SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
โครงงานคอมพิวเตอร์
เชิญชมเลยจ้า
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควร
พิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้
1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะ
ศึกษา
2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่
เกี่ยวข้องได้
3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
4. มีเวลาเพียงพอ
5. มีงบประมาณเพียงพอ
6. มีความปลอดภัย
ขั้นตอนการทางาน
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะ
ศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจน
สามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ใน
การศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า
1. จะทา อะไร
2. ทาไมต้องทา
3. ต้องการให้เกิดอะไร
4. ทาอย่างไร
5. ใช้ทรัพยากรอะไร
6. ทากับใคร
7. เสนอผลอย่างไร
3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
4.1 การเตรียมการ
การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนา
ให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มี
ปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
4.2 การลงมือพัฒนา
1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วย
ทาให้ผลงานดีขึ้น
2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทา ส่วนที่เป็น
ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้
ตกลงรายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและ
ครบถ้วน
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น
ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้น
กะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจาก
การทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่
ได้พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่
ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงาน
ของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต
ประเด็นที่สาคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่
ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5. การเขียนรายงาน
5.1 ส่วนนา
ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วย
ทาให้โครงงานสาเร็จ
5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์วิธีดาเนินการ
และผลที่ได้โดยย่อ
5.2 บทนา
บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
3. ขอบเขตของโครงงาน
5.3 หลักการและทฤษฎี
หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือ
หลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุ
ผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย
5.4 วิธีดาเนินการ
วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหา
หรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ใน
การทางาน
5.5 ผลการศึกษา
ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้โดยอาจแสดงเป็นตาราง
หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการ
ตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้ง
ไว้หรือยังสรุปไม่ได้นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนา ผลการทดลองหรือ
พัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญ
หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทา โครงงานนี้ รวมทั้ง
ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทานองนี้
ต่อไปในอนาคตด้วย
5.7 ประโยชน์
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการ
พัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนาผลงานของ
โครงงานไปใช้ด้วย
5.8 บรรณานุกรม
บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา
โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์
ในการทา โครงงานนี้การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียน
ด้วย
5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน
หาโครงงานที่นักเรียนจัดทา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทา
คู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อผลงาน
2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมี
เพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้
3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์
4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็น
ข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก
5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด
เพื่อให้ผลงานทางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง
ของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการ
ทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึง
ผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การ
แสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม
การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่
นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6. การสาธิตผลงาน
