำานึกในความรับผิดชอบของครู ผู้ บริหารโรงเรียน และบุคลากรทางการศึกษาให้ มุ่งมั่นต่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างจริงจัง 2. ในการประเมินความก้าวหน้าของครู ให้มุ่งเน้นที่ การวัดประสิทธิภาพของผลการปฏิบัติงานโดย เฉพาะคุณภาพการเรียนของผู้เรียน และ 3. ให้ครูทุกคนได้เพิ่มพูนความรู้ และพัฒนาทักษะ ในรูปแบบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องทั่วถึง และทันต่อ การเปลี่ยนแปลงสนับสนุนให้ครูทำาการวิจัยเพื่อ พัฒนาการเรียนการสอนควบคู่กันไปกับการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยี โดยในทุก 2 ปี ต้องผ่านการอบรมอย่างน้อย 1 ครั้ง ทั้งการ อบรมของกระทรวงศึกษาธิการ และ/หรือกรมต้น สังกัด และการอบรมของสถาบันอื่น ๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชนที่มีวุฒิบัตรรับรอง ตลอดจนการอบรม ทางไกล การเข้าประชุมสัมมนา และการพัฒนา ตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ให้ถือเป็นการปฏิบัติ หน้าที่ และให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเป็นส่วน หนึ่งของผลการปฏิบัติงานของครูด้วย 4. ให้ครูเลือกแผนการสอนหรือพัฒนาให้เหมาะสม กับผู้เรียนเพื่อมุ่งให้ผู้เรียนสามารถสร้างและ พัฒนาความรู้ได้ตลอดชีวิตอย่างแท้จริง 5. ให้ครูที่สังกัดส่วนราชการต่าง ๆ ในกระทรวง ศึกษาธิการ สามารถทำาการสอนในสถานศึกษา ทั้งในและนอกสังกัด ได้มากกว่า 1 แห่ง ทั้งนี้ โดยได้รับความเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชา และ ให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษ และให้นับรวมเป็น ส่วนหนึ่งของผลงานของครู ในการบรรจุครูใหม่ ให้นำาประสบการณ์ของครูมาพิจารณาประกอบ การกำาหนดเงินเดือนด้วย 6. กำาหนดคุณสมบัติและเปิดโอกาสให้ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ครูชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวุฒิจากภาค เอกชน และส่วนราชการต่าง ๆ รวมทั้งผู้เกษียณ อายุราชการ มาสอนในสถานศึกษาสังกัด
  • 22. กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีค่าตอบแทนให้ตาม ความเหมาะสม 7. แก้ไขปัญหาการขาดแคลนครู โดยการบรรจุแต่ง ตั้งครูให้ครบทุกตำาแหน่ง ตามแผนอัตรากำาลัง ของแต่ละสถานศึกษา การเกลี่ยอัตรากำาลังครู และการลดจำานวนครูช่วยราชการให้คงเหลือ น้อยที่สุด สำาหรับครูผู้สอนวิชาขาดแคลนให้ได้ รับค่าตอบแทนพิเศษ อีกทั้งสนับสนุนให้สถาน ศึกษาที่จัดการศึกษาระดับหลังมัธยมศึกษาที่มี ความพร้อมในการเปิดสอนสาขาวิชาขาดแคลน จัดสอนได้ถึงระดับปริญญาตรี 8. รื้อปรับระบบการกำาหนดตำาแหน่งครูในสถาน ศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อจำาแนก ความก้าวหน้าในสายงาน(Career Ladder) ระหว่างครูกับผู้บริหารสถานศึกษาให้มีสาย วิชาชีพ(Career Pattern)ที่ชัดเจนแต่มีความ ยืดหยุ่นและสามารถสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันได้ โดยเฉพาะครูสามารถก้าวหน้าตามสายงานการ สอนในระดับตำาแหน่งที่สูงขึ้นได้ด้วยผลงานของ ตนเอง ทั้งนี้กำาหนดให้มีคู่มือปฏิบัติงานของครู และคู่มือปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา 9. กำาหนดมาตรฐานวิชาชีพครู โดยให้คุรุสภา คณะกรรมการข้าราชการครู และสถาบันผลิตครู ดำาเนินการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และให้มี มาตรการพัฒนาวิชาชีพ โดยการกำาหนดให้มีใบ ประกอบวิชาชีพครู 10. ปฏิรูประบบสวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูล ของครูทุกประเภท ทุกสังกัด เพื่อ ยกระดับ คุณภาพชีวิตของครู ส่งเสริมขวัญกำาลังใจและ ความมั่นคงในอาชีพให้กับครู รวมทั้งปรับปรุง โครงสร้างเงินเดือนและสวัสดิการอื่น ๆ ของครู โดยมุ่งส่งเสริม สนับสนุนแก่ครูที่สอนในถิ่น ทุรกันดาร ครูที่สอนหลายชั้นเป็นพิเศษ