SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  43
Télécharger pour lire hors ligne
ฮีต๑๒
ผ้าพระเวส วัดทุ่งศรีเมือง
                               เทศบาลนครอุบลราชธานี
                             147 ถนนศรีณรงค์ ตำบลในเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
                                          www.cityub.go.th
ฮีต๑๒
                                             ฝ่ายอำนวยการจัดทำหนังสือ
                                                              นายอาทิตย์ คูณผล  
                                                                               
                                                       ปลัดเทศบาลนครอุบลราชธานี   
                                                                               
                                                                        
                                               ข้อมูล / รวบรวม / รูปเล่ม
                                                     นายประพนธ์ โชควิวัฒนวนิช
                                                                รองนายกเทศมนตรี
                                                            นายสุขสันติ์ แก้วสง่า  
                                     รก.ผอ.ส่วนควบคุมการก่อสร้างอาคารและผังเมือง
                                                                นายสุรศักดิ์ โตอิ่ม
                                                                    ลูกจ้างประจำ
                                                    นายสมชาติ เบญจถาวรอนันต์
                                               webmaster:www.guideubon.com

หนังสือประมวลภาพกิจกรรมงานประเพณี
           เทศบาลนครอุบลราชธานี
จารีต คือ ฮีตครองโบราณเป็นประเพณีธรรมเนียมสืบทอดมา
จนถึงปัจจุบันนี้ อันเป็นแบบแผนคงไว้ ซึ่งความดีงามประพฤติชอบ
ฮีตสิบสอง เป็นประเพณีทำบุญสิบสองเดือน หรือประเพณีประจำสิบ
สองเดื อ นนั่ น เอง เป็ น จารี ต ที่ จ ะให้ ผู้ ค นในสั ง คมได้ มี โ อกาสร่ ว ม
ชุมนุมกัน ทำบุญเป็นประจำทุก ๆ เดือน ในรอบปีหนึ่งผลที่ ได้รับจาก
การกระทำ คือ ทุกคนจะได้มีเวลาเข้าวัด ชำระจิตใจ ใกล้ชิดกับพุทธ
ศาสนา ทำให้ ในชุ ม ชนได้ ท ำความรู้ จั ก มั ก คุ้ น กั น เสี ย สละร่ ว มกั น
ทำงานเพื่อพัฒนาสังคม สามัคคีกัน และเป็นการใช้เวลาว่างมาทำ
ประโยชน์ต่อสังคม 
	 เทศบาลนครอุ บ ลราชธานี ขอเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการสื บ สาน
วัฒนธรรมประเพณี อันดีงามที่เป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของจังหวัด
ได้ แ ก่ งานประเพณีสงกรานต์ งานประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา และ
งานประเพณี อ อกพรรษาให้ ค งอยู่ กั บ สั ง คมเรา ซึ่ ง จะทำให้ จั ง หวั ด
อุบลราชธานีเป็นจังหวัดที่น่าอยู่ และนักท่องเที่ยวเกิดความประทับใจ                    นางรจนา กัลป์ตินันท์
ในการมาเยี่ยมมาเยือนตลอดไป
                                                       นายกเทศมนตรีนครอุบลราชธานี
คำว่า      “ฮีต”          เป็นภาษาไทยอีสาน หมายถึงจารีตประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลา
    นาน ซึ่งฮีตนี้จะต้องปฏิบัติเหมือนกันตั้งแต่ประชาชนธรรมดาจนถึงเจ้านายใหญ่ โต เมื่อถึงคราววาระ
    และเดือนที่จะต้องประกอบพิธีกรรมตามฮีตแต่ละแห่ง แต่ละชุมชนจะ ต้องปฏิบัติเหมือนกัน ซึ่งมี
    ทั้ ง หมด ๑๒ ฮี ต ด้ ว ยกั น   คื อ เดื อ นอ้ า ย (เดื อ นเจี ย ง) บุ ญ เข้ า กรรม เดื อ นยี่ บุ ญ คู ณ ลาน 

                                                                                                                                                                                                       ฮีตสิบสอง
    เดือนสาม ทำบุญข้าวจี่และบุญมาฆบูชา เดือนสี่ ทำบุญพระเวส ฟังเทศน์มหาชาติ เดือนห้า                                	 เป็นขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวอีสานที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมแสดงถึงความเป็น
    ตรุษสงกรานต์หรือบุญสรงน้ำ เดือนหก ทำบุญบั้งไฟและวันวิสาขบูชา เดือนเจ็ด ทำบุญซำฮะ                                ชาติเก่าแก่และเจริญรุ่งเรืองมานาน เป็นเอกลักษณ์ของชาติและท้องถิ่น และมีส่วนช่วยให้ชาติดำรงความเป็นชาติ
    หรือบุญบูชาบรรพบุรุษ เดือนแปด ทำบุญเข้าพรรษา เดือนเก้า ทำบุญข้าวประดับดิน เดือนสิบ                              ของตนอยู่ตลอดไป
    ทำบุญข้าวสาก เดือนสิบเอ็ด ทำบุญออกพรรษา เดือนสิบสอง ทำบุญกฐิน 
    	 ฮีตเปรียบเหมือนธรรมนูญชีวิตของชาวอีสานที่นำ มาซึ่งความสุข สงบ ร่มเย็น แต่ปัจจุบันสังคม                        ฮี ต สิ บ สอง มาจากคำสองคำได้แก่ ฮีต คือคำว่า จารีต ซึ่งหมายถึง
    อีสานหลายแห่งวิ่งตามโลกวัตถุ หันหลังให้ฮีตเก่าคลองเดิม เห็นความดีงามของวัฒนธรรมต่างชาติ                         ความประพฤติ ธรรมเนียม ประเพณี ความประพฤติที่ดี และ สิบสอง หมายถึง
    และรับมาอย่างง่ายดายโดยไม่พิจารณาจึ ง ทำให้ สั ง คมมี ค วามวุ่ น วาย ครอบครั ว มี ปั ญ หาแตกแยก 
           	   สิบสองเดือน ดังนั้นฮีตสิบสองจึงหมายถึงประเพณีที่ประชาชนในภาคอีสาน
    ลูกไม่เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ พระ คนแก่ ครู ข้าราชการ ไม่เป็นแบบอย่างที่ดี ในสังคม ส่วนหนึ่ง                 ปฏิ บั ติ กั น มาในโอกาส ต่ า ง ๆ ทั้ ง สิ บ สองเดื อ นของแต่ ล ะปี เป็ น การผสม
    เกิดจากคนห่างเหินฮีตเก่าคลองเดิม ไม่สนใจนำพาคำสอนของบรรพบุรุษมาถือปฏิบัติ 
                                     ผสานพิธีกรรมที่เกี่ยวกับเรื่องผีและพิธีกรรมทางการเกษตร เข้ากับพิธีกรรม
    	 หนังสือฮีตสิบสอง ของเทศบาลนครอุบลราชธานี เล่มนี้นับว่าเป็นส่วนหนึ่งที่จะทำให้คนในสังคม                        ทางพุทธศาสนา  นักปราชญ์ โบราณได้วางฮีตสิบสองไว้ ดังนี้
    ได้หันมาให้ความสนใจ ในจารีตประเพณีอันดีงามของเราชาวอีสาน ที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา ซึ่งจะ
    ทำให้สังคมเราได้กลับมาน่าอยู่ ต่อไป
๑
  เดือนอ้าย หรือเดือนเจียง 
    “งานบุญเข้ากรรม”
    	 นิมนต์พระสงฆ์เข้าประวาสกรรมตามประเพณีนั้น
                                                        	 “เถิ ง เมื่ อ เดื อ นเจี ย งเข้ า กลายมาแถม
                                                        ถ่าย ฝูงหมู่สังฆเจ้าเตรียมเข้าอยู่กรรม”
                                                        	 บุ ญ เดื อ นอ้ า ย (เดื อ นเจี ย ง) หรื อ บุ ญ เข้ า กรรม อยู่ ใน
                                                        ช่วงเดือนธันวาคม เป็นระยะอากาศหนาว โดยมากนิยมทำวัน
                                                                                                                                 ๒
   เดือนยี่     “งานบุญคูนลาน”                          
                                                                                                                                      	 ทำบุญที่วัด พระสงฆ์เทศน์เรื่องแม่ โพสพ ทำพิธีปลงข้าวในลอมและฟาดข้าวใน
                                                                                                                                      ลาน ขนข้าวเปลือกขึ้นเล้า (ยุ้งฉาง) นับเป็นความเชื่อในการบำรุงขวัญและสิริมงคล
                                                                                                                                      ทางเกษตรกรรม มีทั้งทำบุญที่วัดและบางครั้งทำบุญที่ลานนวดข้าว เมื่อขนข้าวใส่ยุ้ง
    มีการทำบุญทางศาสนา เพื่ออนิสงฆ์ทดแทนบุญคุณต่อ       ขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนอ้ายเป็นหลัก ทั้งนี้เชื่อกันว่า เป็นเดือนที่พระ               แล้วมักไปทำบุญที่วัด
    บรรพบุรุษ ชาวบ้านเลี้ยงผีแถน ผีบรรพบุรุษ มีการตระ   สงฆ์อยู่ปริวาสกรรม (เข้ากรรม) ชาวบ้านจะจัดสถานที่ แล้ว
    เตรียมเก็บสะสมข้าวปลาอาหารไว้กินในยามแล้ง
          นิมนต์พระสงฆ์เข้ากรรม การเข้ากรรมของพระนั้นคือ การให้
                                                        พระสงฆ์ผู้กระทำผิดสารภาพต่อหน้าพระสงฆ์ เพื่อชำระจิตใจที่                 
                                                        มัวหมองปลดเปลื้องอาบัติ สังฆาทิเสส ซึ่งเป็นอาบัติหนักเป็นที่             	 “พอเมื่อเดือนยี่ได้ล้ำล่วงมาเถิง ให้พากันหาฟืนสู่คนโฮมไว้”
                                                        ๒ รองจากปาราชิก เป็นการฝึกจิตสำนึกถึงการบกพร่องของ                       	 บุญเดือนยี่ หรือบุญคูณลาน อยู่ ในช่วงเดือนมกราคม เป็นการทำบุญหลังจากชาวบ้านได้ทำการเก็บเกี่ยวข้าว ขนข้าวขึ้นสู่ลาน
                                                        ตน และมุ่ ง ปฏิ บั ติ ต นให้ ถู ก ต้ อ งตามพระธรรมวิ นั ย ต่ อ ไป        นวดข้าวและทำข้าวเปลือกให้เป็นกองสูงเหมือนจอมปลวก เรียกว่า “กุ้มเข้า” เหมือนก่อเจดีย์ทรายนั่นเอง แล้วทำพิธีบวงสรวงเจ้าแม่
                                                        เป็นการเข้าอยู่ประพฤติวัตรโดยเคร่งครัดชั่วระยะหนึ่ง ในป่า                โพสพ นิมนต์พระมาสวดมนต์ทำบุญลาน บางคนก็เทศน์เรื่องนางโภสพฉลอง บางคนก็มีพิธีสู่ขวัญข้าวก่อนจึงจะขนข้าวขึ้นสู่ยุ้งฉาง ดัง
                                                        หรือป่าช้า ทางด้านฆราวาสจะมีการทำบุญเลี้ยงผีมด ผีหมอ                     นั้นจึงต้องทำบุญเพื่อสู่ขวัญข้าว
                                                        ผีฟ้า ผีแถน และพระภิกษุสงฆ์ เพราะถือกันว่าจะได้บุญมาก                         การทำบุญคูณลานนี้ มีความประสงค์เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ข้าวเปลือกที่เก็บเกี่ยวเสร็จ และจะนำไปใช้สอยต่อไป ในงานบุญนี้
                                                        นอกจากนี้ ในเดื อ นนี้ เ ป็ น ช่ ว งเวลาที่ ข้ า วในนาสุ ก จึ ง ต้ อ ง   จะมีการตักข้าวในยุ้งออกมาเป็นปฐมฤกษ์ เพื่อนำมาเลี้ยงพระ เสร็จแล้วก็ทำพิธีเลี้ยงเจ้าที่หรือตาแฮก นอกจากนี้ ชาวบ้านยังถือเอาช่วง
                                                        ลงแขกเกี่ ย วข้ า ว การทำปลาร้ า ปลาแดก เพื่ อ เป็ น เสบี ย ง            ของการเตรียมสะสมฟืนไว้หุงต้มที่บ้านต่อไปอีกด้วย ทั้งนี้ หากชาวบ้านที่ร่วมทำบุญเป็นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดยปลูกปะรำพิธีต่างหาก จะ
                                                        ตลอดปีอีกด้วย
                                                           เรียกว่า “บุญคุ้ม” แต่ถ้าชาวบ้านร่วมกันทำเป็นจำนวนมาก โดยนำข้าวไปกองรวมกันที่ศาลากลางบ้าน หรือศาลาโรงธรรม
                                                                                                                                 จะเรียกว่า “บุญกุ้มข้าวใหญ่” ซึ่งเชื่อกันว่าจะได้บุญมากที่สุดอีกด้วย
๓
     เดือนสาม            “บุญข้าวจี่”
	 มีพิธีเลี้ยงลาตาแฮก ขนข้าวขึ้นยุ้งแล้ว ตามประเพณีหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวใส่ยุ้งแล้ว มีการทำบุญ
เซ่นสรวงบูชาเจ้าที่นา ซึ่งชาวอีสานเรียกว่าตาแฮก และทำบุญแผ่ส่วนกุศลให้ผีปู่ย่าตายาย อันเป็นการ
แสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ โดยการทำข้าวจี่ (ข้าวเหนียวปั้นเป็นก้อนสอดไส้น้ำตาล หรือน้ำอ้อย
                                                                                                                                                                         ๔
            เดือนสี่     “บุญพระเวส” 
                                                                                                                                                                                            	 มีงานบุญพระเวส (ฟังเทศน์มหาชาติ) แห่พระอุปคุตตั้งศาลเพียงตา ทำบุญแจกข้าวอุทิศให้
                                                                                                                                                                                            ผู้ตาย (บุญเปตพลี) ประเพณีเทศน์มหาชาติเหมือนกับประเพณีภาคอื่น ๆ ด้วย เป็นงานบุญทาง
                                                                                                                                                                                            พุทธศาสนาที่ถือปฏิบัติทำบุญถวายภัตตาหาร แล้วตอนบ่ายฟังเทศน์ เรื่องเวสสันดรชาดก
ชุบไข่ปิ้งจนเหลือง) นำไปถวายพระพร้อมอาหารคาวหวานอื่นๆ
                                                                                                                                      “เดือนสามค้อยเจ้าหัวคอยปั้นเข้าจี่ เดือนสี่ค้อยจัวน้อยเทศน์มะที (มัทรี)”
                                                                                                                                                 	 	 บุญเดือนสี่ อยู่ ในช่วงเดือนมีนาคม ทุกวัดพอถึงเดือนสี่ ก็จะมีการเทศน์มหาชาติ ชาวอีสานนิยมเรียกว่า “บุญผเวส” (พระ
	 “เถิงเมื่อเดือนสามได้จงพากันทำเข้าจี่ ไปถวายสงฆ์เจ้าเอาแท้หมู่บุญ”
                                                                            เวสสันดร) แต่การกำหนดเวลาก็ ไม่ถือเด็ดขาด อาจจะเป็นปลายเดือนสาม หรือต้นเดือนห้าก็ ได้ เป็นงานบุญมหาชาติ เนื่องจากความ
	 บุญเดือนสาม หรือบุญข้าวจี่ อยู่ ในช่วงดือนกุมภาพันธ์ วันเพ็ญเดือน ๓ เป็นวันมาฆบูชา รุ่งขึ้นวันแรม ๑ ค่ำ ก็ถวายข้าวจี่ 
                    	   เชื่อที่ว่า ผู้ ใดฟังเทศน์มหาชาติ หรือเรื่องพระเวสสันดรครบ ๑๓ กัณฑ์ ในวันเดียว จะได้ ไปเกิดในยุคพระศรีอาริยเมตดตร อันเป็นยุคที่
เรียกว่า วันทำบุญเนื่องในวันมาฆบูชานั่นเอง ข้าวจี่ คือเอาข้าวเหนียวปั้นเป็นก้อน เอาไม้เสียบย่างไฟเหมือนไก่ย่าง เมื่อข้าวสุกเกรียม                มีความอุดมสมบูรณ์นั่นเอง ในงานบุญนี้มักจะมีผู้นำของมาถวายพระซึ่งเรียกว่า “กัณฑ์หลอน” หรือถ้าจะเจาะจงถวายพระที่ตนนิมนต์
แล้วก็เอาไข่ซึ่งตี ไว้แล้วทาแล้วย่างซ้ำอีก กลายเป็นไข่เคลือบข้าวเหนียว เสร็จแล้วถอดไม้ออกแล้วเอาน้ำอ้อยหรือน้ำตาลที่เป็นก้อน
              	     จะเรียกว่า “กัณฑ์จอบ” (จอบ ภาษาอีสานแปลว่าซุ่มดู) เพราะต้องซุ่มดูพระที่ตนจะถวายให้แน่ ใจเสียก่อน
ยัดใส่แทนกลายเป็นข้าวเหนียวยัดไส้ แล้วถวายพระเณรฉันตอนเช้า ส่วนมากชาวบ้านจะรีบทำแต่เช้ามืด พอสว่างก็ลงศาลาการเปรียญ                              	 การเทศน์มหาชาติของอีสาน ผิดจากภาคกลางหลายอย่าง เช่น การนิมนต์เขาจะนิมนต์พระวัดต่าง ๆ ๑๐-๒๐ วัด มาเทศน์
                   (ชาวบ้านเรียกหัวแจก) นิมนต์พระเณรสวดแล้วฉัน เป็นทั้งงานบุญและงานรื่นเริงประจำแต่ละหมู่บ้าน เพราะได้ทำข้าว                     โดยแบ่งคัมภีร์ออกได้ถึง ๓๐-๔๐ กัณฑ์ เทศน์ตั้งแต่เช้ามืดและให้จบในวันเดียว พระในวัดถ้ามีมาก ก็จะเทศน์รูปละกัณฑ์สองกัณฑ์ ถ้า
                                                                                                                                                 พระน้อยอาจจะเทศน์ถึง ๕ กัณฑ์ การแบ่งซอยให้เทศน์หลายๆ กัณฑ์ก็เพื่อให้ครบกับจำนวนหลังคาบ้าน ถ้าหมู่บ้านนี้มี ๘๐ หลังคา
                                                     จี่ ไปถวายพระหลังจากพระฉันแล้วก็เลี้ยงกันเองสนุกสนาน มีคำพังเพยอีสานว่า                     เรือน ก็อาจจะแบ่งเป็น ๘๐ กัณฑ์ โดยรวมเอาเทศน์คาถาฟันมาลัยหมื่น มาลัยแสน ฉลองมหาชาติด้วยเพื่อให้ครบจำนวนโยมผู้เป็น
                                                     “เดือนสามค้อยเจ้าหัวคอยปั้นเข้าจี่ เข้าจี่บ่ ใส่น้ำอ้อยจัวน้อยเช็ดน้ำตา” 
                  เจ้าของกัณฑ์ แต่บางบ้านอาจจะขอรวมกับบ้านอื่นเป็นกัณฑ์เดียวกันก็ ได้ และเวลาพระเทศน์ก็จะมีกัณฑ์หลอนมาถวายพิเศษอีกด้วย คือ
                                                     	 เดือนนี้ชาวนาส่วนใหญ่ถือกันตั้งแต่ โบราณมาว่าเป็นเดือนสู่ขวัญข้าว คือมี                   หมู่บ้านใกล้เคียงจะรวบรวมกัณฑ์หลอนคล้ายผ้าป่าสมัยนี้ แห่เป็นขบวนกันมา แห่รอบศาลาการเปรียญ แล้วก็นำไปถวายพระรูปที่กำลัง
                                                     การถวายข้าวเปลือกพระและนิยมทำบุญบ้าน สวดมนต์เสร็จพิธีสงฆ์ แล้วก็สู่ขวัญ                     เทศน์อยู่ เรียกว่ากัณฑ์หลอนเพราะมาไม่บอก มาโดนใครก็ถวายรูปนั้นไปเลย เรื่องกัณฑ์หลอนนับเป็นประเพณีผูกไมตรีระหว่างหมู่บ้าน
                                                     ข้ า วตามธรรมเนี ย มพราหมณ์ บางบ้ า นก็ ท ำเล็ ก น้ อ ยพอเป็ น พิ ธี คื อ เอาข้ า วไป       ได้ยิ่งดี เพราะเรามีเทศน์เขาก็เอากัณฑ์หลอนมาร่วม เขามีเราก็เอาไปร่วมเป็นการสนองมิตรจิตมิตรใจซึ่งกันและกันได้ทั้งบุญได้ ทั้ง
                                                                                                                                                 มิตรภาพ ได้ทั้งความสนุกเฮฮา รำเซิ้ง แม้แต่ ในหมู่บ้านนั้นเองก็มีกลุ่มหนุ่มสาว กลุ่มบ้านเหนือ กลุ่มคนแก่ กลุ่มขี้เหล้า หรือกลุ่มอะไร
                                                     ถวายสงฆ์แล้วทำพิธีตุ้มปากเล้าเล็กน้อยเป็นการบูชาคุณของข้าวในเล้าหรือยุ้ง                    ก็ ได้ ร่วมกันทำกัณฑ์หลอนขึ้น แห่ออกไปวัดเป็นการสนุกสนาน ใครใคร่ทำทำ มีเงินทองข้าวของจะบริจาคได้ตลอดวัน 
                                                     นอกจากนี้ ยังมีการลงขันผลผลิตไว้ที่วัด ซึ่งเรียกว่า พิธีบุญประทายข้าวเปลือก                 จึงเห็นบุญมหาชาติของอีสาน เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ประจำปี และถือกันว่าต้องทำทุกปีด้วย
                                                    นั่นเอง
๖
           “บุญบั้งไฟ”