7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภูมิศาสตร์ และระบบจัดการร้านอาหาร
(ภาษาอังกฤษ) Restaurant with Landscape
สาขาของงานวิจัย โปรแกรมเพื่อการประยุกต์ใช้งาน
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นายวรายุทธ อินทนนท์
2.นางสาวสุภาวดี ช่างออม
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา นายยุทธนา ยอดขยัน
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม นางอัจฉรา ขาวสะอาด
ระยะเวลาดาเนินงาน 4 เดือน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
1. แนวคิด ที่มา และความสาคัญ
การประกอบธุรกิจเป็นการหารายได้เลี้ยงชีพอย่างหนึ่ง ในบรรดาประเภทของ
ธุรกิจทั้งหลายนั้น ธุรกิจร้านอาหารเห็นจะมีความโดดเด่นพิเศษกว่าธุรกิจประเภทอื่นๆ
ด้วยรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ของอาหาร จึงทาให้ธุรกิจประเภทนี้มีการแข่งขันที่สูงมาก
ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันในด้านรสชาติ การบริการที่ประทับใจ บรรยากาศ ความ
สะดวก รวดเร็วในการบริการ ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจร้าย
อาหาร ทั้งสิ้น ยิ่งเรากาลังอยู่ในยุคที่เทคโนโลยีเจริญก้าวหน้า ยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร
หากเรานาเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาขึ้นบางตัว มาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับกิจการร้านอาหาร
ของเรา ก็จะทาให้การจัดการในธุรกิจร้านอาหารของเราดีขึ้น ซึ่งโปรแกรมนี้
ผู้ประกอบการ สามารถนาเข้าภาพที่ออกแบบรูปของสถานที่ร้านอาหารมาใช้
ใน Programได้รวมทั้งสามารถ เพิ่ม, ลด, แก้ไข ตาแหน่ง สี ขนาด จานวนคน
รูปร่าง ของโต๊ะในร้านอาหาร ทราบเมนูที่ลูกค้าสั่งและเสิร์ฟได้ถูกต้อง ทันตามความ
ต้องการ ทั้งยังมีระบบการจัดการรายได้ เช่น สามารถตรวจสอบยอดเงินที่ต้องชาระ
ของลูกค้าแต่ละโต๊ะได้อย่างรวดเร็ว และยังมีตารางข้อมูลรายได้ของยอดเงินในแต่ละ
วัน และรายชื่ออาหาร ซึ่งจะทาให้ การรวมยอดขายในแต่ละวันง่ายขึ้น มีความ
สะดวกสบายมากขึ้นในการรวมยอดขายในแต่ละวัน
2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
2. เพื่อให้การจัดการในร้านอาหารดีขึ้น
3. เพื่อสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล
4. เพื่อต้องการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้ประโยชน์ได้ในร้านอาหารอย่างมี
คุณภาพ
3. หลักการและทฤษฎี
ภูมิศาสตร์ และระบบจัดการร้านอาหาร” นี้มีโครงสร้างพื้นฐานเป็นโปรแกรม ซึ่งสามารถ
พัฒนาโดยใช้โปรแกรม Delphi 7.0 เป็นหลักที่มีการประยุกต์เอาการเขียนโปรแกรม
ด้วยภาษา Pascal ที่นามาสร้างเป็นระบบจัดการร้านอาหารที่มีคุณสมบัติในการช่วยงาน
ในภัตตาคารอาหารได้ เช่น การวางโต๊ะอาหารในหน้าต่างด้านซ้ายของโปรแกรมที่เกี่ยวกับ
สถานที่ร้านอาหาร และแสดงสถานะของโต๊ะ รวมทั้งสรุปยอดเงิน จานวนโต๊ะในแต่ละวัน
ทางหน้าต่างด้านซ้าย ทั้งยังมีปุ่มเชื่อมโยงไปยัง Form อีก Form ที่มีตารางบัญชีของ
ทั้งในแต่ละวัน และแต่ละเดือนได้อีกด้วย
4. วิธีดาเนินงาน
เทคโนโลยีที่ใช้โปรแกรมนี้จะมี 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
- Input ซึ่งรับค่ามาจาก mouse และ keyboard แล้วนามา
ประมวลผลส่งต่อไปยังตัวโปรแกรม
- Output แสดงผลออกมาทาหน้าจอ monitor
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา
- Delphi 7.0
- Photoshop CS
- Macromedia Flash MX
รายละเอียดของโปรแกรมที่พัฒนา
“ภูมิศาสตร์ และระบบจัดการร้านอาหาร (Restaurant with
Landscape)” จัดเป็นโปรแกรมในประเภท โปรแกรมเพื่อการประยุกต์ใช้งาน
ซึ่งโปรแกรมนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ข้าง โดยข้างซ้ายที่มีขนาดใหญ่กว่าจะเป็น ภูมิศาสตร์
ของร้านอาหารที่จะวาดด้วยโปรแกรมอะไรก็ได้แล้วจะมีปุ่มให้ Add ภาพลงไปได้
หรือจะถ่ายรูปจริง จากด้านบนที่สูง แล้วตกแต่ง แล้วนา Add เข้ามา โดยจะสร้าง
Component ที่สามารถลากโต๊ะ มาวางบนหน้าจอได้ทั้งยังเมื่อคลิกเข้าไปแล้วก็
สามารถเข้าไปเปลี่ยนแปลงเบอร์โต๊ะ ขนาดโต๊ะ(ไม่จาเป็นต้องใส่ตรงตามความจริงก็
ได้เพราะรูปที่นามาใส่อาจจะไม่พอดีกับจานวนโต๊ะถ้าใส่ขนาดตามความจริง) สีโต๊ะ
รูปร่างโต๊ะ(กลม กับ สี่เหลี่ยม) จานวนคนนั่ง ฯลฯ ส่วนด้านซ้ายที่มีขนาดเล็กกว่าเป็น
หน้าต่างที่แสดงผลสถานะของโต๊ะที่กาลังรับประทานอาหาร หรือกาลังรอเงินทอน
เป็นต้น ทั้งยังมีรวมยอดขาย รวมโต๊ะ ของวันนี้อีกด้วย Input/Output
specification Input: การรับค่าจาก Mouse และ Keyboard ที่คลิกลง
ไปในส่วนต่างๆ ของโปรแกรม ที่นาไปประมวลผล ต่างๆ ภายในโปรแกรม
Output: การแสดงผลออกทางหน้าจอ monitor
5. แผนปฏิบัติงาน
6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ซอฟต์แวร์โปรแกรมประยุกต์ระบบจัดการร้านอาหาร
ความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมด้วยซอฟต์แวร์ Delphi
7. เอกสารอ้างอิง
หนังสือ เริ่มต้นอย่างมืออาชีพด้วย Delphi 7 ฉบับสมบูรณ์ โดย
สัจจะ จรัสรุ่งรวีวร จาก Dev Book
หนังสือ การเขียนโปรแกรมภาษา Delphi จาก สยามคอมพิวเตอร์
หนังสือ เริ่มต้นอย่างมืออาชีพด้วย Delphi 5 ฉบับ
สมบูรณ์ โดย สัจจะ จรัสรุ่งรวีวร จาก Inf
จบแล้วจ้ะ

