SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  63
อุตสาหกรรมกับ
ผลกระทบทาง
สิ่งแวดล้อม
กล่ม อะตอม (sec 06)
1.นายกฤษดา สโมสร 5510210008
2.นางสาวญาณิศา ฉันทานุมัติ 5510210041
3.นางสาวกมลชนก สมสู่ 5510210003
4. นางสาวณัฐกานต์ ปรางค์จันทร์ 5510210313
5. นางสาวจันทร์จิรา วุฒิวิทย์ชัย 5510210275
อุตสาหกรรม
แนวทางการป้ องกัน
อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม (Industry)
เป็นคำจำกัดควำมที่ใช้กับกิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงำน เพื่อที่จะ
ผลิตสิ่งของ หรือ จัดให้มีบริกำร เช่น อุตสำหกรรมสิ่งทอ ในยุค
วิกตอเรีย นักประวัติศำสตร์เรียกช่วงเวลำนั้นว่ำ กำรปฏิวัติ
อุตสำหกรรม โดยมีกำรผลิตเครื่องทุ่นแรงต่ำง ๆ มำกมำย และ ทำให้
อุตสำหกรรมเจริญรุดหน้ำอย่ำงรวดเร็วและมีระเบียบ เป็นมำตรฐำน
เดียวกันทั้งหมด นอกจำกนี้ กำรปฏิวัติอุตสำหกรรมยังเกี่ยวของกับลัทธิ
สังคมนิยมของคำร์ล มำร์กซ (ลัทธิมำร์กซ) อีกด้วย
ประเภทของอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ
1.อุตสำหกรรมครัวเรือน คืออุตสำหกรรมกำรผลิตง่ำยๆ เล็กๆ มัก
ทำกันในครอบครัวหรือหมู่บ้ำน ไม่ใช้แรงงำน ทุนและปัจจัยมำก
แต่มักจะได้กำไรต่ำ อุตสำหกรรมจำพวกนี้มีตัวอย่ำงเช่น หัตถกรรม
จักสำน เซรำมิก ถ้วยโถโอชำมต่ำงๆ รวมไปถึงสินค้ำประเภท
อำหำรบรรจุถุงหรือหีบห่อที่มียี่ห้อบำงชนิด
2.อุตสำหกรรมโรงงำน คืออุตสำหกรรมที่ผลิตในโรงงำน สินค้ำ
มักมีมำตรฐำนเดียวกัน ไม่แตกต่ำงกันมำกนัก พบมำกในเขตเมือง
หรือเขตที่มีควำมเจริญต่ำงๆ สินค้ำพวกนี้มักเป็นสิ่งอุปโภคบริโภค
และสินค้ำฟุ่มเฟือยต่ำงๆ
อุตสาหกรรม
ช่วงที่ 1
ช่วงที่ 4
ช่วงที่ 2
ช่วงที่ 3
ช่วงที่ 5
วิวัฒนาการของการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย
ช่วงที่ 1 (พ.ศ. 2504-2514) เป็นช่วงแรกของกำรพัฒนำภำยใต้แผนพัฒนำฯ ฉบับ
ที่ 1และฉบับที่ 2 กำรพัฒนำในช่วงนี้ มีจุดมุ่งหมำยที่จะใช้อุตสำหกรรมเป็นตัวนำ ใน
กำรพัฒนำเศรษฐกิจ โดยในระยะแรกได้เลือกนโยบายการผลิตเพื่อทดแทนการนาเข้า
โดยมุ่งหวังที่จะพึ่งพำต่ำงประเทศให้น้อยลงและพยำยำมพึ่งตนเองให้มำกขึ้น
ผลจากการพัฒนาเพื่อทดแทนการนาเข้าในช่วงแรกนั้นทำ ให้เกิดอุตสำหกรรม
ต่ำงๆภำยในประเทศอย่ำงมำกมำยเช่น กำรผลิตยำงรถยนต์ อุตสำหกรรมสิ่งทอ
น้ำมัน เคมีภัณฑ์ อำหำรกระจกแผ่นและกำรประกอบรถยนต์เป็นต้น
ช่วงที่ 2 เป็นช่วงของแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) และฉบับที่ 4
(พ.ศ.2520-2524) รัฐบำลเริ่มหันมำใช้นโยบำยกำรส่งเสริมกำรส่งออกควบคู่ไปกับ
นโยบำยกำรผลิตเพื่อทดแทนกำรนำ เข้ำ ทั้งนี้เนื่องมำจำกผลของกำรพัฒนำ
อุตสำหกรรมเพื่อทดแทนกำรนำ เข้ำในช่วงแรกทำ ให้ประเทศไทยขำดดุลกำรค้ำสูงมำก
นอกจำกนี้กำรขยำยตัวของอุตสำหกรรมยังก่อให้เกิดปัญหำกำรขำดแคลน
ผู้ประกอบกำรและแรงงำนที่มีควำมเชี่ยวชำญด้ำนเทคนิคทำ ให้มีประสิทธิภำพกำร
ผลิตต่ำประกอบกับในขณะนั้นประเทศมีควำมต้องกำรในกำรแปรรูปสินค้ำเกษตรเพื่อ
กำรส่งออกมำกขึ้นด้วย
ช่วงที่ 3 เป็นช่วงของแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) แนวทำงกำร
พัฒนำอุตสำหกรรมในช่วงนี้ รัฐบำลได้เน้นกำรปรับโครงสร้ำงอุตสำหกรรมที่มีอยู่
ให้มีประสิทธิภำพเร่งรัดและส่งเสริมกำรส่งออกและพัฒนำอุตสำหกรรมพื้นฐำน ใน
บริเวณชำยฝั่งทะเลตะวันออกเป็นสำ คัญ
กระบวนกำรส่งเสริมกำรลงทุนให้มีควำมคล่องตัวยิ่งขึ้น กำรส่งเสริม
อุตสำหกรรมขนำดย่อมและอุตสำหกรรมในภูมิภำค กำรพัฒนำอุตสำหกรรม
พื้นฐำนเช่น อุตสำหกรรมปิโตรเคมีอันเป็นผลมำจำกกำรค้นพบก๊ำซธรรมชำติ
ซึ่งจะมีกำรเชื่อมโยงไปสู่อุตสำหกรรมอื่นๆอีกหลำยประเภทและปรับ
โครงสร้ำงอุตสำหกรรมเฉพำะประเภทเพื่อให้เกิดกำรพัฒนำประสิทธิภำพใน
กำรผลิตให้สำมำรถแข่งขันกับตลำดต่ำงประเทศได้ใน
ช่วงที่ 4 เป็นช่วงของแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534)
กำรพัฒนำอุตสำหกรรมของประเทศไทยในช่วงแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 6 ได้ให้
ควำมสำคัญกับกำรพัฒนำอุตสำหกรรมโดยทั่วไปและอุตสำหกรรมเป้ ำหมำย
โดยเฉพำะอุตสำหกรรมเป้ำหมำยได้เน้นอุตสำหกรรม 3 ประเภทที่มีโอกำสก่อให้เกิด
อุตสำหกรรมต่อเนื่อง กำรกระจำยรำยได้กำรผลิตในภูมิภำคและกำรสร้ำงงำนคือ
1. อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก
2. อุตสาหกรรมวิศวการ
3. อุตสาหกรรมขนาดย่อมและอุตสาหกรรมในภูมิภาค
ช่วงที่ 5 เป็นช่วงของแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) จำก
ลักษณะโครงสร้ำงทำงเศรษฐกิจที่จะพัฒนำไปสู่สังคมอุตสำหกรรมมำกขึ้น
และโครงสร้ำงกำรผลิตของภำคอุตสำหกรรมเองก็ได้เปลี่ยนแปลงจำกกำร
ผลิตสินค้ำอุปโภคบริโภคไปสู่อุตสำหกรรมกำรผลิตกึ่งสำ เร็จรูปและ
อุตสำหกรรมต่อเนื่องมำกขึ้น
ผลกระทบ !!
