SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  71
Télécharger pour lire hors ligne
1

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรนานาชาติ)
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อหลักสูตร
1.1 ระบุรหัส
:1.2 ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรนานาชาติ)
(ภาษาอังกฤษ)
: Bachelor of Engineering Program in Civil Engineering (International Program)
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
2.1 ชื่อเต็ม (ภาษาไทย)
: วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา)
(ภาษาอังกฤษ)
: Bachelor of Engineering (Civil Engineering)
2.2 ชื่อย่อ (ภาษาไทย)
: วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
(ภาษาอังกฤษ)
: B.Eng. (Civil Engineering)
3. วิชาเอก
ไม่มี
4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
149 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
5.2 ภาษาที่ใช้
หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาอังกฤษโดยใช้เอกสารและตาราในวิชาของหลักสูตร (รหัส CVE xxx) เป็นภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ โดยระบบคัดเลือกของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีเป็นผู้ดาเนินการคัดเลือกเอง
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
หลักสูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอนเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2554
ได้พิจารณากลั่นกรองโดยสภาวิชาการ ในการประชุมครั้งที่ 3/2554
เมื่อวันที่ 28 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2554
ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชุมครั้งที่ 145
เมื่อวันที่ 8 เดือน เมษายน พ.ศ. 2554
2
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มคุณภาพและมาตรฐาน
ี
หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ/มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขา
วิศวกรรมโยธา ในปีการศึกษา 2555
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
(1) วิศวกรโยธา
(2) ผู้จัดการโครงการก่อสร้าง
(3) นักวิชาการด้านวิศวกรรมโยธา
(4) นักออกแบบอาคารและโครงสร้าง
(5) นักวิชาชีพในสถานประกอบการที่มีการก่อสร้างและสารวจพื้นที่ เป็นต้น
9. ชื่อ สกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ชื่อ-สกุล
คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด
สถาบันที่สาเร็จการศึกษา
(ระบุตาแหน่งทางวิชาการ)
(สาขาวิชา)
(ปีที่สาเร็จการศึกษา)
1. ดร.จุลพจน์ จิรวัชรเดช
Ph.D. (Structural Engineering)
University of Wales Swansca (2545)
2. ผศ.ดร.สมโพธิ อยู่ไว
ปร.ด. (วิศวกรรมเทคนิคธรณี)
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (2546)
3. ดร.นครินทร์ สัทธรรมนุวงศ์
Ph.D. (Survey Engineering)
Purdue University (2545)
4. รศ.ดร.ภาณุวัฒน์ สุรยฉัตร
ิ
Ph.D. (Geotechnical Engineering)
McGill University (2535)
5. อ.ธงชัย โพธิ์ทอง
วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (2542)
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาหลักสูตรจะสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) ที่กล่าวถึงการสร้างฐานการผลิต
ให้เข้มแข็ง สมดุล อย่างสร้างสรรค์ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการผลิต การค้า การลงทุน การพัฒนาคุณภาพคน ทั้งความรู้คู่คุณธรรม
เน้นการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงของพลังงานและอาหาร และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซึ่ง
รวมถึงความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโยธา ก่อให้เกิดทั้งความเปลี่ยนแปลง โอกาสและภัยคุกคามทางด้านเศรษฐกิจ
และสังคม และเตรียมตัวรองรับการเข้ามาทางานของชาวต่างชาติตามกฎของเขตการค้าเสรี จึงจาเป็นต้องเตรียมพร้อมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ดังกล่าว ดังนั้นการบริหารจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นระบบเป็นสิ่งจาเป็น รวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางวิศวกรรมโยธาที่เหมาะสมที่จะ
ผสมผสานกับจุดแข็งในสังคมไทย เป้าหมายยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ แผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ
เป้าหมายยุทธศาสตร์ของกรอบนโยบายของประเทศไทยปีพ.ศ. 2554 ที่ต้องใช้บุคลากรทางด้านวิศวกรรมโยธาที่มีคุณภาพ
11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
การวางแผนหลักสูตรจะคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและการใช้คอมพิวเตอร์ผนวกกับเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโยธาที่
ทันสมัย การก่อสร้างอาคารในประเทศไทยก็มีการขยายตัวอย่างต่อเนือง จากเทคโนโลยีในการก่อสร้างสมัยใหม่ผนวกกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ใน
่
การประมวลผลและการคานวณ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้มีการแข็งขันในการนาเสนอวิธีการที่รวดเร็ว อีกทั้งยังมีราคาและค่าใช้จ่ายที่ถูก แต่มี
ความมั่นคงซึ่งจะนาไปสู่พื้นฐานทางสังคมที่จะหยั่งรากต่อไปในการพัฒนาด้านอื่นๆในชุมชนเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ในพื้นที่แห่งนั้น ทั้งนี้จาเป็นจะต้องใช้นักวิศวกรรมโยธาจานวนมาก ที่มีความเป็นมืออาชีพ มีความเข้าใจในผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรม มี
คุณธรรม จริยธรรม ที่จะช่วยชี้นาและขับเคลื่อนให้การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปในรูปแบบที่สอดคล้องและเหมาะสมกับวิถีชีวิตของสังคมไทย
12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
12.1 การพัฒนาหลักสูตร
จากผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรในเชิงรุกที่มีศักยภาพและสามารถปรับเปลี่ยน
ได้ตามวิวัฒนาการของเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรม และรองรับการแข่งขันทางธุรกิจก่อสร้างทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยการผลิต
3
บุคลากรทางวิศวกรรมโยธาจาเป็นต้องมีความพร้อมที่จะปฏิบัติงานได้ทันที และมีศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะงานทั้งด้าน
วิชาการและวิชาชีพ รวมถึงความเข้าใจในผลกระทบของการก่อสร้างต่อสังคม โดยต้องปฏิบัติตนอย่างมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเป็นไป
ตามนโยบายและวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศในเทคโนโลยีและการวิจัย และการผลิตบัณฑิตที่ดีและเก่ง
12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
ผลกระทบจากสถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัยที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศในเทคโนโลยีและ
การวิจัย และมุ่งธารงปณิธานในการสร้างบัณฑิตที่ดีและเก่ง เนื่องจาก การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างแพร่หลาย จึงเป็นช่องทางในการถ่ายทอดวัฒนธรรม
จากต่างประเทศ ซึ่งอาจส่งผลให้พฤติกรรม และค่านิยมของนักศึกษาเปลี่ยนไป การพัฒนาหลักสูตรจึงต้องเน้นและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี
ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่คานึงถึงคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาชีพ โดยใส่ใจถึงผลกระทบต่อผู้รับข้อมูลข่าวสาร สังคมและวัฒนธรรมไทย โดยยังคง
การใช้เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโยธาที่ทันสมัยและคุ้มค่า และสามารถปรับเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมโยธา
13. ความสัมพันธ์ (ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน (เช่น รายวิชาทีเปิดสอนเพื่อ ให้บริการคณะ/ภาควิชาอื่นหรือ
ต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอื่น)
13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น
หลักสูตรวิศวกรรมโยธาเป็นหลักสูตรที่ต้องอาศัยหลักการพื้นฐานทางวิศวกรรมและหลักการคานวณเชิงตัวเลข จึงต้องมีความสัมพันธ์
กับคณะวิทยาศาสตร์ที่สนับสนุนการสอนวิชาพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สถิติ และวิทยาศาสตร์พื้นฐาน รวมทั้งต้องสัมพันธ์กับภาควิชาวิศวกรรมอื่นๆ
ที่ช่วยสนับสนุนการสอนวิชาพื้นฐานทางด้านการผลิต คอมพิวเตอร์ ไฟฟ้าและสิ่งแวดล้อม โดยอาจแบ่งกลุ่มได้ดังนี้
กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป รับผิดชอบโดยสานักงานวิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร์
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ รับผิดชอบโดยคณะวิทยาศาสตร์
กลุ่มวิชาวิศวกรรมศาสตร์พื้นฐาน
รับผิดชอบโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์
13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน
รายวิชาในหลักสูตรวิศวกรรมโยธา เช่น เขียนแบบวิศวกรรม กลศาสตร์วิศวกรรม 1 กลศาสตร์วัสดุ กลศาสตร์ของไหล ปฐพีกลศาสตร์
ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ วิศวกรรมชลศาสตร์ อุทกวิทยาและการทดลองชลศาสตร์ ก็เป็นพื้นฐานที่จาเป็นของสาขาวิชาวิศวกรรมอื่นๆ ซึ่งต้องเปิด
สอนให้บริการกับภาควิชาวิศวกรรมอื่นๆด้วย
13.3 การบริหารจัดการ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องประสานงานกับอาจารย์ผู้แทนจากในคณะอื่นที่เกี่ยวข้อง ด้านเนื้อหาสาระ การจัดตารางเรียนและสอบ
และความสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์
หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.1 ปรัชญา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ดาเนินการตามแนวนโยบายของรัฐบาลและมหาวิทยาลัย ในการเพิ่มศักยภาพในการดาเนินงานในด้านการพัฒนา
กาลังคนให้มีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อให้เพียงพอต่อการรองรับการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต นอกจากใน
การพัฒนากาลังคนแล้วคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้มีการพัฒนาด้านต่างๆ ที่พึงมีต่อประเทศชาติ จึงได้กาหนดวิสัยทัศน์ ปรัชญา และวัตถุประสงค์ ขึ้น
เพื่อให้เป็นทิศทางในการบริหารจัดการคณะวิศวกรรมศาสตร์
1.2 ความสาคัญ
วิศวกรรมโยธาถือว่าเป็นสาขาหนึ่งในการพัฒนาประเทศในด้านพื้นฐานของการดารงชีวิตของมนุษย์ เพื่อให้สามารถมีที่พักอาศัยและ
ดารงชีวิตได้อย่างสมบูรณ์ ในการพัฒนากาลังคนที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านนี้จึงต้องมีหลักสูตรที่เหมาะสมสามารถพัฒนาบุคคลให้มีความรู้
อย่างถ่องแท้ในด้านวิศวกรรมโยธานาความรู้หลังจากจบการศึกษาไปปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยกับผู้อื่น
1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้พื้นฐานเพียงพอที่จะประกอบวิชาชี พทางด้านวิศวกรรมโยธา เช่น งานออกแบบ งานควบคุมการ
ก่อสร้าง งานตรวจสอบคุณภาพวัสดุ และงานวางโครงการก่อสร้าง เป็นต้นและสอนให้มีความรู้และความพร้ อมที่จะไปศึกษาต่อในระดับสูง เพื่อ
ทางานวิจัยสามารถนาความรู้ไปพัฒนาสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4
1.3.2 เพื่อให้เหมาะสมกับวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมโยธา และสนองความต้องการของอุตสาหกรรมการก่อสร้างใน
ปัจจุบัน และเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนาหลักสูตรคณะวิศวกรรมศาสตร์
1.3.3 เพื่อ ผลิ ตบั ณฑิ ตให้ สามารถทาหน้าที่ป ระสานงานระหว่างผู้ ว่าจ้ างและผู้ ควบคุม งานในการปฏิบั ติง านกับผู้ ออกแบบและ
ตรวจสอบ มีความเข้าใจในกระบวนการทางาน มีความสามารถในการสื่อสารและทางานเป็นทีมได้ เป็นผู้ที่มีความเข้าใจด้านสังคม องค์กร และ
คุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพด้านวิศวกรรมโยธา
2. แผนพัฒนาปรับปรุง
แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง
กลยุทธ์
หลักฐาน/ตัวบ่งชี้
- ปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมโยธาให้มี - พั ฒ นาหลั ก สู ต รโดยมี พื้ น ฐานจากกรอบ - เอกสารปรับปรุงหลักสูตร
มาตรฐานไม่ต่ากว่าที่ สกอ. กาหนด
มาตรฐานคุณวุฒิร ะดับ อุดมศึกษาแห่ งชาติ - รายงานผลการประเมินหลักสูตร
และหลักสูตรในต่างประเทศ
- ปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รให้ ส อดคล้ อ งกั บ - ติ ด ตามประเมิ น หลั ก สู ต รอย่ า งสม่ าเสมอ - รายงานผลการประเมิ นความพึง พอใจในการใช้
ความต้ อ งการของธุ ร กิ จ และการ ติดตามความเปลี่ยนแปลงในความต้องการ บัณฑิตของสถานประกอบการ
เปลี่ย นแปลงของเทคโนโลยี ทางด้ าน ของผู้ประกอบการด้านวิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมโยธาในปัจจุบัน
- พัฒนาบุคลากรด้านการเรียนการสอน - สนับสนุนบุคลากรด้านการเรียนการสอนให้ - ความพึงพอใจในทักษะ ความรู้ ความสามารถใน
และบริการวิชาการ ให้มีประสบการณ์ ทางานบริการวิชาการแก่องค์กรภายนอก
การทางานของบัณฑิต โดยเฉลี่ยในระดับดี
จากการน าความรู้ ท างด้ านวิ ศ วกรรม อาจารย์ ส ายปฏิ บั ติ ก ารต้ อ งมี ใ บรั บ รอง - ปริมาณงานบริการวิชาการต่ออาจารย์ในหลักสูตร
โยธาไปปฏิบัติงานจริง
วิชาชีพในสาขาวิชาที่สอนปฏิบัติ
- ใบรับรองวิชาชีพ
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
การจัดการศึกษาเป็นแบบทวิภาค เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี
(ภาคผนวก จ.)
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
มีการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการประจาหลักสูตร
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี
2. การดาเนินการหลักสูตร
2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
วัน – เวลาราชการปกติ
2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
(1) ต้องสาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลายกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และกลุ่มการเรียนรู้คณิตศาสตร์ช่วงชั้นที่ 4 หรือ
สายวิทยาศาสตร์-สายคณิตศาสตร์ หรือประกาศนียบัตรที่กระทรวงศึกษาธิการเที ยบเท่าสายวิทยาศาสตร์เพื่อให้สอดคล้องกับการ
จัดการเรียนการสอน
(2) ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ/หรือ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับการคัดเลือกของ
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มจธ.
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
(1) นักเรียนทีเ่ ข้าศึกษาโดยระบบคัดเลือกของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
(2) นักเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นผู้ดาเนินการคัดเลือกเอง
(3) การคัดเลือกโดยคณาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมโยธาด้วยวิธีการสอบข้อเขียน และ/หรือการสอบสัมภาษณ์
5
2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า
นักศึกษาที่สมัครเข้าเรียนในหลักสูตรบางส่วนมีพื้นฐานการเรียนรู้ในด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไม่เพียงพอ รวมทั้งทักษะและ
ความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา เนื่องจากตารา เอกสารและข้อสอบจะเป็นภาษาอังกฤษในบางวิชา ส่วนนักศึกษาต่างชาติอาจจะมี
ปัญหาในด้านระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ ที่ไม่คุ้นเคยและการใช้ชีวิตประจาวัน
2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา / ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3
ในกรณีนักศึกษาที่จะเข้ารับการศึกษามีพื้นฐานความรู้ไม่เพียงพอในการศึกษาตามหลักสูตรทางด้านวิศวกรรมโยธา ให้จัดอบรมก่อนเริ่ม
ภาคการศึกษาแรก
2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี
จานวนนักศึกษาแต่ละปีการศึกษา (คน)
จานวนรวม
จานวนนักศึกษา
2554
2555
2556
2557
2558
พ.ศ. 2554-2558
ชั้นปีที่ 1
80
80
80
80
80
400
ชั้นปีที่ 2
80
80
80
80
320
ชั้นปีที่ 3
80
80
80
240
ชั้นปีที่ 4
80
80
160
รวม
80
160
240
320
320
1,120
160
คาดว่าจะจบการศึกษา
80
80
2.6 งบประมาณตามแผน
2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน่วย:บาท)
อัตราค่าเล่าเรียน
1. ค่าบารุงการศึกษา
2. ค่าลงทะเบียน ( 1,500 บาท/หน่วยกิต)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร

ภาคการศึกษา
25,000 บาท
30,000 บาท

ปีการศึกษา
50,000 บาท
60,000 บาท
440,800 บาท/คน

รายละเอียดรายรับ

ปีงบประมาณ (บาท)
2554

2555

2556

2557

2558

ค่าบารุงการศึกษา

8,606,250

9,036,563

9,488,391

9,962,810

10,460,951

ค่าลงทะเบียน

8,343,855

8,761,048

9,199,100

9,659,055

10,142,088

รวมรายรับ

16,950,105

17,797,611

18,687,491

19,621,865

20,603,039

2557

2558

2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หน่วย:บาท)
2554

2555

ปีงบประมาณ (บาท)
2556

1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร

732,812

2. ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน

10,571,178

740,140
11,099,737

747,542
11,654,724

755,017
12,237,460

762,567
12,849,333

3. รายจ่ายระดับมหาวิทยาลัย

6,378,927

6,697,873

7,032,767

7,384,405

7,753,626

17,682,917

18,537,750

19,435,033

20,376,882

21,365,526

17,682,917

18,537,750

19,435,033

20,376,882

21,365,526

หมวดเงิน
ก. งบดาเนินการ

รวม (ก)
รวม (ก)
6
หมวดเงิน
จานวนนักศึกษา *
ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา

ปีงบประมาณ (บาท)
75

150

225

300

375

235,772

123,585

86,378

67,923

56,975

หมายเหตุ *ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา 114,127 บาทต่อปี
ทั้งนี้อัตราค่าเล่าเรียนให้ขึ้นอยู่กับประกาศของมหาวิทยาลัยในแต่ละปีการศึกษา
2.7 ระบบการศึกษา
ระบบการศึกษาเป็นแบบชั้นเรียน เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี
(ภาคผนวก จ.)
2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย (ถ้ามี)
เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี (ภาคผนวก จ.)
3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
3.1 หลักสูตร
3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
149
หน่วยกิต
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร
3.1.2.1 โครงสร้างหลักสูตรหลักสูตรแบบที่ 1 (ไม่เรียนสหกิจศึกษา)
ก .หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
31
หน่วยกิต
ข. หมวดวิชาเฉพาะ
112
หน่วยกิต
ข.1 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
21
หน่วยกิต
ข.2 กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์
18
หน่วยกิต
ข.3 กลุ่มวิชาบังคับในภาควิชา
64
หน่วยกิต
ข.4 กลุ่มวิชาเลือก
9
หน่วยกิต
ค .หมวดวิชาเลือกเสรี
6
หน่วยกิต
3.1.2.2 โครงสร้างหลักสูตรหลักสูตรแบบที่ 2 (สหกิจศึกษา)
ก .หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
31
หน่วยกิต
ข. หมวดวิชาเฉพาะ
112
หน่วยกิต
ข.1 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
21
หน่วยกิต
ข.2 กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์
18
หน่วยกิต
ข.3 กลุ่มวิชาบังคับในภาควิชา
73
หน่วยกิต
ข.4 กลุ่มวิชาเลือก
หน่วยกิต
ค .หมวดวิชาเลือกเสรี
6
หน่วยกิต
หมายเหตุ *
สาหรับนักศึกษาแบบที่ 2 กลุ่มสหกิจศึกษา จะต้องเรียนวิชา CVE 301 สหกิจศึกษา จานวน 12 หน่วยกิตและ CVE 302 การสัมมนา
สาหรับสหกิจศึกษาจานวน 1 หน่วยกิต ในปีการศึกษาที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 ทั้งนี้นักศึกษาไม่ต้องเรียนวิชาในกลุ่มวิชาเลือกจานวน 9 หน่วยกิต
และวิชากลุ่มวิชาบังคับในภาควิชา คือวิชา CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา จานวน 1 หน่วยกิตและ CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา
จานวน 3 หน่วยกิต
3.1.3 รายวิชา
- ความหมายของรหัสวิชา
รหัสวิชาประกอบด้วย 3 หลักแรกเป็นตัวอักษร และตามด้วยตัวเลขสามหลัก มีความหมายดังนี้
รหัสตัวอักษร มีความหมายดังต่อไปนี้
7
GEN หมายถึง วิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
CVE หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมโยธา
CPE
หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
EEE
หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
ENV หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
MEE หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
PRE
หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
CHM หมายถึง วิชาในภาควิชาเคมี
LNG หมายถึง วิชาในกลุ่มวิชาภาษา
MTH หมายถึง วิชาในภาควิชาคณิตศาสตร์
PHY หมายถึง วิชาในภาควิชาฟิสิกส์
STA หมายถึง วิชาในภาควิชาคณิตศาสตร์
ENG หมายถึง วิชาการศึกษาทั่วไปทางด้านวิศวกรรมศาสตร์
รหัสตัวเลข มีความหมายดังต่อไปนี้
เลข 1-4 หมายถึง วิชาระดับปริญญาตรี
เลข 5 หมายถึง วิชาระดับบัณฑิตศึกษา แต่นักศึกษาระดับปริญญาตรีสามารถเลือกเรียนได้
เลข 6 ขึ้นไป หมายถึง วิชาระดับบัณฑิตศึกษา
เลขหลักสิบ หมายถึงวิชาในแต่ละสาขาวิชา
เลข 1 หมายถึง วิชาในสาขาวิชาเทคนิคก่อสร้าง
เลข 2 หมายถึง วิชาในสาขาวิชาวิศวกรรมสารวจ
เลข 3 และ 4 หมายถึง วิชาในสาขาวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
เลข 5 และ 6 หมายถึง วิชาในสาขาวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี
เลข 7 หมายถึง วิชาในสาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง
เลข 8 และ 9หมายถึง วิชาในสาขาวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า
เลขหลักหน่วย หมายถึงลาดับที่ของวิชาต่างๆ
- รายวิชา
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
31 หน่วยกิต
วิชาบังคับ
25 หน่วยกิต
1. กลุ่มวิชาสุขพลานามัย
GEN 101
พลศึกษา
1 (0-2-2)
(Physical Education)
2. กลุ่มวิชาคุณธรรม จริยธรรมในการดาเนินชีวิต
GEN 111
มนุษย์กับหลักจริยศาสตร์เพื่อการดาเนินชีวิต
3 (3-0-6)
(Man and Ethics of Living)
3. กลุ่มวิชาการเรียนรู้ตลอดชีวิต
GEN 121
ทักษะการเรียนรู้และการแก้ปัญหา
3 (3-0-6)
(Learning and Problem Solving Skills)
4. กลุ่มวิชาการคิดอย่างมีระบบ
GEN 231
มหัศจรรย์แห่งความคิด
3 (3-0-6)
(Miracle of Thinking)
8
หมายเหตุ รายวิชา GEN 121 ทักษะการเรียนรู้และการแก้ปัญหาและ GEN 231 มหัศจรรย์แห่งความคิด เป็นการบูรณาการ
เนื้อหาวิชาทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์อยู่ในสองรายวิชานี้
5. กลุ่มวิชาคุณค่าและความงาม
GEN 241
ความงดงามแห่งชีวิต
3 (3-0-6)
(Beauty of Life)
6. กลุ่มวิชาเทคโนโลยี นวัตกรรมและการจัดการ
GEN 351
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา
3 (3-0-6)
(Modern Management and Leadership)
7. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร
LNG 105
ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสาหรับนักศึกษานานาชาติ
3 (3-0-6)
(Academic English for International Students)
LNG 106
การฟังและการพูดเชิงวิชาการ
3 (3-0-6)
(Academic Listening and Speaking)
LNG 107
การอ่านและการเขียนเชิงวิชาการ
3 (3-0-6)
(Academic Reading and Writing)
LNG 108
การเรียนรู้แบบอิงเนื้อหาวิชา
3 (3-0-6)
(Content-based Language Learning)
หมายเหตุ วิชาภาษาอังกฤษนักศึกษาต้องเรียนอย่างน้อย 9 หน่วยกิต ขึ้นอยู่กับระดับคะแนนตามที่สายวิชาภาษากาหนด ซึ่งอาจ
เป็นวิชาภาษาในระดับที่สูงขึ้นถ้านักศึกษามีผลคะแนนเป็นไปตามเกณฑ์
วิชาบังคับเลือก
6 หน่วยกิต
โดยรายวิชาต้องไม่อยู่ในกลุ่มวิชาเดียวกัน
1. กลุ่มวิชาสุขพลานามัย
GEN 301 การพัฒนาสุขภาพแบบองค์รวม
3 (3-0-6)
(Holistic Health Development)
2. กลุ่มวิชาคุณธรรม จริยธรรมในการดาเนินชีวิต
GEN 211 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3 (3-0-6)
(The Philosophy of Sufficiency Economy)
GEN 311 จริยศาสตร์ในสังคมฐานวิทยาศาสตร์
3 (3-0-6)
(Ethics in Science-based Society)
GEN 411 การพัฒนาบุคลิกภาพและการพูดในที่สาธารณะ
3 (2-2-6)
(Personality Development and Public Speaking)
3. กลุ่มวิชาการเรียนรู้ตลอดชีวิต
GEN 321 ประวัติศาสตร์อารยธรรม
3 (3-0-6)
(The History of Civilization)
GEN 421 สังคมศาสตร์บูรณาการ
3 (3-0-6)
(Integrative Social Sciences)
4. กลุ่มวิชาการคิดอย่างมีระบบ
GEN 331 มนุษย์กับการใช้เหตุผล
3 (3-0-6)
(Man and Reasoning)
9
5. กลุ่มวิชาคุณค่าและความงาม
GEN 341 ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย
(Thai Indigenous Knowledge)
GEN 441 วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว
(Culture and Excursion )
6. กลุ่มวิชาเทคโนโลยีนวัตกรรมและการจัดการ
GEN 352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(Technology and Innovation for Sustainable Development)
GEN 353 จิตวิทยาการจัดการ
(Managerial Psychology)
7. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร
LNG 211 การฟังอย่างมีประสิทธิผล
(Effective Listening )
LNG 212 ทักษะการนาเสนองาน
(Oral Presentation Skills)
LNG 213 การเขียนรายงานการปฏิบัติการ
(Laboratory Report Writing)
LNG 293 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและงานอาชีพ
(Thai for Communication and Careers)
ข. หมวดวิชาเฉพาะ
ข.1 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
MTH 101
คณิตศาสตร์ 1
(Mathematics I )
MTH 102
คณิตศาสตร์ 2
(Mathematics II)
MTH 201
คณิตศาสตร์ 3
(Mathematics III)
PHY 103
ฟิสิกส์ทั่วไปสาหรับนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ 1
(General Physics for Engineering Students I)
PHY 104
ฟิสิกส์ทั่วไปสาหรับนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ 2
(General Physics for Engineering Students II)
PHY 191
ปฏิบติการฟิสิกส์ทั่วไป 1
ั
(General Physics Laboratory I)
PHY 192
ปฏิบติการฟิสิกส์ทั่วไป 2
ั
(General Physics Laboratory II)
CHM 103
เคมีพื้นฐาน
(Fundamental Chemistry)
CHM 160
ปฏิบติการเคมี
ั
(Chemistry Laboratory)
ข.2 กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์

3 (3-0-6)
3 (2-2-6)

3 (3-0-6)
3 (3-0-6)