Contenu connexe

Tendances

วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
apiromrut
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
Saranpattara Jace
 

Tendances (9)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
thip
thipthip
thip
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
 

Similaire à งานคอม 2

ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
Rattana Wongphu-nga
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
Rattana Wongphu-nga
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
YeenLy PT Smile
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
YeenLy PT Smile
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
ptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
ptrnan
 
ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5
Rattana Wongphu-nga
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
Pattaraporn Khantha
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8
Boy Phakinai
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
Rattana Wongphu-nga
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 

Similaire à งานคอม 2 (20)

ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5
 
3computerr
3computerr3computerr
3computerr
 
Commmmm
CommmmmCommmmm
Commmmm
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8
 
Computer projrct 3
Computer projrct 3Computer projrct 3
Computer projrct 3
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
3computer
3computer3computer
3computer
 

Plus de Ka Kanpitcha

งานสรุปกลุ่ม 23
งานสรุปกลุ่ม 23งานสรุปกลุ่ม 23
งานสรุปกลุ่ม 23
Ka Kanpitcha
 
งานสรุปกลุ่ม2.
งานสรุปกลุ่ม2.งานสรุปกลุ่ม2.
งานสรุปกลุ่ม2.
Ka Kanpitcha
 
งานสรุปกลุ่ม21
งานสรุปกลุ่ม21งานสรุปกลุ่ม21
งานสรุปกลุ่ม21
Ka Kanpitcha
 
สรุปงานกลุ่ม2
สรุปงานกลุ่ม2สรุปงานกลุ่ม2
สรุปงานกลุ่ม2
Ka Kanpitcha
 
การเขียนคำลั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำลั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำลั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำลั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Ka Kanpitcha
 
งานย่อยที่ 1 เเข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ.
งานย่อยที่ 1 เเข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ.งานย่อยที่ 1 เเข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ.
งานย่อยที่ 1 เเข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ.
Ka Kanpitcha
 

Plus de Ka Kanpitcha (8)

It new
It new It new
It new
 
งานสรุปกลุ่ม 23
งานสรุปกลุ่ม 23งานสรุปกลุ่ม 23
งานสรุปกลุ่ม 23
 
งานสรุปกลุ่ม2.
งานสรุปกลุ่ม2.งานสรุปกลุ่ม2.
งานสรุปกลุ่ม2.
 
งานสรุปกลุ่ม21
งานสรุปกลุ่ม21งานสรุปกลุ่ม21
งานสรุปกลุ่ม21
 
สรุปงานกลุ่ม2
สรุปงานกลุ่ม2สรุปงานกลุ่ม2
สรุปงานกลุ่ม2
 
Mindmap1
Mindmap1Mindmap1
Mindmap1
 
การเขียนคำลั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำลั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำลั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำลั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
งานย่อยที่ 1 เเข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ.
งานย่อยที่ 1 เเข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ.งานย่อยที่ 1 เเข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ.
งานย่อยที่ 1 เเข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ.
 