ด้านสังคม วัฒนธรรม
เศรษฐกิจ
อำชีวอนำมัย
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ด้านสังคม วัฒนธรรม
ด้ำนเศรษฐกิจ
- ค่ำครองชีพของคนในพื้นที่เพิ่มสูงขึ้น (Increase of
Living Expenses)
- รำคำที่ดินแพงขึ้น
- มีค่ำใช้จ่ำยต่ำงๆที่ต้องนำเข้ำจำกต่ำงประเทศเพื่อตอบสนอง
ควำมต้องกำรนักท่องเที่ยวต่ำงชำติ
- ทำให้สูญเสียรำยได้ออกนอกประเทศ
- รำยได้จำกธุรกิจท่องเที่ยวต่ำงๆ เป็นไปตำมฤดูกำล
ด้านอาชีวอนามัย
ด้านอาชีวอนามัย
1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ควำมร้อน ควำมเย็น กัมมันตภำพรังสีและพลังงำนที่
เกิดจำกแม่เหล็กไฟฟ้ำ ฯลฯ โรคที่เกิดจำกควำมเย็น มักจะพบกับคนงำนในอุตสำหกรรม
ห้องเย็นทำน้ำแข็ง ทำเบียร์ ควำมเย็นจะทำให้อุณหภูมิของผิวหนังต่ำ และกำรไหลเวียน
ของโลหิตมำสู่ส่วนปลำยร่ำงกำยน้อยลงเช่น ปลำยมือ ปลำยเท้ำ เกิดชำ เป็นแผล เท้ำเปื่อย
ได้โรคผิวหนังที่เกิดจำกควำมร้อนมักจะพบในพวกหลอมโลหะ ทำแก้ว เครื่องปั้นดินเผำ
พวกนี้ผิวหนังอำจจะแดง ด้ำน เหี่ยว และมีอำกำรผื่นคันง่ำย พวกนั่งปิ้งกล้วย ปิ้งข้ำวโพด
ขนมครก ควำมร้อนอ่อนๆ ระบำยมำถูกหน้ำแข้งตลอดเวลำ ภำยหลังหน้ำแข้งจะแดงเป็น
ผื่นคันทุกครั้งที่ถูกควำมร้อน มือก็ด้ำนเพรำะถูกควำมร้อนตลอดเวลำ กัมมันตภำพรังสี ทำ
ให้เกิดมะเร็งบนผิวหนังพบมำกในคนปฏิบัติงำนเกี่ยวกับพลังงำน เช่น พลังงำนปรมำณู
และเครื่องเอ๊กซเรย์พลังงำนที่เกิดจำกไพฟ้ำ คือ อินฟรำเรดอุลตร้ำไวโอเลตพวกนี้ทำให้
เกิดผิวหนังอักเสบ หนังคล้ำเป็นผื่นแดงไหม้ อำชีพที่เป็นโรคเหล่ำนี้ได้แก่พวกกลำสีเรือ
คนงำนสร้ำงถนน ช่ำงเชื่อมโลหะ คนงำนเป่ำแก้ว คนงำนหลอมโลหะ เป็นต้น
2.สิ่งแวดล้อมทางเคมี สำรเคมีที่ทำให้เกิดเป็นพิษแก่ร่ำงกำยและผิวหนัง
มีอยู่หลำยแบบและหลำยชนิด เช่น โลหะ แก๊สหรือของเหลว เช่นน้ำมันก็ได้
สำรหนู ซึ่งพบในอุตสำหกรรมทำยำฆ่ำแมลง ยำฆ่ำวัชพืช อุตสำหกรรมทำ
แก้ว และโรงงำนทำสี ผิวหนังที่สัมผัสสำรหนู ทำให้เกิดกำรแพ้เป็นผื่นแดง
และพุพอง เม็ดน้ำใส นำนๆ ไปอำจเกิดเป็นมะเร็งของผิวหนัง ในโรงงำน
ทำงำนทำสีต่ำงๆ ในโรงงำนเครื่องปั้นดินเผำ และโรงงำนเครื่องเคลือบ
เครื่องชุบต่ำงๆ จะใช้โครเมี่ยมเป็นส่วนประกอบ จะทำให้เกิดผิวหนังอักเสบ
บริเวณที่สัมผัสกับโครเมี่ยม ฝุ่นไอและกรดของโครเมี่ยมจะทำให้เกิดกำร
ระคำยเคืองของเยื่อบุช่องจมูกจนถึงหลอดลมและปอด เกิดกำรทำลำยเนื้อเยื่อ
เกิดเป็นโรคปอดได้
3.สิ่งแวดล้อมทำงชีวะ ได้แก่เชื้อโรค พวกไวรัส แบคทีเรีย ริคเคท
เชีย และพยำธิ ตัวอย่ำงเช่น คนงำนในโรงงำนฟอกหนังโรงงำนเคี่ยวกำว
โรงงำนป่นกระดูก มีโอกำสติดโรคแอนแทร็กซ์ (Anfrax) ได้ง่ำยกว่ำคน
ธรรมดำ คนงำนที่ทำงำนในที่อับชื้นหรือต้องใส่รองเท้ำอับตลอดเวลำ มี
โอกำสเป็นเชื้อรำได้ง่ำย
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของมลพิษทางน้า
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อุตสหกรรมที่จะต้องใช้น้ำเป็นจำนวนมำกในกำรผลิต เช่น อุตสหกรรมผลิต
กระดำษ อุตสำหกรรมสุรำ อุตสำหกรรมสิ่งทอผ้ำ อุตสำหกรรมประเภทที่ต้องกำร
น้ำที่มีคุณสมบัติเฉพำะ เช่น อุตสำหกรรมกระดำษและเส้นใย ต้องกำรน้ำที่มี
ปริมำณเหล็กและแมงกำนิสต่ำมำก ก็ยิ่งจะต้องใช้ค่ำใช้จ่ำยในกำรปรับสภำพน้ำมำก
ขึ้น นอกจำกค่ำใช้จ่ำยในกำรปรับปรุงคุณภำพน้ำแล้ว โรงงำนเหล่ำนี้ยังต้องเพิ่ม
ค่ำใช้จ่ำยในกำรซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องจักร ที่เสียหำยเนื่องจำกกำรที่ใช้น้ำไม่ได้
คุณภำพอีกด้วย
ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ
เกิดจำกกำรเผำไหม้เชื้อเพลิงและกระบวนกำรผลิต ซึ่งเป็นตัวกำรสำคัญที่ก่อให้เกิด
ผล กระทบต่อคุณภำพอำกำศในบรรยำกำศและอำจส่งผล กระทบต่อสุขภำพ
อนำมัยของประชำชนในชุมชน โดยทั่วไปหรือก่อให้เกิดควำมเดือดร้อนรำคำญ
เชื้อเพลิงที่ใช้สำหรับอุตสำหกรรมมีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกัน
คือ เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว ได้แก่ น้ำมันเตำ และน้ำมัน
ดีเซล เชื้อเพลิงที่เป็นก๊ำซ ได้แก่ ก๊ำซธรรมชำติ และก๊ำซ LPG สำรมลพิษทำงอำกำศ
ที่เกิดจำกกำรเผำไหม้เชื้อเพลิงชนิดต่ำง ๆ ได้แก่ ก๊ำซคำร์บอนมอนอกไซด์ ฝุ่น
ละออง ก๊ำซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และก๊ำซออกไซด์ของไนโตรเจน ซึ่งพบว่ำมี
ปริมำณกำรระบำยออกสู่บรรยำกำศเพิ่มมำกขึ้นทุกปีตำมปริมำณกำรใช้เชื้อเพลิงที่
เพิ่มขึ้น
ผลกระทบของมลพิษทางเสียง
แหล่งมลพิษทางเสียงอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
1. จากยานพาหนะส่วนใหญ่มีสำเหตุจำกท่อไอเสียรถยนต์ แตร เบรค เครื่องเรือ
หำงยำว เป็นต้น ปัจจุบันตำมเมืองขนำดใหญ่ๆ มักมีระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง
สูงกว่ำ 70 เดซิเบล โดยเฉพำะบริเวณที่มีกำรจรำจรหนำเน่นและมีตึกแถวเรียง
รำยอยู่2 ฟำกถนน
2. จากสถานประกอบการต่างๆได้แก่ โรงงานอุตสำหกรรม โรงมหรสพ สถำน
เริงรมย์ต่ำงๆ จำกกำรสำรวจปรำกฎว่ำเสียงจำกโรงงำนอุตสำหกรรมทั่วไปมี
ระดับเสียงดัง 60 -120 เดซิเบลเอ ก่อให้เกิดอันตรำยแบบค่อยเป็นค่อยไปกับ
คนงำนทำให้คนงำนไม่รู้สำเหตุที่แท้จริงของอำกำรหูงตึงที่เกิดขึ้นกับตนเอง
กฏหมายสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
-พระราชบัญญัติ
-กฎกระทรวง
-ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
-ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม
-ระเบียบกรมอุตสาหกรรม
-กฎหมายเกี่ยวกับวัตถุอันตราย
-กฎหมายด้านความปลอดภัย
-กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
-กฎกระทรวงฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2544) ออกตามพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. 2535
-กฏกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2539) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. 2535
-กฎกระทรวงฉบับที่ 3 ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
-กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน
พ.ศ. 2535
-เรื่องบัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2549
-เรื่อง การประกันภัยความเสียหายจากการขนส่งวัตถุอันตราย
พ.ศ.2549
-เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2549
-เรื่อง การกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วพ.ศ. 2548
-เรื่อง กาหนดชนิดของวัตถุดิบที่จะนามาใช้หรือผลิตในโรงงาน
-เรื่อง ระบบเอกสารกากับการขนส่งของเสียอันตราย พ.ศ. 2547
-เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่
ใช้แล้วจากโรงงานโดยทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์(Internet)พ.ศ. 2547
-เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณา การแต่งตั้งตัวแทนเพื่อเป็นผู้รวบรวมและขนส่งของเสีย
อันตรายตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ
ที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548
-เรื่อง เงื่อนไขในการอนุญาตให้นาเครื่องใช้ไฟฟ้ าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้
แล้วที่เป็นวัตถุอันตรายเข้ามาในราชอาณาจักร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2550
-เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วของผู้
ประกอบกิจการบาบัดและกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550