1 (1- 0-2)
1 (1- 0-2)
1 (1- 0-2)
3 (3-0-6)
112 หน่วยกิต
21 หน่วยกิต
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
(0-2-2)
1 (0-2-2)
3 (3-0-6)
1 (0-3-2)
18 หน่วยกิต
10
CVE 100

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับวิศวกรรมโยธา
(Computer Programming for Civil Engineering)
PRE 151
วัสดุวิศวกรรม
(Engineering Materials)
CVE 111
เขียนแบบวิศวกรรม
(Engineering Drawing)
CVE 131
กลศาสตร์วิศวกรรม 1
(Engineering Mechanics I)
CVE 232
กลศาสตร์วิศวกรรม 2
(Engineering Mechanics II)
CVE 281
กลศาสตร์ของไหล
(Fluid Mechanics)
ข.3 กลุ่มวิชาบังคับในภาควิชา
CVE 221
สารวจ
(Surveying)
CVE 223
การปฏิบัตงานสารวจ
ิ
(Surveying Practices)
CVE 224
โครงงานสารวจ
(Surveying Project)
CVE 225
การฝึกภาคสนามวิชาสารวจ
(Surveying Field Camp)
CVE 233
กลศาสตร์วัสดุ
(Mechanics of Materials)
CVE 236
วัสดุในงานวิศวกรรมโยธา
(Civil Engineering Materials)
CVE 237
การวิเคราะห์โครงสร้าง 1
(Structural Analysis I)
CVE 240
คณิตศาสตร์ประยุกต์สาหรับวิศวกรรมโยธา
(Applied Mathematics for Civil Engineers)
CVE 300
ฝึกงานอุตสาหกรรม
(Industrial Training)
*CVE 301 สหกิจศึกษา
(Cooperative Education)
*CVE 302 การสัมมนาสาหรับสหกิจศึกษา
(Cooperative Seminar)
CVE 311
การบริหารงานวิศวกรรม
(Engineering Management)
CVE 335
วัสดุซีเมนต์และคอนกรีต
(Cement and Concrete Materials)
CVE 338
การวิเคราะห์โครงสร้าง 2
(Structural Analysis II)

3 (2-2-6)
3 (3-0-6)
3 (2-3-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
64 หน่วยกิต
3 (3-0-6)
1 (0-3-2)
1 (0-3-2)
1 (0-6-3)
3 (3-0-6)
2 (1-3-4)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
2 (S/U)
12 (0-35-36)
1 (0-3-6)
3 (3-0-6)
3 (2-3-6)
3 (3-0-6)
11
CVE 341

การออกแบบโครงสร้างเหล็กและไม้
3 (2-3-6)
(Steel and Timber Design)
CVE 342
การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก
4 (3-2-8)
(Reinforced Concrete Design)
CVE 361
วิศวกรรมธรณีวิทยา
2 (2-0-4)
(Engineering Geology)
CVE 362
ปฐพีกลศาสตร์
3 (3-0-6)
(Soil Mechanics)
CVE 363
ปฏิบติการปฐพีกลศาสตร์
ั
1 (0-3-2)
(Soil Mechanics Laboratory)
CVE 364
วิศวกรรมฐานราก
3 (3-0-6)
(Foundation Engineering)
CVE 371
วิศวกรรมการทาง
3 (3-0-6)
(Highway Engineering)
CVE 382
วิศวกรรมชลศาสตร์
3 (3-0-6)
(Hydraulic Engineering)
CVE 385
อุทกวิทยา
3 (3-0-6)
(Hydrology)
CVE 394
การทดลองชลศาสตร์
1 (0-3-2)
(Hydraulic Laboratory)
*CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา
1 (0-3-2)
(Civil Engineering Project Proposal)
*CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา
3 (0-6-9)
(Civil Engineering Project)
CVE 414
การประมาณราคาและการกาหนดรายการก่อสร้าง
3 (3-0-6)
(Construction Estimating and Specifications)
CVE 415
การบริหารงานก่อสร้าง
3 (3-0-6)
(Construction Management)
* สาหรับนักศึกษาแบบที่ 2 กลุ่มสหกิจศึกษา จะต้องเรียนวิชา CVE 301 สหกิจศึกษา จานวน 12 หน่วยกิตและ CVE 302 การ
สัมมนาสาหรับสหกิจศึกษา จานวน 1 หน่วยกิต ในปีการศึกษาที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 ทั้งนี้นักศึกษาไม่ต้องเรียนวิชาในกลุ่ม
วิชาเลือกจานวน 9 หน่วยกิต และวิชากลุ่มวิชาบังคับในภาควิชา คือวิชา CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา จานวน 1
หน่วยกิต และ CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา จานวน 3 หน่วยกิต
ข.4 กลุ่มวิชาเลือก ให้เลือกจากวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า
9 หน่วยกิต
CVE 403
หัวข้อพิเศษ 1
3 (3-0-6)
(Special Topic I)
CVE 404
หัวข้อพิเศษ 2
3 (3-0-6)
(Special Topic II)
CVE 405
หัวข้อพิเศษ 3
3 (3-0-6)
(Special Topic III)
CVE 443
การออกแบบอาคาร
3 (3-0-6)
(Building Design)
12
CVE 444
CVE 445
CVE 446
CVE 447
CVE 448
CVE 449

CVE 226
CVE 421
CVE 422
CVE 425
CVE 426
CVE 428
CVE 372
CVE 473
CVE 474
CVE 475
CVE 476
CVE 411
CVE 418
CVE 419

การออกแบบคอนกรีตอัดแรง
(Prestressed Concrete Design)
การออกแบบโครงสร้างเหล็กโดยวิธีพลาสติก
(Plastic Design of Steel Structures)
การออกแบบสะพาน
(Bridge Design)
การออกแบบทางด้านวิศวกรรมโยธา
(Civil Engineering Design)
วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์เบื้องต้น
(Fundamental of Finite Element Method)
การออกแบบโครงสร้างเหล็กโดยวิธีตัวคูณความต้านทาน
และน้าหนักบรรทุก
(Load and Resistance Factor Design of Steel Structures)
การสารวจเส้นทาง
(Route Surveying)
ภาพถ่ายทางอากาศเชิงเลข
(Digital Photogrammetry)
การวิเคราะห์ภาพดาวเทียม
(Satellite Image Analysis)
การสารวจด้วยดาวเทียม
(Satellite Surveying)
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้น
(Introduction to GIS)
การคานวณปรับแก้ในงานสารวจ
(Adjustment Computation in Surveying)
วิศวกรรมขนส่ง
(Transportation Engineering)
วิศวกรรมจราจร
(Traffic Engineering)
การขนส่งอย่างยั่งยืน
(Sustainable Transportation)
การขนส่งมวลชนในตัวเมือง
(Urban Mass Transportation)
การออกแบบทางเรขาคณิตของถนน
(Geometric Design of Highways)
วิศวกรรมและเทคโนโลยีการก่อสร้างสมัยใหม่
(Modern Construction Engineering & Technology)
เทคโนโลยีสารสนเทศในงานก่อสร้าง
(Information Technology in Construction)
การจัดการผลิตภาพและคุณภาพงานก่อสร้าง
(Productivity & Quality Management in Construction)

3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)

3 (3-1-6)
3 (2-3-6)
3 (3-0-6)
3 (2-3-6)
3 (3-0-6)
3 (2-3-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-9)
3 (3-0-9)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
13
CVE 483
CVE 487
CVE 488
CVE 490
CVE 491

การพัฒนาแหล่งน้า
(Water Resource Development)
โครงสร้างทางชลศาสตร์
(Hydraulic Structures)
วิศวกรรมแม่น้าเบื้องต้น
(Introduction to River Engineering)
อุทกวิทยาประยุกต์
(Applied Hydrology)
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์สาหรับ
งานด้านวิศวกรรมทรัพยากรน้า
(Computer Applications for Water Resources Engineering)

CVE 492

3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)

3 (3-0-6)
3 (3-0-6)

(Geotechnical Engineering Design)
CVE 493

3 (3-0-6)

(Computer applications in Geotechnical Engineering)
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี
6 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนจากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
3.1.4 แผนการศึกษา
แผนการเรียนสาหรับหลักสูตร 4 ปี
หน่วยกิต

(บรรยาย

ปฏิบัติ

3

(3

0

6)

3

(3

0

6)

PHY 191

ฟิสิกส์ทั่วไปสาหรับนักศึกษา
วิศวกรรมศาสตร์ 1
ปฏิบติการฟิสิกส์ทั่วไป 1
ั

1

(0

2

2)

CHM 103

เคมีพื้นฐาน

3

(3

0

6)

CHM 160

ปฏิบติการเคมี
ั
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับ
วิศวกรรมโยธา
ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสาหรับนักศึกษา
นานาชาติ

1

(0

3

2)

3
3

(2
(3

2
0

6)
6)

1

(0

2

2)

18
(14
ชั่วโมง /สัปดาห์ = 59

9

36)

MTH 101
PHY 103

CVE 100
LNG 105

ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาที่ 1
คณิตศาสตร์ 1

ศึกษาด้วยตนเอง)

หรือ
LNG 106
GEN 101

การฟังและการพูดเชิงวิชาการ
พลศึกษา
รวม
14
LNG 106
หรือ
LNG 107
MTH 102
PHY 104
PHY 192
CVE 111
CVE 131
PRE 151

ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาที่ 2
การฟังและการพูดเชิงวิชาการ
การอ่านและการเขียนเชิงวิชาการ
คณิตศาสตร์ 2
ฟิสิกส์ทั่วไปสาหรับนักศึกษา
วิศวกรรมศาสตร์ 2
ปฏิบติการฟิสิกส์ทั่วไป 2
ั
เขียนแบบวิศวกรรม
กลศาสตร์วิศวกรรม 1
วัสดุวิศวกรรม
รวม

หน่วยกิต
3

(บรรยาย
(3

ปฏิบัติ
0

ศึกษาด้วยตนเอง)
6)

3
3

(3
(3

0
0

6)
6)

1
3
3
3
19

(0
(2
(3
(3
(17

2
3
0
0
5

2)
6)
6)
6)
38)

ชั่วโมง /สัปดาห์ = 60
LNG 107
หรือ
LNG 108
MTH 201
CVE 233
CVE 232
CVE 221
CVE 223
GEN 111
GEN 231

ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาที่ 1
การอ่านและการเขียนเชิงวิชาการ
การเรียนรู้แบบอิงเนื้อหาวิชา
คณิตศาสตร์ 3
กลศาสตร์วัสดุ
กลศาสตร์วิศวกรรม 2
สารวจ
การปฏิบัตงานสารวจ
ิ
มนุษย์กับหลักจริยศาสตร์เพื่อการดาเนินชีวิต
มหัศจรรย์แห่งความคิด
รวม

หน่วยกิต
3

(บรรยาย
(3

3
(3
3
(3
3
(3
3
(3
1
(0
3
(3
3
(3
22
(21
ชั่วโมง /สัปดาห์ = 68

ปฏิบัติ
0

0
0
0
0
3
0
0
3

ศึกษาด้วยตนเอง)
6)

6)
6)
6)
6)
2)
6)
6)
44)

CVE 224

ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาที่ 2
โครงงานสารวจ

CVE 225

การฝึกภาคสนามวิชาสารวจ

1
1

CVE 236

วัสดุในงานวิศวกรรมโยธา

2

(1

3

4)

CVE 237

การวิเคราะห์โครงสร้าง 1

3

(3

0

6)

CVE 281
CVE 361

กลศาสตร์ของไหล
วิศวกรรมธรณีวิทยา

3

(3

0

6)

2

(2

0

4)

คณิตศาสตร์ประยุกต์สาหรับวิศวกรรมโยธา

3

(3

0

6)

ทักษะการเรียนรู้และการแก้ปัญหา

3

(3

0

6)

รวม

18

(15

12

37)

CVE 240
GEN 121

หน่วยกิต

(บรรยาย

ปฏิบัติ

(0
(0

3
6

2)
3)

ชั่วโมง /สัปดาห์ = 64

ศึกษาด้วยตนเอง)
15

CVE 335

ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 1
วัสดุซีเมนต์และคอนกรีต

CVE 338

การวิเคราะห์โครงสร้าง 2

3

(3

0

6)

CVE 362

ปฐพีกลศาสตร์

3

(3

0

6)

CVE 363

ปฏิบติการปฐพีกลศาสตร์
ั

1

(0

3

2)

CVE 385

อุทกวิทยา

3

(3

0

6)

CVE 394

การทดลองชลศาสตร์

1

(0

3

2)

CVE 311

การบริหารงานวิศวกรรม

3

(3

0

6)

GEN 241

ความงดงามแห่งชีวิต

3

(3

0

6)

20

(17

9

40)

หน่วยกิต
3

(บรรยาย
(3

ปฏิบัติ
0

3

(2

3

6)

รวม

หน่วยกิต
3

(บรรยาย
(2

ปฏิบัติ
3

ศึกษาด้วยตนเอง)
6)

ชั่วโมง /สัปดาห์ = 66

CVE 341

ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 2
การประมาณราคาและการกาหนดรายการ
ก่อสร้าง
การออกแบบโครงสร้างเหล็กและไม้

CVE 342

การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก

4

(3

2

8)

CVE 364

วิศวกรรมฐานราก

3

(3

0

6)

CVE 371

วิศวกรรมการทาง

3

(3

0

6)

CVE 382

วิศวกรรมชลศาสตร์

3

(3

0

6)

รวม

19

(17

5

38)

CVE 414

ศึกษาด้วยตนเอง)
6)