งานคอม 2

  • 2. 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควร พิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้ 1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะ ศึกษา 2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้องได้ 3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา 4. มีเวลาเพียงพอ 5. มีงบประมาณเพียงพอ 6. มีความปลอดภัย ขั้นตอนการทางาน
  • 3. 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจาก ผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะ ศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจน สามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ใน การศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า 1. จะทา อะไร 2. ทาไมต้องทา 3. ต้องการให้เกิดอะไร 4. ทาอย่างไร 5. ใช้ทรัพยากรอะไร 6. ทากับใคร 7. เสนอผลอย่างไร
  • 5. 4. การลงมือทาโครงงาน 4.1 การเตรียมการ การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนา ให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มี ปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ 4.2 การลงมือพัฒนา 1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วย ทาให้ผลงานดีขึ้น 2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทา ส่วนที่เป็น ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ ตกลงรายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและ ครบถ้วน 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
  • 6. 4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้น กะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจาก การทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ ได้พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงาน ของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
  • 7. 5. การเขียนรายงาน 5.1 ส่วนนา ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วย ทาให้โครงงานสาเร็จ 5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์วิธีดาเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ 5.2 บทนา บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า 3. ขอบเขตของโครงงาน
  • 8. 5.3 หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือ หลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุ ผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย 5.4 วิธีดาเนินการ วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหา หรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ใน การทางาน 5.5 ผลการศึกษา ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
  • 9. 5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการ ตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้ง ไว้หรือยังสรุปไม่ได้นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนา ผลการทดลองหรือ พัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทา โครงงานนี้ รวมทั้ง ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทานองนี้ ต่อไปในอนาคตด้วย 5.7 ประโยชน์ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการ พัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนาผลงานของ โครงงานไปใช้ด้วย
  • 10. 5.8 บรรณานุกรม บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ ในการทา โครงงานนี้การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียน ด้วย 5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน หาโครงงานที่นักเรียนจัดทา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทา คู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อผลงาน 2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมี เพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้ 3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์ 4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็น ข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก 5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ
  • 11. 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง ของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการ ทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึง ผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การ แสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่ นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6. การสาธิตผลงาน 7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