-เรื่อง คุณสมบัติของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจา โรงงาน วันที่ 5 เมษายน 2545
-ว่าด้วยเรื่องรายละเอียดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตประเภทหรือชนิด
ของโรงงาน ลาดับที่ 105 และลาดับที่ 106 พ.ศ. 2545
-ว่าด้วยเรื่องรายละเอียดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตประเภทหรือชนิดของ
โรงงานลาดับที่ 105 และลาดับที่ 106 (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2550
มาตรฐาน ISO 14000 คืออะไร
-ในยุคที่สังคมโลกกาลังให้ความสาคัญในเรื่องสิ่งแวดล้อมอันเป็น
ผลสืบเนื่องจากมลพิษต่าง ๆ ไม่ว่าทางอากาศ ทางน้า การกาจัดของ
เสีย ฯลฯ ได้ส่งผลกระทบต่อพลเมืองโลกอย่างมาก ผลกระทบนี้
เกิดขึ้นกับทุกประเทศในโลก และเป็นเหตุให้เกิดแรงผลักดันให้
องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน หรือ ISO
(International Organization for Standardization) จัดทา
อนุกรมมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม “ISO 14000 Series” ขึ้น
ISO 14000 เป็นชุดของมาตรฐานที่ประกอบไปด้วยมาตรฐาน
หลายเล่ม เริ่มต้นตั้งแต่หมายเลข 14001 จนถึง 14100
(ปัจจุบัน ISO กาหนดเลขสาหรับมาตรฐานในอนุกรมนี้ไว้
100 หมายเลข) โดยแต่ละเล่มเป็นเรื่องของมาตรฐานที่
เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น
หลักการของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ประโยชน์ของ EMS
-บริหารงานด้านสิ่งแวดล้อมได้อย่างเป็นระบบ
-เกิดสภาพแวดล้อมการทางานที่ดี รวมทั้งมีการป้ องกันในกรณีที่มีอุบัติเหตุ
เกิดขึ้น
-เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กร
-ลดภาระค่าใช้จ่าย เนื่องจากมีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น การ
จัดการทรัพยากร การจัดการของเสีย (waste management)
-เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาด
มาตรฐาน ISO 14000 ใครควรทา ทาแล้วได้อะไร
องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน หรือ ISO
(International Organization for Standardization) จึงได้กาหนด
กฎเกณฑ์สาหรับอนุกรมมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมขึ้น ได้แก่ ระบบ
การจัดการสิ่งแวดล้อม การตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม
การประเมินความสามารถในการจัดการสิ่งแวดล้อม การแสดงฉลาก
รับรองผลิตภัณฑ์ และการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมใน
วงจรของผลิตภัณฑ์ ซึ่งทั้งหมดก็คือ อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000
ใครควรทา ?ทุกองค์กร ไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการ
เพราะในแต่ละองค์กรมีกิจกรรมที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น
สาหรับองค์กรที่เป็นผู้ผลิต นอกจากจะได้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์แล้ว
ในระหว่างกระบวนการผลิต อาจจะมีผลที่ไม่พึงประสงค์อื่น ๆ
ตามมา เช่น เสียง ฝุ่ น ของเสีย สารปนเปื้อน ถ้าเป็นองค์กรที่เป็นผู้
ให้บริการ ก็จะอยู่ในรูปของการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ อย่างไม่คุ้มค่า
และไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งล้วนเป็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หากมี
การจัดการที่เหมาะสม ก็จะสามารถควบคุม และลดผลกระทบ
เหล่านั้นได้อย่างดี
ถึงแม้ว่าแต่ละประเทศทั่วโลก จะมีข้อบังคับและกฎระเบียบ
เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมแล้วก็ตาม องค์กรต่าง ๆ สามารถนาอนุกรม
มาตรฐาน ISO 14000 ไปประยุกต์ใช้กับระบบของตนเอง ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยความสมัครใจ ซึ่งประโยชน์ที่ได้จากการ
นาไปปฎิบัติ ก็เป็นขององค์กรและสังคมโดยส่วนรวม
ทาแล้วได้อะไร ?
ช่วยลดต้นทุนในระยะยาว เนื่องจากมีการพิจารณาถึงการใช้ทรัพยากร
อย่างคุ้มค่า ทาให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด เป็นผลให้
ต้นทุนต่าลง
เพิ่มโอกาสในด้านการค้า ทาให้การเจรจาทางด้านการค้าสะดวกยิ่งขึ้น
เป็นผลให้สามารถรักษาส่วนแบ่งทางการตลาด และเพิ่มโอกาสในการ
ขยายตลาดในอนาคตอีกด้วย
สร้างภาพพจน์ที่ดีให้กับองค์กร เนื่องจากได้มีส่วนร่วมในการ
สร้างสรรค์จรรโลงสภาพแวดล้อม ให้แก่สังคมส่วนรวม เป็นผลให้
ภาพพจน์ขององค์กรเป็นที่ยอมรับของสังคม
ได้รับเครื่องหมายรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม องค์กรที่นา
มาตรฐาน ISO 14000 ไปปฏิบัติ สามารถขอให้ หน่วยงานรับรองให้
การรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะทาให้ องค์กรสามารถ
นาไปใช้ ในการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน
ภาพลักษณ์ขององค์กรให้ดีขึ้น
หลักการของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
การกาจัดน้าทิ้ง จากโรงงานอุตสาหกรรม
เป็นการกาจัดสิ่งปนเปื้อนที่ทาให้น้าเสียอยู่ในเกณฑ์ต่าสุดที่จะ
ปล่อย ลงสู่แหล่งน้า ตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรมกาหนดมาตรฐาน น้าทิ้งจาก
โรงงานอุตสาหกรรม ที่กาหนดให้โดยองค์การอนามัยโลก (WHO)
และกระทรวงอุตสาหกรรมของประเทศไทย กาหนดได้ตามตาราง
มาตรฐานน้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม
องค์ประกอบของน้า หน่วย องค์การอนามัยโลก กระทรวงอุตสาหกรรม
บีโอดี มก./ล 40 20
ซีโอดี มก./ล 100 -
ด่างทับทิม มก./ล - 60
สารแขวนลอย มก./ล 60 30
ของแข็ง(ละลายน้า) มก./ล 2,000 2,000
pH มก./ล 5-9 5-9
ซัลไฟด์(เช่น H2S) มก./ล 3.0 1.0
ไซยาไนด์(เช่น HCN) มก./ล 1.0 0.2
ตาราง มาตรฐานน้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม
น้ามันและไขมัน มก./ล 15.0 -
น้ามันดิน มก./ล มองไม่เห็น -
ฟอร์มาลดีไฮด์ มก./ล - 1.0
ฟี โนลิค มก./ล 0.05 1.0
คลอรีนอิสระ มก./ล 5.0 1.0
โลหะหนัก(ทั้งหมด) มก./ล 5.0 -
สังกะสี มก./ล 2.0 *
โครเมียม มก./ล 0.1 *
สารหนู มก./ล - *
เงิน มก./ล - *
ซิลีเนียม มก./ล - *
ตะกั่ว มก./ล - *
นิเกิล มก./ล - -
ทองแดง มก./ล 2.0 -
เหล็ก มก./ล 5.0 -
ยาฆ่าแมลง มก./ล - -
ยาปราบศัตรูพืช มก./ล 0.01 -
สารกัมมันตภาพรังสี มก./ล - -
อุณหภูมิ มก./ล 40 40
ผงซักฟอก มก./ล 1.5 -
ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้า (DO = dissolved oxygen) มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมต่อ
ลิตร น้าที่มีคุณภาพดีต้องมีค่า DO อยู่ประมาณ 5-7 มิลลิกรัมต่อลิตร (ppm) ส่วนน้าเสีย
มีค่า DO ต่ากว่า 30 มิลลิกรัมต่อลิตร (ppm) ปลาและสัตว์น้าสามารถอาศัยอยู่ในน้าที่มี
ค่า DO มากกว่า 2 มิลลิกรัมต่อลิตร (ppm) ปริมาณออกซิเจนในน้าเป็นปัจจัยที่สาคัญต่อ
การดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในน้า เป็นตัวช่วยกาจัดมลภาวะในน้าในการเกิดออกซิเดชั่น ทา
ให้ลดปริมาณสารอินทรีย์และแบคทีเรียบางชนิดในน้าได้ดี ค่าความเข้มข้นออกซิเจนในน้า
ถือเป็นปัจจัยสาคัญที่บ่งชี้คุณภาพน้า ออกซิเจนที่ละลายในน้าได้มาจากบรรยากาศหรือ
จากกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืชน้า และขึ้นอยู่กับการกดดันของออกซิเจนใน
บรรยากาศ ถ้าความกดดันสูงออกซิเจนก็ละลายน้าได้มาก อุณหภูมิสูงออกซิเจนจะละลาย
น้าได้น้อย และถ้ามีสารอินทรีย์อยู่ในแหล่งน้าปริมาณมากจะทาให้ค่า DO ลดลงอย่าง
รวดเร็ว
ค่า DO คืออะไร ?