ชั่วโมง /สัปดาห์ = 60
ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาฤดูร้อน
CVE 300 ฝึกงานอุตสาหกรรม (Industrial Training)
รวม
แผนการศึกษาแบบไม่มีสหกิจศึกษา
ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่1
CVE 401
โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา
CVE xxx
วิชาเลือกทางวิศวกรรมโยธา 1
CVE xxx
วิชาเลือกทางวิศวกรรมโยธา 2
XXX xxx วิชาเลือกเสรี 1
XXX xxx วิชาเลือกเสรี 2
GEN 351 การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา
รวม

หน่วยกิต
2(S/U)
2(S/U)
หน่วยกิต (บรรยาย
1
(0
3
(x
3
(x
3
(3
3
(3
3
(3
16
(9+x
ชั่วโมง /สัปดาห์ = 32+x

ปฏิบัติ
3
x
x
0
0
0
3+x

ศึกษาด้วยตนเอง)
2)
x)
x)
6)
6)
6)
20+x)
16
ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่2
โครงงานวิศวกรรมโยธา
วิชาเลือกทางวิศวกรรมโยธา
วิชาเลือกทางหมวดศึกษาทั่วไป
วิชาเลือกทางหมวดศึกษาทั่วไป
การบริหารงานก่อสร้าง
รวม

CVE 402
CVE xxx
GEN xxx
GEN xxx
CVE 415

หน่วยกิต (บรรยาย
3
(0
3
(x
3
(3
3
(3
3
(3
15
(9+x
ชั่วโมง /สัปดาห์ = 42+x

ปฏิบัติ
6
x
0
0
0
6+x

ศึกษาด้วยตนเอง)
9)
x)
6)
6)
6)
27+x)

แผนการศึกษาสหกิจศึกษา
ให้นักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในปีการศึกษาที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 โดยการเรียนในปีการศึกษาที่ 1/1 ถึง 3/2 เหมือนกับแผนการศึกษา
ปกติ โดยใช้แผนการเรียนตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 4/1 ดังนี้
CVE 301
CVE 302

ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่1
สหกิจศึกษา
การสัมมนาสาหรับสหกิจศึกษา
รวม

หน่วยกิต
(บรรยาย
12
(0
1
(0
13
(0
ชั่วโมง /สัปดาห์ = 76

ปฏิบัติ
35
3
38

ศึกษาด้วยตนเอง)
36)
2)
38)

XXX xxx
XXX xxx
GEN 351
GEN xxx
GEN xxx
CVE 415

ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่2
วิชาเลือกเสรี
วิชาเลือกเสรี
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา
วิชาเลือกทางหมวดศึกษาทั่วไป
วิชาเลือกทางหมวดศึกษาทั่วไป
การบริหารงานก่อสร้าง
รวม

หน่วยกิต
(บรรยาย
3
(3
3
(3
3
(3
3
(3
3
(3
3
(3
18
(18
ชั่วโมง /สัปดาห์ = 54

ปฏิบัติ
0
0
0
0
0
0
0

ศึกษาด้วยตนเอง)
6)
6)
6)
6)
6)
6)
36)

3.1.5 คาอธิบายรายวิชา
คาอธิบายรายวิชา (ภาคผนวก ก.)
3.2 ชื่อ สกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์
3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร
ลาดับ

ชื่อ – สกุล
(ระบุตาแหน่งทางวิชาการ)

1
2

ดร.จุลพจน์ จิรวัชรเดช
ผศ.ดร.สมโพธิ อยู่ไว

3
4

ดร.นครินทร์ สัทธรรมนุวงศ์
รศ.ดร.ภาณุวัฒน์ สุรยฉัตร
ิ

5

อ.ธงชัย โพธิ์ทอง

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา),
สถาบันที่สาเร็จการศึกษา
Ph.D. (Structural Engineering), UWS
ปร.ด. (วิศวกรรมเทคนิคธรณี) ,สถาบัน
เทคโนโลยีแห่งเอเซีย
Ph.D. (Survey Engineering),Purdue U.
Ph.D. (Geotechnical Engineering),
McGill U.
วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา), มจธ.

ภาระการสอน ชม./ปีการศึกษา
2553 2554 2555 2556 2557
14
14
14
14
14
12
12
12
12
12
12
12

12
12

12
12

12
12

12
12

12

12

12

12

12
17
3.2.2 อาจารย์ประจา
ชื่อ – สกุล
ลาดับ
(ระบุตาแหน่งทางวิชาการ)
1 รศ.อเนก ศิริพานิชกร
2

ศ.ดร.สมชาย ชูชีพสกุล

3
4

รศ.ดร.สมเกียรติ รุ่งทองใบสุรีย์
ศ.ดร.ชัย จาตุรพิทักษ์กุล

5

ดร.อภินัติ อัชกุล

6

ผศ.ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์

7
8
9
10
11
12
13

อ. เอกชัย ภัทรวงศ์ไพบูลย์
ผศ.ดร.ทวิช พูลเงิน
ดร.ชัยณรงค์ อธิสกุล
ดร.วีรชาติ ตั้งจิรภัทร
ผศ.ดร.พาสิทธิ์ หล่อธีรพงศ์
ผศ.ดร.วุฒิพงศ์ เมืองน้อย
ผศ.ดร.สันติ เจริญพรพัฒนา

14

ดร.พิชญ์ สุธีรวรรธนา

15

ผศ.ดร.พรเกษม จงประดิษฐ์

16

ดร.วรัช ก้องกิจกุล

17
18

รศ.ดร.วิชัย สังวรปทานสกุล
รศ.ดร.วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์

19

ดร.อาพล การุณสุนทวงษ์

20

รศ.ดร.ธวัชชัย เหล่าศิริหงษ์ทอง

21

ดร.ชัยวัฒน์ เอกวัฒน์พานิชย์

22
23
24

รศ.ดร.ชัยยุทธ ชินณะราศี
ผศ.ดร.นิตยา หวังวงศ์วิโรจน์
นายธีระ ลาภิศชยางกูล

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา),
สถาบันที่สาเร็จการศึกษา
วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง) ,
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย
Ph.D. (Structural Engineering),
U. of Texas at Arlington
D.Eng. (Structural Engineering), Kyoto U.
Ph.D. (Structural Engineering),
New Jersey Inst. of Tech.
Ph.D. (Structural Engineering) ,Virginia
Tech
Ph.D. (Structural Engineering),
U. of Michigan
วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง), มจธ.
วศ.ด. (วิศวกรรมโครงสร้าง), มจธ.
วศ.ด. (วิศวกรรมโครงสร้าง), มจธ.
วศ.ด. (วิศวกรรมโครงสร้าง), มจธ.
Ph.D. (บริหารงานก่อสร้าง), Concordia U.
Ph.D. (บริหารงานก่อสร้าง) ,AIT
Ph.D. (Construction Management) ,
U. of Tokyo.
Ph.D. (Construction Management),
University of Tokyo
Ph.D. (Geotechnical Engineering),
Tokyo U.
Ph.D. (Geotechnical Engineering),
Tokyo U.
วศ.ม. (วิศวกรรมเทคนิคธรณี), จุฬาฯ
Ph.D. (Transportation Engineering),
Tohoku U.
Ph.D. (Transportation Engineering),
U. of Texas at Austin
Ph.D. (Transportation Engineering) ,
Ohio State U.
Ph.D. (Water Resources Engineering),
Tohoku U.
D.Eng. (วิศวกรรมทรัพยากรน้า), AIT
D.Eng. (วิศวกรรมทรัพยากรน้า) ,AIT
วศ.ม. (วิศวกรรมสารวจ) ,จุฬาฯ

ภาระการสอน ชม./ปีการศึกษา
2553 2554 2555 2556 2557
12
12
12
12
12
12

12

12

12

12

12
12

12
12

12
12

12
12

12
12

12

12

12

12

12

12

12

12

12

12

24
12
12
12
12
12
12

24
12
12
12
12
12
12

24
12
12
12
12
12
12

24
12
12
12
12
12
12

24
12
12
12
12
12
12

12

12

12

12

12

12

12

12

12

12

12

12

12

12

12

12
12

12
12

12
12

12
12

12
12

12

12

12

12

12

24

24

24

24

24

24

24

24

24

24

12
14
24

12
14
24

12
14
24

12
14
24

12
14
24
18
3.2.3 อาจารย์พิเศษ
ไม่มี
4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี)
จากความต้องการที่บัณฑิตควรมีประสบการณ์ในวิชาชีพก่อนเข้าสู่การทางานจริง ดังนั้นหลักสูตรได้กาหนดรายวิชาสหกิจศึกษา ซึ่งจะจัด
อยู่ในกลุ่มวิชาเอกเลือก แต่ในทางปฏิบัติแล้วมีความต้องการให้นักศึกษาทุกคนลงทะเบียนรายวิชานี้ เว้นแต่กรณีที่นักศึกษามีปัญหาไม่ส ามารถไป
ฝึกในรายวิชาสหกิจศึกษาก็จะเป็นการอนุโลมให้เรียนรายวิชาเอกเลือกแทนสหกิจศึกษาได้
4.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม
ความคาดหวังในผลการเรียนรู้ประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา มีดังนี้
(1) ทักษะในการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ ตลอดจนมีความเข้าใจในหลักการ ความจาเป็นในการเรียนรู้ทฤษฎีมากยิ่งขึ้น
(2) บูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อนาไปแก้ปัญหาทางวิศวกรรมโดยใช้เทคโนโลยีด้านโยธาเป็นเครื่องมือได้อย่างเหมาะสม
(3) มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
(4) มีระเบียบวินัย ตรงเวลา เข้าใจวัฒนธรรมและสามารถปรับตัวเข้ากับสถานประกอบการได้
(5) มีความกล้าในการแสดงออก และนาความคิดสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ในงานได้
4.2 ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาที่ 1 ของปีการศึกษาที่ 4
4.3 การจัดเวลาและตารางสอน
จัดเต็มเวลาใน 1 ภาคการศึกษา
5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย (ถ้ามี)
ข้อกาหนดในการทาโครงงาน ต้องเป็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ด้านวิศวกรรมโยธาหรือเพื่อการเรียนการสอน หรือเพื่อทานุบารุง
ศิลปวัฒนธรรม โดยต้องมีธุรกิจที่อ้างอิงและคาดว่าจะนาไปใช้งานหากโครงงานสาเร็จ โดยมีจานวนผู้ร่วมโครงงาน 2-3 คน และมีรายงานที่ต้อง
นาส่งตามรูปแบบและระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนดอย่างเคร่งครัด หรือเป็นโครงงานที่มุ่งเน้นการสร้างผลงานวิจัยเพื่อพัฒนางานด้านวิศวกรรมโยธา
5.1 คาอธิบายโดยย่อ
โครงงานวิศวกรรมโยธาที่นักศึกษาสนใจ สามารถอธิบายทฤษฎีที่นามาใช้ในการทาโครงงาน ประโยชน์ที่จะได้รับจากการทาโครงงาน มี
ขอบเขตโครงงานที่สามารถทาเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
นักศึกษาสามารถทางานเป็นทีม มีความเชี่ยวชาญในการใช้เครื่องมือ โปรแกรม ในการทาโครงงาน โครงงานสามารถเป็นต้นแบบในการ
พัฒนาต่อได้
5.3 ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาที่ 1-2 ของปีการศึกษาที่ 4
5.4 จานวนหน่วยกิต
4 หน่วยกิต
5.5 การเตรียมการ
มีการกาหนดชั่วโมงการให้คาปรึกษา จัดทาบันทึกการให้คาปรึกษา ให้ข้อมูลข่า วสารเกี่ยวกับโครงงานทางเว็บไซต์ และปรับปรุงให้
ทันสมัยเสมอ อีกทั้งมีตัวอย่างโครงงานให้ศึกษา
5.6 กระบวนการประเมินผล
ประเมินผลจากความก้าวหน้าในการทาโครงงาน ที่บันทึกในสมุดให้คาปรึกษาโดยอาจารย์ที่ปรึกษา และประเมินผลจากรายงานที่ได้
กาหนดรูปแบบการนาเสนอตามระยะเวลา นาเสนอโปรแกรมและการทางานของระบบ โดยโครงงานดังกล่าวต้องสามารถทางานได้ในขั้นต้น
โดยเฉพาะการทางานหลักของโปรแกรม และการจัดสอบการนาเสนอที่มีคณะกรรมการสอบแต่ละสาขาวิชาไม่ต่ากว่า 3 สาขา
19
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
คุณลักษณะพิเศษ
กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา
ด้านบุคลิกภาพ
มีการสอดแทรกเรื่อง การแต่งกาย การเข้าสังคม เทคนิคการเจรจา สื่อสาร การมี
มนุษยสัมพันธ์ที่ดี และการวางตัวในการทางานในบางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง และใน
กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ก่อนที่นักศึกษาจะสาเร็จการศึกษา
ด้านภาวะผู้นา และความรับผิดชอบตลอดจนมี
-กาหนดให้มีรายวิชาซึ่งนักศึกษาต้องทางานเป็นกลุ่ม และมีการกาหนดหัวหน้ากลุ่ม
วินัยในตนเอง
ในการทารายงานตลอดจน กาหนดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนาเสนอรายงาน เพื่อ
เป็นการฝึกให้นักศึกษาได้สร้างภาวะผู้นาและการเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี
-มีกิจกรรมนักศึกษาที่มอบหมายให้นกศึกษาหมุนเวียนกันเป็นหัวหน้าในการดาเนิน
ั
กิจกรรม เพื่อฝึกให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ
-มีกติกาที่จะสร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าเรียนตรงเวลาเข้าเรียนอย่างสม่าเสมอ
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เสริมความกล้าในการแสดงความคิดเห็น
จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
มีการให้ความรู้ถึงผลกระทบต่อสังคม และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระทา
ความผิดเกี่ยวกับวิชาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน
2.1 คุณธรรม จริยธรรม
2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
นักศึ กษาต้ อ งมี คุ ณธรรม จริ ย ธรรมเพื่ อ ให้ สามารถด าเนิ น ชี วิต ร่วมกับ ผู้ อื่ น ในสั ง คมอย่ างราบรื่ น และเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ส่ วนรวม
นอกจากนั้นงานด้านวิศวกรรมโยธาในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้าง ธรณีวิทยา ทรัพยากรน้า ขนส่ง บริหารงานก่อสร้างและสารวจล้วนเป็นงานที่
เกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ ความปลอดภัยในชีวิต การทาให้เกิดความสาเร็จได้จะต้องมีวิศวกรโยธาเป็นผู้พัฒนาร่วมกับวิศวกร
สาขาอื่นๆในการสร้างความเจริญให้ประเทศ ดังนั้นวิศวกรโยธาเหล่านี้ต้องมีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขา
อื่น ๆ ซึ่งอาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ทั้ง 5 ข้อ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม
กับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อย 5 ข้อตามที่ระบุไว้
(1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ
(3) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมูคณะและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟัง
่
ความคิดเห็นของผู้อน รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิศรีของความเป็นมนุษย์
ื่
์
(4) สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพ
วิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบน
ั
นอกจากนั้น หลักสูตรวิศวกรรมโยธายังมีวิชาเกี่ยวกับ สังคมและจริยธรรม การคานวณด้านวิศวกรรรมโยธาสาขาต่างๆ เป็นวิชาบังคับ
อาจารย์ที่สอนต้องจัดให้มีการวัดมาตรฐานในด้านความรู้ คุณธรรม จริยธรรมทุกภาคการศึกษา ซึ่งไม่จาเป็นต้องเป็นข้อสอบ โดยใช้การสังเกต
พฤติกรรมระหว่างทากิจกรรมที่กาหนด มีการกาหนดคะแนนในเรื่องคุณธรรม จริยธรรมให้เป็นส่วนหนึ่งของคะแนนความประพฤติของนักศึกษา
นักศึกษาที่คะแนนความประพฤติไม่ผ่านเกณฑ์ ซึ่งต้องทากิจกรรมเพื่อสังคมเพิ่มก่อนสาเร็จการศึกษา
2.1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
กาหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่
เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทางานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นากลุ่มและการเป็น
สมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทาการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้อง
20
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทาดี ทา
ประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกาหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม
(2) ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(3) ปริมาณการกระทาทุจริตในการสอบ
(4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.2 ความรู้
2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับด้านวิศวกรรมโยธาในสาขาต่างๆ มีคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกียวกับสาขาวิชาที่ศึกษานั้นต้องเป็นสิ่งที่
่
นักศึกษาต้องรูเ้ พื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคม ดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้
(1) มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมศาสตร์พื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับ
งานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกียวข้องและการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
่
(2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สาคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนือหาของสาขาวิชาเฉพาะทางด้านวิศวกรรม
้
(3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(4) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์
เป็นต้น
(5) สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหางานจริงได้
การทดสอบมาตรฐานนี้สามารถทาได้โดยการทดสอบจากข้อสอบของแต่ละวิชาในชั้นเรียน ตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาอยู่ในหลักสูตร
2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จาก
สถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถาน
ประกอบการ
2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานทีนักศึกษาจัดทา
่
(4) ประเมินจากโครงการที่นาเสนอ
(5) ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
(6) ประเมินจากรายวิชาสหกิจศึกษา
2.3 ทักษะทางปัญญา
2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้โดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษาแล้ว ดังนั้นนักศึกษาจาเป็นต้อง ได้รับการ
พัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาในขณะที่สอนนักศึกษา อาจารย์ต้องเน้นให้
นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจา นักศึกษาต้องมี
คุณสมบัติต่าง ๆจากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้
(1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
(2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter

Contenu connexe

Similaire à B.eng. (civil engineering) inter

แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013Mnr Prn
 
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิตjeabjeabloei
 
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาเสย ๆๆๆๆ
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8Prom Pan Pluemsati
 
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติTeaching & Learning Support and Development Center
 
ศิลปากร
ศิลปากรศิลปากร
ศิลปากรkrunoony
 
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง TBnakglan
 
วัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยีวัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยีTBnakglan
 
โครงการศึกษาและฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีและสื่อสารก...
โครงการศึกษาและฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีและสื่อสารก...โครงการศึกษาและฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีและสื่อสารก...
โครงการศึกษาและฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีและสื่อสารก...Totsaporn Inthanin
 
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาPrachyanun Nilsook
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ใบความรู้โครงงาน 1
ใบความรู้โครงงาน 1ใบความรู้โครงงาน 1
ใบความรู้โครงงาน 1LDP CPALL
 
รายวิชา ปวส
รายวิชา ปวสรายวิชา ปวส
รายวิชา ปวสMaxky Thonchan
 

Similaire à B.eng. (civil engineering) inter (20)

Ad sast56
Ad sast56Ad sast56
Ad sast56
 
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
 
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
 
วิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมโยธาวิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมโยธา
 
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
 
Tqf env(1)
Tqf env(1)Tqf env(1)
Tqf env(1)
 
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
 
ศิลปากร
ศิลปากรศิลปากร
ศิลปากร
 
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
 
วัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยีวัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยี
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
Ex project2 (เสร จ) (1)
Ex project2 (เสร จ) (1)Ex project2 (เสร จ) (1)
Ex project2 (เสร จ) (1)
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
โครงการศึกษาและฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีและสื่อสารก...
โครงการศึกษาและฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีและสื่อสารก...โครงการศึกษาและฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีและสื่อสารก...
โครงการศึกษาและฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีและสื่อสารก...
 
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ใบความรู้โครงงาน 1
ใบความรู้โครงงาน 1ใบความรู้โครงงาน 1
ใบความรู้โครงงาน 1
 
รายวิชา ปวส
รายวิชา ปวสรายวิชา ปวส
รายวิชา ปวส
 
Planjeeranun
PlanjeeranunPlanjeeranun
Planjeeranun
 

Plus de Garsiet Creus

โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...Garsiet Creus
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet CreusGarsiet Creus
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ Garsiet Creus
 
ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว Garsiet Creus
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อแนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อGarsiet Creus
 
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
 แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ  แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ Garsiet Creus
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. Garsiet Creus
 
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.Garsiet Creus
 
ช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบGarsiet Creus
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์Garsiet Creus
 

Plus de Garsiet Creus (19)

โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
 
ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
 
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อแนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อ
 
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
 
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
 แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ  แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
 
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
 
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
 
TEST Aptitude2
TEST Aptitude2TEST Aptitude2
TEST Aptitude2
 
TEST Aptitude
TEST AptitudeTEST Aptitude
TEST Aptitude
 
Biology Chapter10
Biology Chapter10 Biology Chapter10
Biology Chapter10
 
ช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบ
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
Wave
WaveWave
Wave
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 

