SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  44
Télécharger pour lire hors ligne
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8
การสื่อสารข้อมูลและ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง เช่น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สาหรับควบคุมการส่งและ
การไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง นอกจากนี้อาจจะมีผู้รับผิดชอบในการ
กาหนดกฎเกณฑ์ในการส่งหรือรับข้อมูลตามรูปแบบที่ต้องการ
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์นั้น จะทาได้ก็ต่อเมื่อมีองค์ประกอบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender)
ข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ต้นทางจะต้องจัดเตรียมนาเข้าสู่อุปกรณ์สาหรับส่งข้อมูล ซึ่ง
ได้แก่เครื่องพิมพ์ หรืออุปกรณ์ควบคุมต่าง ๆ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ซึ่งข้อมูล
เหล่านั้นถูกเปลี่ยนให้อยู่ใน รูปแบบที่สามารถส่งข้อมูลนั้นได้ก่อน
2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver)
ข้อมูลที่ถูกส่งจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง เมื่อไปถึงปลายทางก็จะมีอุปกรณ์สาหรับ
รับข้อมูลเหล่านั้นเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องพิมพ์ คอมพิวเตอร์
จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ฯลฯ
3. ข่าวสาร (Message)
เป็นรายละเอียดซึ่งอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ที่จะส่งผ่านระบบการสื่อสาร ซึ่งมีหลายรูปแบบดังนี้
3.1 ข้อมูล (Data) เป็นรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ ซึ่งถูกสร้างและจัดเก็บด้วย
คอมพิวเตอร์ มีรูปแบบแน่นอน เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า เป็นต้น ข้อมูล
สามารถนับจานวนได้และส่งผ่านระบบสื่อสารได้เร็ว
3.2 ข้อความ (Text) อยู่ในรูปของเอกสารหรือตัวอักขระ ไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ชัดเจน
นับจานวนได้ค่อนข้างยาก และมีความสามารถในการส่งปานกลาง
3.3 รูปภาพ (Image) เป็นข่าวสารที่อยู่ในรูปของภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ ได้แก่ รูป
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดีโอ ซึ่งข้อมูลชนิดนี้จะต้องอาศัยสื่อสาหรับเก็บ และใช้หน่วยความจา
เป็นจานวนมาก
3.4 เสียง (Voice) อยู่ในรูปของเสียงพูด เสียงดนตรี หรือเสียงอื่น ๆ ข้อมูลชนิดนี้จะ
กระจัดกระจาย ไม่สามารถวัดขนาดที่แน่นอนได้ การส่งจะทาได้ด้วยความเร็ว ค่อนข้างต่า
4. ตัวกลาง (Medium)
เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางที่ทาหน้าที่นาข่าวสารในรูปแบบต่าง ๆ จากผู้ส่งหรือ
อุปกรณ์ส่งต้นทางไปยังผู้รับ หรืออุปกรณ์รับปลายทาง ซึ่งมีหลายรูปแบบได้แก่ สายไป
ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออฟติก ตัวกลางอาจจะอยู่ในรูปของคลื่นที่ส่งผ่านทาง
อากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น
5. โปรโตคอล (Protocol)
โปรโตคอล คือ กฎระเบียบ หรือวิธีการใช้เป็นข้อกาหนดสาหรับการสื่อสาร
เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมีหลายชนิดให้เลือกใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC
เป็นต้น
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
สัญญาณข้อมูลที่มีการสื่อสารในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีรูปแบบแตกต่างกัน
ตามรูปแบบของสื่อนาข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร สัญญาณข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1.สัญญาณแอนะล็อก
สัญญาณแอนะล็อกเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นความถี่และมี
ความเข็มของสัญญาณแตกต่างกัน รูปแบบของสัญญาณแอนะล็อก เช่น สัญญาณเสียงใน
การพูดคุยผ่านระบบโทรศัพท์
2.สัญญาณดิจิทัล
สัญญาณดิจิทัลเป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง เป็นสัญญาณที่ใช้แทนข้อมูลใน
คอมพิวเตอร์อยู่ในรูปแบบของเลขฐานสอง คือ 0 และ 1
ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล
ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล หมายถึง ทิศทางของสัญญาณที่เดินทางจาก
อุปกรณ์สิ่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์รับข้อมูลโดยผ่านสื่อนาข้อมูล ทิศทางของการสื่อสาร
ข้อมูลแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ การส่งสัญญาณทางเดียว (One-Way
Transmission หรือ Simplex) การส่งสัญญาณกึ่งทางคู่ (Half-Duplex หรือ Either-
Way) และการสื่อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์ (Full-duplex)
1. การส่งสัญญาณทางเดียว (One-Way Transmission หรือ Simplex)
การส่งสัญญาณในเวลาเดียวกันจะส่งได้เพียงทางเดียวเท่านั้น ถึงแม้ว่าตัวส่งจะ
มีสัญญาณหลายช่องทางก็ตาม ซึ่งมักจะเรียกการส่งสัญญาณทางเดียวนี้ว่า ซิมเพล็กซ์ ผู้
ส่งสัญญาณจะส่งได้ทางเดียว โดยที่ผู้รับจะไม่สามารถโต้ตอบได้ เช่น การส่ง
วิทยุกระจายเสียง การแพร่ภาพโทรทัศน์
2. การส่งสัญญาณกึ่งทางคู่ (Half-Duplex หรือ Either-Way)
การส่งสัญญาณแบบนี้เมื่อผู้ส่งได้ทาการส่งสัญญาณไปแล้ว ผู้รับก็จะรับสัญญาณ
นั้น หลังจากนั้นผู้รับก็สามารถปรับมาเป็นผู้ส่งสัญญาณแทน ส่วนผู้ส่งเดิมก็ปรับมาเป็นผู้รับ
แทนสลับกันได้ แต่ไม่สามารถส่งสัญญาณพร้อมกันในเวลาเดียวกันได้ จึงเรียกการส่ง
สัญญาณแบบนี้ว่า ฮาร์ฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex หรือ HD) ได้แก่ วิทยุสนามที่ตารวจใช้