บีโอดี (BOD=biochemical oxygen demand)
คือ ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ไปสาหรับการย่อยสารอินทรีย์ชนิดที่ย่อย
สลายได้น้า ค่า BOD จึงใช้เป็นดัชนีวัดความสกปรกของน้าเสียหรือน้าทิ้ง
จากโรงงานอุตสาหกรรม การเกษตรกรรม ชุมชน และใช้กาหนดลักษะน้าทิ้ง
ลงสู่แหล่งน้า ตลอดจนใช้หาประสิทธิภาพของโรงงานจากัดน้าทิ้ง
ตารางแสดงค่า BOD ที่เป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพน้า
ค่า BOD คืออะไร?
ตารางแสดงค่า BOD ที่เป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพน้า
คุณภาพของน้า ค่า BOD (มิลลิกรัมต่อลิตร)
น้าบริสุทธิ์
น้าสะอาดมาก
น้าสะอาด
น้าสะอาดพอประมาณ
น้าไม่สะอาด
น้าสกปรก
0
1
2
3
5
10
ตารางแสดงมาตรฐานระดับความร้อน
ความหนักเบาของงาน
มาตรฐานระดับความร้อนค่าเฉลี่ยอุณหภูมิเวทบัลบ์โกลบ (WBGT) กาหนด
เป็นองศาเซลเซียส
เบา
ปานกลาง
หนัก
34.0
32.0
30.0
ตารางแสดงมาตรฐานระดับเสียงเฉลี่ยที่ยอมรับได้กับเวลาการทางาน
เวลาการทางานที่ได้รับเสียงใน 1 วัน (ชม.) ระดับเสียงเฉลี่ยตลอดเวลาการทางาน ไม่เกิน (เดซิเบลเอ)
12
8
6
4
3
2
11/2
1
1/2
1/4 หรือน้อยกว่า
87
90
92
95
97
100
102
105
110
115
มาตรฐานอากาศเสียที่ระบายออกจากโรงงานอุตสาหกรรม
ชนิดของสารเจือปน แหล่งที่มาของสาร
กระบวนการผลิต
ที่ไม่มีการเผาไหม้เชื้อเพลิง*
กระบวนการผลิต
ที่มีการเผาไหม้เชื้อเพลิง**
1. ฝุ่นละออง
(มก./ลบ.ม.)
1. หม้อไอน้ำหรือแหล่งกำเนิดที่
ใช้เชื้อเพลิงดังนี้
· น้ำมันเตำ
· ถ่ำนหิน
· ชีวมวล
· เชื้อเพลิงอื่นๆ
2. กำรถลุง หล่อหลอมรีดดึง
และ/หรืออลูมิเนียม
3. กำรผลิตทั่วไป
-
-
-
-
ไม่เกิน 300
ไม่เกิน 400
ไม่เกิน 240
ไม่เกิน 320
ไม่เกิน 320
ไม่เกิน 320
ไม่เกิน 240
ไม่เกิน 320
2. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
(ppm)
1. หม้อไอน้ำหรือแหล่งกำเนิดที่
ใช้เชื้อเพลิงดังนี้
· น้ำมันเตำ
· ถ่ำนหิน
2. กำรผลิตทั่วไป
-
-
ไม่เกิน 500
ไม่เกิน 950
ไม่เกิน 700
3. ออกไซด์ของไนโตรเจน
(ppm)
หม้อไอน้ำหรือแหล่งกำเนิดที่ใช้
เชื้อเพลิงดังนี้
 น้ำมันเตำ
 ถ่ำนหิน
 ชีวมวล
 เชื้อเพลิงอื่นๆ
-
-
-
-
ไม่เกิน 200
ไม่เกิน 400
ไม่เกิน 200
ไม่เกิน 200
4. คำร์บอนมอนอกไซด์
(ppm)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 870 ไม่เกิน 690
5. ไฮโดรเจนซัลไฟด์
(ppm)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 100 ไม่เกิน 80
6. ไฮโดรเจนคลอไรด์
(มก./ลบ.ม.)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 200 ไม่เกิน 160
7. กรดกำมะะถัน
(ppm)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 25 -
8. ไซลีน
(ppm)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 200 -
9. ครีซอล
(ppm)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 5 -
10. พลวง
(มก./ลบ.ม.)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 20 ไม่เกิน16
11. สำรหนู
(มก./ลบ.ม.)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 20 ไม่เกิน 16
12. ทองแดง
(มก./ลบ.ม.)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 30 ไม่เกิน 24
13. ตะกั่ว
(มก./ลบ.ม.)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 30 ไม่เกิน 24
14. คลอรีน
(มก./ลบ.ม.)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 30 ไม่เกิน 24
15. ปรอท
(มก./ลบ.ม.)
กำรผลิตทั่วไป
ไม่เกิน 3 ไม่เกิน 2.4
หมายเหตุ : * ให้คำนวณผลที่ควำมดัน 1 atm หรือ 760 mmHg
อุณหภุมิ 25 C ที่สภำวะแห้ง (Dry Basis)โดยมี ปริมำตรอำกำศเสียที่
ออกซิเจน ณ สภำวะจริงในขณะตรวจวัด
** ให้คำนวณผลที่ควำมดัน 1 atm หรือ 760 mmHg
อุณหภุมิ 25 C ที่สภำวะแห้ง (Dry Basis)
โดยมี ปริมำตรอำกำศเสียที่ออกซิเจน ร้อยละ 7
แผนที่แสดงปริมาณกากของเสียรายจังหวัด (ตันต่อปี) ซึ่งสรุปผลได้ ดังนี้
คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด
- ปริมำณกำกของเสียรวมทั่วประเทศ 10,243,396.52 ตันต่อปี
- ปริมำณกำกของเสียอันตรำยรวมทั่วประเทศ 1,558,743.23 ตันต่อปี
- ปริมำณกำกของเสียไม่อันตรำยรวมทั่วประเทศ 8,684,653.29 ตันต่อปี
แผนที่แสดงปริมาณกากของเสียรายภาค (ตันต่อปี)
- ปริมำณกำกของเสียรวมภำคเหนือ 235,961.3 ตันต่อปี
คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด
ของเสียไม่อันตรำย 209,466.8 ตันต่อปี
ของเสียอันตรำย 26,514.57 ตันต่อปี
- ปริมำณกำกของเสียรวมภำคตะวันออก 5,567,041 ตันต่อปี
คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด
ของเสียไม่อันตรำย 4,474,367.93 ตันต่อปี
ของเสียอันตรำย 1,092,672.97 ตันต่อปี
- ปริมำณกำกของเสียรวมภำคกลำง 3,500,081.58 ตันต่อปี
คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด
ของเสียไม่อันตรำย 3,084,766.75 ตันต่อปี
ของเสียอันตรำย 415,314.83 ตันต่อปี
- ปริมำณกำกของเสียรวมภำคตะวันออกเฉียงเหนือ 807,513.41 ตันต่อปี
คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด
ของเสียไม่อันตรำย 792,821.81 ตันต่อปี
ของเสียอันตรำย 14,691.6 ตันต่อปี
- ปริมำณกำกของเสียรวมภำคใต้ 124,747.11 ตันต่อปี
คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด
ของเสียไม่อันตรำย 117,803.38 ตันต่อปี
ของเสียอันตรำย 6,943.73 ตันต่อปี
3) แผนที่แสดงปริมาณกากของเสียรวมรายอาเภอ (ตันต่อปี)
คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด
4) แผนที่แสดงปริมาณกากของเสียอันตรายที่มีปริมาณสูงรายอาเภอ (ตันต่อปี)
คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด
ที่มา จาก
http://teenet.tei.or.th/environment_training/pdf/La
w%202.pdf
http://www.thaigoodview.com/library/teachersho
w/nakhonsithamrat/arunee_w/cheevit/aboutme.h
tml
http://dek-iptm.exteen.com/page-8
THANK YOU

Contenu connexe

Tendances

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.Katewaree Yosyingyong
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมนWichai Likitponrak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินJiraporn
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์Beerza Kub
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
เกลือแร่ เด้อ
เกลือแร่ เด้อเกลือแร่ เด้อ
เกลือแร่ เด้อSupakdee Wannatong
 
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์Flook Owen'zl
 

Tendances (20)

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไขมันและน้ำมัน 3ชม.