                                                                      ๕
                                                                                                                             เดือนหก
                                                                                                                             	 บางแห่ ง เรี ย ก “บุ ญ วิ ส าขบู ช า” มี ง านบุ ญ บั้ ง ไฟ (บุ ญ ขอฝน) บุ ญ
                                                                                                                             วิสาขบูชา วันเพ็ญเดือนหก เกือบตลอดเดือนหกนี้ ชาวอีสานจัดงานบุญ
                                                                                                                             บั้งไฟ ถือเป็นการทำ บุญบูชาแถน (เทวดา)  เพื่อขอให้ฝนตกต้องตาม
                                                                                                                             ฤดูกาล และความอุดมสมบูรณ์ของข้าวปลาอาหารในปีต่อไปครั้นวันเพ็ญ
                                                                                เดือนห้า “บุญสรงน้ำ” 
                       หก เป็นงานบุญวิสาขบูชาประเพณีสำคัญทางพุทธศาสนา มีการทำบุญฟัง

                                                                               หรือเทศกาลสงกรานต์
                          เทศน์และเวียนเทียนเพื่อผลแห่งอานิสงส์ ในภพหน้า
	 ชาวอีสานเรียกกันว่า “สังขานต์” ตามประเพณีจัดงานสงกรานต์นั้น บางแห่งจัดกัน ๓ วัน บางแห่ง ๗ วัน แล้วแต่กำหนดมีการ            	 บุญเดือนหก หรือบุญบั้งไฟ อยู่ ในช่วงเดือนพฤษภาคม ซึ่งถือว่าเป็น
ทำบุญถวายภัตตาหารคาวหวาน หรือถวายจังหันเช้า-เพลตลอดเทศกาล ตอนบ่ายมีสรงน้ำพระ รดน้ำผู้ ใหญ่ผู้เฒ่าก่อเจดีย์ทราย
              ช่วงเริ่มต้นของฤดูฝน ดังนั้น ชาวบ้านจึงมีการจุดบั้งไฟเพื่อบูชาพระยา
	 บุญเดือนห้า ทำบุญตรุษสงกรานต์ หรือบุญสรงน้ำ อยู่ ในช่วงเดือนเมษายน ถือเป็นงานเริ่มต้นปี ใหม่ โดยการสรงน้ำพระพุทธรูป        แถน และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล งานบุญบั้งไฟ นับว่าพระสงฆ์มี
และพระสงฆ์ ตลอดจนผู้ ใหญ่ เช่น เจ้าเมือง พ่อแม่ และปู่ย่าตายาย นอกจากนี้ ยังมีการสรงน้ำเครื่องค้ำของคุณ เช่น เขา นอ งา       ส่วนร่วมเป็นอย่างมาก เนื่องจากพระสงฆ์สามเณรได้ร่วมทำบั้งไฟแข่งกับ
เขี้ยวหมูตัน ซึ่งถือว่าเป็นสิริมงคล รวมถึงการก่อพระทราย (กองปะทาย) และทำบุญอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้เสียชีวิตอีกด้วย   อนึ่ง การ   ชาวบ้านอีกด้วย นอกจากนี้ชาวบ้านยังมีการจัดอาหารเหล้ายามาเลี้ยง
ทำบุญสรงน้ำ กำหนดในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๕ ซึ่งบางครั้งเรียกว่า งานบุญเดือน ๕
                                                 กัน ตลอดจนมีการเซิ้งและการเส็งกลอง (แข่งตีกลอง) ในงานอีกด้วย
                                                                                                                             	 นอกจากนี้ ในเดือนหก ยังมีงานวิสาขบูชา งานบวชนาคเพื่อสืบต่อ
                                                                                                                             พุทธศาสนา ด้วย
๗
      เดือนเจ็ด             “บุญชำฮะ”
      	 มีพิธีเลี้ยงตาแฮก ปู่ตา หลักเมือง งานบุญเบิกบ้านเบิกเมือง งานเข้านาค
      เพื่อบวชนาค คติความเชื่อหลังจากหว่านข้าวกล้าดำนาเสร็จ มีการทำพิธีเซ่น
      สรวงเจ้าที่นา เพื่อความเป็นสิริมงคลให้ข้าวกล้าในนางงอกงาม บ้านที่กุลบุตร
      มีงานอุปสบททดแทนบุญคุณบิดามารดาและเตรียมเข้ากรรมในพรรษา
                                                                                                           ๘
                                                                                                           เดือนแปด 
                                                                                                           “งานบุญเข้าพรรษา”
                                                                                                             	 มีพิธีหล่อเทียนพรรษางานบุญเทศกาลเข้าพรรษาแต่ละหมู่บ้านช่วย
                                                                                                           กันหล่อเทียนพรรษา ประดับให้สวยงาม จัดขบวนแห่เพื่อนำไปถวายเป็น
      
                                                                                                    พุ ท ธบู ช า มี ก ารทำบุ ญ ถวายภั ต ตหาร เครื่ อ งไทยทานและผ้ า อาบน้ ำ ฝน
      	 “เดือนเจ็ดแล้วจงพากันบูชาราช ฝูงหมู่เทพเล่านั้น                                                    เพื่อพระสงฆ์จะได้นำไปใช้ตลอดเทศกาลเข้าพรรษา
                                                                                                           
      บูชาแท้ซู่ภาย”
      	 บุญเดือนเจ็ด หรือบุญซำฮะ ทำบุญติดปีติดเดือน เรียกว่า ทำบุญด้วย
                              	     	 “เดือนแปดได้ล้ำล่วงมาเถิง 
      เบิ ก บ้ า น อยู่ ในช่ ว งเดื อ นมิ ถุ น ายน เป็ น งานบุ ญ บู ช าบรรพบุ รุ ษ ทำพิ ธี เ ลี้ ย ง       ฝูงหมู่สังโฆคุณเข้าวัสสาจำจ้อย”
      มเหศักดิ์หลักเมือง มีการเซ่นบวงสรวงหลักเมือง หลักบ้าน เลี้ยงผีบ้าน ซึ่ง                              	 บุญเดือนแปด หรือบุญเข้าพรรษา อยู่ ในช่วงเดือนกรกฎาคม หรือ
      เรี ย กว่ า ปู่ ต า หรื อ ตาปู่ ซึ่ ง เป็ น ผี ป ระจำหมู่ บ้ า น และเรี ย กผี ป ระจำไร่ น าว่ า 
	   วั น แรม ๑ ค่ ำ เดื อ น ๘ งานบุ ญ นี้ นั บ ว่ า เป็ น ประเพณี ท างศาสนาพุ ท ธ
      “ผีตาแฮก” คือก่อนจะลงทำนาก็เซ่นสรวงบูชาเจ้าที่ผีนาก่อนเป็นการแสดง                                    โดยตรง จึงคล้ายกับภาคอื่น ๆ ในประเทศไทย อาทิ การทำบุญตักบาตร
      ความนับถือรู้บุญคุณ อีกทั้งชาวบ้านจะพร้อมใจกันปัดกวาดทำความสะอาดคุ้ม                                 ถวายภั ต ตาหาร การหล่ อ เที ย นใหญ่ แ ล้ ว นำไปถวายพระสงฆ์ เ ก็ บ ไว้ ใช้
      บ้าน และขนข้าวของเครื่องใช้เพื่อป้องกันเสนียดจัญไร
                                                  ตลอดพรรษา การถวายผ้าอาบน้ำฝน และการฟังธรรมเทศนา
      	 งานบุ ญ แบบนี้ ชาวบ้ า นจะทำสั ง ฆทาน พร้ อ มกั บ สวดคาถาไล่ ผี แ ละปั ด
      กวาดรังควาน ต่อจากนั้น มีการเตรียมตกกล้า แฮกนา และทำไร่

10                                                                                                                                                                                         11
๙
      เดือนเก้า       “บุญข้าวประดับดิน”
      	 จัดงานวันแรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๙ นับแต่เช้ามืด ชาวบ้านจัดอาหาร คาวหวาน หมากพลู บุหรี่ ใส่
      กระทงเล็ก ๆ นำไปวางไว้ตามลานบ้าน ใต้ต้นไม้ ข้างพระอุโบสถ เพื่อเป็นการให้ทานแก่เปรตหรือ
      วิญญาณที่ตกทุกข์ ได้ยาก ตอนสายมีการทำบุญที่วัด ฟังเทศน์เป็นอานิสงส์
                                                                                                                            ๑๐
                       เดือนสิบ        “บุญข้าวสาก”
                                                                                                                                	 ข้าวสาก หมายถึง การกวนกระยาสารท คล้ายงานบุญสลากภัตในภาคกลาง นำสำรับ
      