  • 12. ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภูมิศาสตร์ และระบบจัดการร้านอาหาร (ภาษาอังกฤษ) Restaurant with Landscape สาขาของงานวิจัย โปรแกรมเพื่อการประยุกต์ใช้งาน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นายวรายุทธ อินทนนท์ 2.นางสาวสุภาวดี ช่างออม ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา นายยุทธนา ยอดขยัน ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม นางอัจฉรา ขาวสะอาด ระยะเวลาดาเนินงาน 4 เดือน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน ตัวอย่างโครงงาน
  • 13. 1. แนวคิด ที่มา และความสาคัญ การประกอบธุรกิจเป็นการหารายได้เลี้ยงชีพอย่างหนึ่ง ในบรรดาประเภทของ ธุรกิจทั้งหลายนั้น ธุรกิจร้านอาหารเห็นจะมีความโดดเด่นพิเศษกว่าธุรกิจประเภทอื่นๆ ด้วยรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ของอาหาร จึงทาให้ธุรกิจประเภทนี้มีการแข่งขันที่สูงมาก ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันในด้านรสชาติ การบริการที่ประทับใจ บรรยากาศ ความ สะดวก รวดเร็วในการบริการ ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจร้าย อาหาร ทั้งสิ้น ยิ่งเรากาลังอยู่ในยุคที่เทคโนโลยีเจริญก้าวหน้า ยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร หากเรานาเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาขึ้นบางตัว มาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับกิจการร้านอาหาร ของเรา ก็จะทาให้การจัดการในธุรกิจร้านอาหารของเราดีขึ้น ซึ่งโปรแกรมนี้ ผู้ประกอบการ สามารถนาเข้าภาพที่ออกแบบรูปของสถานที่ร้านอาหารมาใช้ ใน Programได้รวมทั้งสามารถ เพิ่ม, ลด, แก้ไข ตาแหน่ง สี ขนาด จานวนคน รูปร่าง ของโต๊ะในร้านอาหาร ทราบเมนูที่ลูกค้าสั่งและเสิร์ฟได้ถูกต้อง ทันตามความ ต้องการ ทั้งยังมีระบบการจัดการรายได้ เช่น สามารถตรวจสอบยอดเงินที่ต้องชาระ ของลูกค้าแต่ละโต๊ะได้อย่างรวดเร็ว และยังมีตารางข้อมูลรายได้ของยอดเงินในแต่ละ วัน และรายชื่ออาหาร ซึ่งจะทาให้ การรวมยอดขายในแต่ละวันง่ายขึ้น มีความ สะดวกสบายมากขึ้นในการรวมยอดขายในแต่ละวัน
  • 14. 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน 2. เพื่อให้การจัดการในร้านอาหารดีขึ้น 3. เพื่อสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล 4. เพื่อต้องการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้ประโยชน์ได้ในร้านอาหารอย่างมี คุณภาพ 3. หลักการและทฤษฎี ภูมิศาสตร์ และระบบจัดการร้านอาหาร” นี้มีโครงสร้างพื้นฐานเป็นโปรแกรม ซึ่งสามารถ พัฒนาโดยใช้โปรแกรม Delphi 7.0 เป็นหลักที่มีการประยุกต์เอาการเขียนโปรแกรม ด้วยภาษา Pascal ที่นามาสร้างเป็นระบบจัดการร้านอาหารที่มีคุณสมบัติในการช่วยงาน ในภัตตาคารอาหารได้ เช่น การวางโต๊ะอาหารในหน้าต่างด้านซ้ายของโปรแกรมที่เกี่ยวกับ สถานที่ร้านอาหาร และแสดงสถานะของโต๊ะ รวมทั้งสรุปยอดเงิน จานวนโต๊ะในแต่ละวัน ทางหน้าต่างด้านซ้าย ทั้งยังมีปุ่มเชื่อมโยงไปยัง Form อีก Form ที่มีตารางบัญชีของ ทั้งในแต่ละวัน และแต่ละเดือนได้อีกด้วย
  • 15. 4. วิธีดาเนินงาน เทคโนโลยีที่ใช้โปรแกรมนี้จะมี 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ - Input ซึ่งรับค่ามาจาก mouse และ keyboard แล้วนามา ประมวลผลส่งต่อไปยังตัวโปรแกรม - Output แสดงผลออกมาทาหน้าจอ monitor เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา - Delphi 7.0 - Photoshop CS - Macromedia Flash MX
  • 16. รายละเอียดของโปรแกรมที่พัฒนา “ภูมิศาสตร์ และระบบจัดการร้านอาหาร (Restaurant with Landscape)” จัดเป็นโปรแกรมในประเภท โปรแกรมเพื่อการประยุกต์ใช้งาน ซึ่งโปรแกรมนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ข้าง โดยข้างซ้ายที่มีขนาดใหญ่กว่าจะเป็น ภูมิศาสตร์ ของร้านอาหารที่จะวาดด้วยโปรแกรมอะไรก็ได้แล้วจะมีปุ่มให้ Add ภาพลงไปได้ หรือจะถ่ายรูปจริง จากด้านบนที่สูง แล้วตกแต่ง แล้วนา Add เข้ามา โดยจะสร้าง Component ที่สามารถลากโต๊ะ มาวางบนหน้าจอได้ทั้งยังเมื่อคลิกเข้าไปแล้วก็ สามารถเข้าไปเปลี่ยนแปลงเบอร์โต๊ะ ขนาดโต๊ะ(ไม่จาเป็นต้องใส่ตรงตามความจริงก็ ได้เพราะรูปที่นามาใส่อาจจะไม่พอดีกับจานวนโต๊ะถ้าใส่ขนาดตามความจริง) สีโต๊ะ รูปร่างโต๊ะ(กลม กับ สี่เหลี่ยม) จานวนคนนั่ง ฯลฯ ส่วนด้านซ้ายที่มีขนาดเล็กกว่าเป็น หน้าต่างที่แสดงผลสถานะของโต๊ะที่กาลังรับประทานอาหาร หรือกาลังรอเงินทอน เป็นต้น ทั้งยังมีรวมยอดขาย รวมโต๊ะ ของวันนี้อีกด้วย Input/Output specification Input: การรับค่าจาก Mouse และ Keyboard ที่คลิกลง ไปในส่วนต่างๆ ของโปรแกรม ที่นาไปประมวลผล ต่างๆ ภายในโปรแกรม Output: การแสดงผลออกทางหน้าจอ monitor
  • 18. 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ซอฟต์แวร์โปรแกรมประยุกต์ระบบจัดการร้านอาหาร ความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมด้วยซอฟต์แวร์ Delphi 7. เอกสารอ้างอิง หนังสือ เริ่มต้นอย่างมืออาชีพด้วย Delphi 7 ฉบับสมบูรณ์ โดย สัจจะ จรัสรุ่งรวีวร จาก Dev Book หนังสือ การเขียนโปรแกรมภาษา Delphi จาก สยามคอมพิวเตอร์ หนังสือ เริ่มต้นอย่างมืออาชีพด้วย Delphi 5 ฉบับ สมบูรณ์ โดย สัจจะ จรัสรุ่งรวีวร จาก Inf