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
เกลือแร่ เด้อ
เกลือแร่ เด้อเกลือแร่ เด้อ
เกลือแร่ เด้อ
 
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
 

En vedette (7)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559
 
New Investment Promotion Measures
New Investment Promotion MeasuresNew Investment Promotion Measures
New Investment Promotion Measures
 
A Business Guide to Thailand (2016)
A Business Guide to Thailand (2016)A Business Guide to Thailand (2016)
A Business Guide to Thailand (2016)
 
อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบันมาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
 

powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม

  • 2. กล่ม อะตอม (sec 06) 1.นายกฤษดา สโมสร 5510210008 2.นางสาวญาณิศา ฉันทานุมัติ 5510210041 3.นางสาวกมลชนก สมสู่ 5510210003 4. นางสาวณัฐกานต์ ปรางค์จันทร์ 5510210313 5. นางสาวจันทร์จิรา วุฒิวิทย์ชัย 5510210275
  • 3.
  • 6. อุตสาหกรรม (Industry) เป็นคำจำกัดควำมที่ใช้กับกิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงำน เพื่อที่จะ ผลิตสิ่งของ หรือ จัดให้มีบริกำร เช่น อุตสำหกรรมสิ่งทอ ในยุค วิกตอเรีย นักประวัติศำสตร์เรียกช่วงเวลำนั้นว่ำ กำรปฏิวัติ อุตสำหกรรม โดยมีกำรผลิตเครื่องทุ่นแรงต่ำง ๆ มำกมำย และ ทำให้ อุตสำหกรรมเจริญรุดหน้ำอย่ำงรวดเร็วและมีระเบียบ เป็นมำตรฐำน เดียวกันทั้งหมด นอกจำกนี้ กำรปฏิวัติอุตสำหกรรมยังเกี่ยวของกับลัทธิ สังคมนิยมของคำร์ล มำร์กซ (ลัทธิมำร์กซ) อีกด้วย
  • 7. ประเภทของอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ 1.อุตสำหกรรมครัวเรือน คืออุตสำหกรรมกำรผลิตง่ำยๆ เล็กๆ มัก ทำกันในครอบครัวหรือหมู่บ้ำน ไม่ใช้แรงงำน ทุนและปัจจัยมำก แต่มักจะได้กำไรต่ำ อุตสำหกรรมจำพวกนี้มีตัวอย่ำงเช่น หัตถกรรม จักสำน เซรำมิก ถ้วยโถโอชำมต่ำงๆ รวมไปถึงสินค้ำประเภท อำหำรบรรจุถุงหรือหีบห่อที่มียี่ห้อบำงชนิด
  • 8. 2.อุตสำหกรรมโรงงำน คืออุตสำหกรรมที่ผลิตในโรงงำน สินค้ำ มักมีมำตรฐำนเดียวกัน ไม่แตกต่ำงกันมำกนัก พบมำกในเขตเมือง หรือเขตที่มีควำมเจริญต่ำงๆ สินค้ำพวกนี้มักเป็นสิ่งอุปโภคบริโภค และสินค้ำฟุ่มเฟือยต่ำงๆ
  • 10. วิวัฒนาการของการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย ช่วงที่ 1 (พ.ศ. 2504-2514) เป็นช่วงแรกของกำรพัฒนำภำยใต้แผนพัฒนำฯ ฉบับ ที่ 1และฉบับที่ 2 กำรพัฒนำในช่วงนี้ มีจุดมุ่งหมำยที่จะใช้อุตสำหกรรมเป็นตัวนำ ใน กำรพัฒนำเศรษฐกิจ โดยในระยะแรกได้เลือกนโยบายการผลิตเพื่อทดแทนการนาเข้า โดยมุ่งหวังที่จะพึ่งพำต่ำงประเทศให้น้อยลงและพยำยำมพึ่งตนเองให้มำกขึ้น ผลจากการพัฒนาเพื่อทดแทนการนาเข้าในช่วงแรกนั้นทำ ให้เกิดอุตสำหกรรม ต่ำงๆภำยในประเทศอย่ำงมำกมำยเช่น กำรผลิตยำงรถยนต์ อุตสำหกรรมสิ่งทอ น้ำมัน เคมีภัณฑ์ อำหำรกระจกแผ่นและกำรประกอบรถยนต์เป็นต้น
  • 11. ช่วงที่ 2 เป็นช่วงของแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) และฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) รัฐบำลเริ่มหันมำใช้นโยบำยกำรส่งเสริมกำรส่งออกควบคู่ไปกับ นโยบำยกำรผลิตเพื่อทดแทนกำรนำ เข้ำ ทั้งนี้เนื่องมำจำกผลของกำรพัฒนำ อุตสำหกรรมเพื่อทดแทนกำรนำ เข้ำในช่วงแรกทำ ให้ประเทศไทยขำดดุลกำรค้ำสูงมำก นอกจำกนี้กำรขยำยตัวของอุตสำหกรรมยังก่อให้เกิดปัญหำกำรขำดแคลน ผู้ประกอบกำรและแรงงำนที่มีควำมเชี่ยวชำญด้ำนเทคนิคทำ ให้มีประสิทธิภำพกำร ผลิตต่ำประกอบกับในขณะนั้นประเทศมีควำมต้องกำรในกำรแปรรูปสินค้ำเกษตรเพื่อ กำรส่งออกมำกขึ้นด้วย
  • 12. ช่วงที่ 3 เป็นช่วงของแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) แนวทำงกำร พัฒนำอุตสำหกรรมในช่วงนี้ รัฐบำลได้เน้นกำรปรับโครงสร้ำงอุตสำหกรรมที่มีอยู่ ให้มีประสิทธิภำพเร่งรัดและส่งเสริมกำรส่งออกและพัฒนำอุตสำหกรรมพื้นฐำน ใน บริเวณชำยฝั่งทะเลตะวันออกเป็นสำ คัญ กระบวนกำรส่งเสริมกำรลงทุนให้มีควำมคล่องตัวยิ่งขึ้น กำรส่งเสริม อุตสำหกรรมขนำดย่อมและอุตสำหกรรมในภูมิภำค กำรพัฒนำอุตสำหกรรม พื้นฐำนเช่น อุตสำหกรรมปิโตรเคมีอันเป็นผลมำจำกกำรค้นพบก๊ำซธรรมชำติ ซึ่งจะมีกำรเชื่อมโยงไปสู่อุตสำหกรรมอื่นๆอีกหลำยประเภทและปรับ โครงสร้ำงอุตสำหกรรมเฉพำะประเภทเพื่อให้เกิดกำรพัฒนำประสิทธิภำพใน กำรผลิตให้สำมำรถแข่งขันกับตลำดต่ำงประเทศได้ใน
  • 13. ช่วงที่ 4 เป็นช่วงของแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) กำรพัฒนำอุตสำหกรรมของประเทศไทยในช่วงแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 6 ได้ให้ ควำมสำคัญกับกำรพัฒนำอุตสำหกรรมโดยทั่วไปและอุตสำหกรรมเป้ ำหมำย โดยเฉพำะอุตสำหกรรมเป้ำหมำยได้เน้นอุตสำหกรรม 3 ประเภทที่มีโอกำสก่อให้เกิด อุตสำหกรรมต่อเนื่อง กำรกระจำยรำยได้กำรผลิตในภูมิภำคและกำรสร้ำงงำนคือ 1. อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก 2. อุตสาหกรรมวิศวการ 3. อุตสาหกรรมขนาดย่อมและอุตสาหกรรมในภูมิภาค
  • 14. ช่วงที่ 5 เป็นช่วงของแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) จำก ลักษณะโครงสร้ำงทำงเศรษฐกิจที่จะพัฒนำไปสู่สังคมอุตสำหกรรมมำกขึ้น และโครงสร้ำงกำรผลิตของภำคอุตสำหกรรมเองก็ได้เปลี่ยนแปลงจำกกำร ผลิตสินค้ำอุปโภคบริโภคไปสู่อุตสำหกรรมกำรผลิตกึ่งสำ เร็จรูปและ อุตสำหกรรมต่อเนื่องมำกขึ้น
  • 17.