                                                                                                                         คาวหวานพร้อมกับข้าวสาก (กระยาสารท) ไปทำบุญที่วัดถวายผ้าอาบน้ำฝนและเครื่อง
                                                                                                                                ไทยทาน แต่ก่อนที่จะถวายนั้นจะทำสลากติดไว้ พระสงฆ์องค์ ใดจับสลากใดได้ก็รับถวาย
      	 “เดื อ นเก้ า แล้ ว เป็ น กลางแห่ ง วั ส สกาล ฝู ง ประชาชาวเมื อ งเล่ า
                                                                                                                                จากเจ้าของสำรับนั้น ตอนบ่ายฟังเทศน์เป็นอานิสงส์
      เตรียมกันไว้ พากันนานยังเข้าประดับดินกินก่อน ทายกนานให้เจ้าพระ
      สงฆ์พร้อมซู่ภาย”
                                                                                “เถิงเดือนสิบแล้วทายกทอดบวยบาน เบิกพลีทำทานต่อมาสองซ้ำเข้าสากน้ำไปให้
      	 บุญเดือนเก้า หรือบุญข้าวประดับดิน อยู่ ในช่วงเดือนสิงหาคม จัดขึ้นในวันแรม ๙ ค่ำเดือน ๙         สังโฆทานทอด พากันหวังยอดแก้วนิพพานพ้นที่สูง”
      เป็นพิธีรำลึกถึงคุณแผ่นดินที่มนุษย์ ได้อาศัยทำมาหาเลี้ยงชีพ และเป็นการทำบุญอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้   	 บุญเดือนสิบ หรือบุญเข้าสาก หรือสลากภัต อยู่ ในช่วงเดือนกันยายน ทำในวันเพ็ญเดือน ๑๐ เป็นงานบุญที่
      ล่วงลับ
                                                                                         ถือว่าเป็นการส่งคนตายที่ออกมาเที่ยวในเดือนเก้า กลับไปสู่แดนของตนในเดือนสิบ ถือเป็นการทำบุญให้เปรตโดยแท้
      	 งานบุญข้าวประดับดิน มักทำในวันแรม ๑๔ ค่ำเดือน ๙ โดยหลังจากการทำบุญที่วัดแล้ว ชาว               โดยมีระยะห่างจากบุญประดับดิน ๑๕ วัน โดยชาวบ้านจะเขียนชื่อของตนลงในพา (สำรับ) ใส่ข้าวฉลาก (ข้าวห่อ
      บ้านจะหาอาหาร หมากพลู บุหรี่ ห่อด้วยใบตองไปวางตามยอดหญ้าบ้าง แขวนตามกิ่งไม้บ้าง และใส่           ใหญ่ ) หรื อ ของที่ จ ะนำถวายพระสงฆ์ และเขี ย นชื่ อ ของตนอี ก ใบใส่ ในบาตร เมื่ อ พระสงฆ์ จั บ ชื่ อ ใครในบาตรได้
      ไว้ตามศาลเจ้าเทวาลัยบ้าง พร้อมทั้งเชิญวิญญาณผู้ล่วงลับมารับอาหารไป มีวัตถุประสงค์เพื่ออุทิศให้   เจ้าของชื่อจะนำของไปถวาย
      แก่ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว เนื่องจากเชื่อว่าในเดือนเก้า คนตายจะถูกปลดปล่อยให้มาท่องเที่ยวนั่นเอง    	 ในงานบุญนี้ จะมีการอุทิศส่วนกุศลแก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว และจะมีการนำห่อข้าวน้อยมาแขวนไว้ตามเสา
      ต่อมานิยมทำบุญตักบาตรและกรวดน้ำอุทิศกุศลตามแบบพุทธ บางท่านว่าบุญประดับดินนี้ เป็นพิธี            ต้นไม้ หรือเจดีย์ เรียกว่า “แจกข้าวสาก” พร้อมกับตี โป่งเพื่อส่งสัญญาณให้เทวดา ผี และเปรต ซึ่งเป็นบรรพบุรุษมา
      ระลึกถึงคุณของแผ่นดินมนุษย์ ได้อาศัยแผ่นดินอยู่และทำกิน พอถึงเดือน ๙ ข้าวปลาพืชผลกำลัง           รับเอาไปด้วย
      เจริญ ชาวบ้านจึงทำพิธีขอบคุณแผ่นดิน
12                                                                                                                                                                                                                 13
๑๑
 เดือนสิบเอ็ด         “บุญออกพรรษา” 
     	 มีพิธีถวายผ้าห่มหนาวในวันเพ็ญ มีงานบุญตักบาตรเทโว พิธีกวนข้าวทิพย์ พิธีลอยเรือไฟ นับเป็นช่วงที่
     จัดงานใหญ่กันเกือบตลอดเดือน นับแต่วันเพ็ญ มีการถวายผ้าห่มกันหนาวแต่พระพุทธพระสงฆ์ วันแรม 

     ๑ ค่ำ งานบุญตักบาตรเทโว ตอนเย็นวันขึ้น ๑๔ ค่ำ มีพิธีกวนข้าวทิพย์ มีงานส่วงเฮือ (แข่งเรือ) ในวัน
                                                                                                       	   ๑๒
                                                                                                             เดือนสิบสอง                    “บุญกฐิน”
                                                                                                             	 ทำบุญข้าวเม่าพิธีถวายกฐินเมื่อถึงวันเพ็ญจัดทำข้าวเม่า (ข้าวใหม่)
                                                                                                             นำไปถวายพระ พร้อมสำรับคาวหวานขึ้นตอนบ่ายฟังเทศน์เป็นอานิสงส์
                                                                                                             จัดพิธีทอดกฐินตามวัดที่จองกฐินไว้ งานบุญในฮีตสิบสองนั้น ตามหมู่ที่
     เพ็ญมีงานแห่ปราสาทผึ้ง พิธีลอย “เฮือไฟ” (ไหลเรือไฟ) เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา มีทั้งงานบุญกุศลและ           เคร่งประเพณียังคงจัดกันอย่างครบถ้วนบางแห่งจัดเฉพาะงานบุญใหญ่ ๆ
     สนุกสนานรื่นเริง
                                                                                       ตามแต่คณะกรรมการหมู่บ้านร่วมกันจัด
     	 “เถิ ง เดื อ นสิ บ เอ็ ด แล้ ว เป็ น แนวทางป่ อ ง เป็ น ช่ อ งของพระเจ้ า เคยเข้ า                    	 บุ ญ เดื อ นสิ บ สอง หรื อ บุ ญ กฐิ น หรื อ บุ ญ ข้ า วเม่ า อยู่ ในช่ ว งเดื อ น
     แล้ ว ออกมา เถิ ง วั ส สามาแล้ ว ๓ เดื อ นก็ เ ลยออก เฮี ย กว่ า ออกพรรษา                               พฤศจิกายน ระหว่างแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงวันเพ็ญเดือน ๑๒ เป็น
     ปวารณากล่าวไว้ เอาได้เล่ามา”
                                                                           ช่วงเวลาที่ข้าวตั้งท้องและเปลี่ยนเป็นเมล็ดข้าวแล้ว จึงมีการเก็บข้าวทำ
     	 บุญเดือนสิบเอ็ด หรือบุญออกพรรษา อยู่ ในช่วงเดือนตุลาคม  ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๑ เป็นงาน              เป็นข้าวเม่าถวายพระ เก็บเอาไว้กินเอง พิธีกรรมในเดือนนี้ชาวบ้านจะมี
     บุญที่เมื่อพระสงฆ์จำพรรษาครบ ๓ เดือนแล้ว จะมีการแสดงอาบัติ ทำพิธีปวารณา คือการเปิดโอกาสให้มี            การทำบุ ญ ทอดกฐิ น เหมื อ นกั บ ทุ ก ภาคทั่ ว ประเทศ   มี ก ารจุ ด พลุ ต ะไล
     การว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ในพิธีนี้ เวลาเช้าชาวบ้านจะไปทำบุญตักบาตรเทโวที่วัด ตกเย็นตามวัดต่าง ๆ        ประทั ด ด้ ว ย ส่ ว นวั ด ใดอยู่ ริ ม แม่ น้ ำ ก็ มี ก ารแข่ ง เรื อ กั น เรี ย กว่ า “ส่ ว ง
     จะจุดประทีปโคมไฟสว่างไสว จุดตั้งหรือแขวนตามต้นไม้ตลอดคืน ชาวบ้านจะนำดอกไม้ธูปเทียนบูชาพระ               เฮือ” หรือแข่งขันเรือในแม่น้ำเพื่อบูชาอุสุพญานาค ๑๕ ตระกูล รำลึก
     และถวายผ้าบังสุกุล
                                                                                     ถึงพญาฟ้างุ่มที่นำพระไตรปิฎกขึ้นมาจากเมืองอินทปัตถะ (เขมร) “ใน
     	 นอกจากนี้ ยังมีการกวนข้าวทิพย์ กรอกน้ำมัน ปั่นฝ้าย และการ “ตามประทีปโคมไฟ” โดยชาวบ้าน                 เดือนนี้เฟิ่นว่าให้ลงทอดพายเฮือ ช่วงกันบูชาฝูงนาโคนาคเนาในพื้น”
     และพระสงฆ์จะทำต้นกล้วยเป็นร้านสูง มีหัวและท้ายคล้ายเรือสำเภา ในเวลากลางคืนของวันงาน ชาว                 	 นอกจากนี้ มีการไหลเรือไฟ ลอยกระทง และการทำบุญดอกฝ้ายเพื่อ
     บ้านจะมาจุดธูปเทียนถวายพระสงฆ์ตามร้านที่ทำไว้ ในงานบุญออกพรรษายังมีการไหลเรือไฟในแม่น้ำ การ             ใช้ทอเป็นผ้าห่มกันหนาวถวายพระสงฆ์ บางแห่งทำบุญทอดผาสาทเผิ้ง
     ส่วงเฮือ (แข่งเรือ) ตลอดจนการเส็งกลอง (แข่งตีกลอง) อีกด้วย
                                             (ปราสาทผึ้ง) 
14                                                                                                                                                                                                 15
จากประเพณี นิ ย มที่ ก ล่ า วถึ ง มาทั้ ง หมด
     นับเป็นความภาคภูมิ ใจของชาวอีสานเรา ที่มีขนมธรรมเนียม
     ประเพณี อันดีงามอยู่คู่กับเรามายาวนาน ซึ่งขนบธรรมเนียม
     ประเพณีของเราชาวอีสาน ได้สืบทอดมาจนปัจจุบัน ก็เพราะใน
     แต่ ล ะท้ อ งถิ่ น ได้ มี ก ารสื บ ทอดกั น มาโดยตลอด ซึ่ ง ในแต่ ล ะ
     ประเพณี ก็จะมีแต่ละจังหวัด แต่ละอำเภอ ได้อนุรักษ์มาโดย
     ตลอด ดั ง เช่ น งานบุ ญ คู น ลาน จะพบเห็ น ได้ ที่ อำเภอลื อ
     อำนาจ จังหวัดอำนาจเจริญ บุญบั้งไฟ จังหวัดยโสธร บุญออก
     พรรษา ไหลเรื อ ไฟ จั ง หวั ด นครพนม ประเพณี แ ห่ เ ที ย นเข้ า
     พรรษา จังหวัดอุบลราชธานี บุญพระเวส จังหวัดร้อยเอ็ด บุญ
     ข้าวสาก บุญข้าวประดับดิน จังหวัดยโสธร   และอีกหลายๆ
     ประเพณีที่มักจะพบเห็นกันโดยตลอด ในทุกๆท้องถิ่น
     	 สำหรับในส่วนของเทศบาลนครอุบลราชธานี   ได้มีการ
                                                                                        ประเพณี
                                                                            แห่เทียนเข้าพรรษา
     สืบทอดประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นมาโดยตลอด โดยได้รับ
     ความร่ ว มแรงร่ ว มใจจากพี่ น้ อ งในชุ ม ชนต่ า ง ๆ ภายในเขต
     เทศบาลนครอุ บ ลราชธานี ซึ่ ง มี ป ระเพณี ห ลายๆ อย่ า งที่ ไ ด้
     สืบทอดมา ดังนี้

16                                                                                                 17
งานประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี
	 งานประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา เป็ น ประเพณี
                  	
ทางพุ ท ธศาสนา ของชาวอุ บ ลฯ ซึ่ ง มี ค วามเจริ ญ ใน
พุ ท ธศาสนา วั ฒ นธรรม และประเพณี ม าเป็ น เวลา
ยาวนาน ถื อ เป็ น งานบุ ญ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด ของจั ง หวั ด
อุบลราชธานี 
	 จากการสอบถามผู้ เ ฒ่ า ผู้ แ ก่ ได้ ค วามว่ า ชาว
อุ บ ลราชธานี ได้ ท ำต้ น เที ย นประกวดประชั น ความ
วิจิตรบรรจงกัน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๐ จนเมื่อปี พ.ศ.
๒๕๒๐ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ได้ จั ด งานสั ป ดาห์
ประเพณีแห่เทียนพรรษา ให้เป็นงานประเพณีที่ยิ่งใหญ่
และมโหฬาร สถานที่ จั ด งานคื อ บริ เ วณทุ่ ง ศรี เ มื อ ง
และศาลาจตุรมุข มีการประกวดต้นเทียน ๒ ประเภท
คือ ประเภทติดพิมพ์ และประเภทแกะสลัก โดยขบวน
แห่จากคุ้มวัดต่างๆ พร้อมนางฟ้าประจำต้นเทียน และ
เคลื่อนขบวน ไปตามถนนในตัวเมือง ซึ่งตั้งแต่ปี พ.ศ.
๒๕๔๒ เป็ น ต้ น มา งานประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา
จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่องานแต่ละปี ดังนี้




18                                                                  19
ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ มีชื่องานว่า “งานแห่เทียนพรรษา เฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชา” เนื่องจากเป็นปีมหามงคลเฉลิม
พระชนมพรรษา ๖ รอบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นที่มาของ “เทียนเฉลิมพระเกียรติฯ” ที่ทุ่งศรีเมือง
	 ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ มีชื่องานว่า “หลอมบุญบูชา ถวายไท้นวมินทร์” มีความหมายว่า การหล่อเทียนพรรษาของชาวอุบลฯ เพื่อบำเพ็ญกุศล
ร่วมกัน การหล่อหลอมจิตศรัทธาให้เป็นหนึ่งเดียว เปรียบประดุจการหลอมบุญบูชา เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายแด่องค์พระมหากษัตริย์
	 ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ มีชื่องานว่า “งามล้ำเทียนพรรษา ภูมิปัญญาชาวอุบลฯ” เนื่องจากเทียนพรรษาได้วิวัฒนาการไปจาก “ภูมิปัญญา
ดั้งเดิม” จนแทบจะจำเค้าโครงแต่ โบราณไม่ ได้ จึงได้มีการหันกลับมาทบทวนการจัดงานแห่เทียนพรรษา ตามภูมิปัญญาของชาวอุบลฯ ตั้งแต่เดิมมา
	 ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ มีชื่องานว่า “โรจน์เรือง เมืองศิลป์” ด้วยเหตุที่ ททท.ได้เลือกงานแห่เทียนพรรษจังหวัดอุบลราชธานี เป็นงานที่ โดดเด่น
ที่สุดของประเทศในเดือนกรกฎาคม ตามโครงการ “เที่ยวทั่วไทย ไปได้ทุกเดือน” จึงจัดให้มีกิจกรรมการท่องเที่ยวตลอดเดือน อาทิ ได้เชิญช่างศิลป์
นานาชาติประมาณ ๑๕ ประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา นิวซีแลนด์ จีน ญี่ปุ่น มาร่วมแข่งขันการแกะสลักขี้ผึ้งตามสไตล์งานศิลปะแต่ละชาติ 
	 ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ มีชื่องานว่า “สืบศาสตร์ สานศิลป์” เนื่องจากงานประเพณีแห่เทียนพรรษาเป็นการ “สืบทอดศาสนาและสืบสานงาน
ศิลปะ” ดังคำกล่าวที่ว่า “เทียนพรรษา คือ ภูมิศิลปะแห่งศรัทธา” เพื่อความกระชับ จึงใช้ชื่อว่า “สืบศาสน์ สานศิลป์” แต่ โดยเหตุที่มีผู้ ให้ความ
เห็นเพิ่มเติมว่าคำว่า “ศาสตร์” มีความหมายกว้างกว่า ชื่องานจึงเป็น “สืบศาสตร์ สานศิลป์” ด้วยเหตุนี้
	 ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ มีชื่องานว่า “ทวยราษฎร์ ใฝ่ธรรม งามล้ำเทียนพรรษา เทิดไท้ ๗๒ พรรษา มหาราชินี” เนื่องจากเป็นปีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนารถ พระแม่-แม่พระ ของแผ่นดิน
	 ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ มีชื่องานว่า “น้อมรำลึก ๕๐ ปี พระบารมีแผ่คุ้มเกล้าฯ ชาวอุบลฯ” เนื่องจากเมื่อวันที่ ๑๖-๑๗ พฤศจิกายน
๒๔๙๘ ล้นเกล้าทั้งสองพระองค์ ได้เสด็จเยือนอุบลราชธานียังความปลาบปลื้มปิติแก่ชาวอุบลฯ เป็นล้นพ้น เพราะตั้งแต่สร้างบ้านเมืองมาเกือบ
๒๐๐ ปี ยังไม่เคยมีพระมหากษัตริย์พระองค์ ใดเสด็จเยี่ยมหรือทรงใกล้ชิดกับราษฎรอย่างไม่ถือพระองค์เช่นนี้ ชาวอุบลฯ ทุกหมู่เหล่าต่างพร้อม
น้อมรำลึกด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณล้นเหล้าล้นกระหม่อม พระบารมีแผ่คุ้มเกล้าฯ ชาวอุบลฯ ปิติล้นพ้น ตลอดระยะเวลา ๕๐ ปี ที่ผ่านมา
และตลอดไป