เป็นต้น
3. การส่งสัญญาณทางคู่ (Full-Duplex หรือ Both way
Transmission)
การส่งสัญญาณแบบนี้สามารถส่งข้อมูลได้พร้อมกันทั้งสองทางในเวลา
เดียวกัน เช่น การใช้โทรศัพท์ ผู้ใช้สามารถพูดสายโทรศัพท์ได้พร้อม ๆ กัน
สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบที่สาคัญที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลอันหนึ่งที่ขาดไม่ได้ คือสาย
สื่อกลาง ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ สื่อกลางที่กาหนดเส้นทางได้ เช่น สายโคแอก
เซียล (Coaxial) สายเกลียวคู่ (Twisted-pair) สายไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic)
และสื่อกลางที่กาหนดเส้นทางไม่ได้ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นดาวเทียม คลื่นไมโครเวฟ เป็น
ต้น
สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair)
ลักษณะของสายจะคล้ายกับสายไฟฟ้า สายคู่บิดเกลียวที่คุ้นเคยมากที่สุด คือ
สายโทรศัพท์ จานวนสายจะมีเป็นคู่ เช่น 2 เส้น 4 เส้น หรือ 6 เส้น โดนที่แต่ละคู่มัดกันเป็น
เกลียว การบิดเป็นเกลียวนั้นจะช่วยในการลดสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในขณะที่ส่งข้อมูล
สายคู่บิดเกียวจะมีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง 5MHz สายคู่บิดเกลียวจะ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย (Wired Media)
1. สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิด
เกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่บางทาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่จะป้องกันการรบกวนของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าอีกชนิด
2. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิด
เกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า
สายโคแอกเซียล (Coaxial Cable)
สายโคแอ็กซ์เชียลมักถูกเรียกสั้นๆว่า สายโคแอ็กซ์(coax) มีตัวนาไฟฟ้าอยู่สอง
ส่วน คาว่า โคแอ็กซ์ คือ มีแกนร่วมกัน นั่นหมายความว่า ตัวนาไฟฟ้าทั้งสองตัวมีแกนร่วมกัน
นั่นเอง โครงสร้างของสายโคแอ็กซ์ประกอบไปด้วย สายทองแดงป็นแกนกลาง ห่อหุ้มด้วยวัสดุ
ที่เป็นฉนวน ชั้นต่อมาจะเป็นตัวนาไฟฟ้าอีกชั้นหนึ่ง เป็นแผ่นโลหะบางหรืออาจเป็นใยโลหะที่
ถักเป็นเปียหุ้มอีกชั้นหนึ่ง ชั้นสุดท้ายเป็นฉนวนหุ้มและวัสดุป้องกันสายสัญญาณ
สายส่งแบบไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic)
เป็นการส่งสัญญาณด้วยใยแก้ว และส่งสัญญาณด้วยแสงมีความเร็วในการส่ง
ข้อมูลสูงสามารถส่งข้อมูล ได้ด้วยเร็วเท่ากับแสง ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอก
สายส่งข้อมูลแบบไฟเบอร์ออฟติกจะประกอบด้วยเส้นใยแก้ว 2 ชนิด ชนิดหนึ่ง
อยู่ตรงแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก โดยที่ใยแก้วทั้ง 2 นี้จะมีดัชนีในการสะท้อน
แสงต่างกัน ทาให้แสงที่ส่งจากปลายด้านหนึ่งผ่านไปยังอีกด้านหนึ่งได้
สื่อกลางประเภทไร้สาย (Wireless Media)
1) คลื่นวิทยุ (Radio Wave)
วิธี การสื่อสารประเภทนี้จะใช้การส่งคลื่นไปในอากาศ เพื่อส่งไปยังเครื่องรับวิทยุ
โดยรวมกับคลื่นเสียงมีความถี่เสียงที่เป็นรูป แบบของคลื่นไฟฟ้า ดังนั้นการส่ง
วิทยุกระจายเสียงจึงไม่ต้องใช้สายส่งข้อมูล และยังสามารถส่งคลื่นสัญญาณไปได้ระยะไกล
ซึ่งจะอยู่ในช่วงความถี่ระหว่าง 104 - 109 เฮิรตซ์ ดังนั้น เครื่องรับวิทยุจะต้องปรับช่อง
ความถี่ให้กับคลื่นวิทยุที่ส่งมา ทาให้สามารถรับข้อมูลได้อย่างชัดเจน
2) สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave)
เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง ส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็น
สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่ง และจะต้องมีสถานีที่ทา
หน้าที่ส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถ
เลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ - ส่งข้อมูลเป็นระยะๆ และ
ส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง และแต่ละสถานี
จะตั้งอยู่ในที่สูง ซึ่งจะอยู่ในช่วงความถี่ 108 - 1012 เฮิรตซ์
3) แสงอินฟราเรด (Infrared)
อินฟราเรดที่ใช้ในอุปกรณ์ต่างๆเช่นเมาส์, คีย์บอร์ดไร้สายและเครื่องพิมพ์ ผู้ผลิต
บางรายให้พอร์ตพิเศษที่เรียกว่าพอร์ต IrDA ที่ช่วยให้คีย์บอร์ดไร้สายในการสื่อสารกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์
สัญญาณอินฟราเรดมีความถี่ระหว่าง 300 ถึง 400 GHz จะใช้สาหรับการสื่อสาร
ระยะสั้น
สัญญาณอินฟราเรดมีความถี่สูงและไม่สามารถทะลุผ่านผนัง เนื่องจากระบบการ
สื่อสารระยะสั้น, การใช้งานของระบบการสื่อสารอินฟราเรดในห้องหนึ่งจะไม่ได้รับผลกระทบ
จากการใช้งานของระบบอื่นในห้องถัดไป นี่คือเหตุผลว่าทาไมเราใช้รีโมทที่บ้านจึงไม่รบกวน
การใช้รีโมทบ้านใกล้เคียง
4) ดาวเทียม (satilite)
ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจากัดของสถานีรับ - ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก วัตถุประสงค์
ในการสร้างดาวเทียมเพื่อเป็นสถานีรับ - ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนว
โคจรของโลก ในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทาหน้าที่รับ และส่งสัญญาณข้น
ไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่านั้น จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วท
เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยู่นิ่งอยู่กับที่ ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้การ
ส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณ จากดาวเทียมลงมาย
สถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้ โดยอาศัยพลังงานที่
ได้มาจากการเปลี่ยน พลังงานแสงอาทิตย์ ด้วย แผงโซลาร์ (solar panel)
5) บลูทูธ (Bluetooth)
ระบบสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคแบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range
Radio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเชื่อมต่อ และไม่จาเป็นจะต้อง
ใช้การเดินทางแบบเส้นตรงเหมือนกับอินฟราเรด ซึ่งถือว่าเพิ่มความสะดวกมากกว่าการ
เชื่อมต่อแบบอินฟราเรด ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างโทรศัพท์มือถือ
องค์ประกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องขึ้นไป
2. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลและอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย
3. โปรโตคอล
4. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
อุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย
1).ฮับ (Hub)
เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ฮับ(HUB)ในระบบเครือข่าย ฮับเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงสัญญาณของอุปกรณ์
เครือข่ายเข้าด้วยกัน การจะทาให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักกัน หรือส่ง
ข้อมูลถึงกันได้จะต้องผ่านอุปกรณ์ตัวนี้ ปัจจุบันถูกเปรียบเทียบกับ Switch ซึ่งมี
ความสามารถสูงกว่า และถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงสัญญาณใน
ระบบเครือข่าย
2).สวิตช์(Switch)
เป็นอุปกรณ์เครือข่ายเช่นเดียวกันกับฮับ ( hub) และมีหน้าที่คล้ายกับฮับมาก แต่มี
ความแตกต่างที่ ในแต่ละพอร์ต (port) จะมีความสามารถในการส่งข้อมูลได้สูงกว่า เช่น สวิตช์
ที่มีความเร็ว 10 Mbps นั้น จะหมายความว่า ในแต่ละพอร์ตจะสามารถส่งข้อมูลได้ที่ความเร็ว
10 Mbps แต่ละเครื่องจะได้ครอบครองสายสัญญาณแต่เพียงผู้เดียว จะไม่เกิดปัญหาการแย่ง
สายสัญญาณ และการชนกันของสัญญาณเกิดขึ้น สวิตช์จะมีความสามารถมากกว่าฮับ แต่ยังมี
การใช้งานอยู่ในวงจากัดเพราะราคายังค่อนข้างสูงกว่าฮับอยู่มาก
3). บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์(Bridge) เปรียบเสมือนกับสะพานที่เชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย โดยจัดการ
กับข้อมูลที่มีการรับส่งไปมาระหว่างเครือข่าย บริดจ์จะตรวจสอบที่อยู่ปลายทางของข้อมูล
และจะส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเท่านั้นโดยการส่งข้อมูลเหล่านั้นสามรถส่งข้อมูล
ไปยังเครือข่ายเดียวกันหรือต่างกันก็ได้ จากความสามารถในการจัดการข้อมูลของบริดจ์นี้
จะช่วยลดความหนาแน่นของข้อมูลบนเครือข่ายได้
4).เราท์เตอร์(Router)
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับ
บริดจ์ แต่มีส่วนการ ทางานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการ
เชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทาให้
เราท์เตอร์สามารถทาหน้าที่จัดหาเส้นทางและเลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง
เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. เกตเวย์ (Gateway)
เกตเวย์(Gateway) เปรียบเสมือนประตูที่สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่มีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ได้แก่ โปรโตคอล ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ เป็นต้น
ดังนั้น ด้วยความสามารถของเกตเวย์ ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม และ
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านสถาปัตยกรรม โปรโตคอลที่
ใช้ร่วมกันทั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการสามารถนามาเชื่อมโยงเพื่อสื่อสารกันได้
ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายสามารถจาแนกออกได้หลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ เช่น ขนาด ลักษณะ
การแลกเปลี่ยนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยทั่วไปการจาแนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่
3 วิธีคือ
1. LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น
เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณที่ไม่กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายใน
อาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน
คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็วสูง และมี
ข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน
2. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง
ระบบแมน (MAN : Metropolitan Area Network) เป็นระบบเครือข่ายที่มีการ
เชื่อมต่อกันในระหว่างที่กว้างใหญ่ ครอบคลุมระยะทางเป็น 100 กิโลเมตร ที่มีการติดต่อกันใน
ระยะที่ไกลกว่าระบบแลนและใกล้กว่าระบบแวน เป็นการติดต่อระหว่างเมือง เช่น กรุงเทพฯ กับ
เชียงใหม่ เชียงใหม่กับยะลาหรือเป็นการติดต่อระหว่างรัฐ โดยมีรูปแบบการเชื่อมต่อแบบ Ring
3. WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่าย
บริเวณกว้าง
เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้
งานทั่วโลก เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน
อาจจะต้องเป็นการติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลกก็ได้ ในการเชื่อมการ
