SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  45
Télécharger pour lire hors ligne
LOGO
          บทที7 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
              ่
       1033101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา




                                  ผู้สอน กำชัย ทบบัณฑิต
                                                          1
ข้อความ                                Presentation
   ภาพ
 กราฟิ ก
                                        Interaction
   เสียง
Presentation หมำยถึง กำรนำเสนอ ซึ่งเป็ นกำร
สื่อสำรแบบทำงเดียว (One-way Communication)
Interaction หมำยถึง กำรโต้ ตอบ ซึ่งเป็ นกำรสื่อสำร
แบบสองทำง (Two-way Communication)
                                                       CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ยุคที่ 1

  CAI (Computer Assisted Instruction)
      (Computer Aided Instruction)
  CBT (Computer Based Teaching)
       (Computer Based Training)
  CMI (Computer Managed Instruction)
  CBE (Computer Based Education)
  CAL (Computer Assisted Learning)
  CML (Computer Managed Learning)
                                        CAI
ชื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ยุคที่ 1


CEI (Computer Enriched Instruction)
CBI (Computer Based Instruction)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ยุคที่ 2

WBI (Web Based Instruction)
WBT (Web Based Training)
NBI (Net Based Instruction)
IBL (Internet Based Training)
OL (Online Learning)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ยุคปั จจุบน
                                         ั
e-Learning
e-Education
e-Training
d-Learning
c-Learning
m-Learning
z-Learning
ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เป็ นบทเรียนสาเร็จรูปที่นาเสนอเนื้ อหา สือ กิจกรรม
                                         ่
การตรวจปรับ การประเมินผล และกระบวนการเรียน
รูอื่น ๆ ด้วยคอมพิวเตอร์
  ้
โดยแท้จริงแล้ว บทเรียน CAI เป็ นแขนงหนึงของการ
                                          ่
ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพือการศึกษา ซึ่งมีแขนงอื่นๆ
                         ่
อีก ได้แก่ การใช้เพือการคานวณ เก็บข้อมูล การวิจย
                    ่                            ั
ระบบบัญชี งานบัญชี ควบคุมวัสดุครุภณฑ์และอื่นๆ
                                    ั
                                                     CAI
พัฒนาการของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
1950 IBM Research Center ด้านจิ ตวิทยา
1958 University of Florida และ
     University of Standford ด้านฟิ สิกส์
1960 PLATO U of Illinoi ผลิต CAI 150 เรื่อง
1972 Mitre Corp ผลิต TICCIT
1982 IBM ได้ผลิต Microcomputer เข้าสู่ตลาด
     ทาให้ CAI เปลียนจาก Platform จากระดับ
                    ่
     Mainframe เข้าสู่ Personal Computer
                                          CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็ นผูบุกเบิก
                                     ้
ด้าน CAI ในประเทศไทย โดยใช้ VITAL Thai
เป็ น Tool ในการพัฒนา ตั้งแต่ปี 2533
NECTEC ได้พฒนาโปรแกรมสาหรับสร้าง CAI
               ั
ภาษาไทย ได้แก่ ThaiShow, Thai TAS1 และ
Thai TAS2
หลังจากนั้นได้มีการนาเข้า Authoring System
เช่น Authorware, ToolBook, Flash
                                              CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในปั จจุบน
                                     ั
www.thaicyberu.go.th
www.learnsquare.com
ced.kmutnb.ac.th
www.e-learningforkids.org
อื่น ๆ
                                         CAI
ลักษณะการใช้งานบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

ใช้สอนแทนผูสอนทั้งในและนอกห้องเรียน
                  ้
ใช้เพือการศึกษาทางไกลผ่านสือโทรคมนาคม
        ่                    ่
ใช้กบเนื้ อหาซับซ้อน ไม่สามารถศึกษาได้จากของจริง
    ั
ใช้กบเนื้ อหาที่ตองการแสดงให้เห็นลาดับขั้นตอน
      ั             ้
ใช้เพือฝึ กอบรมพนักงานใหม่
            ่
ใช้เพือคงความเป็ นมาตรฐานของหลักสูตร
              ่
ใช้เพือแบ่งเบาภาระการสอนของผูสอน
                ่                ้
ใช้เพือแสวงหาแนวทางการพัฒนารูปแบบใหม่ๆ
          ่
                                              CAI
ข้อดีของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียนสูงขึ้ น
เวลาการเรียนของผูเ้ รียนลดลง
ความสนใจของผูเ้ รียนสูงขึ้ น
ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนมีปฏิสมพันธ์กบบทเรียนแท้จริง
                          ั      ั
ผูเ้ รียนจะเป็ นผูควบคุมและรับผิดชอบบทเรียน
                   ้
ด้วยตัวเอง
นาเสนอเนื้ อหาได้เร็ว ฉับไว
นาเสนอภาพกราฟิ ก ภาพเคลือนไหวและเสียง
                              ่
ไม่มีขอจากัดด้านเวลาและสถานที่
         ้                                      CAI
ข้อจากัดของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
  เสียค่าใช้จ่ายสูงในการพัฒนาบทเรียนที่มี
  คุณภาพ
  ต้องจัดเตรียมผูเ้ ชี่ยวชาญหลายด้านระดม
  ความคิด เพือออกแบบบทเรียน
                ่
  ใช้ระยะเวลานานในการพัฒนาบทเรียนที่มี
  ประสิทธิภาพ
  ยากต่อการออกแบบและพัฒนาบทเรียน เพือ     ่
  ใช้ให้ได้ผลดี
                                              CAI
บทเรียนโปรแกรม (Programmed Instruction)

              Objective
                             Posttest

              Information

                Media

               Exercise
                                  PI

                                        CAI
่
    องค์ประกอบทีสาคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร์
การเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์
บทเรียนได้ออกแบบไว้ก่อนที่จะมีการเรียนการ
 สอนเกิดขึ้ น
ผูเ้ รียนมีปฏิสมพันธ์กบบทเรียนโดยตรงผ่าน
                ั      ั
 คอมพิวเตอร์
บทเรียนสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
่
      คุณลักษณะทีสาคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร์