20                                                                                                                                           21
ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ มีชื่องานว่า “๖๐ ปี พระบารมีแผ่ ไพศาล งามตระการเทียนพรรษา เทิดราชัน” เพื่อแสดงความจงรักภักดี ต่อพระบาท                                ดงอู่ผึ้ง จึงเป็นความรุ่งเรือง หรือ “ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม” และที่ตั้งเมืองของจังหวัดอุบลราชธานี คือ ดงอู่ผึ้ง ซึ่งเป็นทรัพยากรสำคัญในการทำเทียน
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี
                                                                                          พรรษา รวงผึ้งอุดมสมบูรณ์มาก สำนักพระราชวังได้นำขี้ผึ้งจากจังหวัดอุบลฯ ไปเพื่อทำเทียนพระราชทาน ประกอบกับ อุบลราชธานีมีสกุลช่างทุกสาขา
	 ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ มีชื่องานว่า “ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม เลิศล้ำ เทียนพรรษา ปวงประชาพอเพียง” เนื่องจากเป็นปีมหามงคล เฉลิมพระเกียรติ                           วิชาช่างศิลปะ จึงสามารถรังสรรค์เทียนพรรษาออกมาได้อย่างวิจิตรบรรจงตามจินตนาการ งามล้ำเทียนพรรษา และเนื่องจากประเพณีแห่เทียนพรรษา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดี และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่                         เกิดจาก ภูมิปัญญาชาวอุบลฯ  เป็น “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” สืบสานเป็น “ภูมิปัญญาท้องถิ่น” ก่อให้เกิด “ภูมิพลังเมือง” สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ประชาคม
มีต่อพสกนิกรปวงชนชาวไทย และการน้อมนำแนวพระราชดำรัสมาใช้ดำรงชีวิต 
                                                                                   เป็นปึกแผ่นมั่นคง แก้ ไขปัญหาสำคัญของชาติได้ ในการร่วมเป็น “ภูมิพลังแผ่นดิน”
                                                                                                                                                     
	 ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มีชื่องานว่า “เมืองอุบลบุญล้นล้ำ บุญธรรม บุญทาน สืบสานตำนานเทียน” เนื่องจากอุบลราชธานี มีสมญานามว่า “เมือง
                                                                                                                                                     	 ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มีชื่องานว่า “ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม งามล้ำเทียนพรรษา ภูมิปัญญา
แห่งดอกบัวงาม” ซึ่งดอกบัวเป็นพฤกษชาติที่มีคติธรรมทางพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง อุบลราชธานีจึงมีวัฒนธรรมประเพณีทำบุญทุกๆ เดือน คือการยึดถือ
                                                                                                                                                     ชาวอุ บ ล” ใช้ ชื่ อ งานต่ อ เนื่ อ งจากงานประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา ปี ๒๕๕๓ และจั ง หวั ด
ฮีตสิบสองคองสิบสี่ (ฮีตสิบสอง คือจารีตที่ปฏิบัติแต่ละเดือน ตลอดปี จนเป็นประเพณีสืบต่อมา) ประเพณีแต่ละอย่างในฮีตสิบสองล้วนมีแต่ชื่อ ขึ้นต้นว่า
                                                                                                                                                     อุ บ ลราชธานี ไ ด้ ก ำหนดชื่ อ งาน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็ น ชื่ อ งานว่ า “ฮุ่ ง เฮื อ งเมื อ งธรรม 

บุญ หมายถึง ประเพณีที่มุ่งการทำบุญเป็นสำคัญอุบลราชธานีจึงมี บุญล้นล้ำ ทั้งบุญธรรม บุญทาน อีกทั้งงานประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี
                                                                                                                                                     งามล้ำเทียนพรรษา ภูมิปัญญาชาวอุบล” เช่นเดิม
ก็มีมาแต่ โบราณโดยเริ่มจากในสมัยแรกๆ เป็นเทียนเวียนหัว มัดรวมติดลาย วิวัฒนาการมาจนเป็น หลอมเทียน หลอมใจ หลอมบุญสืบสานมาจนถึง
ปัจจุบัน 
	       ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ มีชื่องานว่า “ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม บุญล้ำเทียนพรรษา ประชาพอเพียง” เนื่องจากอุบลราชธานีเป็น “อู่อารยวัฒนธรรม 
                 	
อุดมอริยทรัพย์ อริยสงฆ์ รุ่งโรจน์ศาสตร์ เรืองรองศิลป์ ถิ่นไทยดี” ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม จึงเป็นความรุ่งเรือง สว่างไสว อุดมสมบูรณ์ ในธรรมที่สำคัญยิ่ง
๓ ประการ คือ พุทธธรรม อารยธรรม และธรรมชาติ ประกอบกับ การทำบุญเข้าพรรษาที่อุบลราชธานี มีชื่อเสียงมานานนับร้อยปี จึงเป็นที่รวมทำบุญ
เข้าพรรษาของประชาชนทั่วประเทศรวมถึงนักท่องเที่ยวทั่วโลก ท่านที่มาทำบุญเดือนแปดที่เมืองอุบลฯ จึงเป็นการบำเพ็ญกุศล ได้รับ “บุญล้ำเทียน
พรรษา” โดยทั่วหน้ากันพร้อมกันนี้ยังได้เสนอเน้นคำขวัญ ประชาพอเพียง ซึ่งเป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ประชาชนพลเมืองจะมีความพอเพียงได้ก็ด้วยคุณ
ธรรมความพอเพียง ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทำชีวิตให้อยู่ดีมีสุข ไม่มีความฟุ้งเฟ้อ ทะเยอทะยาน ยินดี ในสิ่งที่ ได้
พอใจในสิ่งที่มี 
     	 ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ มีชื่องานว่า “ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม งามล้ำเทียนพรรษา ภูมิปัญญาชาวอุบล” เนื่องจากเมืองอุบลราชธานี มี “ธรรม” 
                    	
     ๓ ประการ คือพุทธธรรม ชาวอุบลฯ มีความฝักใฝ่ ในธรรม อารยธรรม คืออุดมด้วยอารยทรัพย์ อารยสงฆ์ และธรรมชาติ ตามถิ่นที่ตั้งเมืองอุบล คือ 
         	
     
22                                                                                                                                                                                                                                                                                           23
24   25
26   27
ง า น แ ห่ เ ที ย น เ ข้ า พ ร ร ษ า 
      นับเป็นประเพณีอันเก่าแก่ของชาวจังหวัดอุบลราชธานี 
     และถือเป็นงานประเพณีประจำจังหวัดที่ขึ้นชื่อในหมู่ของ
     นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ  ทุกปี ในช่วง
           เทศกาลงานเข้าพรรษา เพื่อเป็นการอนุรักษ์
     ขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่นให้อยู่คู่ชาวจังหวัด
      อุบลราชธานีตลอดไป ภายในงานมีกิจกรรมที่น่าสนใจ
        มากมาย เช่น ขบวนแห่เทียนพรรษา การประกวด
          สาวงามเทียนพรรษา การแสดงการแกะสลัก
                  ประติมากรรมเทียนนานาชาติ




28                                                           29
30   31
32   33
34   35
36   37
ส ง ก ร า น ต์ เป็นประเพณี ไทยที่สืบสานวัฒนธรรม
         	
                       ต่อเนื่องกันมาเป็นเวลานาน  โดยเทศบาลนครอุบลราชธานี
                            จัดงานอย่างยิ่งใหญ่ ในช่วงเทศกาลงานสงกรานต์ 
       	
                              ณ บริเวณทุ่งศรีเมืองนอกจากนี้ยังเป็นวันผู้สูงอายุ 

                                                                                	
            ประเพณี
     มหาสงกรานต์
                          เพื่อเป็นการแสดงออกถึงการให้ความเคารพนับถือและ
         	
                       ลูกหลานได้เห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ มีการรดน้ำขอพร
                         จากผู้ ใหญ่เพื่อความเป็นสิริมงคล โดยบรรยากาศในงาน
       	
                       เต็มไปด้วยความอบอุ่นและเป็นกันเองภายในงานมีกิจกรรม
                           มากมาย เช่น การสรงน้ำพระแก้วบุษราคัม สักการะ
                       ศาลหลักเมือง การแสดงพื้นบ้าน  และเทศกาลอาหารไทย-
                        อินโดจีนโดยมีถนนดอกไม้และสายน้ำเป็นกิจกรรมที่สร้าง
                                ความสนุกสนานให้กับผู้เข้าร่วมงานอย่างมาก




38                                                                                    39
ถนนดอกไม้...และสายน้ำ
	 กิจกรรมลดอุบัติเหตุและรวมคนเล่นน้ำไว้ ในจุดเดียว
 เป็นกิจกรรมที่ชื่นชอบของนักท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก ถือ
  ได้ว่าเป็นกิจกรรมหลักและหัวใจสำคัญของงานประเพณี
                 สงกรานต์  และเทศบาลนครอุบลราชธานี
          ได้ร่วมมือกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ (สสส.)  จัดกิจกรรมปลอดเหล้า – ปลอด
  แอลกอฮอล์ ภายในบริเวณถนนดอกไม้และสายน้ำ ภาย
  ใต้คำว่า “สงกรานต์บ้านเฮา บ่เมากะม่วนได้” และ
  ในการจัดกิจกรรมถนนดอกไม้และสายน้ำ เทศบาลนคร
           อุบลราชธานี ได้รับความร่วมมือจากการประปา
        ส่วนภูมิภาคอุบลราชธานี ในการให้ความอนุเคระห์ 
                      อุปกรณ์ พร้อมเจ้าหน้าที่ ในการติดตั้ง 
                         อุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในบริเวณงาน
     40                                                         41
42   43
44   45
46   47
48   49
ขบวนอัญเชิญพระแก้วบุษราคัม และขบวนแห่สงกรานต์
                       ขบวนอัญเชิญพระแก้วบุษราคัม พิธีอัญเชิญพระแก้วบุญราคัม

                                                                            	
                ไปตามถนนสายต่างๆ เพื่อให้ประชาชนได้สรงน้ำขอพรเนื่องในวัน
         สงกรานต์ และนำไปประดิษฐาน ณ แท่นสรงในบริเวณวัดศรีอุบลรัตนาราม
               เพื่อให้ประชาชนได้มี โอกาส สรงน้ำขอพรในเทศกาลงานสงกรานต์
          ขบวนแห่สงกรานต์ ชุมชน คุ้มวัด ส่วนราชการ ร่วมส่งขบวนแห่สงกรานต์
                   เข้าร่วมในขบวนประกอบด้วย รถพระประธาน รถนางสงกรานต์ 
                               วงดนตรีพื้นเมือง ขบวนรำและการละเล่นพื้นเมือง  




50                                                                       51
เทศกาลอาหารไทย – อินโดจีน
                                                  เทศกาลอาหารไทย – อินโดจีน 
                                          ถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมของการจัดงาน
                                  ประเพณีสงกรานต์ ที่สร้างความชื่นชอบให้แก่ประชาชนเป็น
                                อย่างสูง เพราะมีความสะดวกในการซื้อหาอาหาร ในงานมีร้าน
                                 จำหน่ายอาหาร กว่า ๑๕๐ ร้าน ผู้ประกอบการร้านค้าที่เข้า
                                 ร่วมจำหน่ายอาหารได้ผ่านการคัดสรร ในด้านคุณภาพอาหาร 
                                             ที่ต้องสะอาดถูกหลักโภชนาการอาหาร 
                                        จึงทำให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจในความปลอดภัย 
     เทศกาลอาหารไทย-อินโดจีน


52                                                                                       53
54   55
ประกวด...เทพีสงกรานต์
                    เพื่อคัดเลือกสตรี ไทยที่มีความสวยงาม มีความรู้ และความสามารถ  
     มีคุณสมบัติที่เหมาะสมให้ดำรงตำแหน่งเทพีสงกรานต์ เพื่อเป็นทูตวัฒนธรรมในการ
      	
                                   เผยแพร่วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม  
                                    และส่งเสริมการท่องเที่ยวให้กับจังหวัดอุบลราชธานี 
                                                                                     




56                                                                             57
ตุ้มโฮมกินข้าวแลง...แญงวัฒนธรรม...รดน้ำขอพรผู้สูงอายุ 
        ตุ้มโฮม “กินข้าวแลง แญงวัฒนธรรม” รดน้ำขอพรผู้สูงอายุร่วมรับประทานอาหาร และสร้าง
  สัมพันธไมตรีอันดีของประชาชนในเขตเทศบาล แลกเปลี่ยนพูดคุยซึ่งกันและกัน เพื่อเป็นการอนุรักษ์
    วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น และในงานยังมีกิจกรรมรดน้ำขอพรผู้สูงอายุ เทศบาลนคร
อุบลราชธานี  ร่วมกับชุมชนภายในเขตเทศบาล โดยคัดเลือกผู้สูงอายุในชุมชนที่มี อายุ ๗๐ ปี ขึ้นไป
  และเป็นที่เคารพนับถือของคนทั่วไป เข้าร่วมพิธีรดน้ำขอพรเพื่อให้ลูกหลานได้รดน้ำขอพร เนื่องในวัน
                                                                                     สงกรานต์ 
                                                                                                




58                                                                                                  59
มหกรรมกีฬา...มหาสงกรานต์
    มหกรรมกีฬามหาสงกรานต์ เทศบาลนครอุบลราชธานี ร่วมกับ
สมาคมกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี จัดการแข่งขันกีฬานานาชนิด เช่น
  บาสเกตบอล ฟุตซอล วอลเลย์บอล ฟุตบอล และเปตอง เพื่อให้
เยาวชนและประชาชน ได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และห่างไกล
   จากสิ่งเสพติด โดยมีการจัดการแข่งขันกีฬาตลอดเดือนเมษายน 
                                                           




60                                                             61
62   63
งานประเพณี อั น ดี ง านของท้ อ งถิ่ น ที่ เ ทศบาล
                    นครอุบลราชธานี ร่วมกับชุมชนสืบทอดมาเป็นเวลา
                    ยาวนาน ประเพณี ที่ แ สดงถึ ง ความสวยงามและ
                    ความสามัคคีกันของคนในชุมชนให้ร่วมมือร่วมใจกัน

         ประเพณี
   จัดกิจกรรมขึ้นตามวิถีชีวิตความเป็นอยู่ เนื่องจาก


     ออกพรรษา
                    จังหวัดอุบลราชธานีมีลำน้ำมูลเป็นแม่น้ำสายหลัก
                    ใช้ ในการดำรงชีวิตประจำวันเป็นวิถีชีวิตที่เรียบง่าย
                    และสบาย จึ ง มี กิ จ กรรมการแข่ ง ขั น เรื อ ยาวและ
                    ไหลเรื อ ไฟ ซึ่ ง เทศบาลนครอุ บ ลราชธานี ร่ ว มกั บ พี่
                    น้องประชาชนในชุมชนต่าง ๆ จัดงานประเพณีออก
                    พรรษา ในวันออกพรรษา โดยมีกิจกรรมที่น่าสนใจ
                    เช่ น การประกวดไหลเรื อ ไฟ การประกวดนาง
                    นพมาศ การแข่ ง ขั น เรื อ ยาวพระราชทานสมเด็ จ
                    พระเทพรั ต นราชสุ ด า สยามบรมราชกุ ม ารี
                    เทศกาลอาหารไทย-อิ น โดจี น และการแสดง
                    คอนเสิร์ตจากนักร้องชื่อดังมากมาย ณ บริเวณถนน
                    เลียบ แม่น้ำมูลท่าน้ำตลาดใหญ่




64                                                                            65
แข่งเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานฯ

66                                   67
68   69
ลอยกระทง




70               71
ประกวดนางนพมาศ




72                     73
ไหลเรือไฟ




74                75
ตักบาตรเทโวโรหนะ




76                       77
Heet+sib+song
Heet+sib+song

Contenu connexe

Similaire à Heet+sib+song

บุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟบุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟKruRatchy
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
Psประเพณีฮีตสิบสอง
PsประเพณีฮีตสิบสองPsประเพณีฮีตสิบสอง
PsประเพณีฮีตสิบสองPrasong Somarat
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนThammasat University
 
โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคWalk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคWalk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคWalk4Fun
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Wat Thai Washington, D.C.
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควนTum Meng
 

Similaire à Heet+sib+song (20)

Heat12
Heat12Heat12
Heat12
 
บุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟบุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟ
 
2012 05-20
 2012 05-20 2012 05-20
2012 05-20
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
Psประเพณีฮีตสิบสอง
PsประเพณีฮีตสิบสองPsประเพณีฮีตสิบสอง
Psประเพณีฮีตสิบสอง
 
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้งแผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
Saeng Dhamma in May 2010
Saeng Dhamma in May 2010Saeng Dhamma in May 2010
Saeng Dhamma in May 2010
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Plus de Kaman Polod

กิจกรรมการเรียน3 7มิ.ย.56
กิจกรรมการเรียน3 7มิ.ย.56กิจกรรมการเรียน3 7มิ.ย.56
กิจกรรมการเรียน3 7มิ.ย.56Kaman Polod
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองKaman Polod
 
ภาพพื้นหลัง
ภาพพื้นหลังภาพพื้นหลัง
ภาพพื้นหลังKaman Polod
 
ดอยตุง
ดอยตุงดอยตุง
ดอยตุงKaman Polod
 
Ms office-2010-basic
Ms office-2010-basicMs office-2010-basic
Ms office-2010-basicKaman Polod
 
เพลงอาเซีย
เพลงอาเซียเพลงอาเซีย
เพลงอาเซียKaman Polod
 
อุทยานหลวงราชพฤกษ์
อุทยานหลวงราชพฤกษ์อุทยานหลวงราชพฤกษ์
อุทยานหลวงราชพฤกษ์Kaman Polod
 
สงกรานต์
สงกรานต์สงกรานต์
สงกรานต์Kaman Polod
 
สุขสันต์วันสงกรานต์
สุขสันต์วันสงกรานต์สุขสันต์วันสงกรานต์
สุขสันต์วันสงกรานต์Kaman Polod
 
อ่าวมาหยา
อ่าวมาหยาอ่าวมาหยา
อ่าวมาหยาKaman Polod
 
อ่าวมาหยา
อ่าวมาหยาอ่าวมาหยา
อ่าวมาหยาKaman Polod
 

Plus de Kaman Polod (16)

กิจกรรมการเรียน3 7มิ.ย.56
กิจกรรมการเรียน3 7มิ.ย.56กิจกรรมการเรียน3 7มิ.ย.56
กิจกรรมการเรียน3 7มิ.ย.56
 
Pt2
Pt2Pt2
Pt2
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครอง
 
ภาพพื้นหลัง
ภาพพื้นหลังภาพพื้นหลัง
ภาพพื้นหลัง
 
ดอยตุง
ดอยตุงดอยตุง
ดอยตุง
 
Images
ImagesImages
Images
 
5s
5s5s
5s
 
Ms office-2010-basic
Ms office-2010-basicMs office-2010-basic
Ms office-2010-basic
 