ติดต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือ
การสื่อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการ
ติดต่อสื่อสารกันโดยปกติมีอัตราการส่งข้อมูลที่ต่าและมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาด การส่งข้อมูล
อาจใช้อุปกรณ์ในการสื่อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (NETWORK TOPOLOGY)
คือ การนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเพื่อประโยชน์ของการสื่อสารรูปแบบการจัด
วางคอมพิวเตอร์ การเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึงหลักการไหลเวียน
ข้อมูลในเครือข่ายสามารถทาได้หลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันเครือข่าย
คอมพิวเตอร์สามารถแบ่งตามลักษณะของการเชื่อมต่อหลักได้ดังนี้
1. เครือข่ายแบบบัส (bus topology)
เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว
ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เข้ากับ
สายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ใน
ช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกาหนดวิธีการ ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อม
กัน เพราะจะทาให้ข้อมูลชนกัน
เครือข่ายแบบบัส (bus topology)
ข้อดี ข้อเสีย
การเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อนาข้อมูลน้อย
ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่อง
คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่
ส่งผลต่อการทางานของระบบโดยรวม
การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทาได้
ค่อนข้างยาก และถ้ามีจานวนเครื่อง
คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะ
มีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา
2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว(Star Network)
มีอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อเครือข่าย คือ ฮับ (Hub) เป็นศูนย์กลางในการ
เชื่อมต่อเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อสายสัญญาณ
เข้าไปยัง ฮับ มีลักษณะเป็นแบบกระจาย เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายต้องการ
ส่งข้อมูล ข้อมูลเหล่านั้นจะถูกส่งไปยังฮับก่อน และฮับจะทาหน้าที่กระจายข้อมูลไปยัง
เครื่องปลายทาง
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว(Star Network)
ข้อดี ข้อเสีย
ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่
ก็สามารถทาได้ง่ายและไม่กระทบต่อเครื่อง
คอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ
ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะ
ค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่ทางาน การ
สื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะ
หยุดตามไปด้วย
3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology)
เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิลยาวเส้นเดียว ในลักษณะวง
แหวน การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายวงแหวน จะใช้ทิศทางเดียวเท่านั้น เมื่อคอมพิวเตอร์
เครื่องหนึ่งส่งข้อมูล มันก็จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไป ถ้าข้อมูลที่รับมาไม่ตรง
ตามที่คอมพิวเตอร์เครื่องต้นทางระบุ มันก็จะส่งผ่านไปยัง คอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซึ่งจะ
เป็นขั้นตอนอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงคอมพิวเตอร์ปลายทางที่ถูกระบุตามที่อยู่
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology)
ข้อดี ข้อเสีย
ใช้สายเคเบิ้ลน้อย การติดตั้งและการเพิ่ม
หรือลดจานวนของเครื่องทาได้ง่าย เครื่อง
คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจะมีโอกาสในการ
ส่งข้อมูลเท่าเทียมกัน
ถ้าสายสัญญาณช่วงใดช่วงหนึ่ง
เสียหาย จะส่งผลให้ระบบเครือข่าย
ทั้งหมดไม่สามารถใช่งานได้ทันที การ
ตรวจสอบเมื่อเกิดความเสียหายทาได้
ยาก
4.โครงสร้างแบบเมซ ( Mesh Network)
มีการทางานโดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีช่องสัญญาณจานวนมาก
เพื่อที่จะเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆทุกเครื่อง โครงสร้างเครือข่าย
คอมพิวเตอร์นี้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะส่งข้อมูล ได้อิสระไม่ต้องรอการส่งข้อมูล
ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ทาให้การส่งข้อมูลมีความรวดเร็ว แต่ค่าใช้จ่ายสาย
เคเบิ้ลก็สูงด้วยเช่นกัน
โครงสร้างแบบเมซ ( Mesh Network)
ข้อดี ข้อเสีย
ในกรณีสายเคเบิ้ลบางสายชารุด เครือข่าย
ทั้งหมดยังสมารถใช้ได้ ทาให้ระบบมี
เสถียรภาพสูง นิยมใช้กับเครือข่ายที่
ต้องการเสถียรภาพสูง และเครือข่ายที่มี
ความสาคัญ
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และสายเคเบิ้ล
มากกว่าการต่อแบบอื่น ๆ
ยากต่อการติดตั้ง เดินสาย เคลื่อนย้าย
ปรับเปลี่ยนและบารุงรักษาระบบ
เครือข่าย
แบบฝึกหัด
1. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลมีอะไรบ้าง อธิบายมาพอสังเขป
2. ชนิดของสัญญาณข้อมูลมีกี่ชนิด พร้อมรูปประกอบ
3. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลมีกี่ประเภท อะไรบ้างอธิบาย
4. ถ้าเราต้องการต่อคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้าด้วยกันควรใช้อุปกรณ์ชนิดใด
5. โครงสร้างเครือข่ายแบบใด ถ้าเกิด ฮับเสีย จะทาให้ไม่สามารถใช้งานได้