B.eng. (civil engineering) inter

  • 1. 1 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร 1.1 ระบุรหัส :1.2 ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรนานาชาติ) (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Engineering Program in Civil Engineering (International Program) 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 2.1 ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Engineering (Civil Engineering) 2.2 ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) (ภาษาอังกฤษ) : B.Eng. (Civil Engineering) 3. วิชาเอก ไม่มี 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 149 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี 5.2 ภาษาที่ใช้ หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาอังกฤษโดยใช้เอกสารและตาราในวิชาของหลักสูตร (รหัส CVE xxx) เป็นภาษาอังกฤษ 5.3 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ โดยระบบคัดเลือกของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีเป็นผู้ดาเนินการคัดเลือกเอง 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร หลักสูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอนเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2554 ได้พิจารณากลั่นกรองโดยสภาวิชาการ ในการประชุมครั้งที่ 3/2554 เมื่อวันที่ 28 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2554 ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชุมครั้งที่ 145 เมื่อวันที่ 8 เดือน เมษายน พ.ศ. 2554
  • 2. 2 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มคุณภาพและมาตรฐาน ี หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ/มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมโยธา ในปีการศึกษา 2555 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา (1) วิศวกรโยธา (2) ผู้จัดการโครงการก่อสร้าง (3) นักวิชาการด้านวิศวกรรมโยธา (4) นักออกแบบอาคารและโครงสร้าง (5) นักวิชาชีพในสถานประกอบการที่มีการก่อสร้างและสารวจพื้นที่ เป็นต้น 9. ชื่อ สกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด สถาบันที่สาเร็จการศึกษา (ระบุตาแหน่งทางวิชาการ) (สาขาวิชา) (ปีที่สาเร็จการศึกษา) 1. ดร.จุลพจน์ จิรวัชรเดช Ph.D. (Structural Engineering) University of Wales Swansca (2545) 2. ผศ.ดร.สมโพธิ อยู่ไว ปร.ด. (วิศวกรรมเทคนิคธรณี) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (2546) 3. ดร.นครินทร์ สัทธรรมนุวงศ์ Ph.D. (Survey Engineering) Purdue University (2545) 4. รศ.ดร.ภาณุวัฒน์ สุรยฉัตร ิ Ph.D. (Geotechnical Engineering) McGill University (2535) 5. อ.ธงชัย โพธิ์ทอง วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (2542) 10. สถานที่จัดการเรียนการสอน ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาหลักสูตรจะสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) ที่กล่าวถึงการสร้างฐานการผลิต ให้เข้มแข็ง สมดุล อย่างสร้างสรรค์ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการผลิต การค้า การลงทุน การพัฒนาคุณภาพคน ทั้งความรู้คู่คุณธรรม เน้นการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงของพลังงานและอาหาร และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซึ่ง รวมถึงความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโยธา ก่อให้เกิดทั้งความเปลี่ยนแปลง โอกาสและภัยคุกคามทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม และเตรียมตัวรองรับการเข้ามาทางานของชาวต่างชาติตามกฎของเขตการค้าเสรี จึงจาเป็นต้องเตรียมพร้อมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว ดังนั้นการบริหารจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นระบบเป็นสิ่งจาเป็น รวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางวิศวกรรมโยธาที่เหมาะสมที่จะ ผสมผสานกับจุดแข็งในสังคมไทย เป้าหมายยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ แผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ เป้าหมายยุทธศาสตร์ของกรอบนโยบายของประเทศไทยปีพ.ศ. 2554 ที่ต้องใช้บุคลากรทางด้านวิศวกรรมโยธาที่มีคุณภาพ 11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การวางแผนหลักสูตรจะคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและการใช้คอมพิวเตอร์ผนวกกับเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโยธาที่ ทันสมัย การก่อสร้างอาคารในประเทศไทยก็มีการขยายตัวอย่างต่อเนือง จากเทคโนโลยีในการก่อสร้างสมัยใหม่ผนวกกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ใน ่ การประมวลผลและการคานวณ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้มีการแข็งขันในการนาเสนอวิธีการที่รวดเร็ว อีกทั้งยังมีราคาและค่าใช้จ่ายที่ถูก แต่มี ความมั่นคงซึ่งจะนาไปสู่พื้นฐานทางสังคมที่จะหยั่งรากต่อไปในการพัฒนาด้านอื่นๆในชุมชนเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ในพื้นที่แห่งนั้น ทั้งนี้จาเป็นจะต้องใช้นักวิศวกรรมโยธาจานวนมาก ที่มีความเป็นมืออาชีพ มีความเข้าใจในผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรม มี คุณธรรม จริยธรรม ที่จะช่วยชี้นาและขับเคลื่อนให้การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปในรูปแบบที่สอดคล้องและเหมาะสมกับวิถีชีวิตของสังคมไทย 12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน 12.1 การพัฒนาหลักสูตร จากผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรในเชิงรุกที่มีศักยภาพและสามารถปรับเปลี่ยน ได้ตามวิวัฒนาการของเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรม และรองรับการแข่งขันทางธุรกิจก่อสร้างทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยการผลิต
  • 3. 3 บุคลากรทางวิศวกรรมโยธาจาเป็นต้องมีความพร้อมที่จะปฏิบัติงานได้ทันที และมีศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะงานทั้งด้าน วิชาการและวิชาชีพ รวมถึงความเข้าใจในผลกระทบของการก่อสร้างต่อสังคม โดยต้องปฏิบัติตนอย่างมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเป็นไป ตามนโยบายและวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศในเทคโนโลยีและการวิจัย และการผลิตบัณฑิตที่ดีและเก่ง 12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน ผลกระทบจากสถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัยที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศในเทคโนโลยีและ การวิจัย และมุ่งธารงปณิธานในการสร้างบัณฑิตที่ดีและเก่ง เนื่องจาก การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างแพร่หลาย จึงเป็นช่องทางในการถ่ายทอดวัฒนธรรม จากต่างประเทศ ซึ่งอาจส่งผลให้พฤติกรรม และค่านิยมของนักศึกษาเปลี่ยนไป การพัฒนาหลักสูตรจึงต้องเน้นและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่คานึงถึงคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาชีพ โดยใส่ใจถึงผลกระทบต่อผู้รับข้อมูลข่าวสาร สังคมและวัฒนธรรมไทย โดยยังคง การใช้เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโยธาที่ทันสมัยและคุ้มค่า และสามารถปรับเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมโยธา 13. ความสัมพันธ์ (ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน (เช่น รายวิชาทีเปิดสอนเพื่อ ให้บริการคณะ/ภาควิชาอื่นหรือ ต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอื่น) 13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น หลักสูตรวิศวกรรมโยธาเป็นหลักสูตรที่ต้องอาศัยหลักการพื้นฐานทางวิศวกรรมและหลักการคานวณเชิงตัวเลข จึงต้องมีความสัมพันธ์ กับคณะวิทยาศาสตร์ที่สนับสนุนการสอนวิชาพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สถิติ และวิทยาศาสตร์พื้นฐาน รวมทั้งต้องสัมพันธ์กับภาควิชาวิศวกรรมอื่นๆ ที่ช่วยสนับสนุนการสอนวิชาพื้นฐานทางด้านการผลิต คอมพิวเตอร์ ไฟฟ้าและสิ่งแวดล้อม โดยอาจแบ่งกลุ่มได้ดังนี้ กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป รับผิดชอบโดยสานักงานวิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร์ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ รับผิดชอบโดยคณะวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาวิศวกรรมศาสตร์พื้นฐาน รับผิดชอบโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน รายวิชาในหลักสูตรวิศวกรรมโยธา เช่น เขียนแบบวิศวกรรม กลศาสตร์วิศวกรรม 1 กลศาสตร์วัสดุ กลศาสตร์ของไหล ปฐพีกลศาสตร์ ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ วิศวกรรมชลศาสตร์ อุทกวิทยาและการทดลองชลศาสตร์ ก็เป็นพื้นฐานที่จาเป็นของสาขาวิชาวิศวกรรมอื่นๆ ซึ่งต้องเปิด สอนให้บริการกับภาควิชาวิศวกรรมอื่นๆด้วย 13.3 การบริหารจัดการ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องประสานงานกับอาจารย์ผู้แทนจากในคณะอื่นที่เกี่ยวข้อง ด้านเนื้อหาสาระ การจัดตารางเรียนและสอบ และความสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ดาเนินการตามแนวนโยบายของรัฐบาลและมหาวิทยาลัย ในการเพิ่มศักยภาพในการดาเนินงานในด้านการพัฒนา กาลังคนให้มีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อให้เพียงพอต่อการรองรับการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต นอกจากใน การพัฒนากาลังคนแล้วคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้มีการพัฒนาด้านต่างๆ ที่พึงมีต่อประเทศชาติ จึงได้กาหนดวิสัยทัศน์ ปรัชญา และวัตถุประสงค์ ขึ้น เพื่อให้เป็นทิศทางในการบริหารจัดการคณะวิศวกรรมศาสตร์ 1.2 ความสาคัญ วิศวกรรมโยธาถือว่าเป็นสาขาหนึ่งในการพัฒนาประเทศในด้านพื้นฐานของการดารงชีวิตของมนุษย์ เพื่อให้สามารถมีที่พักอาศัยและ ดารงชีวิตได้อย่างสมบูรณ์ ในการพัฒนากาลังคนที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านนี้จึงต้องมีหลักสูตรที่เหมาะสมสามารถพัฒนาบุคคลให้มีความรู้ อย่างถ่องแท้ในด้านวิศวกรรมโยธานาความรู้หลังจากจบการศึกษาไปปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยกับผู้อื่น 1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้พื้นฐานเพียงพอที่จะประกอบวิชาชี พทางด้านวิศวกรรมโยธา เช่น งานออกแบบ งานควบคุมการ ก่อสร้าง งานตรวจสอบคุณภาพวัสดุ และงานวางโครงการก่อสร้าง เป็นต้นและสอนให้มีความรู้และความพร้ อมที่จะไปศึกษาต่อในระดับสูง เพื่อ ทางานวิจัยสามารถนาความรู้ไปพัฒนาสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 4. 4 1.3.2 เพื่อให้เหมาะสมกับวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมโยธา และสนองความต้องการของอุตสาหกรรมการก่อสร้างใน ปัจจุบัน และเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนาหลักสูตรคณะวิศวกรรมศาสตร์ 1.3.3 เพื่อ ผลิ ตบั ณฑิ ตให้ สามารถทาหน้าที่ป ระสานงานระหว่างผู้ ว่าจ้ างและผู้ ควบคุม งานในการปฏิบั ติง านกับผู้ ออกแบบและ ตรวจสอบ มีความเข้าใจในกระบวนการทางาน มีความสามารถในการสื่อสารและทางานเป็นทีมได้ เป็นผู้ที่มีความเข้าใจด้านสังคม องค์กร และ คุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพด้านวิศวกรรมโยธา 2. แผนพัฒนาปรับปรุง แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้ - ปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมโยธาให้มี - พั ฒ นาหลั ก สู ต รโดยมี พื้ น ฐานจากกรอบ - เอกสารปรับปรุงหลักสูตร มาตรฐานไม่ต่ากว่าที่ สกอ. กาหนด มาตรฐานคุณวุฒิร ะดับ อุดมศึกษาแห่ งชาติ - รายงานผลการประเมินหลักสูตร และหลักสูตรในต่างประเทศ - ปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รให้ ส อดคล้ อ งกั บ - ติ ด ตามประเมิ น หลั ก สู ต รอย่ า งสม่ าเสมอ - รายงานผลการประเมิ นความพึง พอใจในการใช้ ความต้ อ งการของธุ ร กิ จ และการ ติดตามความเปลี่ยนแปลงในความต้องการ บัณฑิตของสถานประกอบการ เปลี่ย นแปลงของเทคโนโลยี ทางด้ าน ของผู้ประกอบการด้านวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมโยธาในปัจจุบัน - พัฒนาบุคลากรด้านการเรียนการสอน - สนับสนุนบุคลากรด้านการเรียนการสอนให้ - ความพึงพอใจในทักษะ ความรู้ ความสามารถใน และบริการวิชาการ ให้มีประสบการณ์ ทางานบริการวิชาการแก่องค์กรภายนอก การทางานของบัณฑิต โดยเฉลี่ยในระดับดี จากการน าความรู้ ท างด้ านวิ ศ วกรรม อาจารย์ ส ายปฏิ บั ติ ก ารต้ อ งมี ใ บรั บ รอง - ปริมาณงานบริการวิชาการต่ออาจารย์ในหลักสูตร โยธาไปปฏิบัติงานจริง วิชาชีพในสาขาวิชาที่สอนปฏิบัติ - ใบรับรองวิชาชีพ หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นแบบทวิภาค เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี (ภาคผนวก จ.) 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน มีการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการประจาหลักสูตร 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี 2. การดาเนินการหลักสูตร 2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน วัน – เวลาราชการปกติ 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา (1) ต้องสาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลายกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และกลุ่มการเรียนรู้คณิตศาสตร์ช่วงชั้นที่ 4 หรือ สายวิทยาศาสตร์-สายคณิตศาสตร์ หรือประกาศนียบัตรที่กระทรวงศึกษาธิการเที ยบเท่าสายวิทยาศาสตร์เพื่อให้สอดคล้องกับการ จัดการเรียนการสอน (2) ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ/หรือ เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับการคัดเลือกของ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มจธ. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา (1) นักเรียนทีเ่ ข้าศึกษาโดยระบบคัดเลือกของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) (2) นักเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นผู้ดาเนินการคัดเลือกเอง (3) การคัดเลือกโดยคณาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมโยธาด้วยวิธีการสอบข้อเขียน และ/หรือการสอบสัมภาษณ์