เพลงอาเซีย
เพลงอาเซียเพลงอาเซีย
เพลงอาเซีย
 
Lerdlive
LerdliveLerdlive
Lerdlive
 
Lerd
LerdLerd
Lerd
 
อุทยานหลวงราชพฤกษ์
อุทยานหลวงราชพฤกษ์อุทยานหลวงราชพฤกษ์
อุทยานหลวงราชพฤกษ์
 
สงกรานต์
สงกรานต์สงกรานต์
สงกรานต์
 
สุขสันต์วันสงกรานต์
สุขสันต์วันสงกรานต์สุขสันต์วันสงกรานต์
สุขสันต์วันสงกรานต์
 
อ่าวมาหยา
อ่าวมาหยาอ่าวมาหยา
อ่าวมาหยา
 
อ่าวมาหยา
อ่าวมาหยาอ่าวมาหยา
อ่าวมาหยา
 

Heet+sib+song

  • 1. ฮีต๑๒ ผ้าพระเวส วัดทุ่งศรีเมือง เทศบาลนครอุบลราชธานี 147 ถนนศรีณรงค์ ตำบลในเมือง จังหวัดอุบลราชธานี www.cityub.go.th
  • 2. ฮีต๑๒ ฝ่ายอำนวยการจัดทำหนังสือ นายอาทิตย์ คูณผล ปลัดเทศบาลนครอุบลราชธานี ข้อมูล / รวบรวม / รูปเล่ม นายประพนธ์ โชควิวัฒนวนิช รองนายกเทศมนตรี นายสุขสันติ์ แก้วสง่า รก.ผอ.ส่วนควบคุมการก่อสร้างอาคารและผังเมือง นายสุรศักดิ์ โตอิ่ม ลูกจ้างประจำ นายสมชาติ เบญจถาวรอนันต์ webmaster:www.guideubon.com หนังสือประมวลภาพกิจกรรมงานประเพณี เทศบาลนครอุบลราชธานี
  • 3. จารีต คือ ฮีตครองโบราณเป็นประเพณีธรรมเนียมสืบทอดมา จนถึงปัจจุบันนี้ อันเป็นแบบแผนคงไว้ ซึ่งความดีงามประพฤติชอบ ฮีตสิบสอง เป็นประเพณีทำบุญสิบสองเดือน หรือประเพณีประจำสิบ สองเดื อ นนั่ น เอง เป็ น จารี ต ที่ จ ะให้ ผู้ ค นในสั ง คมได้ มี โ อกาสร่ ว ม ชุมนุมกัน ทำบุญเป็นประจำทุก ๆ เดือน ในรอบปีหนึ่งผลที่ ได้รับจาก การกระทำ คือ ทุกคนจะได้มีเวลาเข้าวัด ชำระจิตใจ ใกล้ชิดกับพุทธ ศาสนา ทำให้ ในชุ ม ชนได้ ท ำความรู้ จั ก มั ก คุ้ น กั น เสี ย สละร่ ว มกั น ทำงานเพื่อพัฒนาสังคม สามัคคีกัน และเป็นการใช้เวลาว่างมาทำ ประโยชน์ต่อสังคม เทศบาลนครอุ บ ลราชธานี ขอเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการสื บ สาน วัฒนธรรมประเพณี อันดีงามที่เป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของจังหวัด ได้ แ ก่ งานประเพณีสงกรานต์ งานประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา และ งานประเพณี อ อกพรรษาให้ ค งอยู่ กั บ สั ง คมเรา ซึ่ ง จะทำให้ จั ง หวั ด อุบลราชธานีเป็นจังหวัดที่น่าอยู่ และนักท่องเที่ยวเกิดความประทับใจ นางรจนา กัลป์ตินันท์ ในการมาเยี่ยมมาเยือนตลอดไป นายกเทศมนตรีนครอุบลราชธานี
  • 4. คำว่า “ฮีต” เป็นภาษาไทยอีสาน หมายถึงจารีตประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลา นาน ซึ่งฮีตนี้จะต้องปฏิบัติเหมือนกันตั้งแต่ประชาชนธรรมดาจนถึงเจ้านายใหญ่ โต เมื่อถึงคราววาระ และเดือนที่จะต้องประกอบพิธีกรรมตามฮีตแต่ละแห่ง แต่ละชุมชนจะ ต้องปฏิบัติเหมือนกัน ซึ่งมี ทั้ ง หมด ๑๒ ฮี ต ด้ ว ยกั น คื อ เดื อ นอ้ า ย (เดื อ นเจี ย ง) บุ ญ เข้ า กรรม เดื อ นยี่ บุ ญ คู ณ ลาน ฮีตสิบสอง เดือนสาม ทำบุญข้าวจี่และบุญมาฆบูชา เดือนสี่ ทำบุญพระเวส ฟังเทศน์มหาชาติ เดือนห้า เป็นขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวอีสานที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมแสดงถึงความเป็น ตรุษสงกรานต์หรือบุญสรงน้ำ เดือนหก ทำบุญบั้งไฟและวันวิสาขบูชา เดือนเจ็ด ทำบุญซำฮะ ชาติเก่าแก่และเจริญรุ่งเรืองมานาน เป็นเอกลักษณ์ของชาติและท้องถิ่น และมีส่วนช่วยให้ชาติดำรงความเป็นชาติ หรือบุญบูชาบรรพบุรุษ เดือนแปด ทำบุญเข้าพรรษา เดือนเก้า ทำบุญข้าวประดับดิน เดือนสิบ ของตนอยู่ตลอดไป ทำบุญข้าวสาก เดือนสิบเอ็ด ทำบุญออกพรรษา เดือนสิบสอง ทำบุญกฐิน ฮีตเปรียบเหมือนธรรมนูญชีวิตของชาวอีสานที่นำ มาซึ่งความสุข สงบ ร่มเย็น แต่ปัจจุบันสังคม ฮี ต สิ บ สอง มาจากคำสองคำได้แก่ ฮีต คือคำว่า จารีต ซึ่งหมายถึง อีสานหลายแห่งวิ่งตามโลกวัตถุ หันหลังให้ฮีตเก่าคลองเดิม เห็นความดีงามของวัฒนธรรมต่างชาติ ความประพฤติ ธรรมเนียม ประเพณี ความประพฤติที่ดี และ สิบสอง หมายถึง และรับมาอย่างง่ายดายโดยไม่พิจารณาจึ ง ทำให้ สั ง คมมี ค วามวุ่ น วาย ครอบครั ว มี ปั ญ หาแตกแยก สิบสองเดือน ดังนั้นฮีตสิบสองจึงหมายถึงประเพณีที่ประชาชนในภาคอีสาน ลูกไม่เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ พระ คนแก่ ครู ข้าราชการ ไม่เป็นแบบอย่างที่ดี ในสังคม ส่วนหนึ่ง ปฏิ บั ติ กั น มาในโอกาส ต่ า ง ๆ ทั้ ง สิ บ สองเดื อ นของแต่ ล ะปี เป็ น การผสม เกิดจากคนห่างเหินฮีตเก่าคลองเดิม ไม่สนใจนำพาคำสอนของบรรพบุรุษมาถือปฏิบัติ ผสานพิธีกรรมที่เกี่ยวกับเรื่องผีและพิธีกรรมทางการเกษตร เข้ากับพิธีกรรม หนังสือฮีตสิบสอง ของเทศบาลนครอุบลราชธานี เล่มนี้นับว่าเป็นส่วนหนึ่งที่จะทำให้คนในสังคม ทางพุทธศาสนา นักปราชญ์ โบราณได้วางฮีตสิบสองไว้ ดังนี้ ได้หันมาให้ความสนใจ ในจารีตประเพณีอันดีงามของเราชาวอีสาน ที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา ซึ่งจะ ทำให้สังคมเราได้กลับมาน่าอยู่ ต่อไป
  • 5. ๑ เดือนอ้าย หรือเดือนเจียง “งานบุญเข้ากรรม” นิมนต์พระสงฆ์เข้าประวาสกรรมตามประเพณีนั้น “เถิ ง เมื่ อ เดื อ นเจี ย งเข้ า กลายมาแถม ถ่าย ฝูงหมู่สังฆเจ้าเตรียมเข้าอยู่กรรม” บุ ญ เดื อ นอ้ า ย (เดื อ นเจี ย ง) หรื อ บุ ญ เข้ า กรรม อยู่ ใน ช่วงเดือนธันวาคม เป็นระยะอากาศหนาว โดยมากนิยมทำวัน ๒ เดือนยี่ “งานบุญคูนลาน” ทำบุญที่วัด พระสงฆ์เทศน์เรื่องแม่ โพสพ ทำพิธีปลงข้าวในลอมและฟาดข้าวใน ลาน ขนข้าวเปลือกขึ้นเล้า (ยุ้งฉาง) นับเป็นความเชื่อในการบำรุงขวัญและสิริมงคล ทางเกษตรกรรม มีทั้งทำบุญที่วัดและบางครั้งทำบุญที่ลานนวดข้าว เมื่อขนข้าวใส่ยุ้ง มีการทำบุญทางศาสนา เพื่ออนิสงฆ์ทดแทนบุญคุณต่อ ขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนอ้ายเป็นหลัก ทั้งนี้เชื่อกันว่า เป็นเดือนที่พระ แล้วมักไปทำบุญที่วัด บรรพบุรุษ ชาวบ้านเลี้ยงผีแถน ผีบรรพบุรุษ มีการตระ สงฆ์อยู่ปริวาสกรรม (เข้ากรรม) ชาวบ้านจะจัดสถานที่ แล้ว เตรียมเก็บสะสมข้าวปลาอาหารไว้กินในยามแล้ง นิมนต์พระสงฆ์เข้ากรรม การเข้ากรรมของพระนั้นคือ การให้ พระสงฆ์ผู้กระทำผิดสารภาพต่อหน้าพระสงฆ์ เพื่อชำระจิตใจที่ มัวหมองปลดเปลื้องอาบัติ สังฆาทิเสส ซึ่งเป็นอาบัติหนักเป็นที่ “พอเมื่อเดือนยี่ได้ล้ำล่วงมาเถิง ให้พากันหาฟืนสู่คนโฮมไว้” ๒ รองจากปาราชิก เป็นการฝึกจิตสำนึกถึงการบกพร่องของ บุญเดือนยี่ หรือบุญคูณลาน อยู่ ในช่วงเดือนมกราคม เป็นการทำบุญหลังจากชาวบ้านได้ทำการเก็บเกี่ยวข้าว ขนข้าวขึ้นสู่ลาน ตน และมุ่ ง ปฏิ บั ติ ต นให้ ถู ก ต้ อ งตามพระธรรมวิ นั ย ต่ อ ไป นวดข้าวและทำข้าวเปลือกให้เป็นกองสูงเหมือนจอมปลวก เรียกว่า “กุ้มเข้า” เหมือนก่อเจดีย์ทรายนั่นเอง แล้วทำพิธีบวงสรวงเจ้าแม่ เป็นการเข้าอยู่ประพฤติวัตรโดยเคร่งครัดชั่วระยะหนึ่ง ในป่า โพสพ นิมนต์พระมาสวดมนต์ทำบุญลาน บางคนก็เทศน์เรื่องนางโภสพฉลอง บางคนก็มีพิธีสู่ขวัญข้าวก่อนจึงจะขนข้าวขึ้นสู่ยุ้งฉาง ดัง หรือป่าช้า ทางด้านฆราวาสจะมีการทำบุญเลี้ยงผีมด ผีหมอ นั้นจึงต้องทำบุญเพื่อสู่ขวัญข้าว ผีฟ้า ผีแถน และพระภิกษุสงฆ์ เพราะถือกันว่าจะได้บุญมาก การทำบุญคูณลานนี้ มีความประสงค์เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ข้าวเปลือกที่เก็บเกี่ยวเสร็จ และจะนำไปใช้สอยต่อไป ในงานบุญนี้ นอกจากนี้ ในเดื อ นนี้ เ ป็ น ช่ ว งเวลาที่ ข้ า วในนาสุ ก จึ ง ต้ อ ง จะมีการตักข้าวในยุ้งออกมาเป็นปฐมฤกษ์ เพื่อนำมาเลี้ยงพระ เสร็จแล้วก็ทำพิธีเลี้ยงเจ้าที่หรือตาแฮก นอกจากนี้ ชาวบ้านยังถือเอาช่วง ลงแขกเกี่ ย วข้ า ว การทำปลาร้ า ปลาแดก เพื่ อ เป็ น เสบี ย ง ของการเตรียมสะสมฟืนไว้หุงต้มที่บ้านต่อไปอีกด้วย ทั้งนี้ หากชาวบ้านที่ร่วมทำบุญเป็นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดยปลูกปะรำพิธีต่างหาก จะ ตลอดปีอีกด้วย เรียกว่า “บุญคุ้ม” แต่ถ้าชาวบ้านร่วมกันทำเป็นจำนวนมาก โดยนำข้าวไปกองรวมกันที่ศาลากลางบ้าน หรือศาลาโรงธรรม จะเรียกว่า “บุญกุ้มข้าวใหญ่” ซึ่งเชื่อกันว่าจะได้บุญมากที่สุดอีกด้วย
  • 6. เดือนสาม “บุญข้าวจี่” มีพิธีเลี้ยงลาตาแฮก ขนข้าวขึ้นยุ้งแล้ว ตามประเพณีหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวใส่ยุ้งแล้ว มีการทำบุญ เซ่นสรวงบูชาเจ้าที่นา ซึ่งชาวอีสานเรียกว่าตาแฮก และทำบุญแผ่ส่วนกุศลให้ผีปู่ย่าตายาย อันเป็นการ แสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ โดยการทำข้าวจี่ (ข้าวเหนียวปั้นเป็นก้อนสอดไส้น้ำตาล หรือน้ำอ้อย ๔ เดือนสี่ “บุญพระเวส” มีงานบุญพระเวส (ฟังเทศน์มหาชาติ) แห่พระอุปคุตตั้งศาลเพียงตา ทำบุญแจกข้าวอุทิศให้ ผู้ตาย (บุญเปตพลี) ประเพณีเทศน์มหาชาติเหมือนกับประเพณีภาคอื่น ๆ ด้วย เป็นงานบุญทาง พุทธศาสนาที่ถือปฏิบัติทำบุญถวายภัตตาหาร แล้วตอนบ่ายฟังเทศน์ เรื่องเวสสันดรชาดก ชุบไข่ปิ้งจนเหลือง) นำไปถวายพระพร้อมอาหารคาวหวานอื่นๆ “เดือนสามค้อยเจ้าหัวคอยปั้นเข้าจี่ เดือนสี่ค้อยจัวน้อยเทศน์มะที (มัทรี)” บุญเดือนสี่ อยู่ ในช่วงเดือนมีนาคม ทุกวัดพอถึงเดือนสี่ ก็จะมีการเทศน์มหาชาติ ชาวอีสานนิยมเรียกว่า “บุญผเวส” (พระ “เถิงเมื่อเดือนสามได้จงพากันทำเข้าจี่ ไปถวายสงฆ์เจ้าเอาแท้หมู่บุญ” เวสสันดร) แต่การกำหนดเวลาก็ ไม่ถือเด็ดขาด อาจจะเป็นปลายเดือนสาม หรือต้นเดือนห้าก็ ได้ เป็นงานบุญมหาชาติ เนื่องจากความ บุญเดือนสาม หรือบุญข้าวจี่ อยู่ ในช่วงดือนกุมภาพันธ์ วันเพ็ญเดือน ๓ เป็นวันมาฆบูชา รุ่งขึ้นวันแรม ๑ ค่ำ ก็ถวายข้าวจี่ เชื่อที่ว่า ผู้ ใดฟังเทศน์มหาชาติ หรือเรื่องพระเวสสันดรครบ ๑๓ กัณฑ์ ในวันเดียว จะได้ ไปเกิดในยุคพระศรีอาริยเมตดตร อันเป็นยุคที่ เรียกว่า วันทำบุญเนื่องในวันมาฆบูชานั่นเอง ข้าวจี่ คือเอาข้าวเหนียวปั้นเป็นก้อน เอาไม้เสียบย่างไฟเหมือนไก่ย่าง เมื่อข้าวสุกเกรียม มีความอุดมสมบูรณ์นั่นเอง ในงานบุญนี้มักจะมีผู้นำของมาถวายพระซึ่งเรียกว่า “กัณฑ์หลอน” หรือถ้าจะเจาะจงถวายพระที่ตนนิมนต์ แล้วก็เอาไข่ซึ่งตี ไว้แล้วทาแล้วย่างซ้ำอีก กลายเป็นไข่เคลือบข้าวเหนียว เสร็จแล้วถอดไม้ออกแล้วเอาน้ำอ้อยหรือน้ำตาลที่เป็นก้อน จะเรียกว่า “กัณฑ์จอบ” (จอบ ภาษาอีสานแปลว่าซุ่มดู) เพราะต้องซุ่มดูพระที่ตนจะถวายให้แน่ ใจเสียก่อน ยัดใส่แทนกลายเป็นข้าวเหนียวยัดไส้ แล้วถวายพระเณรฉันตอนเช้า ส่วนมากชาวบ้านจะรีบทำแต่เช้ามืด พอสว่างก็ลงศาลาการเปรียญ การเทศน์มหาชาติของอีสาน ผิดจากภาคกลางหลายอย่าง เช่น การนิมนต์เขาจะนิมนต์พระวัดต่าง ๆ ๑๐-๒๐ วัด มาเทศน์ (ชาวบ้านเรียกหัวแจก) นิมนต์พระเณรสวดแล้วฉัน เป็นทั้งงานบุญและงานรื่นเริงประจำแต่ละหมู่บ้าน เพราะได้ทำข้าว โดยแบ่งคัมภีร์ออกได้ถึง ๓๐-๔๐ กัณฑ์ เทศน์ตั้งแต่เช้ามืดและให้จบในวันเดียว พระในวัดถ้ามีมาก ก็จะเทศน์รูปละกัณฑ์สองกัณฑ์ ถ้า พระน้อยอาจจะเทศน์ถึง ๕ กัณฑ์ การแบ่งซอยให้เทศน์หลายๆ กัณฑ์ก็เพื่อให้ครบกับจำนวนหลังคาบ้าน ถ้าหมู่บ้านนี้มี ๘๐ หลังคา จี่ ไปถวายพระหลังจากพระฉันแล้วก็เลี้ยงกันเองสนุกสนาน มีคำพังเพยอีสานว่า เรือน ก็อาจจะแบ่งเป็น ๘๐ กัณฑ์ โดยรวมเอาเทศน์คาถาฟันมาลัยหมื่น มาลัยแสน ฉลองมหาชาติด้วยเพื่อให้ครบจำนวนโยมผู้เป็น “เดือนสามค้อยเจ้าหัวคอยปั้นเข้าจี่ เข้าจี่บ่ ใส่น้ำอ้อยจัวน้อยเช็ดน้ำตา” เจ้าของกัณฑ์ แต่บางบ้านอาจจะขอรวมกับบ้านอื่นเป็นกัณฑ์เดียวกันก็ ได้ และเวลาพระเทศน์ก็จะมีกัณฑ์หลอนมาถวายพิเศษอีกด้วย คือ เดือนนี้ชาวนาส่วนใหญ่ถือกันตั้งแต่ โบราณมาว่าเป็นเดือนสู่ขวัญข้าว คือมี หมู่บ้านใกล้เคียงจะรวบรวมกัณฑ์หลอนคล้ายผ้าป่าสมัยนี้ แห่เป็นขบวนกันมา แห่รอบศาลาการเปรียญ แล้วก็นำไปถวายพระรูปที่กำลัง การถวายข้าวเปลือกพระและนิยมทำบุญบ้าน สวดมนต์เสร็จพิธีสงฆ์ แล้วก็สู่ขวัญ เทศน์อยู่ เรียกว่ากัณฑ์หลอนเพราะมาไม่บอก มาโดนใครก็ถวายรูปนั้นไปเลย เรื่องกัณฑ์หลอนนับเป็นประเพณีผูกไมตรีระหว่างหมู่บ้าน ข้ า วตามธรรมเนี ย มพราหมณ์ บางบ้ า นก็ ท ำเล็ ก น้ อ ยพอเป็ น พิ ธี คื อ เอาข้ า วไป ได้ยิ่งดี เพราะเรามีเทศน์เขาก็เอากัณฑ์หลอนมาร่วม เขามีเราก็เอาไปร่วมเป็นการสนองมิตรจิตมิตรใจซึ่งกันและกันได้ทั้งบุญได้ ทั้ง มิตรภาพ ได้ทั้งความสนุกเฮฮา รำเซิ้ง แม้แต่ ในหมู่บ้านนั้นเองก็มีกลุ่มหนุ่มสาว กลุ่มบ้านเหนือ กลุ่มคนแก่ กลุ่มขี้เหล้า หรือกลุ่มอะไร ถวายสงฆ์แล้วทำพิธีตุ้มปากเล้าเล็กน้อยเป็นการบูชาคุณของข้าวในเล้าหรือยุ้ง ก็ ได้ ร่วมกันทำกัณฑ์หลอนขึ้น แห่ออกไปวัดเป็นการสนุกสนาน ใครใคร่ทำทำ มีเงินทองข้าวของจะบริจาคได้ตลอดวัน นอกจากนี้ ยังมีการลงขันผลผลิตไว้ที่วัด ซึ่งเรียกว่า พิธีบุญประทายข้าวเปลือก จึงเห็นบุญมหาชาติของอีสาน เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ประจำปี และถือกันว่าต้องทำทุกปีด้วย นั่นเอง