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)ภูเบศ เศรษฐบุตร
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560krulef1805
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนWuttipong Tubkrathok
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10wachiphoke
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 

Tendances (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
การนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้าการนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้า
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 

En vedette

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kunthida Jainaknaen
 
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายSisaketwittayalai School
 
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8zodiacppat
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
Microsoft power point เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Microsoft power point   เครือข่ายคอมพิวเตอร์Microsoft power point   เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Microsoft power point เครือข่ายคอมพิวเตอร์chetfools
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์kerkchai
 

En vedette (9)

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Network001
Network001Network001
Network001
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
 
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
Microsoft power point เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Microsoft power point   เครือข่ายคอมพิวเตอร์Microsoft power point   เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Microsoft power point เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similaire à หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลwatnawong
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารBeauso English
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 

Similaire à หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
PPT WORK
PPT WORKPPT WORK
PPT WORK
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Plus de jzturbo

การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลjzturbo
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6jzturbo
 
software
softwaresoftware
softwarejzturbo
 
software
softwaresoftware
softwarejzturbo
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4jzturbo
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์jzturbo
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์jzturbo
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศjzturbo
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1jzturbo
 

Plus de jzturbo (9)

การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
software
softwaresoftware
software
 
software
softwaresoftware
software
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 2. ความหมายของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง เช่น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สาหรับควบคุมการส่งและ การไหลของข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง นอกจากนี้อาจจะมีผู้รับผิดชอบในการ กาหนดกฎเกณฑ์ในการส่งหรือรับข้อมูลตามรูปแบบที่ต้องการ
  • 3. องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์นั้น จะทาได้ก็ต่อเมื่อมีองค์ประกอบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) ข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ต้นทางจะต้องจัดเตรียมนาเข้าสู่อุปกรณ์สาหรับส่งข้อมูล ซึ่ง ได้แก่เครื่องพิมพ์ หรืออุปกรณ์ควบคุมต่าง ๆ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ซึ่งข้อมูล เหล่านั้นถูกเปลี่ยนให้อยู่ใน รูปแบบที่สามารถส่งข้อมูลนั้นได้ก่อน
  • 4. 2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) ข้อมูลที่ถูกส่งจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง เมื่อไปถึงปลายทางก็จะมีอุปกรณ์สาหรับ รับข้อมูลเหล่านั้นเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องพิมพ์ คอมพิวเตอร์ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ฯลฯ
  • 5. 3. ข่าวสาร (Message) เป็นรายละเอียดซึ่งอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ที่จะส่งผ่านระบบการสื่อสาร ซึ่งมีหลายรูปแบบดังนี้ 3.1 ข้อมูล (Data) เป็นรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ ซึ่งถูกสร้างและจัดเก็บด้วย คอมพิวเตอร์ มีรูปแบบแน่นอน เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า เป็นต้น ข้อมูล สามารถนับจานวนได้และส่งผ่านระบบสื่อสารได้เร็ว 3.2 ข้อความ (Text) อยู่ในรูปของเอกสารหรือตัวอักขระ ไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ชัดเจน นับจานวนได้ค่อนข้างยาก และมีความสามารถในการส่งปานกลาง 3.3 รูปภาพ (Image) เป็นข่าวสารที่อยู่ในรูปของภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ ได้แก่ รูป ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดีโอ ซึ่งข้อมูลชนิดนี้จะต้องอาศัยสื่อสาหรับเก็บ และใช้หน่วยความจา เป็นจานวนมาก 3.4 เสียง (Voice) อยู่ในรูปของเสียงพูด เสียงดนตรี หรือเสียงอื่น ๆ ข้อมูลชนิดนี้จะ กระจัดกระจาย ไม่สามารถวัดขนาดที่แน่นอนได้ การส่งจะทาได้ด้วยความเร็ว ค่อนข้างต่า
  • 6. 4. ตัวกลาง (Medium) เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางที่ทาหน้าที่นาข่าวสารในรูปแบบต่าง ๆ จากผู้ส่งหรือ อุปกรณ์ส่งต้นทางไปยังผู้รับ หรืออุปกรณ์รับปลายทาง ซึ่งมีหลายรูปแบบได้แก่ สายไป ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออฟติก ตัวกลางอาจจะอยู่ในรูปของคลื่นที่ส่งผ่านทาง อากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น