                     Information


Immediate Feedback      CAI        Individualzation


                     Interaction
หลักการของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ต้องกาหนดความคาดหวังของบทเรียน โดย
กาหนดเป็ นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของบทเรียน
การนาเสนอเนื้ อหาต้องใช้หลักประสบการณ์การ
เรียนรู ้ จากสิงทีรูแล้วไปยังไม่รู ้
               ่ ่้
เนื้ อหาแต่ละเฟรมย่อย ต้องเพิมขึ้ นทีละน้อยๆ
                                ่
โดยนาเสนอความรูใหม่ทีละขั้นๆ
                     ้
ระหว่างการนาเสนอเนื้ อหา ต้องสอดแทรกกิจกรรม
ประกอบบทเรียน เช่น ตอบคาถาม
                                           CAI
หลักการของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

ระหว่างผูเ้ รียนมีปฏิสมพันธ์กบบทเรียน จะต้องมี
                      ั       ั
การอธิบายเพิมเติม กรณีที่ผูเ้ รียนตอบผิด
                ่
เวลาไม่ใช่ขอจากัดของการเรียนรู ้ บทเรียนจะต้อง
              ้
อานวยความสะดวกให้กบผูเ้ รียนในการเลือกเรียน
                         ั
มีแบบทดสอบท้ายบทเรียน (Post-Test) เพือใช้่
สาหรับให้ผูเ้ รียนประเมินผลการเรียนรูตวเอง
                                     ้ ั

                                                 CAI
ระดับของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน


          Intelligent CAI

         Multmedia CAI

  CAI แบบดั้งเดิม (Embeded CAI)

                                    CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบดังเดิม
                                 ้
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบดั้งเดิม (Embeded
CAI) นาเสนอด้วยข้อความ (Text) เป็ นส่วนใหญ่ ซึ่ง
พัฒนาขึ้ นในระยะแรกๆ แม้จะเป็ นข้อความเกือบทั้ง
หมด แต่ก็คงไว้ซึ่งหลักการของบทเรียน CAI ปั จจุบน
                                               ั
ไม่ได้รบความนิยมแล้ว
       ั
CAI ประเภทนี้ ส่วนใหญ่สร้างโดยนักโปรแกรม โดย
ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
                                               CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมเดีย
                                  ี

    Text

 Still Picture

Motion Picture

  Graphics

    Sound                          CAI

    Others
                                         CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมเดีย
                                     ี
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมีเดีย เป็ น
การผสมผสานสือหลายๆ อย่างเป็ นระบบ ในการนา
                ่
เสนอเนื้ อหาบทเรียน ปั จจุบนบทเรียน CAI จะเป็ น
                           ั
แบบ Multimedia แทบทั้งสิ้ น เนืองจากสามารถสือ
                               ่              ่
สารได้อย่างเป็ นธรรมชาติ ภายใต้มาตรฐานระบบ
Multimedia จะมีสมาคม MPC ที่กาหนดมาตรฐาน
ของระบบ Multimedia ขึ้ น โดยจัดเป็ นระดับต่างๆ
ได้แก่ MPC Level 1 - MPC Level 4
                                                  CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ ICAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบปั ญญาประดิษฐ์
ใช้หลักแนวความคิดของ Artificial Intelligent คือ
    ต้องวิเคราะห์ผูเ้ รียนได้ เนื้ อหา สือและอื่นๆ
                                          ่
    เกิดจากการวินิจฉัยจากผูเ้ รียน
    กิจกรรมการเรียนรูจะขึ้ นอยูกบแต่ละบุคคล
                         ้          ่ ั
    เนื้ อหาจะเปลียนแปลงได้ตามความต้องการ
                  ่
    ของผูเ้ รียน คล้ายกับเรียนกับผูสอนโดยตรง
                                        ้
    มีความเป็ น User Friendly เป็ นกันเอง
                                                     CAI
ส่วนประกอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ (Hardware) และอุปกรณ์
   ประกอบ เช่น Sound Card, Speaker, CD ROM
2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) ได้แก่
        ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
        ได้แก่ ภาษา C, Visual Basic, Visual C++
        ระบบนิพนธ์บทเรียน (Authoring System)
        ได้แก่ Authorware, Multimedia Toolbooks,
        Icon Author, Quest และ Pine เป็ นต้น
                                                   CAI
ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

แบบศึกษาเนื้ อหาใหม่ (Tutorial)     1
แบบฝึ กทบทวน (Drill and Practice)   2
แบบจาลองสถานการณ์ (Simulation)      3
แบบเกมการสอน (Instruction Game)     4
แบบใช้ทดสอบ (Test)                  5
                                        CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Tutorial
เป็ นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่จาลองขั้นตอน
การเรียนการสอนในห้องเรียนมาพัฒนาเป็ นบทเรียน
CAI ขั้นตอนการเรียนรูจึงคล้ายกับการเรียนการ
                         ้
                       ่
สอนในห้องเรียน ซึงอาจประกอบด้วยขั้นตอน MIAP
หรืออื่นๆ โดยมีเปาหมายเพือสอนเสริม หรือสอน
                   ้       ่
แทนผูสอน ปั จจุบน 80% ของบทเรียน CAI ที่ได้
       ้             ั
พัฒนาขึ้ น จะเป็ นบทเรียนประเภทศึกษาเนื้ อหาใหม่
(Tutorial) เนืองจากสร้างได้ง่ายกว่าประเภทอื่น
              ่
                                                   CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Tutorial