  • 7. “บุญบั้งไฟ” ๕ เดือนหก บางแห่ ง เรี ย ก “บุ ญ วิ ส าขบู ช า” มี ง านบุ ญ บั้ ง ไฟ (บุ ญ ขอฝน) บุ ญ วิสาขบูชา วันเพ็ญเดือนหก เกือบตลอดเดือนหกนี้ ชาวอีสานจัดงานบุญ บั้งไฟ ถือเป็นการทำ บุญบูชาแถน (เทวดา) เพื่อขอให้ฝนตกต้องตาม ฤดูกาล และความอุดมสมบูรณ์ของข้าวปลาอาหารในปีต่อไปครั้นวันเพ็ญ เดือนห้า “บุญสรงน้ำ” หก เป็นงานบุญวิสาขบูชาประเพณีสำคัญทางพุทธศาสนา มีการทำบุญฟัง หรือเทศกาลสงกรานต์ เทศน์และเวียนเทียนเพื่อผลแห่งอานิสงส์ ในภพหน้า ชาวอีสานเรียกกันว่า “สังขานต์” ตามประเพณีจัดงานสงกรานต์นั้น บางแห่งจัดกัน ๓ วัน บางแห่ง ๗ วัน แล้วแต่กำหนดมีการ บุญเดือนหก หรือบุญบั้งไฟ อยู่ ในช่วงเดือนพฤษภาคม ซึ่งถือว่าเป็น ทำบุญถวายภัตตาหารคาวหวาน หรือถวายจังหันเช้า-เพลตลอดเทศกาล ตอนบ่ายมีสรงน้ำพระ รดน้ำผู้ ใหญ่ผู้เฒ่าก่อเจดีย์ทราย ช่วงเริ่มต้นของฤดูฝน ดังนั้น ชาวบ้านจึงมีการจุดบั้งไฟเพื่อบูชาพระยา บุญเดือนห้า ทำบุญตรุษสงกรานต์ หรือบุญสรงน้ำ อยู่ ในช่วงเดือนเมษายน ถือเป็นงานเริ่มต้นปี ใหม่ โดยการสรงน้ำพระพุทธรูป แถน และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล งานบุญบั้งไฟ นับว่าพระสงฆ์มี และพระสงฆ์ ตลอดจนผู้ ใหญ่ เช่น เจ้าเมือง พ่อแม่ และปู่ย่าตายาย นอกจากนี้ ยังมีการสรงน้ำเครื่องค้ำของคุณ เช่น เขา นอ งา ส่วนร่วมเป็นอย่างมาก เนื่องจากพระสงฆ์สามเณรได้ร่วมทำบั้งไฟแข่งกับ เขี้ยวหมูตัน ซึ่งถือว่าเป็นสิริมงคล รวมถึงการก่อพระทราย (กองปะทาย) และทำบุญอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้เสียชีวิตอีกด้วย อนึ่ง การ ชาวบ้านอีกด้วย นอกจากนี้ชาวบ้านยังมีการจัดอาหารเหล้ายามาเลี้ยง ทำบุญสรงน้ำ กำหนดในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๕ ซึ่งบางครั้งเรียกว่า งานบุญเดือน ๕ กัน ตลอดจนมีการเซิ้งและการเส็งกลอง (แข่งตีกลอง) ในงานอีกด้วย นอกจากนี้ ในเดือนหก ยังมีงานวิสาขบูชา งานบวชนาคเพื่อสืบต่อ พุทธศาสนา ด้วย
  • 8. เดือนเจ็ด “บุญชำฮะ” มีพิธีเลี้ยงตาแฮก ปู่ตา หลักเมือง งานบุญเบิกบ้านเบิกเมือง งานเข้านาค เพื่อบวชนาค คติความเชื่อหลังจากหว่านข้าวกล้าดำนาเสร็จ มีการทำพิธีเซ่น สรวงเจ้าที่นา เพื่อความเป็นสิริมงคลให้ข้าวกล้าในนางงอกงาม บ้านที่กุลบุตร มีงานอุปสบททดแทนบุญคุณบิดามารดาและเตรียมเข้ากรรมในพรรษา ๘ เดือนแปด “งานบุญเข้าพรรษา” มีพิธีหล่อเทียนพรรษางานบุญเทศกาลเข้าพรรษาแต่ละหมู่บ้านช่วย กันหล่อเทียนพรรษา ประดับให้สวยงาม จัดขบวนแห่เพื่อนำไปถวายเป็น พุ ท ธบู ช า มี ก ารทำบุ ญ ถวายภั ต ตหาร เครื่ อ งไทยทานและผ้ า อาบน้ ำ ฝน “เดือนเจ็ดแล้วจงพากันบูชาราช ฝูงหมู่เทพเล่านั้น เพื่อพระสงฆ์จะได้นำไปใช้ตลอดเทศกาลเข้าพรรษา บูชาแท้ซู่ภาย” บุญเดือนเจ็ด หรือบุญซำฮะ ทำบุญติดปีติดเดือน เรียกว่า ทำบุญด้วย “เดือนแปดได้ล้ำล่วงมาเถิง เบิ ก บ้ า น อยู่ ในช่ ว งเดื อ นมิ ถุ น ายน เป็ น งานบุ ญ บู ช าบรรพบุ รุ ษ ทำพิ ธี เ ลี้ ย ง ฝูงหมู่สังโฆคุณเข้าวัสสาจำจ้อย” มเหศักดิ์หลักเมือง มีการเซ่นบวงสรวงหลักเมือง หลักบ้าน เลี้ยงผีบ้าน ซึ่ง บุญเดือนแปด หรือบุญเข้าพรรษา อยู่ ในช่วงเดือนกรกฎาคม หรือ เรี ย กว่ า ปู่ ต า หรื อ ตาปู่ ซึ่ ง เป็ น ผี ป ระจำหมู่ บ้ า น และเรี ย กผี ป ระจำไร่ น าว่ า วั น แรม ๑ ค่ ำ เดื อ น ๘ งานบุ ญ นี้ นั บ ว่ า เป็ น ประเพณี ท างศาสนาพุ ท ธ “ผีตาแฮก” คือก่อนจะลงทำนาก็เซ่นสรวงบูชาเจ้าที่ผีนาก่อนเป็นการแสดง โดยตรง จึงคล้ายกับภาคอื่น ๆ ในประเทศไทย อาทิ การทำบุญตักบาตร ความนับถือรู้บุญคุณ อีกทั้งชาวบ้านจะพร้อมใจกันปัดกวาดทำความสะอาดคุ้ม ถวายภั ต ตาหาร การหล่ อ เที ย นใหญ่ แ ล้ ว นำไปถวายพระสงฆ์ เ ก็ บ ไว้ ใช้ บ้าน และขนข้าวของเครื่องใช้เพื่อป้องกันเสนียดจัญไร ตลอดพรรษา การถวายผ้าอาบน้ำฝน และการฟังธรรมเทศนา งานบุ ญ แบบนี้ ชาวบ้ า นจะทำสั ง ฆทาน พร้ อ มกั บ สวดคาถาไล่ ผี แ ละปั ด กวาดรังควาน ต่อจากนั้น มีการเตรียมตกกล้า แฮกนา และทำไร่ 10 11
  • 9. เดือนเก้า “บุญข้าวประดับดิน” จัดงานวันแรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๙ นับแต่เช้ามืด ชาวบ้านจัดอาหาร คาวหวาน หมากพลู บุหรี่ ใส่ กระทงเล็ก ๆ นำไปวางไว้ตามลานบ้าน ใต้ต้นไม้ ข้างพระอุโบสถ เพื่อเป็นการให้ทานแก่เปรตหรือ วิญญาณที่ตกทุกข์ ได้ยาก ตอนสายมีการทำบุญที่วัด ฟังเทศน์เป็นอานิสงส์ ๑๐ เดือนสิบ “บุญข้าวสาก” ข้าวสาก หมายถึง การกวนกระยาสารท คล้ายงานบุญสลากภัตในภาคกลาง นำสำรับ คาวหวานพร้อมกับข้าวสาก (กระยาสารท) ไปทำบุญที่วัดถวายผ้าอาบน้ำฝนและเครื่อง ไทยทาน แต่ก่อนที่จะถวายนั้นจะทำสลากติดไว้ พระสงฆ์องค์ ใดจับสลากใดได้ก็รับถวาย “เดื อ นเก้ า แล้ ว เป็ น กลางแห่ ง วั ส สกาล ฝู ง ประชาชาวเมื อ งเล่ า จากเจ้าของสำรับนั้น ตอนบ่ายฟังเทศน์เป็นอานิสงส์ เตรียมกันไว้ พากันนานยังเข้าประดับดินกินก่อน ทายกนานให้เจ้าพระ สงฆ์พร้อมซู่ภาย” “เถิงเดือนสิบแล้วทายกทอดบวยบาน เบิกพลีทำทานต่อมาสองซ้ำเข้าสากน้ำไปให้ บุญเดือนเก้า หรือบุญข้าวประดับดิน อยู่ ในช่วงเดือนสิงหาคม จัดขึ้นในวันแรม ๙ ค่ำเดือน ๙ สังโฆทานทอด พากันหวังยอดแก้วนิพพานพ้นที่สูง” เป็นพิธีรำลึกถึงคุณแผ่นดินที่มนุษย์ ได้อาศัยทำมาหาเลี้ยงชีพ และเป็นการทำบุญอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ บุญเดือนสิบ หรือบุญเข้าสาก หรือสลากภัต อยู่ ในช่วงเดือนกันยายน ทำในวันเพ็ญเดือน ๑๐ เป็นงานบุญที่ ล่วงลับ ถือว่าเป็นการส่งคนตายที่ออกมาเที่ยวในเดือนเก้า กลับไปสู่แดนของตนในเดือนสิบ ถือเป็นการทำบุญให้เปรตโดยแท้ งานบุญข้าวประดับดิน มักทำในวันแรม ๑๔ ค่ำเดือน ๙ โดยหลังจากการทำบุญที่วัดแล้ว ชาว โดยมีระยะห่างจากบุญประดับดิน ๑๕ วัน โดยชาวบ้านจะเขียนชื่อของตนลงในพา (สำรับ) ใส่ข้าวฉลาก (ข้าวห่อ บ้านจะหาอาหาร หมากพลู บุหรี่ ห่อด้วยใบตองไปวางตามยอดหญ้าบ้าง แขวนตามกิ่งไม้บ้าง และใส่ ใหญ่ ) หรื อ ของที่ จ ะนำถวายพระสงฆ์ และเขี ย นชื่ อ ของตนอี ก ใบใส่ ในบาตร เมื่ อ พระสงฆ์ จั บ ชื่ อ ใครในบาตรได้ ไว้ตามศาลเจ้าเทวาลัยบ้าง พร้อมทั้งเชิญวิญญาณผู้ล่วงลับมารับอาหารไป มีวัตถุประสงค์เพื่ออุทิศให้ เจ้าของชื่อจะนำของไปถวาย แก่ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว เนื่องจากเชื่อว่าในเดือนเก้า คนตายจะถูกปลดปล่อยให้มาท่องเที่ยวนั่นเอง ในงานบุญนี้ จะมีการอุทิศส่วนกุศลแก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว และจะมีการนำห่อข้าวน้อยมาแขวนไว้ตามเสา ต่อมานิยมทำบุญตักบาตรและกรวดน้ำอุทิศกุศลตามแบบพุทธ บางท่านว่าบุญประดับดินนี้ เป็นพิธี ต้นไม้ หรือเจดีย์ เรียกว่า “แจกข้าวสาก” พร้อมกับตี โป่งเพื่อส่งสัญญาณให้เทวดา ผี และเปรต ซึ่งเป็นบรรพบุรุษมา ระลึกถึงคุณของแผ่นดินมนุษย์ ได้อาศัยแผ่นดินอยู่และทำกิน พอถึงเดือน ๙ ข้าวปลาพืชผลกำลัง รับเอาไปด้วย เจริญ ชาวบ้านจึงทำพิธีขอบคุณแผ่นดิน 12 13
  • 10. ๑๑ เดือนสิบเอ็ด “บุญออกพรรษา” มีพิธีถวายผ้าห่มหนาวในวันเพ็ญ มีงานบุญตักบาตรเทโว พิธีกวนข้าวทิพย์ พิธีลอยเรือไฟ นับเป็นช่วงที่ จัดงานใหญ่กันเกือบตลอดเดือน นับแต่วันเพ็ญ มีการถวายผ้าห่มกันหนาวแต่พระพุทธพระสงฆ์ วันแรม ๑ ค่ำ งานบุญตักบาตรเทโว ตอนเย็นวันขึ้น ๑๔ ค่ำ มีพิธีกวนข้าวทิพย์ มีงานส่วงเฮือ (แข่งเรือ) ในวัน ๑๒ เดือนสิบสอง “บุญกฐิน” ทำบุญข้าวเม่าพิธีถวายกฐินเมื่อถึงวันเพ็ญจัดทำข้าวเม่า (ข้าวใหม่) นำไปถวายพระ พร้อมสำรับคาวหวานขึ้นตอนบ่ายฟังเทศน์เป็นอานิสงส์ จัดพิธีทอดกฐินตามวัดที่จองกฐินไว้ งานบุญในฮีตสิบสองนั้น ตามหมู่ที่ เพ็ญมีงานแห่ปราสาทผึ้ง พิธีลอย “เฮือไฟ” (ไหลเรือไฟ) เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา มีทั้งงานบุญกุศลและ เคร่งประเพณียังคงจัดกันอย่างครบถ้วนบางแห่งจัดเฉพาะงานบุญใหญ่ ๆ สนุกสนานรื่นเริง ตามแต่คณะกรรมการหมู่บ้านร่วมกันจัด “เถิ ง เดื อ นสิ บ เอ็ ด แล้ ว เป็ น แนวทางป่ อ ง เป็ น ช่ อ งของพระเจ้ า เคยเข้ า บุ ญ เดื อ นสิ บ สอง หรื อ บุ ญ กฐิ น หรื อ บุ ญ ข้ า วเม่ า อยู่ ในช่ ว งเดื อ น แล้ ว ออกมา เถิ ง วั ส สามาแล้ ว ๓ เดื อ นก็ เ ลยออก เฮี ย กว่ า ออกพรรษา พฤศจิกายน ระหว่างแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงวันเพ็ญเดือน ๑๒ เป็น ปวารณากล่าวไว้ เอาได้เล่ามา” ช่วงเวลาที่ข้าวตั้งท้องและเปลี่ยนเป็นเมล็ดข้าวแล้ว จึงมีการเก็บข้าวทำ บุญเดือนสิบเอ็ด หรือบุญออกพรรษา อยู่ ในช่วงเดือนตุลาคม ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๑ เป็นงาน เป็นข้าวเม่าถวายพระ เก็บเอาไว้กินเอง พิธีกรรมในเดือนนี้ชาวบ้านจะมี บุญที่เมื่อพระสงฆ์จำพรรษาครบ ๓ เดือนแล้ว จะมีการแสดงอาบัติ ทำพิธีปวารณา คือการเปิดโอกาสให้มี การทำบุ ญ ทอดกฐิ น เหมื อ นกั บ ทุ ก ภาคทั่ ว ประเทศ มี ก ารจุ ด พลุ ต ะไล การว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ในพิธีนี้ เวลาเช้าชาวบ้านจะไปทำบุญตักบาตรเทโวที่วัด ตกเย็นตามวัดต่าง ๆ ประทั ด ด้ ว ย ส่ ว นวั ด ใดอยู่ ริ ม แม่ น้ ำ ก็ มี ก ารแข่ ง เรื อ กั น เรี ย กว่ า “ส่ ว ง จะจุดประทีปโคมไฟสว่างไสว จุดตั้งหรือแขวนตามต้นไม้ตลอดคืน ชาวบ้านจะนำดอกไม้ธูปเทียนบูชาพระ เฮือ” หรือแข่งขันเรือในแม่น้ำเพื่อบูชาอุสุพญานาค ๑๕ ตระกูล รำลึก และถวายผ้าบังสุกุล ถึงพญาฟ้างุ่มที่นำพระไตรปิฎกขึ้นมาจากเมืองอินทปัตถะ (เขมร) “ใน นอกจากนี้ ยังมีการกวนข้าวทิพย์ กรอกน้ำมัน ปั่นฝ้าย และการ “ตามประทีปโคมไฟ” โดยชาวบ้าน เดือนนี้เฟิ่นว่าให้ลงทอดพายเฮือ ช่วงกันบูชาฝูงนาโคนาคเนาในพื้น” และพระสงฆ์จะทำต้นกล้วยเป็นร้านสูง มีหัวและท้ายคล้ายเรือสำเภา ในเวลากลางคืนของวันงาน ชาว นอกจากนี้ มีการไหลเรือไฟ ลอยกระทง และการทำบุญดอกฝ้ายเพื่อ บ้านจะมาจุดธูปเทียนถวายพระสงฆ์ตามร้านที่ทำไว้ ในงานบุญออกพรรษายังมีการไหลเรือไฟในแม่น้ำ การ ใช้ทอเป็นผ้าห่มกันหนาวถวายพระสงฆ์ บางแห่งทำบุญทอดผาสาทเผิ้ง ส่วงเฮือ (แข่งเรือ) ตลอดจนการเส็งกลอง (แข่งตีกลอง) อีกด้วย (ปราสาทผึ้ง) 14 15
  • 11. จากประเพณี นิ ย มที่ ก ล่ า วถึ ง มาทั้ ง หมด นับเป็นความภาคภูมิ ใจของชาวอีสานเรา ที่มีขนมธรรมเนียม ประเพณี อันดีงามอยู่คู่กับเรามายาวนาน ซึ่งขนบธรรมเนียม ประเพณีของเราชาวอีสาน ได้สืบทอดมาจนปัจจุบัน ก็เพราะใน แต่ ล ะท้ อ งถิ่ น ได้ มี ก ารสื บ ทอดกั น มาโดยตลอด ซึ่ ง ในแต่ ล ะ ประเพณี ก็จะมีแต่ละจังหวัด แต่ละอำเภอ ได้อนุรักษ์มาโดย ตลอด ดั ง เช่ น งานบุ ญ คู น ลาน จะพบเห็ น ได้ ที่ อำเภอลื อ อำนาจ จังหวัดอำนาจเจริญ บุญบั้งไฟ จังหวัดยโสธร บุญออก พรรษา ไหลเรื อ ไฟ จั ง หวั ด นครพนม ประเพณี แ ห่ เ ที ย นเข้ า พรรษา จังหวัดอุบลราชธานี บุญพระเวส จังหวัดร้อยเอ็ด บุญ ข้าวสาก บุญข้าวประดับดิน จังหวัดยโสธร และอีกหลายๆ ประเพณีที่มักจะพบเห็นกันโดยตลอด ในทุกๆท้องถิ่น สำหรับในส่วนของเทศบาลนครอุบลราชธานี ได้มีการ ประเพณี แห่เทียนเข้าพรรษา สืบทอดประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นมาโดยตลอด โดยได้รับ ความร่ ว มแรงร่ ว มใจจากพี่ น้ อ งในชุ ม ชนต่ า ง ๆ ภายในเขต เทศบาลนครอุ บ ลราชธานี ซึ่ ง มี ป ระเพณี ห ลายๆ อย่ า งที่ ไ ด้ สืบทอดมา ดังนี้ 16 17
  • 12. งานประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี งานประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา เป็ น ประเพณี ทางพุ ท ธศาสนา ของชาวอุ บ ลฯ ซึ่ ง มี ค วามเจริ ญ ใน พุ ท ธศาสนา วั ฒ นธรรม และประเพณี ม าเป็ น เวลา ยาวนาน ถื อ เป็ น งานบุ ญ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด ของจั ง หวั ด อุบลราชธานี จากการสอบถามผู้ เ ฒ่ า ผู้ แ ก่ ได้ ค วามว่ า ชาว อุ บ ลราชธานี ได้ ท ำต้ น เที ย นประกวดประชั น ความ วิจิตรบรรจงกัน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๐ จนเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๐ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ได้ จั ด งานสั ป ดาห์ ประเพณีแห่เทียนพรรษา ให้เป็นงานประเพณีที่ยิ่งใหญ่ และมโหฬาร สถานที่ จั ด งานคื อ บริ เ วณทุ่ ง ศรี เ มื อ ง และศาลาจตุรมุข มีการประกวดต้นเทียน ๒ ประเภท คือ ประเภทติดพิมพ์ และประเภทแกะสลัก โดยขบวน แห่จากคุ้มวัดต่างๆ พร้อมนางฟ้าประจำต้นเทียน และ เคลื่อนขบวน ไปตามถนนในตัวเมือง ซึ่งตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็ น ต้ น มา งานประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่องานแต่ละปี ดังนี้ 18 19