  • 5. 5 2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า นักศึกษาที่สมัครเข้าเรียนในหลักสูตรบางส่วนมีพื้นฐานการเรียนรู้ในด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไม่เพียงพอ รวมทั้งทักษะและ ความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา เนื่องจากตารา เอกสารและข้อสอบจะเป็นภาษาอังกฤษในบางวิชา ส่วนนักศึกษาต่างชาติอาจจะมี ปัญหาในด้านระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ ที่ไม่คุ้นเคยและการใช้ชีวิตประจาวัน 2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา / ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3 ในกรณีนักศึกษาที่จะเข้ารับการศึกษามีพื้นฐานความรู้ไม่เพียงพอในการศึกษาตามหลักสูตรทางด้านวิศวกรรมโยธา ให้จัดอบรมก่อนเริ่ม ภาคการศึกษาแรก 2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี จานวนนักศึกษาแต่ละปีการศึกษา (คน) จานวนรวม จานวนนักศึกษา 2554 2555 2556 2557 2558 พ.ศ. 2554-2558 ชั้นปีที่ 1 80 80 80 80 80 400 ชั้นปีที่ 2 80 80 80 80 320 ชั้นปีที่ 3 80 80 80 240 ชั้นปีที่ 4 80 80 160 รวม 80 160 240 320 320 1,120 160 คาดว่าจะจบการศึกษา 80 80 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน่วย:บาท) อัตราค่าเล่าเรียน 1. ค่าบารุงการศึกษา 2. ค่าลงทะเบียน ( 1,500 บาท/หน่วยกิต) ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร ภาคการศึกษา 25,000 บาท 30,000 บาท ปีการศึกษา 50,000 บาท 60,000 บาท 440,800 บาท/คน รายละเอียดรายรับ ปีงบประมาณ (บาท) 2554 2555 2556 2557 2558 ค่าบารุงการศึกษา 8,606,250 9,036,563 9,488,391 9,962,810 10,460,951 ค่าลงทะเบียน 8,343,855 8,761,048 9,199,100 9,659,055 10,142,088 รวมรายรับ 16,950,105 17,797,611 18,687,491 19,621,865 20,603,039 2557 2558 2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หน่วย:บาท) 2554 2555 ปีงบประมาณ (บาท) 2556 1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร 732,812 2. ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน 10,571,178 740,140 11,099,737 747,542 11,654,724 755,017 12,237,460 762,567 12,849,333 3. รายจ่ายระดับมหาวิทยาลัย 6,378,927 6,697,873 7,032,767 7,384,405 7,753,626 17,682,917 18,537,750 19,435,033 20,376,882 21,365,526 17,682,917 18,537,750 19,435,033 20,376,882 21,365,526 หมวดเงิน ก. งบดาเนินการ รวม (ก) รวม (ก)
  • 6. 6 หมวดเงิน จานวนนักศึกษา * ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา ปีงบประมาณ (บาท) 75 150 225 300 375 235,772 123,585 86,378 67,923 56,975 หมายเหตุ *ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา 114,127 บาทต่อปี ทั้งนี้อัตราค่าเล่าเรียนให้ขึ้นอยู่กับประกาศของมหาวิทยาลัยในแต่ละปีการศึกษา 2.7 ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาเป็นแบบชั้นเรียน เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี (ภาคผนวก จ.) 2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย (ถ้ามี) เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี (ภาคผนวก จ.) 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 149 หน่วยกิต 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 3.1.2.1 โครงสร้างหลักสูตรหลักสูตรแบบที่ 1 (ไม่เรียนสหกิจศึกษา) ก .หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 31 หน่วยกิต ข. หมวดวิชาเฉพาะ 112 หน่วยกิต ข.1 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 21 หน่วยกิต ข.2 กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ 18 หน่วยกิต ข.3 กลุ่มวิชาบังคับในภาควิชา 64 หน่วยกิต ข.4 กลุ่มวิชาเลือก 9 หน่วยกิต ค .หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต 3.1.2.2 โครงสร้างหลักสูตรหลักสูตรแบบที่ 2 (สหกิจศึกษา) ก .หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 31 หน่วยกิต ข. หมวดวิชาเฉพาะ 112 หน่วยกิต ข.1 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 21 หน่วยกิต ข.2 กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ 18 หน่วยกิต ข.3 กลุ่มวิชาบังคับในภาควิชา 73 หน่วยกิต ข.4 กลุ่มวิชาเลือก หน่วยกิต ค .หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต หมายเหตุ * สาหรับนักศึกษาแบบที่ 2 กลุ่มสหกิจศึกษา จะต้องเรียนวิชา CVE 301 สหกิจศึกษา จานวน 12 หน่วยกิตและ CVE 302 การสัมมนา สาหรับสหกิจศึกษาจานวน 1 หน่วยกิต ในปีการศึกษาที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 ทั้งนี้นักศึกษาไม่ต้องเรียนวิชาในกลุ่มวิชาเลือกจานวน 9 หน่วยกิต และวิชากลุ่มวิชาบังคับในภาควิชา คือวิชา CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา จานวน 1 หน่วยกิตและ CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา จานวน 3 หน่วยกิต 3.1.3 รายวิชา - ความหมายของรหัสวิชา รหัสวิชาประกอบด้วย 3 หลักแรกเป็นตัวอักษร และตามด้วยตัวเลขสามหลัก มีความหมายดังนี้ รหัสตัวอักษร มีความหมายดังต่อไปนี้
  • 7. 7 GEN หมายถึง วิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป CVE หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมโยธา CPE หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ EEE หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ENV หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม MEE หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล PRE หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ CHM หมายถึง วิชาในภาควิชาเคมี LNG หมายถึง วิชาในกลุ่มวิชาภาษา MTH หมายถึง วิชาในภาควิชาคณิตศาสตร์ PHY หมายถึง วิชาในภาควิชาฟิสิกส์ STA หมายถึง วิชาในภาควิชาคณิตศาสตร์ ENG หมายถึง วิชาการศึกษาทั่วไปทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ รหัสตัวเลข มีความหมายดังต่อไปนี้ เลข 1-4 หมายถึง วิชาระดับปริญญาตรี เลข 5 หมายถึง วิชาระดับบัณฑิตศึกษา แต่นักศึกษาระดับปริญญาตรีสามารถเลือกเรียนได้ เลข 6 ขึ้นไป หมายถึง วิชาระดับบัณฑิตศึกษา เลขหลักสิบ หมายถึงวิชาในแต่ละสาขาวิชา เลข 1 หมายถึง วิชาในสาขาวิชาเทคนิคก่อสร้าง เลข 2 หมายถึง วิชาในสาขาวิชาวิศวกรรมสารวจ เลข 3 และ 4 หมายถึง วิชาในสาขาวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง เลข 5 และ 6 หมายถึง วิชาในสาขาวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี เลข 7 หมายถึง วิชาในสาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง เลข 8 และ 9หมายถึง วิชาในสาขาวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า เลขหลักหน่วย หมายถึงลาดับที่ของวิชาต่างๆ - รายวิชา ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 31 หน่วยกิต วิชาบังคับ 25 หน่วยกิต 1. กลุ่มวิชาสุขพลานามัย GEN 101 พลศึกษา 1 (0-2-2) (Physical Education) 2. กลุ่มวิชาคุณธรรม จริยธรรมในการดาเนินชีวิต GEN 111 มนุษย์กับหลักจริยศาสตร์เพื่อการดาเนินชีวิต 3 (3-0-6) (Man and Ethics of Living) 3. กลุ่มวิชาการเรียนรู้ตลอดชีวิต GEN 121 ทักษะการเรียนรู้และการแก้ปัญหา 3 (3-0-6) (Learning and Problem Solving Skills) 4. กลุ่มวิชาการคิดอย่างมีระบบ GEN 231 มหัศจรรย์แห่งความคิด 3 (3-0-6) (Miracle of Thinking)
  • 8. 8 หมายเหตุ รายวิชา GEN 121 ทักษะการเรียนรู้และการแก้ปัญหาและ GEN 231 มหัศจรรย์แห่งความคิด เป็นการบูรณาการ เนื้อหาวิชาทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์อยู่ในสองรายวิชานี้ 5. กลุ่มวิชาคุณค่าและความงาม GEN 241 ความงดงามแห่งชีวิต 3 (3-0-6) (Beauty of Life) 6. กลุ่มวิชาเทคโนโลยี นวัตกรรมและการจัดการ GEN 351 การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา 3 (3-0-6) (Modern Management and Leadership) 7. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร LNG 105 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสาหรับนักศึกษานานาชาติ 3 (3-0-6) (Academic English for International Students) LNG 106 การฟังและการพูดเชิงวิชาการ 3 (3-0-6) (Academic Listening and Speaking) LNG 107 การอ่านและการเขียนเชิงวิชาการ 3 (3-0-6) (Academic Reading and Writing) LNG 108 การเรียนรู้แบบอิงเนื้อหาวิชา 3 (3-0-6) (Content-based Language Learning) หมายเหตุ วิชาภาษาอังกฤษนักศึกษาต้องเรียนอย่างน้อย 9 หน่วยกิต ขึ้นอยู่กับระดับคะแนนตามที่สายวิชาภาษากาหนด ซึ่งอาจ เป็นวิชาภาษาในระดับที่สูงขึ้นถ้านักศึกษามีผลคะแนนเป็นไปตามเกณฑ์ วิชาบังคับเลือก 6 หน่วยกิต โดยรายวิชาต้องไม่อยู่ในกลุ่มวิชาเดียวกัน 1. กลุ่มวิชาสุขพลานามัย GEN 301 การพัฒนาสุขภาพแบบองค์รวม 3 (3-0-6) (Holistic Health Development) 2. กลุ่มวิชาคุณธรรม จริยธรรมในการดาเนินชีวิต GEN 211 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 (3-0-6) (The Philosophy of Sufficiency Economy) GEN 311 จริยศาสตร์ในสังคมฐานวิทยาศาสตร์ 3 (3-0-6) (Ethics in Science-based Society) GEN 411 การพัฒนาบุคลิกภาพและการพูดในที่สาธารณะ 3 (2-2-6) (Personality Development and Public Speaking) 3. กลุ่มวิชาการเรียนรู้ตลอดชีวิต GEN 321 ประวัติศาสตร์อารยธรรม 3 (3-0-6) (The History of Civilization) GEN 421 สังคมศาสตร์บูรณาการ 3 (3-0-6) (Integrative Social Sciences) 4. กลุ่มวิชาการคิดอย่างมีระบบ GEN 331 มนุษย์กับการใช้เหตุผล 3 (3-0-6) (Man and Reasoning)
  • 9. 9 5. กลุ่มวิชาคุณค่าและความงาม GEN 341 ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย (Thai Indigenous Knowledge) GEN 441 วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว (Culture and Excursion ) 6. กลุ่มวิชาเทคโนโลยีนวัตกรรมและการจัดการ GEN 352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Technology and Innovation for Sustainable Development) GEN 353 จิตวิทยาการจัดการ (Managerial Psychology) 7. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร LNG 211 การฟังอย่างมีประสิทธิผล (Effective Listening ) LNG 212 ทักษะการนาเสนองาน (Oral Presentation Skills) LNG 213 การเขียนรายงานการปฏิบัติการ (Laboratory Report Writing) LNG 293 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและงานอาชีพ (Thai for Communication and Careers) ข. หมวดวิชาเฉพาะ ข.1 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ MTH 101 คณิตศาสตร์ 1 (Mathematics I ) MTH 102 คณิตศาสตร์ 2 (Mathematics II) MTH 201 คณิตศาสตร์ 3 (Mathematics III) PHY 103 ฟิสิกส์ทั่วไปสาหรับนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ 1 (General Physics for Engineering Students I) PHY 104 ฟิสิกส์ทั่วไปสาหรับนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ 2 (General Physics for Engineering Students II) PHY 191 ปฏิบติการฟิสิกส์ทั่วไป 1 ั (General Physics Laboratory I) PHY 192 ปฏิบติการฟิสิกส์ทั่วไป 2 ั (General Physics Laboratory II) CHM 103 เคมีพื้นฐาน (Fundamental Chemistry) CHM 160 ปฏิบติการเคมี ั (Chemistry Laboratory) ข.2 กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ 3 (3-0-6) 3 (2-2-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 1 (1- 0-2) 1 (1- 0-2) 1 (1- 0-2) 3 (3-0-6) 112 หน่วยกิต 21 หน่วยกิต 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) (0-2-2) 1 (0-2-2) 3 (3-0-6) 1 (0-3-2) 18 หน่วยกิต
  • 10. 10 CVE 100 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับวิศวกรรมโยธา (Computer Programming for Civil Engineering) PRE 151 วัสดุวิศวกรรม (Engineering Materials) CVE 111 เขียนแบบวิศวกรรม (Engineering Drawing) CVE 131 กลศาสตร์วิศวกรรม 1 (Engineering Mechanics I) CVE 232 กลศาสตร์วิศวกรรม 2 (Engineering Mechanics II) CVE 281 กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ข.3 กลุ่มวิชาบังคับในภาควิชา CVE 221 สารวจ (Surveying) CVE 223 การปฏิบัตงานสารวจ ิ (Surveying Practices) CVE 224 โครงงานสารวจ (Surveying Project) CVE 225 การฝึกภาคสนามวิชาสารวจ (Surveying Field Camp) CVE 233 กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) CVE 236 วัสดุในงานวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering Materials) CVE 237 การวิเคราะห์โครงสร้าง 1 (Structural Analysis I) CVE 240 คณิตศาสตร์ประยุกต์สาหรับวิศวกรรมโยธา (Applied Mathematics for Civil Engineers) CVE 300 ฝึกงานอุตสาหกรรม (Industrial Training) *CVE 301 สหกิจศึกษา (Cooperative Education) *CVE 302 การสัมมนาสาหรับสหกิจศึกษา (Cooperative Seminar) CVE 311 การบริหารงานวิศวกรรม (Engineering Management) CVE 335 วัสดุซีเมนต์และคอนกรีต (Cement and Concrete Materials) CVE 338 การวิเคราะห์โครงสร้าง 2 (Structural Analysis II) 3 (2-2-6) 3 (3-0-6) 3 (2-3-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 64 หน่วยกิต 3 (3-0-6) 1 (0-3-2) 1 (0-3-2) 1 (0-6-3) 3 (3-0-6) 2 (1-3-4) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 2 (S/U) 12 (0-35-36) 1 (0-3-6) 3 (3-0-6) 3 (2-3-6) 3 (3-0-6)
  • 11. 11 CVE 341 การออกแบบโครงสร้างเหล็กและไม้ 3 (2-3-6) (Steel and Timber Design) CVE 342 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก 4 (3-2-8) (Reinforced Concrete Design) CVE 361 วิศวกรรมธรณีวิทยา 2 (2-0-4) (Engineering Geology) CVE 362 ปฐพีกลศาสตร์ 3 (3-0-6) (Soil Mechanics) CVE 363 ปฏิบติการปฐพีกลศาสตร์ ั 1 (0-3-2) (Soil Mechanics Laboratory) CVE 364 วิศวกรรมฐานราก 3 (3-0-6) (Foundation Engineering) CVE 371 วิศวกรรมการทาง 3 (3-0-6) (Highway Engineering) CVE 382 วิศวกรรมชลศาสตร์ 3 (3-0-6) (Hydraulic Engineering) CVE 385 อุทกวิทยา 3 (3-0-6) (Hydrology) CVE 394 การทดลองชลศาสตร์ 1 (0-3-2) (Hydraulic Laboratory) *CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 1 (0-3-2) (Civil Engineering Project Proposal) *CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 (0-6-9) (Civil Engineering Project) CVE 414 การประมาณราคาและการกาหนดรายการก่อสร้าง 3 (3-0-6) (Construction Estimating and Specifications) CVE 415 การบริหารงานก่อสร้าง 3 (3-0-6) (Construction Management) * สาหรับนักศึกษาแบบที่ 2 กลุ่มสหกิจศึกษา จะต้องเรียนวิชา CVE 301 สหกิจศึกษา จานวน 12 หน่วยกิตและ CVE 302 การ สัมมนาสาหรับสหกิจศึกษา จานวน 1 หน่วยกิต ในปีการศึกษาที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 ทั้งนี้นักศึกษาไม่ต้องเรียนวิชาในกลุ่ม วิชาเลือกจานวน 9 หน่วยกิต และวิชากลุ่มวิชาบังคับในภาควิชา คือวิชา CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา จานวน 1 หน่วยกิต และ CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา จานวน 3 หน่วยกิต ข.4 กลุ่มวิชาเลือก ให้เลือกจากวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต CVE 403 หัวข้อพิเศษ 1 3 (3-0-6) (Special Topic I) CVE 404 หัวข้อพิเศษ 2 3 (3-0-6) (Special Topic II) CVE 405 หัวข้อพิเศษ 3 3 (3-0-6) (Special Topic III) CVE 443 การออกแบบอาคาร 3 (3-0-6) (Building Design)