  • 19. - ค่ำครองชีพของคนในพื้นที่เพิ่มสูงขึ้น (Increase of Living Expenses) - รำคำที่ดินแพงขึ้น - มีค่ำใช้จ่ำยต่ำงๆที่ต้องนำเข้ำจำกต่ำงประเทศเพื่อตอบสนอง ควำมต้องกำรนักท่องเที่ยวต่ำงชำติ - ทำให้สูญเสียรำยได้ออกนอกประเทศ - รำยได้จำกธุรกิจท่องเที่ยวต่ำงๆ เป็นไปตำมฤดูกำล
  • 20.
  • 22. ด้านอาชีวอนามัย 1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ควำมร้อน ควำมเย็น กัมมันตภำพรังสีและพลังงำนที่ เกิดจำกแม่เหล็กไฟฟ้ำ ฯลฯ โรคที่เกิดจำกควำมเย็น มักจะพบกับคนงำนในอุตสำหกรรม ห้องเย็นทำน้ำแข็ง ทำเบียร์ ควำมเย็นจะทำให้อุณหภูมิของผิวหนังต่ำ และกำรไหลเวียน ของโลหิตมำสู่ส่วนปลำยร่ำงกำยน้อยลงเช่น ปลำยมือ ปลำยเท้ำ เกิดชำ เป็นแผล เท้ำเปื่อย ได้โรคผิวหนังที่เกิดจำกควำมร้อนมักจะพบในพวกหลอมโลหะ ทำแก้ว เครื่องปั้นดินเผำ พวกนี้ผิวหนังอำจจะแดง ด้ำน เหี่ยว และมีอำกำรผื่นคันง่ำย พวกนั่งปิ้งกล้วย ปิ้งข้ำวโพด ขนมครก ควำมร้อนอ่อนๆ ระบำยมำถูกหน้ำแข้งตลอดเวลำ ภำยหลังหน้ำแข้งจะแดงเป็น ผื่นคันทุกครั้งที่ถูกควำมร้อน มือก็ด้ำนเพรำะถูกควำมร้อนตลอดเวลำ กัมมันตภำพรังสี ทำ ให้เกิดมะเร็งบนผิวหนังพบมำกในคนปฏิบัติงำนเกี่ยวกับพลังงำน เช่น พลังงำนปรมำณู และเครื่องเอ๊กซเรย์พลังงำนที่เกิดจำกไพฟ้ำ คือ อินฟรำเรดอุลตร้ำไวโอเลตพวกนี้ทำให้ เกิดผิวหนังอักเสบ หนังคล้ำเป็นผื่นแดงไหม้ อำชีพที่เป็นโรคเหล่ำนี้ได้แก่พวกกลำสีเรือ คนงำนสร้ำงถนน ช่ำงเชื่อมโลหะ คนงำนเป่ำแก้ว คนงำนหลอมโลหะ เป็นต้น
  • 23. 2.สิ่งแวดล้อมทางเคมี สำรเคมีที่ทำให้เกิดเป็นพิษแก่ร่ำงกำยและผิวหนัง มีอยู่หลำยแบบและหลำยชนิด เช่น โลหะ แก๊สหรือของเหลว เช่นน้ำมันก็ได้ สำรหนู ซึ่งพบในอุตสำหกรรมทำยำฆ่ำแมลง ยำฆ่ำวัชพืช อุตสำหกรรมทำ แก้ว และโรงงำนทำสี ผิวหนังที่สัมผัสสำรหนู ทำให้เกิดกำรแพ้เป็นผื่นแดง และพุพอง เม็ดน้ำใส นำนๆ ไปอำจเกิดเป็นมะเร็งของผิวหนัง ในโรงงำน ทำงำนทำสีต่ำงๆ ในโรงงำนเครื่องปั้นดินเผำ และโรงงำนเครื่องเคลือบ เครื่องชุบต่ำงๆ จะใช้โครเมี่ยมเป็นส่วนประกอบ จะทำให้เกิดผิวหนังอักเสบ บริเวณที่สัมผัสกับโครเมี่ยม ฝุ่นไอและกรดของโครเมี่ยมจะทำให้เกิดกำร ระคำยเคืองของเยื่อบุช่องจมูกจนถึงหลอดลมและปอด เกิดกำรทำลำยเนื้อเยื่อ เกิดเป็นโรคปอดได้
  • 24. 3.สิ่งแวดล้อมทำงชีวะ ได้แก่เชื้อโรค พวกไวรัส แบคทีเรีย ริคเคท เชีย และพยำธิ ตัวอย่ำงเช่น คนงำนในโรงงำนฟอกหนังโรงงำนเคี่ยวกำว โรงงำนป่นกระดูก มีโอกำสติดโรคแอนแทร็กซ์ (Anfrax) ได้ง่ำยกว่ำคน ธรรมดำ คนงำนที่ทำงำนในที่อับชื้นหรือต้องใส่รองเท้ำอับตลอดเวลำ มี โอกำสเป็นเชื้อรำได้ง่ำย
  • 26. ผลกระทบของมลพิษทางน้า ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อุตสหกรรมที่จะต้องใช้น้ำเป็นจำนวนมำกในกำรผลิต เช่น อุตสหกรรมผลิต กระดำษ อุตสำหกรรมสุรำ อุตสำหกรรมสิ่งทอผ้ำ อุตสำหกรรมประเภทที่ต้องกำร น้ำที่มีคุณสมบัติเฉพำะ เช่น อุตสำหกรรมกระดำษและเส้นใย ต้องกำรน้ำที่มี ปริมำณเหล็กและแมงกำนิสต่ำมำก ก็ยิ่งจะต้องใช้ค่ำใช้จ่ำยในกำรปรับสภำพน้ำมำก ขึ้น นอกจำกค่ำใช้จ่ำยในกำรปรับปรุงคุณภำพน้ำแล้ว โรงงำนเหล่ำนี้ยังต้องเพิ่ม ค่ำใช้จ่ำยในกำรซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องจักร ที่เสียหำยเนื่องจำกกำรที่ใช้น้ำไม่ได้ คุณภำพอีกด้วย
  • 27.
  • 28. ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ เกิดจำกกำรเผำไหม้เชื้อเพลิงและกระบวนกำรผลิต ซึ่งเป็นตัวกำรสำคัญที่ก่อให้เกิด ผล กระทบต่อคุณภำพอำกำศในบรรยำกำศและอำจส่งผล กระทบต่อสุขภำพ อนำมัยของประชำชนในชุมชน โดยทั่วไปหรือก่อให้เกิดควำมเดือดร้อนรำคำญ เชื้อเพลิงที่ใช้สำหรับอุตสำหกรรมมีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว ได้แก่ น้ำมันเตำ และน้ำมัน ดีเซล เชื้อเพลิงที่เป็นก๊ำซ ได้แก่ ก๊ำซธรรมชำติ และก๊ำซ LPG สำรมลพิษทำงอำกำศ ที่เกิดจำกกำรเผำไหม้เชื้อเพลิงชนิดต่ำง ๆ ได้แก่ ก๊ำซคำร์บอนมอนอกไซด์ ฝุ่น ละออง ก๊ำซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และก๊ำซออกไซด์ของไนโตรเจน ซึ่งพบว่ำมี ปริมำณกำรระบำยออกสู่บรรยำกำศเพิ่มมำกขึ้นทุกปีตำมปริมำณกำรใช้เชื้อเพลิงที่ เพิ่มขึ้น
  • 29.