  • 13. ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ มีชื่องานว่า “งานแห่เทียนพรรษา เฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชา” เนื่องจากเป็นปีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา ๖ รอบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นที่มาของ “เทียนเฉลิมพระเกียรติฯ” ที่ทุ่งศรีเมือง ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ มีชื่องานว่า “หลอมบุญบูชา ถวายไท้นวมินทร์” มีความหมายว่า การหล่อเทียนพรรษาของชาวอุบลฯ เพื่อบำเพ็ญกุศล ร่วมกัน การหล่อหลอมจิตศรัทธาให้เป็นหนึ่งเดียว เปรียบประดุจการหลอมบุญบูชา เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายแด่องค์พระมหากษัตริย์ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ มีชื่องานว่า “งามล้ำเทียนพรรษา ภูมิปัญญาชาวอุบลฯ” เนื่องจากเทียนพรรษาได้วิวัฒนาการไปจาก “ภูมิปัญญา ดั้งเดิม” จนแทบจะจำเค้าโครงแต่ โบราณไม่ ได้ จึงได้มีการหันกลับมาทบทวนการจัดงานแห่เทียนพรรษา ตามภูมิปัญญาของชาวอุบลฯ ตั้งแต่เดิมมา ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ มีชื่องานว่า “โรจน์เรือง เมืองศิลป์” ด้วยเหตุที่ ททท.ได้เลือกงานแห่เทียนพรรษจังหวัดอุบลราชธานี เป็นงานที่ โดดเด่น ที่สุดของประเทศในเดือนกรกฎาคม ตามโครงการ “เที่ยวทั่วไทย ไปได้ทุกเดือน” จึงจัดให้มีกิจกรรมการท่องเที่ยวตลอดเดือน อาทิ ได้เชิญช่างศิลป์ นานาชาติประมาณ ๑๕ ประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา นิวซีแลนด์ จีน ญี่ปุ่น มาร่วมแข่งขันการแกะสลักขี้ผึ้งตามสไตล์งานศิลปะแต่ละชาติ ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ มีชื่องานว่า “สืบศาสตร์ สานศิลป์” เนื่องจากงานประเพณีแห่เทียนพรรษาเป็นการ “สืบทอดศาสนาและสืบสานงาน ศิลปะ” ดังคำกล่าวที่ว่า “เทียนพรรษา คือ ภูมิศิลปะแห่งศรัทธา” เพื่อความกระชับ จึงใช้ชื่อว่า “สืบศาสน์ สานศิลป์” แต่ โดยเหตุที่มีผู้ ให้ความ เห็นเพิ่มเติมว่าคำว่า “ศาสตร์” มีความหมายกว้างกว่า ชื่องานจึงเป็น “สืบศาสตร์ สานศิลป์” ด้วยเหตุนี้ ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ มีชื่องานว่า “ทวยราษฎร์ ใฝ่ธรรม งามล้ำเทียนพรรษา เทิดไท้ ๗๒ พรรษา มหาราชินี” เนื่องจากเป็นปีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนารถ พระแม่-แม่พระ ของแผ่นดิน ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ มีชื่องานว่า “น้อมรำลึก ๕๐ ปี พระบารมีแผ่คุ้มเกล้าฯ ชาวอุบลฯ” เนื่องจากเมื่อวันที่ ๑๖-๑๗ พฤศจิกายน ๒๔๙๘ ล้นเกล้าทั้งสองพระองค์ ได้เสด็จเยือนอุบลราชธานียังความปลาบปลื้มปิติแก่ชาวอุบลฯ เป็นล้นพ้น เพราะตั้งแต่สร้างบ้านเมืองมาเกือบ ๒๐๐ ปี ยังไม่เคยมีพระมหากษัตริย์พระองค์ ใดเสด็จเยี่ยมหรือทรงใกล้ชิดกับราษฎรอย่างไม่ถือพระองค์เช่นนี้ ชาวอุบลฯ ทุกหมู่เหล่าต่างพร้อม น้อมรำลึกด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณล้นเหล้าล้นกระหม่อม พระบารมีแผ่คุ้มเกล้าฯ ชาวอุบลฯ ปิติล้นพ้น ตลอดระยะเวลา ๕๐ ปี ที่ผ่านมา และตลอดไป 20 21
  • 14. ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ มีชื่องานว่า “๖๐ ปี พระบารมีแผ่ ไพศาล งามตระการเทียนพรรษา เทิดราชัน” เพื่อแสดงความจงรักภักดี ต่อพระบาท ดงอู่ผึ้ง จึงเป็นความรุ่งเรือง หรือ “ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม” และที่ตั้งเมืองของจังหวัดอุบลราชธานี คือ ดงอู่ผึ้ง ซึ่งเป็นทรัพยากรสำคัญในการทำเทียน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี พรรษา รวงผึ้งอุดมสมบูรณ์มาก สำนักพระราชวังได้นำขี้ผึ้งจากจังหวัดอุบลฯ ไปเพื่อทำเทียนพระราชทาน ประกอบกับ อุบลราชธานีมีสกุลช่างทุกสาขา ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ มีชื่องานว่า “ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม เลิศล้ำ เทียนพรรษา ปวงประชาพอเพียง” เนื่องจากเป็นปีมหามงคล เฉลิมพระเกียรติ วิชาช่างศิลปะ จึงสามารถรังสรรค์เทียนพรรษาออกมาได้อย่างวิจิตรบรรจงตามจินตนาการ งามล้ำเทียนพรรษา และเนื่องจากประเพณีแห่เทียนพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดี และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ เกิดจาก ภูมิปัญญาชาวอุบลฯ เป็น “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” สืบสานเป็น “ภูมิปัญญาท้องถิ่น” ก่อให้เกิด “ภูมิพลังเมือง” สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ประชาคม มีต่อพสกนิกรปวงชนชาวไทย และการน้อมนำแนวพระราชดำรัสมาใช้ดำรงชีวิต เป็นปึกแผ่นมั่นคง แก้ ไขปัญหาสำคัญของชาติได้ ในการร่วมเป็น “ภูมิพลังแผ่นดิน” ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ มีชื่องานว่า “เมืองอุบลบุญล้นล้ำ บุญธรรม บุญทาน สืบสานตำนานเทียน” เนื่องจากอุบลราชธานี มีสมญานามว่า “เมือง ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มีชื่องานว่า “ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม งามล้ำเทียนพรรษา ภูมิปัญญา แห่งดอกบัวงาม” ซึ่งดอกบัวเป็นพฤกษชาติที่มีคติธรรมทางพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง อุบลราชธานีจึงมีวัฒนธรรมประเพณีทำบุญทุกๆ เดือน คือการยึดถือ ชาวอุ บ ล” ใช้ ชื่ อ งานต่ อ เนื่ อ งจากงานประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา ปี ๒๕๕๓ และจั ง หวั ด ฮีตสิบสองคองสิบสี่ (ฮีตสิบสอง คือจารีตที่ปฏิบัติแต่ละเดือน ตลอดปี จนเป็นประเพณีสืบต่อมา) ประเพณีแต่ละอย่างในฮีตสิบสองล้วนมีแต่ชื่อ ขึ้นต้นว่า อุ บ ลราชธานี ไ ด้ ก ำหนดชื่ อ งาน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็ น ชื่ อ งานว่ า “ฮุ่ ง เฮื อ งเมื อ งธรรม บุญ หมายถึง ประเพณีที่มุ่งการทำบุญเป็นสำคัญอุบลราชธานีจึงมี บุญล้นล้ำ ทั้งบุญธรรม บุญทาน อีกทั้งงานประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี งามล้ำเทียนพรรษา ภูมิปัญญาชาวอุบล” เช่นเดิม ก็มีมาแต่ โบราณโดยเริ่มจากในสมัยแรกๆ เป็นเทียนเวียนหัว มัดรวมติดลาย วิวัฒนาการมาจนเป็น หลอมเทียน หลอมใจ หลอมบุญสืบสานมาจนถึง ปัจจุบัน ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ มีชื่องานว่า “ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม บุญล้ำเทียนพรรษา ประชาพอเพียง” เนื่องจากอุบลราชธานีเป็น “อู่อารยวัฒนธรรม อุดมอริยทรัพย์ อริยสงฆ์ รุ่งโรจน์ศาสตร์ เรืองรองศิลป์ ถิ่นไทยดี” ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม จึงเป็นความรุ่งเรือง สว่างไสว อุดมสมบูรณ์ ในธรรมที่สำคัญยิ่ง ๓ ประการ คือ พุทธธรรม อารยธรรม และธรรมชาติ ประกอบกับ การทำบุญเข้าพรรษาที่อุบลราชธานี มีชื่อเสียงมานานนับร้อยปี จึงเป็นที่รวมทำบุญ เข้าพรรษาของประชาชนทั่วประเทศรวมถึงนักท่องเที่ยวทั่วโลก ท่านที่มาทำบุญเดือนแปดที่เมืองอุบลฯ จึงเป็นการบำเพ็ญกุศล ได้รับ “บุญล้ำเทียน พรรษา” โดยทั่วหน้ากันพร้อมกันนี้ยังได้เสนอเน้นคำขวัญ ประชาพอเพียง ซึ่งเป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ประชาชนพลเมืองจะมีความพอเพียงได้ก็ด้วยคุณ ธรรมความพอเพียง ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทำชีวิตให้อยู่ดีมีสุข ไม่มีความฟุ้งเฟ้อ ทะเยอทะยาน ยินดี ในสิ่งที่ ได้ พอใจในสิ่งที่มี ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ มีชื่องานว่า “ฮุ่งเฮืองเมืองธรรม งามล้ำเทียนพรรษา ภูมิปัญญาชาวอุบล” เนื่องจากเมืองอุบลราชธานี มี “ธรรม” ๓ ประการ คือพุทธธรรม ชาวอุบลฯ มีความฝักใฝ่ ในธรรม อารยธรรม คืออุดมด้วยอารยทรัพย์ อารยสงฆ์ และธรรมชาติ ตามถิ่นที่ตั้งเมืองอุบล คือ 22 23
  • 15. 24 25
  • 16. 26 27
  • 17. ง า น แ ห่ เ ที ย น เ ข้ า พ ร ร ษ า นับเป็นประเพณีอันเก่าแก่ของชาวจังหวัดอุบลราชธานี และถือเป็นงานประเพณีประจำจังหวัดที่ขึ้นชื่อในหมู่ของ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ทุกปี ในช่วง เทศกาลงานเข้าพรรษา เพื่อเป็นการอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่นให้อยู่คู่ชาวจังหวัด อุบลราชธานีตลอดไป ภายในงานมีกิจกรรมที่น่าสนใจ มากมาย เช่น ขบวนแห่เทียนพรรษา การประกวด สาวงามเทียนพรรษา การแสดงการแกะสลัก ประติมากรรมเทียนนานาชาติ 28 29
  • 18. 30 31
  • 19. 32 33
  • 20. 34 35
  • 21. 36 37
  • 22. ส ง ก ร า น ต์ เป็นประเพณี ไทยที่สืบสานวัฒนธรรม ต่อเนื่องกันมาเป็นเวลานาน โดยเทศบาลนครอุบลราชธานี จัดงานอย่างยิ่งใหญ่ ในช่วงเทศกาลงานสงกรานต์ ณ บริเวณทุ่งศรีเมืองนอกจากนี้ยังเป็นวันผู้สูงอายุ ประเพณี มหาสงกรานต์ เพื่อเป็นการแสดงออกถึงการให้ความเคารพนับถือและ ลูกหลานได้เห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ มีการรดน้ำขอพร จากผู้ ใหญ่เพื่อความเป็นสิริมงคล โดยบรรยากาศในงาน เต็มไปด้วยความอบอุ่นและเป็นกันเองภายในงานมีกิจกรรม มากมาย เช่น การสรงน้ำพระแก้วบุษราคัม สักการะ ศาลหลักเมือง การแสดงพื้นบ้าน และเทศกาลอาหารไทย- อินโดจีนโดยมีถนนดอกไม้และสายน้ำเป็นกิจกรรมที่สร้าง ความสนุกสนานให้กับผู้เข้าร่วมงานอย่างมาก 38 39
  • 23. ถนนดอกไม้...และสายน้ำ กิจกรรมลดอุบัติเหตุและรวมคนเล่นน้ำไว้ ในจุดเดียว เป็นกิจกรรมที่ชื่นชอบของนักท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก ถือ ได้ว่าเป็นกิจกรรมหลักและหัวใจสำคัญของงานประเพณี สงกรานต์ และเทศบาลนครอุบลราชธานี ได้ร่วมมือกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) จัดกิจกรรมปลอดเหล้า – ปลอด แอลกอฮอล์ ภายในบริเวณถนนดอกไม้และสายน้ำ ภาย ใต้คำว่า “สงกรานต์บ้านเฮา บ่เมากะม่วนได้” และ ในการจัดกิจกรรมถนนดอกไม้และสายน้ำ เทศบาลนคร อุบลราชธานี ได้รับความร่วมมือจากการประปา ส่วนภูมิภาคอุบลราชธานี ในการให้ความอนุเคระห์ อุปกรณ์ พร้อมเจ้าหน้าที่ ในการติดตั้ง อุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในบริเวณงาน 40 41
  • 24. 42 43
  • 25. 44 45
  • 26. 46 47
  • 27. 48 49
  • 28. ขบวนอัญเชิญพระแก้วบุษราคัม และขบวนแห่สงกรานต์ ขบวนอัญเชิญพระแก้วบุษราคัม พิธีอัญเชิญพระแก้วบุญราคัม ไปตามถนนสายต่างๆ เพื่อให้ประชาชนได้สรงน้ำขอพรเนื่องในวัน สงกรานต์ และนำไปประดิษฐาน ณ แท่นสรงในบริเวณวัดศรีอุบลรัตนาราม เพื่อให้ประชาชนได้มี โอกาส สรงน้ำขอพรในเทศกาลงานสงกรานต์ ขบวนแห่สงกรานต์ ชุมชน คุ้มวัด ส่วนราชการ ร่วมส่งขบวนแห่สงกรานต์ เข้าร่วมในขบวนประกอบด้วย รถพระประธาน รถนางสงกรานต์ วงดนตรีพื้นเมือง ขบวนรำและการละเล่นพื้นเมือง 50 51
  • 29. เทศกาลอาหารไทย – อินโดจีน เทศกาลอาหารไทย – อินโดจีน ถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมของการจัดงาน ประเพณีสงกรานต์ ที่สร้างความชื่นชอบให้แก่ประชาชนเป็น อย่างสูง เพราะมีความสะดวกในการซื้อหาอาหาร ในงานมีร้าน จำหน่ายอาหาร กว่า ๑๕๐ ร้าน ผู้ประกอบการร้านค้าที่เข้า ร่วมจำหน่ายอาหารได้ผ่านการคัดสรร ในด้านคุณภาพอาหาร ที่ต้องสะอาดถูกหลักโภชนาการอาหาร จึงทำให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจในความปลอดภัย เทศกาลอาหารไทย-อินโดจีน 52 53
  • 30. 54 55
  • 31. ประกวด...เทพีสงกรานต์ เพื่อคัดเลือกสตรี ไทยที่มีความสวยงาม มีความรู้ และความสามารถ มีคุณสมบัติที่เหมาะสมให้ดำรงตำแหน่งเทพีสงกรานต์ เพื่อเป็นทูตวัฒนธรรมในการ เผยแพร่วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม และส่งเสริมการท่องเที่ยวให้กับจังหวัดอุบลราชธานี 56 57
  • 32. ตุ้มโฮมกินข้าวแลง...แญงวัฒนธรรม...รดน้ำขอพรผู้สูงอายุ ตุ้มโฮม “กินข้าวแลง แญงวัฒนธรรม” รดน้ำขอพรผู้สูงอายุร่วมรับประทานอาหาร และสร้าง สัมพันธไมตรีอันดีของประชาชนในเขตเทศบาล แลกเปลี่ยนพูดคุยซึ่งกันและกัน เพื่อเป็นการอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น และในงานยังมีกิจกรรมรดน้ำขอพรผู้สูงอายุ เทศบาลนคร อุบลราชธานี ร่วมกับชุมชนภายในเขตเทศบาล โดยคัดเลือกผู้สูงอายุในชุมชนที่มี อายุ ๗๐ ปี ขึ้นไป และเป็นที่เคารพนับถือของคนทั่วไป เข้าร่วมพิธีรดน้ำขอพรเพื่อให้ลูกหลานได้รดน้ำขอพร เนื่องในวัน สงกรานต์ 58 59
  • 33. มหกรรมกีฬา...มหาสงกรานต์ มหกรรมกีฬามหาสงกรานต์ เทศบาลนครอุบลราชธานี ร่วมกับ สมาคมกีฬาจังหวัดอุบลราชธานี จัดการแข่งขันกีฬานานาชนิด เช่น บาสเกตบอล ฟุตซอล วอลเลย์บอล ฟุตบอล และเปตอง เพื่อให้ เยาวชนและประชาชน ได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และห่างไกล จากสิ่งเสพติด โดยมีการจัดการแข่งขันกีฬาตลอดเดือนเมษายน 60 61
  • 34. 62 63
  • 35. งานประเพณี อั น ดี ง านของท้ อ งถิ่ น ที่ เ ทศบาล นครอุบลราชธานี ร่วมกับชุมชนสืบทอดมาเป็นเวลา ยาวนาน ประเพณี ที่ แ สดงถึ ง ความสวยงามและ ความสามัคคีกันของคนในชุมชนให้ร่วมมือร่วมใจกัน ประเพณี จัดกิจกรรมขึ้นตามวิถีชีวิตความเป็นอยู่ เนื่องจาก ออกพรรษา จังหวัดอุบลราชธานีมีลำน้ำมูลเป็นแม่น้ำสายหลัก ใช้ ในการดำรงชีวิตประจำวันเป็นวิถีชีวิตที่เรียบง่าย และสบาย จึ ง มี กิ จ กรรมการแข่ ง ขั น เรื อ ยาวและ ไหลเรื อ ไฟ ซึ่ ง เทศบาลนครอุ บ ลราชธานี ร่ ว มกั บ พี่ น้องประชาชนในชุมชนต่าง ๆ จัดงานประเพณีออก พรรษา ในวันออกพรรษา โดยมีกิจกรรมที่น่าสนใจ เช่ น การประกวดไหลเรื อ ไฟ การประกวดนาง นพมาศ การแข่ ง ขั น เรื อ ยาวพระราชทานสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า สยามบรมราชกุ ม ารี เทศกาลอาหารไทย-อิ น โดจี น และการแสดง คอนเสิร์ตจากนักร้องชื่อดังมากมาย ณ บริเวณถนน เลียบ แม่น้ำมูลท่าน้ำตลาดใหญ่ 64 65
  • 37. 68 69