  • 7. 5. โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล คือ กฎระเบียบ หรือวิธีการใช้เป็นข้อกาหนดสาหรับการสื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมีหลายชนิดให้เลือกใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC เป็นต้น
  • 8. ชนิดของสัญญาณข้อมูล สัญญาณข้อมูลที่มีการสื่อสารในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีรูปแบบแตกต่างกัน ตามรูปแบบของสื่อนาข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร สัญญาณข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1.สัญญาณแอนะล็อก สัญญาณแอนะล็อกเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นความถี่และมี ความเข็มของสัญญาณแตกต่างกัน รูปแบบของสัญญาณแอนะล็อก เช่น สัญญาณเสียงใน การพูดคุยผ่านระบบโทรศัพท์
  • 10. ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล หมายถึง ทิศทางของสัญญาณที่เดินทางจาก อุปกรณ์สิ่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์รับข้อมูลโดยผ่านสื่อนาข้อมูล ทิศทางของการสื่อสาร ข้อมูลแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ การส่งสัญญาณทางเดียว (One-Way Transmission หรือ Simplex) การส่งสัญญาณกึ่งทางคู่ (Half-Duplex หรือ Either- Way) และการสื่อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์ (Full-duplex)
  • 11. 1. การส่งสัญญาณทางเดียว (One-Way Transmission หรือ Simplex) การส่งสัญญาณในเวลาเดียวกันจะส่งได้เพียงทางเดียวเท่านั้น ถึงแม้ว่าตัวส่งจะ มีสัญญาณหลายช่องทางก็ตาม ซึ่งมักจะเรียกการส่งสัญญาณทางเดียวนี้ว่า ซิมเพล็กซ์ ผู้ ส่งสัญญาณจะส่งได้ทางเดียว โดยที่ผู้รับจะไม่สามารถโต้ตอบได้ เช่น การส่ง วิทยุกระจายเสียง การแพร่ภาพโทรทัศน์
  • 12. 2. การส่งสัญญาณกึ่งทางคู่ (Half-Duplex หรือ Either-Way) การส่งสัญญาณแบบนี้เมื่อผู้ส่งได้ทาการส่งสัญญาณไปแล้ว ผู้รับก็จะรับสัญญาณ นั้น หลังจากนั้นผู้รับก็สามารถปรับมาเป็นผู้ส่งสัญญาณแทน ส่วนผู้ส่งเดิมก็ปรับมาเป็นผู้รับ แทนสลับกันได้ แต่ไม่สามารถส่งสัญญาณพร้อมกันในเวลาเดียวกันได้ จึงเรียกการส่ง สัญญาณแบบนี้ว่า ฮาร์ฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex หรือ HD) ได้แก่ วิทยุสนามที่ตารวจใช้ เป็นต้น
  • 13. 3. การส่งสัญญาณทางคู่ (Full-Duplex หรือ Both way Transmission) การส่งสัญญาณแบบนี้สามารถส่งข้อมูลได้พร้อมกันทั้งสองทางในเวลา เดียวกัน เช่น การใช้โทรศัพท์ ผู้ใช้สามารถพูดสายโทรศัพท์ได้พร้อม ๆ กัน
  • 14. สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล องค์ประกอบที่สาคัญที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลอันหนึ่งที่ขาดไม่ได้ คือสาย สื่อกลาง ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ สื่อกลางที่กาหนดเส้นทางได้ เช่น สายโคแอก เซียล (Coaxial) สายเกลียวคู่ (Twisted-pair) สายไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic) และสื่อกลางที่กาหนดเส้นทางไม่ได้ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นดาวเทียม คลื่นไมโครเวฟ เป็น ต้น
  • 15. สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair) ลักษณะของสายจะคล้ายกับสายไฟฟ้า สายคู่บิดเกลียวที่คุ้นเคยมากที่สุด คือ สายโทรศัพท์ จานวนสายจะมีเป็นคู่ เช่น 2 เส้น 4 เส้น หรือ 6 เส้น โดนที่แต่ละคู่มัดกันเป็น เกลียว การบิดเป็นเกลียวนั้นจะช่วยในการลดสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในขณะที่ส่งข้อมูล สายคู่บิดเกียวจะมีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง 5MHz สายคู่บิดเกลียวจะ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย (Wired Media)
  • 16. 1. สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิด เกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่บางทาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่จะป้องกันการรบกวนของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าอีกชนิด
  • 17. 2. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิด เกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า
  • 18. สายโคแอกเซียล (Coaxial Cable) สายโคแอ็กซ์เชียลมักถูกเรียกสั้นๆว่า สายโคแอ็กซ์(coax) มีตัวนาไฟฟ้าอยู่สอง ส่วน คาว่า โคแอ็กซ์ คือ มีแกนร่วมกัน นั่นหมายความว่า ตัวนาไฟฟ้าทั้งสองตัวมีแกนร่วมกัน นั่นเอง โครงสร้างของสายโคแอ็กซ์ประกอบไปด้วย สายทองแดงป็นแกนกลาง ห่อหุ้มด้วยวัสดุ ที่เป็นฉนวน ชั้นต่อมาจะเป็นตัวนาไฟฟ้าอีกชั้นหนึ่ง เป็นแผ่นโลหะบางหรืออาจเป็นใยโลหะที่ ถักเป็นเปียหุ้มอีกชั้นหนึ่ง ชั้นสุดท้ายเป็นฉนวนหุ้มและวัสดุป้องกันสายสัญญาณ
  • 19. สายส่งแบบไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic) เป็นการส่งสัญญาณด้วยใยแก้ว และส่งสัญญาณด้วยแสงมีความเร็วในการส่ง ข้อมูลสูงสามารถส่งข้อมูล ได้ด้วยเร็วเท่ากับแสง ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอก สายส่งข้อมูลแบบไฟเบอร์ออฟติกจะประกอบด้วยเส้นใยแก้ว 2 ชนิด ชนิดหนึ่ง อยู่ตรงแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก โดยที่ใยแก้วทั้ง 2 นี้จะมีดัชนีในการสะท้อน แสงต่างกัน ทาให้แสงที่ส่งจากปลายด้านหนึ่งผ่านไปยังอีกด้านหนึ่งได้
  • 20. สื่อกลางประเภทไร้สาย (Wireless Media) 1) คลื่นวิทยุ (Radio Wave) วิธี การสื่อสารประเภทนี้จะใช้การส่งคลื่นไปในอากาศ เพื่อส่งไปยังเครื่องรับวิทยุ โดยรวมกับคลื่นเสียงมีความถี่เสียงที่เป็นรูป แบบของคลื่นไฟฟ้า ดังนั้นการส่ง วิทยุกระจายเสียงจึงไม่ต้องใช้สายส่งข้อมูล และยังสามารถส่งคลื่นสัญญาณไปได้ระยะไกล ซึ่งจะอยู่ในช่วงความถี่ระหว่าง 104 - 109 เฮิรตซ์ ดังนั้น เครื่องรับวิทยุจะต้องปรับช่อง ความถี่ให้กับคลื่นวิทยุที่ส่งมา ทาให้สามารถรับข้อมูลได้อย่างชัดเจน
  • 21. 2) สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave) เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง ส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็น สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่ง และจะต้องมีสถานีที่ทา หน้าที่ส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถ เลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ - ส่งข้อมูลเป็นระยะๆ และ ส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง และแต่ละสถานี จะตั้งอยู่ในที่สูง ซึ่งจะอยู่ในช่วงความถี่ 108 - 1012 เฮิรตซ์