 บทนา        นาเสนอเนื้ อหา   คาถาม/คาตอบ




จบบทเรียน   ตรวจปรับ/แก้ไข    ตัดสินคาตอบ

             ส่วนประกอบ                  CAI
ตัวอย่าง บทเรียน CAI แบบ Tutorial
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทัวๆ ไป ที่ใช้
                                ่
สอนเสริม หรือสอนแทนผูสอน ในกรณีต่างๆ
                           ้
เช่น กรณีนกศึกษาเรียนไม่ทน เรียนซ่อม
           ั                 ั
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ใช้ฝึกอบรม
พนักงานในสถานประกอบการ
บทเรียนสาเร็จรูปที่ใช้คอมพิวเตอร์
Tutorial Program ที่ติดตั้งมากับ Software
จากต่างประเทศ
                                            CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Drill and Practice
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึ กทบทวน ออก
แบบขึ้ นมาเพือใช้ฝึกและทบทวนความรูของผูเ้ รียน
              ่                         ้
ที่ได้ศึกษาผ่านมาแล้ว หรือเป็ นเนื้ อหาบทเรียนใหม่
ก็ได้ แต่รูปแบบของบทเรียนจะคล้ายกับแบบทดสอบ
เพือเพิมทักษะต่างๆ ในการปฏิบติ เช่น การบวกเลข
    ่ ่                          ั
การนาเสนอคาศัพท์ภาษาต่างประเทศ บทเรียน CAI
ประเภทนี้ สร้างได้ง่ายกว่าแบบ Tutorial
                                                     CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Drill and Practice


 บทนา         เลือกข้อคาถาม     คาถาม/คาตอบ




จบบทเรียน    ตรวจปรับ/แก้ไข      ตัดสินคาตอบ

              ส่วนประกอบ                   CAI
ตัวอย่าง บทเรียน CAI แบบ Drill & Practice
 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาหรับฝึ กทักษะ
 ภาษาต่างประเทศ
 บทเรียนสาหรับฝึ กทักษะการพิมพ์ดีด เช่น Type
 Writer Program
 บทเรียนสาหรับฝึ กทักษะการใช้เครื่องคานวณ
 บทเรียนสาหรับฝึ กทักษะการต่อวงจรไฟฟ้ าหรือ
 อิเล็กทรอนิกส์
 บทเรียนสาหรับฝึ กทักษะงานช่าง
                                               CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Simulation
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจาลองสถาน
การณ์ (Simulation) เป็ นบทเรียนที่จาลองการ
เลียนแบบหรือสร้างสถานการณ์เลียนแบบ เพือ    ่
ทดแทนสภาพจริง จึ งเหมาะสาหรับเนื้ อหาที่มีข้ น
                                             ั
ตอนยุ่งยาก ซับซ้อน เป็ นบทเรียน CAI ที่สร้าง
ได้ยากและมีจานวนน้อย ผูทีพฒนาบทเรียน CAI
                           ้ ่ ั
ประเภทนี้ ได้ดี จะต้องมีความเชี่ยวชาญด้านการ
โปรแกรม (Programming) เป็ นอย่างดี
                                                 CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Simulation
จาแนกเป็ น 4 ประเภท ได้แก่
1. จาลองทางกายภาพ (Physical SIM) โดย
   จาลองลักษณะ รูปร่าง ขนาด การทางาน
2. จาลองขั้นตอนการทางาน (Procedure SIM)
   จาลองขั้นตอนจาก Input ไปสู่ Output
3. จาลองเหตุการณ์ (Situation SIM) เช่น
   จาลองความคิดเห็น พฤติกรรม Role play
4. จาลองกระบวนการ (Process SIM) เช่น
   ผูเ้ รียนร่วมในเหตุการณ์และสังเกต      CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Simulation


 บทนา         นาเสนอ         การกระทา
             สถานการณ์       ทีตองการ
                               ่ ้



จบบทเรียน   ตรวจปรับระบบ   การกระทาผูเ้ รียน

            ส่วนประกอบ                   CAI
ตัวอย่าง บทเรียน CAI แบบ Simulation
 ระบบจาลองการบิน (Flight Simulator)
 จาลองการทางานของเครื่องจักรกล เช่น
 การทางานของเครื่องจักร 4 จังหวะ, การ
 ไหลของแก๊ส, การทางานของ Turbine
 จาลองการทางานของอุปกรณ์ไฟฟ้ า อิเล็ก-
 ทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ เช่น DC Motor,
 Transformer, Transistor, Z80 Chip, CD
 ROM Drive, Hard Disk, Speaker และอื่นๆ
                                           CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ เกมการสอน
เป็ นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่พฒนามาจาก
                                      ั
แนวความคิดของทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforce
ment) ที่ว่า การเรียนรูที่เกิดจากแรงจูงใจภายใน
                       ้
จะให้ผลดีต่อการเรียนรูและเกิดความคงทนในการ
                         ้
จดจาดีกว่าการเรียนรูที่เกิดจากแรงจูงใจภายนอก
                     ้
เปาหมายของบทเรียน CAI ประเภทนี้ เพือนาเสนอ
  ้                                     ่
บทเรียนทีเน้นความสนุ กสนาน ตื่นเต้น เพือเร่งเร้า
           ่                              ่
ความสนใจให้ผูเ้ รียนติดตาม เหมาะสาหรับเด็กๆ
                                                   CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Inst. Game


 บทนา         นาเสนอ         การกระทา
             สถานการณ์       ทีตองการ
                               ่ ้