  • 30. ผลกระทบของมลพิษทางเสียง แหล่งมลพิษทางเสียงอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. จากยานพาหนะส่วนใหญ่มีสำเหตุจำกท่อไอเสียรถยนต์ แตร เบรค เครื่องเรือ หำงยำว เป็นต้น ปัจจุบันตำมเมืองขนำดใหญ่ๆ มักมีระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง สูงกว่ำ 70 เดซิเบล โดยเฉพำะบริเวณที่มีกำรจรำจรหนำเน่นและมีตึกแถวเรียง รำยอยู่2 ฟำกถนน 2. จากสถานประกอบการต่างๆได้แก่ โรงงานอุตสำหกรรม โรงมหรสพ สถำน เริงรมย์ต่ำงๆ จำกกำรสำรวจปรำกฎว่ำเสียงจำกโรงงำนอุตสำหกรรมทั่วไปมี ระดับเสียงดัง 60 -120 เดซิเบลเอ ก่อให้เกิดอันตรำยแบบค่อยเป็นค่อยไปกับ คนงำนทำให้คนงำนไม่รู้สำเหตุที่แท้จริงของอำกำรหูงตึงที่เกิดขึ้นกับตนเอง
  • 32. -กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 -กฎกระทรวงฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2544) ออกตามพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 -กฏกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2539) ออกตามความในพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 -กฎกระทรวงฉบับที่ 3 ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 -กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
  • 33. -เรื่องบัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2549 -เรื่อง การประกันภัยความเสียหายจากการขนส่งวัตถุอันตราย พ.ศ.2549 -เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2549 -เรื่อง การกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วพ.ศ. 2548 -เรื่อง กาหนดชนิดของวัตถุดิบที่จะนามาใช้หรือผลิตในโรงงาน -เรื่อง ระบบเอกสารกากับการขนส่งของเสียอันตราย พ.ศ. 2547 -เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ ใช้แล้วจากโรงงานโดยทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์(Internet)พ.ศ. 2547
  • 34. -เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณา การแต่งตั้งตัวแทนเพื่อเป็นผู้รวบรวมและขนส่งของเสีย อันตรายตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ ที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548 -เรื่อง เงื่อนไขในการอนุญาตให้นาเครื่องใช้ไฟฟ้ าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ แล้วที่เป็นวัตถุอันตรายเข้ามาในราชอาณาจักร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2550 -เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วของผู้ ประกอบกิจการบาบัดและกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550 -เรื่อง คุณสมบัติของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจา โรงงาน วันที่ 5 เมษายน 2545
  • 35. -ว่าด้วยเรื่องรายละเอียดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตประเภทหรือชนิด ของโรงงาน ลาดับที่ 105 และลาดับที่ 106 พ.ศ. 2545 -ว่าด้วยเรื่องรายละเอียดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตประเภทหรือชนิดของ โรงงานลาดับที่ 105 และลาดับที่ 106 (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2550
  • 36. มาตรฐาน ISO 14000 คืออะไร -ในยุคที่สังคมโลกกาลังให้ความสาคัญในเรื่องสิ่งแวดล้อมอันเป็น ผลสืบเนื่องจากมลพิษต่าง ๆ ไม่ว่าทางอากาศ ทางน้า การกาจัดของ เสีย ฯลฯ ได้ส่งผลกระทบต่อพลเมืองโลกอย่างมาก ผลกระทบนี้ เกิดขึ้นกับทุกประเทศในโลก และเป็นเหตุให้เกิดแรงผลักดันให้ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน หรือ ISO (International Organization for Standardization) จัดทา อนุกรมมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม “ISO 14000 Series” ขึ้น
  • 37. ISO 14000 เป็นชุดของมาตรฐานที่ประกอบไปด้วยมาตรฐาน หลายเล่ม เริ่มต้นตั้งแต่หมายเลข 14001 จนถึง 14100 (ปัจจุบัน ISO กาหนดเลขสาหรับมาตรฐานในอนุกรมนี้ไว้ 100 หมายเลข) โดยแต่ละเล่มเป็นเรื่องของมาตรฐานที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น
  • 39. ประโยชน์ของ EMS -บริหารงานด้านสิ่งแวดล้อมได้อย่างเป็นระบบ -เกิดสภาพแวดล้อมการทางานที่ดี รวมทั้งมีการป้ องกันในกรณีที่มีอุบัติเหตุ เกิดขึ้น -เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กร -ลดภาระค่าใช้จ่าย เนื่องจากมีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น การ จัดการทรัพยากร การจัดการของเสีย (waste management) -เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาด
  • 40. มาตรฐาน ISO 14000 ใครควรทา ทาแล้วได้อะไร องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน หรือ ISO (International Organization for Standardization) จึงได้กาหนด กฎเกณฑ์สาหรับอนุกรมมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมขึ้น ได้แก่ ระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม การตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม การประเมินความสามารถในการจัดการสิ่งแวดล้อม การแสดงฉลาก รับรองผลิตภัณฑ์ และการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมใน วงจรของผลิตภัณฑ์ ซึ่งทั้งหมดก็คือ อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000
  • 41. ใครควรทา ?ทุกองค์กร ไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการ เพราะในแต่ละองค์กรมีกิจกรรมที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น สาหรับองค์กรที่เป็นผู้ผลิต นอกจากจะได้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์แล้ว ในระหว่างกระบวนการผลิต อาจจะมีผลที่ไม่พึงประสงค์อื่น ๆ ตามมา เช่น เสียง ฝุ่ น ของเสีย สารปนเปื้อน ถ้าเป็นองค์กรที่เป็นผู้ ให้บริการ ก็จะอยู่ในรูปของการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ อย่างไม่คุ้มค่า และไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งล้วนเป็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หากมี การจัดการที่เหมาะสม ก็จะสามารถควบคุม และลดผลกระทบ เหล่านั้นได้อย่างดี
  • 42. ถึงแม้ว่าแต่ละประเทศทั่วโลก จะมีข้อบังคับและกฎระเบียบ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมแล้วก็ตาม องค์กรต่าง ๆ สามารถนาอนุกรม มาตรฐาน ISO 14000 ไปประยุกต์ใช้กับระบบของตนเอง ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยความสมัครใจ ซึ่งประโยชน์ที่ได้จากการ นาไปปฎิบัติ ก็เป็นขององค์กรและสังคมโดยส่วนรวม
  • 43. ทาแล้วได้อะไร ? ช่วยลดต้นทุนในระยะยาว เนื่องจากมีการพิจารณาถึงการใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า ทาให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด เป็นผลให้ ต้นทุนต่าลง เพิ่มโอกาสในด้านการค้า ทาให้การเจรจาทางด้านการค้าสะดวกยิ่งขึ้น เป็นผลให้สามารถรักษาส่วนแบ่งทางการตลาด และเพิ่มโอกาสในการ ขยายตลาดในอนาคตอีกด้วย สร้างภาพพจน์ที่ดีให้กับองค์กร เนื่องจากได้มีส่วนร่วมในการ สร้างสรรค์จรรโลงสภาพแวดล้อม ให้แก่สังคมส่วนรวม เป็นผลให้ ภาพพจน์ขององค์กรเป็นที่ยอมรับของสังคม ได้รับเครื่องหมายรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม องค์กรที่นา มาตรฐาน ISO 14000 ไปปฏิบัติ สามารถขอให้ หน่วยงานรับรองให้ การรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะทาให้ องค์กรสามารถ นาไปใช้ ในการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน ภาพลักษณ์ขององค์กรให้ดีขึ้น
  • 45. การกาจัดน้าทิ้ง จากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นการกาจัดสิ่งปนเปื้อนที่ทาให้น้าเสียอยู่ในเกณฑ์ต่าสุดที่จะ ปล่อย ลงสู่แหล่งน้า ตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรมกาหนดมาตรฐาน น้าทิ้งจาก โรงงานอุตสาหกรรม ที่กาหนดให้โดยองค์การอนามัยโลก (WHO) และกระทรวงอุตสาหกรรมของประเทศไทย กาหนดได้ตามตาราง มาตรฐานน้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม
  • 46. องค์ประกอบของน้า หน่วย องค์การอนามัยโลก กระทรวงอุตสาหกรรม บีโอดี มก./ล 40 20 ซีโอดี มก./ล 100 - ด่างทับทิม มก./ล - 60 สารแขวนลอย มก./ล 60 30 ของแข็ง(ละลายน้า) มก./ล 2,000 2,000 pH มก./ล 5-9 5-9 ซัลไฟด์(เช่น H2S) มก./ล 3.0 1.0 ไซยาไนด์(เช่น HCN) มก./ล 1.0 0.2 ตาราง มาตรฐานน้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม
  • 47. น้ามันและไขมัน มก./ล 15.0 - น้ามันดิน มก./ล มองไม่เห็น - ฟอร์มาลดีไฮด์ มก./ล - 1.0 ฟี โนลิค มก./ล 0.05 1.0 คลอรีนอิสระ มก./ล 5.0 1.0 โลหะหนัก(ทั้งหมด) มก./ล 5.0 - สังกะสี มก./ล 2.0 * โครเมียม มก./ล 0.1 * สารหนู มก./ล - * เงิน มก./ล - * ซิลีเนียม มก./ล - *
  • 48. ตะกั่ว มก./ล - * นิเกิล มก./ล - - ทองแดง มก./ล 2.0 - เหล็ก มก./ล 5.0 - ยาฆ่าแมลง มก./ล - - ยาปราบศัตรูพืช มก./ล 0.01 - สารกัมมันตภาพรังสี มก./ล - - อุณหภูมิ มก./ล 40 40 ผงซักฟอก มก./ล 1.5 -
  • 49. ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้า (DO = dissolved oxygen) มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมต่อ ลิตร น้าที่มีคุณภาพดีต้องมีค่า DO อยู่ประมาณ 5-7 มิลลิกรัมต่อลิตร (ppm) ส่วนน้าเสีย มีค่า DO ต่ากว่า 30 มิลลิกรัมต่อลิตร (ppm) ปลาและสัตว์น้าสามารถอาศัยอยู่ในน้าที่มี ค่า DO มากกว่า 2 มิลลิกรัมต่อลิตร (ppm) ปริมาณออกซิเจนในน้าเป็นปัจจัยที่สาคัญต่อ การดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในน้า เป็นตัวช่วยกาจัดมลภาวะในน้าในการเกิดออกซิเดชั่น ทา ให้ลดปริมาณสารอินทรีย์และแบคทีเรียบางชนิดในน้าได้ดี ค่าความเข้มข้นออกซิเจนในน้า ถือเป็นปัจจัยสาคัญที่บ่งชี้คุณภาพน้า ออกซิเจนที่ละลายในน้าได้มาจากบรรยากาศหรือ จากกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืชน้า และขึ้นอยู่กับการกดดันของออกซิเจนใน บรรยากาศ ถ้าความกดดันสูงออกซิเจนก็ละลายน้าได้มาก อุณหภูมิสูงออกซิเจนจะละลาย น้าได้น้อย และถ้ามีสารอินทรีย์อยู่ในแหล่งน้าปริมาณมากจะทาให้ค่า DO ลดลงอย่าง รวดเร็ว ค่า DO คืออะไร ?