  • 22. 3) แสงอินฟราเรด (Infrared) อินฟราเรดที่ใช้ในอุปกรณ์ต่างๆเช่นเมาส์, คีย์บอร์ดไร้สายและเครื่องพิมพ์ ผู้ผลิต บางรายให้พอร์ตพิเศษที่เรียกว่าพอร์ต IrDA ที่ช่วยให้คีย์บอร์ดไร้สายในการสื่อสารกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ สัญญาณอินฟราเรดมีความถี่ระหว่าง 300 ถึง 400 GHz จะใช้สาหรับการสื่อสาร ระยะสั้น สัญญาณอินฟราเรดมีความถี่สูงและไม่สามารถทะลุผ่านผนัง เนื่องจากระบบการ สื่อสารระยะสั้น, การใช้งานของระบบการสื่อสารอินฟราเรดในห้องหนึ่งจะไม่ได้รับผลกระทบ จากการใช้งานของระบบอื่นในห้องถัดไป นี่คือเหตุผลว่าทาไมเราใช้รีโมทที่บ้านจึงไม่รบกวน การใช้รีโมทบ้านใกล้เคียง
  • 23. 4) ดาวเทียม (satilite) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจากัดของสถานีรับ - ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก วัตถุประสงค์ ในการสร้างดาวเทียมเพื่อเป็นสถานีรับ - ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนว โคจรของโลก ในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินคอยทาหน้าที่รับ และส่งสัญญาณข้น ไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่านั้น จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วท เท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยู่นิ่งอยู่กับที่ ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้การ ส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณ จากดาวเทียมลงมาย สถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้ โดยอาศัยพลังงานที่ ได้มาจากการเปลี่ยน พลังงานแสงอาทิตย์ ด้วย แผงโซลาร์ (solar panel)
  • 24. 5) บลูทูธ (Bluetooth) ระบบสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคแบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range Radio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเชื่อมต่อ และไม่จาเป็นจะต้อง ใช้การเดินทางแบบเส้นตรงเหมือนกับอินฟราเรด ซึ่งถือว่าเพิ่มความสะดวกมากกว่าการ เชื่อมต่อแบบอินฟราเรด ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างโทรศัพท์มือถือ
  • 25. องค์ประกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องขึ้นไป 2. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลและอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย 3. โปรโตคอล 4. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
  • 26. อุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย 1).ฮับ (Hub) เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน ฮับ(HUB)ในระบบเครือข่าย ฮับเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงสัญญาณของอุปกรณ์ เครือข่ายเข้าด้วยกัน การจะทาให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักกัน หรือส่ง ข้อมูลถึงกันได้จะต้องผ่านอุปกรณ์ตัวนี้ ปัจจุบันถูกเปรียบเทียบกับ Switch ซึ่งมี ความสามารถสูงกว่า และถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงสัญญาณใน ระบบเครือข่าย
  • 27. 2).สวิตช์(Switch) เป็นอุปกรณ์เครือข่ายเช่นเดียวกันกับฮับ ( hub) และมีหน้าที่คล้ายกับฮับมาก แต่มี ความแตกต่างที่ ในแต่ละพอร์ต (port) จะมีความสามารถในการส่งข้อมูลได้สูงกว่า เช่น สวิตช์ ที่มีความเร็ว 10 Mbps นั้น จะหมายความว่า ในแต่ละพอร์ตจะสามารถส่งข้อมูลได้ที่ความเร็ว 10 Mbps แต่ละเครื่องจะได้ครอบครองสายสัญญาณแต่เพียงผู้เดียว จะไม่เกิดปัญหาการแย่ง สายสัญญาณ และการชนกันของสัญญาณเกิดขึ้น สวิตช์จะมีความสามารถมากกว่าฮับ แต่ยังมี การใช้งานอยู่ในวงจากัดเพราะราคายังค่อนข้างสูงกว่าฮับอยู่มาก
  • 28. 3). บริดจ์ (Bridge) บริดจ์(Bridge) เปรียบเสมือนกับสะพานที่เชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย โดยจัดการ กับข้อมูลที่มีการรับส่งไปมาระหว่างเครือข่าย บริดจ์จะตรวจสอบที่อยู่ปลายทางของข้อมูล และจะส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเท่านั้นโดยการส่งข้อมูลเหล่านั้นสามรถส่งข้อมูล ไปยังเครือข่ายเดียวกันหรือต่างกันก็ได้ จากความสามารถในการจัดการข้อมูลของบริดจ์นี้ จะช่วยลดความหนาแน่นของข้อมูลบนเครือข่ายได้
  • 29. 4).เราท์เตอร์(Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับ บริดจ์ แต่มีส่วนการ ทางานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการ เชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทาให้ เราท์เตอร์สามารถทาหน้าที่จัดหาเส้นทางและเลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 30. 5. เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์(Gateway) เปรียบเสมือนประตูที่สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่มีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ได้แก่ โปรโตคอล ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ เป็นต้น ดังนั้น ด้วยความสามารถของเกตเวย์ ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม และ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านสถาปัตยกรรม โปรโตคอลที่ ใช้ร่วมกันทั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการสามารถนามาเชื่อมโยงเพื่อสื่อสารกันได้
  • 31. ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายสามารถจาแนกออกได้หลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ เช่น ขนาด ลักษณะ การแลกเปลี่ยนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยทั่วไปการจาแนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่ 3 วิธีคือ
  • 32. 1. LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณที่ไม่กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายใน อาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็วสูง และมี ข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน
  • 33. 2. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง ระบบแมน (MAN : Metropolitan Area Network) เป็นระบบเครือข่ายที่มีการ เชื่อมต่อกันในระหว่างที่กว้างใหญ่ ครอบคลุมระยะทางเป็น 100 กิโลเมตร ที่มีการติดต่อกันใน ระยะที่ไกลกว่าระบบแลนและใกล้กว่าระบบแวน เป็นการติดต่อระหว่างเมือง เช่น กรุงเทพฯ กับ เชียงใหม่ เชียงใหม่กับยะลาหรือเป็นการติดต่อระหว่างรัฐ โดยมีรูปแบบการเชื่อมต่อแบบ Ring
  • 34. 3. WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่าย บริเวณกว้าง เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้ งานทั่วโลก เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน อาจจะต้องเป็นการติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลกก็ได้ ในการเชื่อมการ ติดต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือ การสื่อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการ ติดต่อสื่อสารกันโดยปกติมีอัตราการส่งข้อมูลที่ต่าและมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาด การส่งข้อมูล อาจใช้อุปกรณ์ในการสื่อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย
  • 35. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (NETWORK TOPOLOGY) คือ การนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเพื่อประโยชน์ของการสื่อสารรูปแบบการจัด วางคอมพิวเตอร์ การเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึงหลักการไหลเวียน ข้อมูลในเครือข่ายสามารถทาได้หลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันเครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถแบ่งตามลักษณะของการเชื่อมต่อหลักได้ดังนี้
  • 36. 1. เครือข่ายแบบบัส (bus topology) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เข้ากับ สายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ใน ช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกาหนดวิธีการ ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อม กัน เพราะจะทาให้ข้อมูลชนกัน
  • 37. เครือข่ายแบบบัส (bus topology) ข้อดี ข้อเสีย การเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อนาข้อมูลน้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ ส่งผลต่อการทางานของระบบโดยรวม การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทาได้ ค่อนข้างยาก และถ้ามีจานวนเครื่อง คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะ มีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา
  • 38. 2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว(Star Network) มีอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อเครือข่าย คือ ฮับ (Hub) เป็นศูนย์กลางในการ เชื่อมต่อเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อสายสัญญาณ เข้าไปยัง ฮับ มีลักษณะเป็นแบบกระจาย เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายต้องการ ส่งข้อมูล ข้อมูลเหล่านั้นจะถูกส่งไปยังฮับก่อน และฮับจะทาหน้าที่กระจายข้อมูลไปยัง เครื่องปลายทาง
  • 39. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว(Star Network) ข้อดี ข้อเสีย ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ ก็สามารถทาได้ง่ายและไม่กระทบต่อเครื่อง คอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะ ค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่ทางาน การ สื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะ หยุดตามไปด้วย
  • 40. 3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิลยาวเส้นเดียว ในลักษณะวง แหวน การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายวงแหวน จะใช้ทิศทางเดียวเท่านั้น เมื่อคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งส่งข้อมูล มันก็จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไป ถ้าข้อมูลที่รับมาไม่ตรง ตามที่คอมพิวเตอร์เครื่องต้นทางระบุ มันก็จะส่งผ่านไปยัง คอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซึ่งจะ เป็นขั้นตอนอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงคอมพิวเตอร์ปลายทางที่ถูกระบุตามที่อยู่
  • 41. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology) ข้อดี ข้อเสีย ใช้สายเคเบิ้ลน้อย การติดตั้งและการเพิ่ม หรือลดจานวนของเครื่องทาได้ง่าย เครื่อง คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจะมีโอกาสในการ ส่งข้อมูลเท่าเทียมกัน ถ้าสายสัญญาณช่วงใดช่วงหนึ่ง เสียหาย จะส่งผลให้ระบบเครือข่าย ทั้งหมดไม่สามารถใช่งานได้ทันที การ ตรวจสอบเมื่อเกิดความเสียหายทาได้ ยาก
  • 42. 4.โครงสร้างแบบเมซ ( Mesh Network) มีการทางานโดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีช่องสัญญาณจานวนมาก เพื่อที่จะเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆทุกเครื่อง โครงสร้างเครือข่าย คอมพิวเตอร์นี้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะส่งข้อมูล ได้อิสระไม่ต้องรอการส่งข้อมูล ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ทาให้การส่งข้อมูลมีความรวดเร็ว แต่ค่าใช้จ่ายสาย เคเบิ้ลก็สูงด้วยเช่นกัน
  • 43. โครงสร้างแบบเมซ ( Mesh Network) ข้อดี ข้อเสีย ในกรณีสายเคเบิ้ลบางสายชารุด เครือข่าย ทั้งหมดยังสมารถใช้ได้ ทาให้ระบบมี เสถียรภาพสูง นิยมใช้กับเครือข่ายที่ ต้องการเสถียรภาพสูง และเครือข่ายที่มี ความสาคัญ สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และสายเคเบิ้ล มากกว่าการต่อแบบอื่น ๆ ยากต่อการติดตั้ง เดินสาย เคลื่อนย้าย ปรับเปลี่ยนและบารุงรักษาระบบ เครือข่าย
  • 44. แบบฝึกหัด 1. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลมีอะไรบ้าง อธิบายมาพอสังเขป 2. ชนิดของสัญญาณข้อมูลมีกี่ชนิด พร้อมรูปประกอบ 3. สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลมีกี่ประเภท อะไรบ้างอธิบาย 4. ถ้าเราต้องการต่อคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้าด้วยกันควรใช้อุปกรณ์ชนิดใด 5. โครงสร้างเครือข่ายแบบใด ถ้าเกิด ฮับเสีย จะทาให้ไม่สามารถใช้งานได้