                           การกระทาผูเ้ รียน
จบบทเรียน   ตรวจปรับระบบ
                            การตอบสนอง
                             ทีตรงกันข้าม
                               ่
            ส่วนประกอบ                   CAI
ตัวอย่าง บทเรียน CAI แบบ Instr. Game
  เกมผจญภัย เช่น Mario, เกมหนุ มาน
  เกมกระดาน เช่น หมากรุก, ทายตัวเลข
  เกมไพ่ เช่น ไพ่ Poker, Blackjack
  เกมการต่อสู ้ เช่น Doom
  เกมตรรก เช่น เกมยิงเรือ, เกมยิงรถถัง
  เกมฝึ กทักษะ เช่น Type Writer ฝึ กพิมพ์ดีด
  เกมสวมบทบาท เช่น Sim City
  เกมคาถามทางโทรทัศน์ เช่น Hugo
                                               CAI
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Test
การทดสอบด้วยคอมพิวเตอร์ จัดว่าเป็ นบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนอีกลักษณะหนึงทีใช้ประเมิน
                                 ่ ่
ผลการเรียนรูของผูเ้ รียนในลักษณะต่างๆ ทั้งใน
            ้
ระหว่างการเรียนการสอนและท้ายบทเรียน เพือ    ่
ประเมินผลการเรียนรู ้ การใช้คอมพิวเตอร์ในการ
ทดสอบ ทาได้ 2 วิธี คือ การใช้ช่วยสร้างแบบทด
สอบ และการใช้ช่วยดาเนินการสอบ ซึ่งปั จจุบนมี
                                          ั
ประโยชน์อย่างยิงต่อการเรียนการสอน
               ่
                                                CAI
ตัวอย่าง บทเรียน CAI แบบ Test
แบบทดสอบทัวๆ ไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ
             ่
สร้างและดาเนินการสอบ ทั้งแบบเลือกตอบ
(Multiple Choice) แบบถูก-ผิด (True-False)
แบบจับคู่ (Matching) แบบเติมคา (Fill in
Blank) หรือแบบปลายเปิ ด (Open-Ended)
เพือใช้วดและประเมินผล
   ่ ั
     ก่อนบทเรียน (Pre-test)
     หลังบทเรียน (Post-test)
                                            CAI
สรุปสาระสาคัญ
  บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง บท
  เรียนสาเร็จรูปทีนาเสนอเนื้ อหา สือ กิจกรรม
                  ่                ่
  การตรวจปรับ การประเมินผล และ กระบวน
  การเรียนรูอื่น ๆ ด้วยคอมพิวเตอร์
            ้
  บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาจากคาว่า
  Computer Assisted Instruction (CAI) ซึ่ง
  คล้ายกับคาว่า Computer Based Training
  (CBT) คือ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยฝึ กอบรม
                                          CAI
สรุปสาระสาคัญ
 หลักการของบทเรียน CAI จะใช้หลักการเดียว
 กันกับบทเรียนสาเร็จรูป โดยการนาเสนอเนื้ อหา
 โดยยึดหลักการเรียนรู ้ นาเสนอเนื้ อหาทีละน้อย
 ตามประสบการณ์การเรียนรู ้ และมีการประเมิน
 ผลการเรียนรูตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งไว้
              ้                    ั
 บทเรียน CAI จึ งไม่ใช่หนังสือทีนาเสนอผ่านจอ
                                ่
 ภาพของคอมพิวเตอร์ แต่ตองเป็ นการสร้างองค์
                            ้
 ความรูขึ้น โดยใช้ Attribute ของคอมพิวเตอร์
        ้
                                          CAI
สรุปสาระสาคัญ
บทเรียน CAI มี 5 ประเภท คือ แบบ Tutorial
แบบ Drill & Practice แบบ Simulation แบบ
Instructional Game และแบบ Test
บทเรียน CAI ที่มีจานวนมากที่สุดและใช้กน
                                      ั
มากที่สุดในการเรียนการสอนคือแบบ Tutorial
ซึ่งเป็ นการเลียนแบบการเรียนการสอนในห้อง
เรียนปกติ จึ งประกอบด้วยขั้นตอนการเรียนรู ้
เหมือนกับการสอนปกติในห้องเรียน
                                              CAI
สรุปสาระสาคัญ
ข้อดีของบทเรียน CAI คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของผูเ้ รียนสูงขึ้ น เมือเปรียบเทียบกับการ
                             ่
เรียนการสอนแบบปกติ เนืองจากผูเ้ รียนมีความ
                               ่
ตั้งใจสูงขึ้ น และสร้างความรับผิดชอบได้ดีใน
กระบวนการเรียนรูของผูเ้ รียน ข้อเสียคือ สร้าง
                     ้
บทเรียนที่มีคุณภาพได้ยากมาก ดังนั้น บทเรียน
CAI จึ งไม่สามารถใช้สอนแทนผูสอนได้โดยตรง
                                   ้
แต่สามารถใช้สอนเสริม หรือช่วยสอนได้
                                                  CAI
LOGO
          บทที7 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
              ่
       1033101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา




                                   ผูสอน กาชัย ทบบัณฑิต45
                                     ้

Contenu connexe

Tendances

แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตpeter dontoom
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยrussana
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์Khunakon Thanatee
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
สตอเบอรรี่ ครบสูตรคุณประโยชน์เพื่อสุขภาพ
สตอเบอรรี่ ครบสูตรคุณประโยชน์เพื่อสุขภาพสตอเบอรรี่ ครบสูตรคุณประโยชน์เพื่อสุขภาพ
สตอเบอรรี่ ครบสูตรคุณประโยชน์เพื่อสุขภาพnattanit yuyuenyong
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องShe's Mammai
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยpanadda kingkaew
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1Surapong Jakang
 
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพกก กอล์ฟ
 

Tendances (20)

แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
 
วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง 21101
วิชา  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา  ง 21101วิชา  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา  ง 21101
วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง 21101
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
สตอเบอรรี่ ครบสูตรคุณประโยชน์เพื่อสุขภาพ
สตอเบอรรี่ ครบสูตรคุณประโยชน์เพื่อสุขภาพสตอเบอรรี่ ครบสูตรคุณประโยชน์เพื่อสุขภาพ
สตอเบอรรี่ ครบสูตรคุณประโยชน์เพื่อสุขภาพ
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
ข้อสอบ+เฉลยข้อสอบกลางภาค ปี 2563 เทอม 2 วิชาวิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา (San...
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
 
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
 

En vedette

Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChangnoi Etc
 
chapter2 theory of learning
chapter2 theory of learningchapter2 theory of learning
chapter2 theory of learningChangnoi Etc
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksChangnoi Etc
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationChangnoi Etc
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Aon Narinchoti
 
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemคู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemguest2be5a70
 
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอนบทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอนteawweaw1206
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนChanathip Tangz
 
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principleหลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principleDuangnapa Inyayot
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Aon Onuma
 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIWuttipong Tubkrathok
 

En vedette (20)

Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
chapter2 theory of learning
chapter2 theory of learningchapter2 theory of learning
chapter2 theory of learning
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networks
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovation
 
Ch5 e-learning
Ch5 e-learningCh5 e-learning
Ch5 e-learning
 
Ch6 multimedia
Ch6 multimediaCh6 multimedia
Ch6 multimedia
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
Model aon
Model aonModel aon
Model aon
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
 
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemคู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
 
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอนบทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
 
เกมส์Xo
เกมส์Xoเกมส์Xo
เกมส์Xo
 
เกมเติมคำ
เกมเติมคำเกมเติมคำ
เกมเติมคำ
 
Games6
Games6Games6
Games6
 
Games7
Games7Games7
Games7
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
 
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principleหลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
 
Games3
Games3Games3
Games3
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
 

Similaire à Ch7 cai

06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์Chontida Nornoi
 
9749740330264
97497403302649749740330264
9749740330264CUPress
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บLUKNONGLUK
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมการสร้าง Animation เบื้องต้นโดยใช้โปรแกรม Flash CS5 (ครูอ...
คู่มือการใช้นวัตกรรมการสร้าง Animation เบื้องต้นโดยใช้โปรแกรม Flash CS5 (ครูอ...คู่มือการใช้นวัตกรรมการสร้าง Animation เบื้องต้นโดยใช้โปรแกรม Flash CS5 (ครูอ...
คู่มือการใช้นวัตกรรมการสร้าง Animation เบื้องต้นโดยใช้โปรแกรม Flash CS5 (ครูอ...ariya puapaiboon
 
โครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาkimaira99
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน kraivit sriprom
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4aom08
 
Cai คืออะไร
Cai คืออะไรCai คืออะไร
Cai คืออะไรSudkamon Play
 
Project 3 type of computer
Project 3 type of computerProject 3 type of computer
Project 3 type of computerssuserb6b789
 

Similaire à Ch7 cai (20)

Cai
CaiCai
Cai
 
Cai
CaiCai
Cai
 
Cai
CaiCai
Cai
 
Cai
CaiCai
Cai
 
Cai
CaiCai
Cai
 
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์06550134 ปนัสยา  เมฆพักตร์
06550134 ปนัสยา เมฆพักตร์
 
1109291212453896 12111614140548
1109291212453896 121116141405481109291212453896 12111614140548
1109291212453896 12111614140548
 
Original cai
Original caiOriginal cai
Original cai
 
9749740330264
97497403302649749740330264
9749740330264
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมการสร้าง Animation เบื้องต้นโดยใช้โปรแกรม Flash CS5 (ครูอ...
คู่มือการใช้นวัตกรรมการสร้าง Animation เบื้องต้นโดยใช้โปรแกรม Flash CS5 (ครูอ...คู่มือการใช้นวัตกรรมการสร้าง Animation เบื้องต้นโดยใช้โปรแกรม Flash CS5 (ครูอ...
คู่มือการใช้นวัตกรรมการสร้าง Animation เบื้องต้นโดยใช้โปรแกรม Flash CS5 (ครูอ...
 
โครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
Sfg
SfgSfg
Sfg
 
Sfg
SfgSfg
Sfg
 
2
22
2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Week5
Week5Week5
Week5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
Cai คืออะไร
Cai คืออะไรCai คืออะไร
Cai คืออะไร
 
Project 3 type of computer
Project 3 type of computerProject 3 type of computer
Project 3 type of computer
 