  • 50. บีโอดี (BOD=biochemical oxygen demand) คือ ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรีย์ใช้ไปสาหรับการย่อยสารอินทรีย์ชนิดที่ย่อย สลายได้น้า ค่า BOD จึงใช้เป็นดัชนีวัดความสกปรกของน้าเสียหรือน้าทิ้ง จากโรงงานอุตสาหกรรม การเกษตรกรรม ชุมชน และใช้กาหนดลักษะน้าทิ้ง ลงสู่แหล่งน้า ตลอดจนใช้หาประสิทธิภาพของโรงงานจากัดน้าทิ้ง ตารางแสดงค่า BOD ที่เป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพน้า ค่า BOD คืออะไร?
  • 51. ตารางแสดงค่า BOD ที่เป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพน้า คุณภาพของน้า ค่า BOD (มิลลิกรัมต่อลิตร) น้าบริสุทธิ์ น้าสะอาดมาก น้าสะอาด น้าสะอาดพอประมาณ น้าไม่สะอาด น้าสกปรก 0 1 2 3 5 10 ตารางแสดงมาตรฐานระดับความร้อน ความหนักเบาของงาน มาตรฐานระดับความร้อนค่าเฉลี่ยอุณหภูมิเวทบัลบ์โกลบ (WBGT) กาหนด เป็นองศาเซลเซียส เบา ปานกลาง หนัก 34.0 32.0 30.0
  • 52. ตารางแสดงมาตรฐานระดับเสียงเฉลี่ยที่ยอมรับได้กับเวลาการทางาน เวลาการทางานที่ได้รับเสียงใน 1 วัน (ชม.) ระดับเสียงเฉลี่ยตลอดเวลาการทางาน ไม่เกิน (เดซิเบลเอ) 12 8 6 4 3 2 11/2 1 1/2 1/4 หรือน้อยกว่า 87 90 92 95 97 100 102 105 110 115
  • 53. มาตรฐานอากาศเสียที่ระบายออกจากโรงงานอุตสาหกรรม ชนิดของสารเจือปน แหล่งที่มาของสาร กระบวนการผลิต ที่ไม่มีการเผาไหม้เชื้อเพลิง* กระบวนการผลิต ที่มีการเผาไหม้เชื้อเพลิง** 1. ฝุ่นละออง (มก./ลบ.ม.) 1. หม้อไอน้ำหรือแหล่งกำเนิดที่ ใช้เชื้อเพลิงดังนี้ · น้ำมันเตำ · ถ่ำนหิน · ชีวมวล · เชื้อเพลิงอื่นๆ 2. กำรถลุง หล่อหลอมรีดดึง และ/หรืออลูมิเนียม 3. กำรผลิตทั่วไป - - - - ไม่เกิน 300 ไม่เกิน 400 ไม่เกิน 240 ไม่เกิน 320 ไม่เกิน 320 ไม่เกิน 320 ไม่เกิน 240 ไม่เกิน 320 2. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (ppm) 1. หม้อไอน้ำหรือแหล่งกำเนิดที่ ใช้เชื้อเพลิงดังนี้ · น้ำมันเตำ · ถ่ำนหิน 2. กำรผลิตทั่วไป - - ไม่เกิน 500 ไม่เกิน 950 ไม่เกิน 700
  • 54. 3. ออกไซด์ของไนโตรเจน (ppm) หม้อไอน้ำหรือแหล่งกำเนิดที่ใช้ เชื้อเพลิงดังนี้  น้ำมันเตำ  ถ่ำนหิน  ชีวมวล  เชื้อเพลิงอื่นๆ - - - - ไม่เกิน 200 ไม่เกิน 400 ไม่เกิน 200 ไม่เกิน 200 4. คำร์บอนมอนอกไซด์ (ppm) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 870 ไม่เกิน 690 5. ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (ppm) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 100 ไม่เกิน 80 6. ไฮโดรเจนคลอไรด์ (มก./ลบ.ม.) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 200 ไม่เกิน 160 7. กรดกำมะะถัน (ppm) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 25 - 8. ไซลีน (ppm) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 200 - 9. ครีซอล (ppm) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 5 -
  • 55. 10. พลวง (มก./ลบ.ม.) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 20 ไม่เกิน16 11. สำรหนู (มก./ลบ.ม.) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 20 ไม่เกิน 16 12. ทองแดง (มก./ลบ.ม.) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 30 ไม่เกิน 24 13. ตะกั่ว (มก./ลบ.ม.) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 30 ไม่เกิน 24 14. คลอรีน (มก./ลบ.ม.) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 30 ไม่เกิน 24 15. ปรอท (มก./ลบ.ม.) กำรผลิตทั่วไป ไม่เกิน 3 ไม่เกิน 2.4
  • 56. หมายเหตุ : * ให้คำนวณผลที่ควำมดัน 1 atm หรือ 760 mmHg อุณหภุมิ 25 C ที่สภำวะแห้ง (Dry Basis)โดยมี ปริมำตรอำกำศเสียที่ ออกซิเจน ณ สภำวะจริงในขณะตรวจวัด ** ให้คำนวณผลที่ควำมดัน 1 atm หรือ 760 mmHg อุณหภุมิ 25 C ที่สภำวะแห้ง (Dry Basis) โดยมี ปริมำตรอำกำศเสียที่ออกซิเจน ร้อยละ 7
  • 57.
  • 58.
  • 59. แผนที่แสดงปริมาณกากของเสียรายจังหวัด (ตันต่อปี) ซึ่งสรุปผลได้ ดังนี้ คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด - ปริมำณกำกของเสียรวมทั่วประเทศ 10,243,396.52 ตันต่อปี - ปริมำณกำกของเสียอันตรำยรวมทั่วประเทศ 1,558,743.23 ตันต่อปี - ปริมำณกำกของเสียไม่อันตรำยรวมทั่วประเทศ 8,684,653.29 ตันต่อปี แผนที่แสดงปริมาณกากของเสียรายภาค (ตันต่อปี) - ปริมำณกำกของเสียรวมภำคเหนือ 235,961.3 ตันต่อปี คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด ของเสียไม่อันตรำย 209,466.8 ตันต่อปี ของเสียอันตรำย 26,514.57 ตันต่อปี - ปริมำณกำกของเสียรวมภำคตะวันออก 5,567,041 ตันต่อปี คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด ของเสียไม่อันตรำย 4,474,367.93 ตันต่อปี ของเสียอันตรำย 1,092,672.97 ตันต่อปี
  • 60. - ปริมำณกำกของเสียรวมภำคกลำง 3,500,081.58 ตันต่อปี คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด ของเสียไม่อันตรำย 3,084,766.75 ตันต่อปี ของเสียอันตรำย 415,314.83 ตันต่อปี - ปริมำณกำกของเสียรวมภำคตะวันออกเฉียงเหนือ 807,513.41 ตันต่อปี คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด ของเสียไม่อันตรำย 792,821.81 ตันต่อปี ของเสียอันตรำย 14,691.6 ตันต่อปี - ปริมำณกำกของเสียรวมภำคใต้ 124,747.11 ตันต่อปี คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด ของเสียไม่อันตรำย 117,803.38 ตันต่อปี ของเสียอันตรำย 6,943.73 ตันต่อปี
  • 61. 3) แผนที่แสดงปริมาณกากของเสียรวมรายอาเภอ (ตันต่อปี) คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด 4) แผนที่แสดงปริมาณกากของเสียอันตรายที่มีปริมาณสูงรายอาเภอ (ตันต่อปี) คลิกที่นี่เพื่อดูรำยละเอียด