Ch7 cai

  • 1. LOGO บทที7 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ่ 1033101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ผู้สอน กำชัย ทบบัณฑิต 1
  • 2. ข้อความ Presentation ภาพ กราฟิ ก Interaction เสียง Presentation หมำยถึง กำรนำเสนอ ซึ่งเป็ นกำร สื่อสำรแบบทำงเดียว (One-way Communication) Interaction หมำยถึง กำรโต้ ตอบ ซึ่งเป็ นกำรสื่อสำร แบบสองทำง (Two-way Communication) CAI
  • 3. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ยุคที่ 1 CAI (Computer Assisted Instruction) (Computer Aided Instruction) CBT (Computer Based Teaching) (Computer Based Training) CMI (Computer Managed Instruction) CBE (Computer Based Education) CAL (Computer Assisted Learning) CML (Computer Managed Learning) CAI
  • 5. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ยุคที่ 2 WBI (Web Based Instruction) WBT (Web Based Training) NBI (Net Based Instruction) IBL (Internet Based Training) OL (Online Learning)
  • 6. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ยุคปั จจุบน ั e-Learning e-Education e-Training d-Learning c-Learning m-Learning z-Learning
  • 7. ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็ นบทเรียนสาเร็จรูปที่นาเสนอเนื้ อหา สือ กิจกรรม ่ การตรวจปรับ การประเมินผล และกระบวนการเรียน รูอื่น ๆ ด้วยคอมพิวเตอร์ ้ โดยแท้จริงแล้ว บทเรียน CAI เป็ นแขนงหนึงของการ ่ ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพือการศึกษา ซึ่งมีแขนงอื่นๆ ่ อีก ได้แก่ การใช้เพือการคานวณ เก็บข้อมูล การวิจย ่ ั ระบบบัญชี งานบัญชี ควบคุมวัสดุครุภณฑ์และอื่นๆ ั CAI
  • 8. พัฒนาการของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1950 IBM Research Center ด้านจิ ตวิทยา 1958 University of Florida และ University of Standford ด้านฟิ สิกส์ 1960 PLATO U of Illinoi ผลิต CAI 150 เรื่อง 1972 Mitre Corp ผลิต TICCIT 1982 IBM ได้ผลิต Microcomputer เข้าสู่ตลาด ทาให้ CAI เปลียนจาก Platform จากระดับ ่ Mainframe เข้าสู่ Personal Computer CAI
  • 9. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็ นผูบุกเบิก ้ ด้าน CAI ในประเทศไทย โดยใช้ VITAL Thai เป็ น Tool ในการพัฒนา ตั้งแต่ปี 2533 NECTEC ได้พฒนาโปรแกรมสาหรับสร้าง CAI ั ภาษาไทย ได้แก่ ThaiShow, Thai TAS1 และ Thai TAS2 หลังจากนั้นได้มีการนาเข้า Authoring System เช่น Authorware, ToolBook, Flash CAI
  • 10. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในปั จจุบน ั www.thaicyberu.go.th www.learnsquare.com ced.kmutnb.ac.th www.e-learningforkids.org อื่น ๆ CAI
  • 11. ลักษณะการใช้งานบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ใช้สอนแทนผูสอนทั้งในและนอกห้องเรียน ้ ใช้เพือการศึกษาทางไกลผ่านสือโทรคมนาคม ่ ่ ใช้กบเนื้ อหาซับซ้อน ไม่สามารถศึกษาได้จากของจริง ั ใช้กบเนื้ อหาที่ตองการแสดงให้เห็นลาดับขั้นตอน ั ้ ใช้เพือฝึ กอบรมพนักงานใหม่ ่ ใช้เพือคงความเป็ นมาตรฐานของหลักสูตร ่ ใช้เพือแบ่งเบาภาระการสอนของผูสอน ่ ้ ใช้เพือแสวงหาแนวทางการพัฒนารูปแบบใหม่ๆ ่ CAI
  • 12. ข้อดีของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียนสูงขึ้ น เวลาการเรียนของผูเ้ รียนลดลง ความสนใจของผูเ้ รียนสูงขึ้ น ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนมีปฏิสมพันธ์กบบทเรียนแท้จริง ั ั ผูเ้ รียนจะเป็ นผูควบคุมและรับผิดชอบบทเรียน ้ ด้วยตัวเอง นาเสนอเนื้ อหาได้เร็ว ฉับไว นาเสนอภาพกราฟิ ก ภาพเคลือนไหวและเสียง ่ ไม่มีขอจากัดด้านเวลาและสถานที่ ้ CAI
  • 13. ข้อจากัดของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เสียค่าใช้จ่ายสูงในการพัฒนาบทเรียนที่มี คุณภาพ ต้องจัดเตรียมผูเ้ ชี่ยวชาญหลายด้านระดม ความคิด เพือออกแบบบทเรียน ่ ใช้ระยะเวลานานในการพัฒนาบทเรียนที่มี ประสิทธิภาพ ยากต่อการออกแบบและพัฒนาบทเรียน เพือ ่ ใช้ให้ได้ผลดี CAI
  • 14. บทเรียนโปรแกรม (Programmed Instruction) Objective Posttest Information Media Exercise PI CAI
  • 15. องค์ประกอบทีสาคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร์ การเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ บทเรียนได้ออกแบบไว้ก่อนที่จะมีการเรียนการ สอนเกิดขึ้ น ผูเ้ รียนมีปฏิสมพันธ์กบบทเรียนโดยตรงผ่าน ั ั คอมพิวเตอร์ บทเรียนสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
  • 16. คุณลักษณะทีสาคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร์ Information Immediate Feedback CAI Individualzation Interaction
  • 17. หลักการของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ต้องกาหนดความคาดหวังของบทเรียน โดย กาหนดเป็ นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของบทเรียน การนาเสนอเนื้ อหาต้องใช้หลักประสบการณ์การ เรียนรู ้ จากสิงทีรูแล้วไปยังไม่รู ้ ่ ่้ เนื้ อหาแต่ละเฟรมย่อย ต้องเพิมขึ้ นทีละน้อยๆ ่ โดยนาเสนอความรูใหม่ทีละขั้นๆ ้ ระหว่างการนาเสนอเนื้ อหา ต้องสอดแทรกกิจกรรม ประกอบบทเรียน เช่น ตอบคาถาม CAI
  • 18. หลักการของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ระหว่างผูเ้ รียนมีปฏิสมพันธ์กบบทเรียน จะต้องมี ั ั การอธิบายเพิมเติม กรณีที่ผูเ้ รียนตอบผิด ่ เวลาไม่ใช่ขอจากัดของการเรียนรู ้ บทเรียนจะต้อง ้ อานวยความสะดวกให้กบผูเ้ รียนในการเลือกเรียน ั มีแบบทดสอบท้ายบทเรียน (Post-Test) เพือใช้่ สาหรับให้ผูเ้ รียนประเมินผลการเรียนรูตวเอง ้ ั CAI
  • 19. ระดับของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Intelligent CAI Multmedia CAI CAI แบบดั้งเดิม (Embeded CAI) CAI
  • 20. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบดังเดิม ้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบดั้งเดิม (Embeded CAI) นาเสนอด้วยข้อความ (Text) เป็ นส่วนใหญ่ ซึ่ง พัฒนาขึ้ นในระยะแรกๆ แม้จะเป็ นข้อความเกือบทั้ง หมด แต่ก็คงไว้ซึ่งหลักการของบทเรียน CAI ปั จจุบน ั ไม่ได้รบความนิยมแล้ว ั CAI ประเภทนี้ ส่วนใหญ่สร้างโดยนักโปรแกรม โดย ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) CAI
  • 22. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมเดีย ี บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมีเดีย เป็ น การผสมผสานสือหลายๆ อย่างเป็ นระบบ ในการนา ่ เสนอเนื้ อหาบทเรียน ปั จจุบนบทเรียน CAI จะเป็ น ั แบบ Multimedia แทบทั้งสิ้ น เนืองจากสามารถสือ ่ ่ สารได้อย่างเป็ นธรรมชาติ ภายใต้มาตรฐานระบบ Multimedia จะมีสมาคม MPC ที่กาหนดมาตรฐาน ของระบบ Multimedia ขึ้ น โดยจัดเป็ นระดับต่างๆ ได้แก่ MPC Level 1 - MPC Level 4 CAI
  • 23. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ ICAI บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบปั ญญาประดิษฐ์ ใช้หลักแนวความคิดของ Artificial Intelligent คือ ต้องวิเคราะห์ผูเ้ รียนได้ เนื้ อหา สือและอื่นๆ ่ เกิดจากการวินิจฉัยจากผูเ้ รียน กิจกรรมการเรียนรูจะขึ้ นอยูกบแต่ละบุคคล ้ ่ ั เนื้ อหาจะเปลียนแปลงได้ตามความต้องการ ่ ของผูเ้ รียน คล้ายกับเรียนกับผูสอนโดยตรง ้ มีความเป็ น User Friendly เป็ นกันเอง CAI
  • 24. ส่วนประกอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ (Hardware) และอุปกรณ์ ประกอบ เช่น Sound Card, Speaker, CD ROM 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) ได้แก่ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) ได้แก่ ภาษา C, Visual Basic, Visual C++ ระบบนิพนธ์บทเรียน (Authoring System) ได้แก่ Authorware, Multimedia Toolbooks, Icon Author, Quest และ Pine เป็ นต้น CAI
  • 25. ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบศึกษาเนื้ อหาใหม่ (Tutorial) 1 แบบฝึ กทบทวน (Drill and Practice) 2 แบบจาลองสถานการณ์ (Simulation) 3 แบบเกมการสอน (Instruction Game) 4 แบบใช้ทดสอบ (Test) 5 CAI
  • 26. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Tutorial เป็ นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่จาลองขั้นตอน การเรียนการสอนในห้องเรียนมาพัฒนาเป็ นบทเรียน CAI ขั้นตอนการเรียนรูจึงคล้ายกับการเรียนการ ้ ่ สอนในห้องเรียน ซึงอาจประกอบด้วยขั้นตอน MIAP หรืออื่นๆ โดยมีเปาหมายเพือสอนเสริม หรือสอน ้ ่ แทนผูสอน ปั จจุบน 80% ของบทเรียน CAI ที่ได้ ้ ั พัฒนาขึ้ น จะเป็ นบทเรียนประเภทศึกษาเนื้ อหาใหม่ (Tutorial) เนืองจากสร้างได้ง่ายกว่าประเภทอื่น ่ CAI
  • 27. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Tutorial บทนา นาเสนอเนื้ อหา คาถาม/คาตอบ จบบทเรียน ตรวจปรับ/แก้ไข ตัดสินคาตอบ ส่วนประกอบ CAI
  • 28. ตัวอย่าง บทเรียน CAI แบบ Tutorial บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทัวๆ ไป ที่ใช้ ่ สอนเสริม หรือสอนแทนผูสอน ในกรณีต่างๆ ้ เช่น กรณีนกศึกษาเรียนไม่ทน เรียนซ่อม ั ั บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ใช้ฝึกอบรม พนักงานในสถานประกอบการ บทเรียนสาเร็จรูปที่ใช้คอมพิวเตอร์ Tutorial Program ที่ติดตั้งมากับ Software จากต่างประเทศ CAI
  • 29. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Drill and Practice บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึ กทบทวน ออก แบบขึ้ นมาเพือใช้ฝึกและทบทวนความรูของผูเ้ รียน ่ ้ ที่ได้ศึกษาผ่านมาแล้ว หรือเป็ นเนื้ อหาบทเรียนใหม่ ก็ได้ แต่รูปแบบของบทเรียนจะคล้ายกับแบบทดสอบ เพือเพิมทักษะต่างๆ ในการปฏิบติ เช่น การบวกเลข ่ ่ ั การนาเสนอคาศัพท์ภาษาต่างประเทศ บทเรียน CAI ประเภทนี้ สร้างได้ง่ายกว่าแบบ Tutorial CAI
  • 30. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Drill and Practice บทนา เลือกข้อคาถาม คาถาม/คาตอบ จบบทเรียน ตรวจปรับ/แก้ไข ตัดสินคาตอบ ส่วนประกอบ CAI
  • 31. ตัวอย่าง บทเรียน CAI แบบ Drill & Practice บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาหรับฝึ กทักษะ ภาษาต่างประเทศ บทเรียนสาหรับฝึ กทักษะการพิมพ์ดีด เช่น Type Writer Program บทเรียนสาหรับฝึ กทักษะการใช้เครื่องคานวณ บทเรียนสาหรับฝึ กทักษะการต่อวงจรไฟฟ้ าหรือ อิเล็กทรอนิกส์ บทเรียนสาหรับฝึ กทักษะงานช่าง CAI
  • 32. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Simulation บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจาลองสถาน การณ์ (Simulation) เป็ นบทเรียนที่จาลองการ เลียนแบบหรือสร้างสถานการณ์เลียนแบบ เพือ ่ ทดแทนสภาพจริง จึ งเหมาะสาหรับเนื้ อหาที่มีข้ น ั ตอนยุ่งยาก ซับซ้อน เป็ นบทเรียน CAI ที่สร้าง ได้ยากและมีจานวนน้อย ผูทีพฒนาบทเรียน CAI ้ ่ ั ประเภทนี้ ได้ดี จะต้องมีความเชี่ยวชาญด้านการ โปรแกรม (Programming) เป็ นอย่างดี CAI
  • 33. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Simulation จาแนกเป็ น 4 ประเภท ได้แก่ 1. จาลองทางกายภาพ (Physical SIM) โดย จาลองลักษณะ รูปร่าง ขนาด การทางาน 2. จาลองขั้นตอนการทางาน (Procedure SIM) จาลองขั้นตอนจาก Input ไปสู่ Output 3. จาลองเหตุการณ์ (Situation SIM) เช่น จาลองความคิดเห็น พฤติกรรม Role play 4. จาลองกระบวนการ (Process SIM) เช่น ผูเ้ รียนร่วมในเหตุการณ์และสังเกต CAI
  • 34. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Simulation บทนา นาเสนอ การกระทา สถานการณ์ ทีตองการ ่ ้ จบบทเรียน ตรวจปรับระบบ การกระทาผูเ้ รียน ส่วนประกอบ CAI
  • 35. ตัวอย่าง บทเรียน CAI แบบ Simulation ระบบจาลองการบิน (Flight Simulator) จาลองการทางานของเครื่องจักรกล เช่น การทางานของเครื่องจักร 4 จังหวะ, การ ไหลของแก๊ส, การทางานของ Turbine จาลองการทางานของอุปกรณ์ไฟฟ้ า อิเล็ก- ทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ เช่น DC Motor, Transformer, Transistor, Z80 Chip, CD ROM Drive, Hard Disk, Speaker และอื่นๆ CAI
  • 36. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ เกมการสอน เป็ นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่พฒนามาจาก ั แนวความคิดของทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforce ment) ที่ว่า การเรียนรูที่เกิดจากแรงจูงใจภายใน ้ จะให้ผลดีต่อการเรียนรูและเกิดความคงทนในการ ้ จดจาดีกว่าการเรียนรูที่เกิดจากแรงจูงใจภายนอก ้ เปาหมายของบทเรียน CAI ประเภทนี้ เพือนาเสนอ ้ ่ บทเรียนทีเน้นความสนุ กสนาน ตื่นเต้น เพือเร่งเร้า ่ ่ ความสนใจให้ผูเ้ รียนติดตาม เหมาะสาหรับเด็กๆ CAI
  • 37. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Inst. Game บทนา นาเสนอ การกระทา สถานการณ์ ทีตองการ ่ ้ การกระทาผูเ้ รียน จบบทเรียน ตรวจปรับระบบ การตอบสนอง ทีตรงกันข้าม ่ ส่วนประกอบ CAI
  • 38. ตัวอย่าง บทเรียน CAI แบบ Instr. Game เกมผจญภัย เช่น Mario, เกมหนุ มาน เกมกระดาน เช่น หมากรุก, ทายตัวเลข เกมไพ่ เช่น ไพ่ Poker, Blackjack เกมการต่อสู ้ เช่น Doom เกมตรรก เช่น เกมยิงเรือ, เกมยิงรถถัง เกมฝึ กทักษะ เช่น Type Writer ฝึ กพิมพ์ดีด เกมสวมบทบาท เช่น Sim City เกมคาถามทางโทรทัศน์ เช่น Hugo CAI
  • 39. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ Test การทดสอบด้วยคอมพิวเตอร์ จัดว่าเป็ นบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนอีกลักษณะหนึงทีใช้ประเมิน ่ ่ ผลการเรียนรูของผูเ้ รียนในลักษณะต่างๆ ทั้งใน ้ ระหว่างการเรียนการสอนและท้ายบทเรียน เพือ ่ ประเมินผลการเรียนรู ้ การใช้คอมพิวเตอร์ในการ ทดสอบ ทาได้ 2 วิธี คือ การใช้ช่วยสร้างแบบทด สอบ และการใช้ช่วยดาเนินการสอบ ซึ่งปั จจุบนมี ั ประโยชน์อย่างยิงต่อการเรียนการสอน ่ CAI
  • 40. ตัวอย่าง บทเรียน CAI แบบ Test แบบทดสอบทัวๆ ไปที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ ่ สร้างและดาเนินการสอบ ทั้งแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) แบบถูก-ผิด (True-False) แบบจับคู่ (Matching) แบบเติมคา (Fill in Blank) หรือแบบปลายเปิ ด (Open-Ended) เพือใช้วดและประเมินผล ่ ั ก่อนบทเรียน (Pre-test) หลังบทเรียน (Post-test) CAI
  • 41. สรุปสาระสาคัญ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง บท เรียนสาเร็จรูปทีนาเสนอเนื้ อหา สือ กิจกรรม ่ ่ การตรวจปรับ การประเมินผล และ กระบวน การเรียนรูอื่น ๆ ด้วยคอมพิวเตอร์ ้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาจากคาว่า Computer Assisted Instruction (CAI) ซึ่ง คล้ายกับคาว่า Computer Based Training (CBT) คือ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยฝึ กอบรม CAI
  • 42. สรุปสาระสาคัญ หลักการของบทเรียน CAI จะใช้หลักการเดียว กันกับบทเรียนสาเร็จรูป โดยการนาเสนอเนื้ อหา โดยยึดหลักการเรียนรู ้ นาเสนอเนื้ อหาทีละน้อย ตามประสบการณ์การเรียนรู ้ และมีการประเมิน ผลการเรียนรูตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งไว้ ้ ั บทเรียน CAI จึ งไม่ใช่หนังสือทีนาเสนอผ่านจอ ่ ภาพของคอมพิวเตอร์ แต่ตองเป็ นการสร้างองค์ ้ ความรูขึ้น โดยใช้ Attribute ของคอมพิวเตอร์ ้ CAI
  • 43. สรุปสาระสาคัญ บทเรียน CAI มี 5 ประเภท คือ แบบ Tutorial แบบ Drill & Practice แบบ Simulation แบบ Instructional Game และแบบ Test บทเรียน CAI ที่มีจานวนมากที่สุดและใช้กน ั มากที่สุดในการเรียนการสอนคือแบบ Tutorial ซึ่งเป็ นการเลียนแบบการเรียนการสอนในห้อง เรียนปกติ จึ งประกอบด้วยขั้นตอนการเรียนรู ้ เหมือนกับการสอนปกติในห้องเรียน CAI
  • 44. สรุปสาระสาคัญ ข้อดีของบทเรียน CAI คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผูเ้ รียนสูงขึ้ น เมือเปรียบเทียบกับการ ่ เรียนการสอนแบบปกติ เนืองจากผูเ้ รียนมีความ ่ ตั้งใจสูงขึ้ น และสร้างความรับผิดชอบได้ดีใน กระบวนการเรียนรูของผูเ้ รียน ข้อเสียคือ สร้าง ้ บทเรียนที่มีคุณภาพได้ยากมาก ดังนั้น บทเรียน CAI จึ งไม่สามารถใช้สอนแทนผูสอนได้โดยตรง ้ แต่สามารถใช้สอนเสริม หรือช่วยสอนได้ CAI
  • 45. LOGO บทที7 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ่ 1033101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ผูสอน กาชัย ทบบัณฑิต45 ้