  • 12. 12 CVE 444 CVE 445 CVE 446 CVE 447 CVE 448 CVE 449 CVE 226 CVE 421 CVE 422 CVE 425 CVE 426 CVE 428 CVE 372 CVE 473 CVE 474 CVE 475 CVE 476 CVE 411 CVE 418 CVE 419 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง (Prestressed Concrete Design) การออกแบบโครงสร้างเหล็กโดยวิธีพลาสติก (Plastic Design of Steel Structures) การออกแบบสะพาน (Bridge Design) การออกแบบทางด้านวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering Design) วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์เบื้องต้น (Fundamental of Finite Element Method) การออกแบบโครงสร้างเหล็กโดยวิธีตัวคูณความต้านทาน และน้าหนักบรรทุก (Load and Resistance Factor Design of Steel Structures) การสารวจเส้นทาง (Route Surveying) ภาพถ่ายทางอากาศเชิงเลข (Digital Photogrammetry) การวิเคราะห์ภาพดาวเทียม (Satellite Image Analysis) การสารวจด้วยดาวเทียม (Satellite Surveying) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้น (Introduction to GIS) การคานวณปรับแก้ในงานสารวจ (Adjustment Computation in Surveying) วิศวกรรมขนส่ง (Transportation Engineering) วิศวกรรมจราจร (Traffic Engineering) การขนส่งอย่างยั่งยืน (Sustainable Transportation) การขนส่งมวลชนในตัวเมือง (Urban Mass Transportation) การออกแบบทางเรขาคณิตของถนน (Geometric Design of Highways) วิศวกรรมและเทคโนโลยีการก่อสร้างสมัยใหม่ (Modern Construction Engineering & Technology) เทคโนโลยีสารสนเทศในงานก่อสร้าง (Information Technology in Construction) การจัดการผลิตภาพและคุณภาพงานก่อสร้าง (Productivity & Quality Management in Construction) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-1-6) 3 (2-3-6) 3 (3-0-6) 3 (2-3-6) 3 (3-0-6) 3 (2-3-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-9) 3 (3-0-9) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
  • 13. 13 CVE 483 CVE 487 CVE 488 CVE 490 CVE 491 การพัฒนาแหล่งน้า (Water Resource Development) โครงสร้างทางชลศาสตร์ (Hydraulic Structures) วิศวกรรมแม่น้าเบื้องต้น (Introduction to River Engineering) อุทกวิทยาประยุกต์ (Applied Hydrology) การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์สาหรับ งานด้านวิศวกรรมทรัพยากรน้า (Computer Applications for Water Resources Engineering) CVE 492 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) (Geotechnical Engineering Design) CVE 493 3 (3-0-6) (Computer applications in Geotechnical Engineering) ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนจากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 3.1.4 แผนการศึกษา แผนการเรียนสาหรับหลักสูตร 4 ปี หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ 3 (3 0 6) 3 (3 0 6) PHY 191 ฟิสิกส์ทั่วไปสาหรับนักศึกษา วิศวกรรมศาสตร์ 1 ปฏิบติการฟิสิกส์ทั่วไป 1 ั 1 (0 2 2) CHM 103 เคมีพื้นฐาน 3 (3 0 6) CHM 160 ปฏิบติการเคมี ั การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับ วิศวกรรมโยธา ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสาหรับนักศึกษา นานาชาติ 1 (0 3 2) 3 3 (2 (3 2 0 6) 6) 1 (0 2 2) 18 (14 ชั่วโมง /สัปดาห์ = 59 9 36) MTH 101 PHY 103 CVE 100 LNG 105 ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาที่ 1 คณิตศาสตร์ 1 ศึกษาด้วยตนเอง) หรือ LNG 106 GEN 101 การฟังและการพูดเชิงวิชาการ พลศึกษา รวม
  • 14. 14 LNG 106 หรือ LNG 107 MTH 102 PHY 104 PHY 192 CVE 111 CVE 131 PRE 151 ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาที่ 2 การฟังและการพูดเชิงวิชาการ การอ่านและการเขียนเชิงวิชาการ คณิตศาสตร์ 2 ฟิสิกส์ทั่วไปสาหรับนักศึกษา วิศวกรรมศาสตร์ 2 ปฏิบติการฟิสิกส์ทั่วไป 2 ั เขียนแบบวิศวกรรม กลศาสตร์วิศวกรรม 1 วัสดุวิศวกรรม รวม หน่วยกิต 3 (บรรยาย (3 ปฏิบัติ 0 ศึกษาด้วยตนเอง) 6) 3 3 (3 (3 0 0 6) 6) 1 3 3 3 19 (0 (2 (3 (3 (17 2 3 0 0 5 2) 6) 6) 6) 38) ชั่วโมง /สัปดาห์ = 60 LNG 107 หรือ LNG 108 MTH 201 CVE 233 CVE 232 CVE 221 CVE 223 GEN 111 GEN 231 ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาที่ 1 การอ่านและการเขียนเชิงวิชาการ การเรียนรู้แบบอิงเนื้อหาวิชา คณิตศาสตร์ 3 กลศาสตร์วัสดุ กลศาสตร์วิศวกรรม 2 สารวจ การปฏิบัตงานสารวจ ิ มนุษย์กับหลักจริยศาสตร์เพื่อการดาเนินชีวิต มหัศจรรย์แห่งความคิด รวม หน่วยกิต 3 (บรรยาย (3 3 (3 3 (3 3 (3 3 (3 1 (0 3 (3 3 (3 22 (21 ชั่วโมง /สัปดาห์ = 68 ปฏิบัติ 0 0 0 0 0 3 0 0 3 ศึกษาด้วยตนเอง) 6) 6) 6) 6) 6) 2) 6) 6) 44) CVE 224 ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาที่ 2 โครงงานสารวจ CVE 225 การฝึกภาคสนามวิชาสารวจ 1 1 CVE 236 วัสดุในงานวิศวกรรมโยธา 2 (1 3 4) CVE 237 การวิเคราะห์โครงสร้าง 1 3 (3 0 6) CVE 281 CVE 361 กลศาสตร์ของไหล วิศวกรรมธรณีวิทยา 3 (3 0 6) 2 (2 0 4) คณิตศาสตร์ประยุกต์สาหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3 0 6) ทักษะการเรียนรู้และการแก้ปัญหา 3 (3 0 6) รวม 18 (15 12 37) CVE 240 GEN 121 หน่วยกิต (บรรยาย ปฏิบัติ (0 (0 3 6 2) 3) ชั่วโมง /สัปดาห์ = 64 ศึกษาด้วยตนเอง)
  • 15. 15 CVE 335 ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 1 วัสดุซีเมนต์และคอนกรีต CVE 338 การวิเคราะห์โครงสร้าง 2 3 (3 0 6) CVE 362 ปฐพีกลศาสตร์ 3 (3 0 6) CVE 363 ปฏิบติการปฐพีกลศาสตร์ ั 1 (0 3 2) CVE 385 อุทกวิทยา 3 (3 0 6) CVE 394 การทดลองชลศาสตร์ 1 (0 3 2) CVE 311 การบริหารงานวิศวกรรม 3 (3 0 6) GEN 241 ความงดงามแห่งชีวิต 3 (3 0 6) 20 (17 9 40) หน่วยกิต 3 (บรรยาย (3 ปฏิบัติ 0 3 (2 3 6) รวม หน่วยกิต 3 (บรรยาย (2 ปฏิบัติ 3 ศึกษาด้วยตนเอง) 6) ชั่วโมง /สัปดาห์ = 66 CVE 341 ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 2 การประมาณราคาและการกาหนดรายการ ก่อสร้าง การออกแบบโครงสร้างเหล็กและไม้ CVE 342 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก 4 (3 2 8) CVE 364 วิศวกรรมฐานราก 3 (3 0 6) CVE 371 วิศวกรรมการทาง 3 (3 0 6) CVE 382 วิศวกรรมชลศาสตร์ 3 (3 0 6) รวม 19 (17 5 38) CVE 414 ศึกษาด้วยตนเอง) 6) ชั่วโมง /สัปดาห์ = 60 ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาฤดูร้อน CVE 300 ฝึกงานอุตสาหกรรม (Industrial Training) รวม แผนการศึกษาแบบไม่มีสหกิจศึกษา ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่1 CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา CVE xxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมโยธา 1 CVE xxx วิชาเลือกทางวิศวกรรมโยธา 2 XXX xxx วิชาเลือกเสรี 1 XXX xxx วิชาเลือกเสรี 2 GEN 351 การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา รวม หน่วยกิต 2(S/U) 2(S/U) หน่วยกิต (บรรยาย 1 (0 3 (x 3 (x 3 (3 3 (3 3 (3 16 (9+x ชั่วโมง /สัปดาห์ = 32+x ปฏิบัติ 3 x x 0 0 0 3+x ศึกษาด้วยตนเอง) 2) x) x) 6) 6) 6) 20+x)
  • 16. 16 ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่2 โครงงานวิศวกรรมโยธา วิชาเลือกทางวิศวกรรมโยธา วิชาเลือกทางหมวดศึกษาทั่วไป วิชาเลือกทางหมวดศึกษาทั่วไป การบริหารงานก่อสร้าง รวม CVE 402 CVE xxx GEN xxx GEN xxx CVE 415 หน่วยกิต (บรรยาย 3 (0 3 (x 3 (3 3 (3 3 (3 15 (9+x ชั่วโมง /สัปดาห์ = 42+x ปฏิบัติ 6 x 0 0 0 6+x ศึกษาด้วยตนเอง) 9) x) 6) 6) 6) 27+x) แผนการศึกษาสหกิจศึกษา ให้นักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในปีการศึกษาที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 โดยการเรียนในปีการศึกษาที่ 1/1 ถึง 3/2 เหมือนกับแผนการศึกษา ปกติ โดยใช้แผนการเรียนตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 4/1 ดังนี้ CVE 301 CVE 302 ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่1 สหกิจศึกษา การสัมมนาสาหรับสหกิจศึกษา รวม หน่วยกิต (บรรยาย 12 (0 1 (0 13 (0 ชั่วโมง /สัปดาห์ = 76 ปฏิบัติ 35 3 38 ศึกษาด้วยตนเอง) 36) 2) 38) XXX xxx XXX xxx GEN 351 GEN xxx GEN xxx CVE 415 ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่2 วิชาเลือกเสรี วิชาเลือกเสรี การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา วิชาเลือกทางหมวดศึกษาทั่วไป วิชาเลือกทางหมวดศึกษาทั่วไป การบริหารงานก่อสร้าง รวม หน่วยกิต (บรรยาย 3 (3 3 (3 3 (3 3 (3 3 (3 3 (3 18 (18 ชั่วโมง /สัปดาห์ = 54 ปฏิบัติ 0 0 0 0 0 0 0 ศึกษาด้วยตนเอง) 6) 6) 6) 6) 6) 6) 36) 3.1.5 คาอธิบายรายวิชา คาอธิบายรายวิชา (ภาคผนวก ก.) 3.2 ชื่อ สกุล เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร ลาดับ ชื่อ – สกุล (ระบุตาแหน่งทางวิชาการ) 1 2 ดร.จุลพจน์ จิรวัชรเดช ผศ.ดร.สมโพธิ อยู่ไว 3 4 ดร.นครินทร์ สัทธรรมนุวงศ์ รศ.ดร.ภาณุวัฒน์ สุรยฉัตร ิ 5 อ.ธงชัย โพธิ์ทอง คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา), สถาบันที่สาเร็จการศึกษา Ph.D. (Structural Engineering), UWS ปร.ด. (วิศวกรรมเทคนิคธรณี) ,สถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเซีย Ph.D. (Survey Engineering),Purdue U. Ph.D. (Geotechnical Engineering), McGill U. วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา), มจธ. ภาระการสอน ชม./ปีการศึกษา 2553 2554 2555 2556 2557 14 14 14 14 14 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12
  • 17. 17 3.2.2 อาจารย์ประจา ชื่อ – สกุล ลาดับ (ระบุตาแหน่งทางวิชาการ) 1 รศ.อเนก ศิริพานิชกร 2 ศ.ดร.สมชาย ชูชีพสกุล 3 4 รศ.ดร.สมเกียรติ รุ่งทองใบสุรีย์ ศ.ดร.ชัย จาตุรพิทักษ์กุล 5 ดร.อภินัติ อัชกุล 6 ผศ.ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ 7 8 9 10 11 12 13 อ. เอกชัย ภัทรวงศ์ไพบูลย์ ผศ.ดร.ทวิช พูลเงิน ดร.ชัยณรงค์ อธิสกุล ดร.วีรชาติ ตั้งจิรภัทร ผศ.ดร.พาสิทธิ์ หล่อธีรพงศ์ ผศ.ดร.วุฒิพงศ์ เมืองน้อย ผศ.ดร.สันติ เจริญพรพัฒนา 14 ดร.พิชญ์ สุธีรวรรธนา 15 ผศ.ดร.พรเกษม จงประดิษฐ์ 16 ดร.วรัช ก้องกิจกุล 17 18 รศ.ดร.วิชัย สังวรปทานสกุล รศ.ดร.วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์ 19 ดร.อาพล การุณสุนทวงษ์ 20 รศ.ดร.ธวัชชัย เหล่าศิริหงษ์ทอง 21 ดร.ชัยวัฒน์ เอกวัฒน์พานิชย์ 22 23 24 รศ.ดร.ชัยยุทธ ชินณะราศี ผศ.ดร.นิตยา หวังวงศ์วิโรจน์ นายธีระ ลาภิศชยางกูล คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา), สถาบันที่สาเร็จการศึกษา วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง) , สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย Ph.D. (Structural Engineering), U. of Texas at Arlington D.Eng. (Structural Engineering), Kyoto U. Ph.D. (Structural Engineering), New Jersey Inst. of Tech. Ph.D. (Structural Engineering) ,Virginia Tech Ph.D. (Structural Engineering), U. of Michigan วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง), มจธ. วศ.ด. (วิศวกรรมโครงสร้าง), มจธ. วศ.ด. (วิศวกรรมโครงสร้าง), มจธ. วศ.ด. (วิศวกรรมโครงสร้าง), มจธ. Ph.D. (บริหารงานก่อสร้าง), Concordia U. Ph.D. (บริหารงานก่อสร้าง) ,AIT Ph.D. (Construction Management) , U. of Tokyo. Ph.D. (Construction Management), University of Tokyo Ph.D. (Geotechnical Engineering), Tokyo U. Ph.D. (Geotechnical Engineering), Tokyo U. วศ.ม. (วิศวกรรมเทคนิคธรณี), จุฬาฯ Ph.D. (Transportation Engineering), Tohoku U. Ph.D. (Transportation Engineering), U. of Texas at Austin Ph.D. (Transportation Engineering) , Ohio State U. Ph.D. (Water Resources Engineering), Tohoku U. D.Eng. (วิศวกรรมทรัพยากรน้า), AIT D.Eng. (วิศวกรรมทรัพยากรน้า) ,AIT วศ.ม. (วิศวกรรมสารวจ) ,จุฬาฯ ภาระการสอน ชม./ปีการศึกษา 2553 2554 2555 2556 2557 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 24 12 12 12 12 12 12 24 12 12 12 12 12 12 24 12 12 12 12 12 12 24 12 12 12 12 12 12 24 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 24 24 24 24 24 24 24 24 24 24 12 14 24 12 14 24 12 14 24 12 14 24 12 14 24
  • 18. 18 3.2.3 อาจารย์พิเศษ ไม่มี 4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี) จากความต้องการที่บัณฑิตควรมีประสบการณ์ในวิชาชีพก่อนเข้าสู่การทางานจริง ดังนั้นหลักสูตรได้กาหนดรายวิชาสหกิจศึกษา ซึ่งจะจัด อยู่ในกลุ่มวิชาเอกเลือก แต่ในทางปฏิบัติแล้วมีความต้องการให้นักศึกษาทุกคนลงทะเบียนรายวิชานี้ เว้นแต่กรณีที่นักศึกษามีปัญหาไม่ส ามารถไป ฝึกในรายวิชาสหกิจศึกษาก็จะเป็นการอนุโลมให้เรียนรายวิชาเอกเลือกแทนสหกิจศึกษาได้ 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม ความคาดหวังในผลการเรียนรู้ประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา มีดังนี้ (1) ทักษะในการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ ตลอดจนมีความเข้าใจในหลักการ ความจาเป็นในการเรียนรู้ทฤษฎีมากยิ่งขึ้น (2) บูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อนาไปแก้ปัญหาทางวิศวกรรมโดยใช้เทคโนโลยีด้านโยธาเป็นเครื่องมือได้อย่างเหมาะสม (3) มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี (4) มีระเบียบวินัย ตรงเวลา เข้าใจวัฒนธรรมและสามารถปรับตัวเข้ากับสถานประกอบการได้ (5) มีความกล้าในการแสดงออก และนาความคิดสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ในงานได้ 4.2 ช่วงเวลา ภาคการศึกษาที่ 1 ของปีการศึกษาที่ 4 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน จัดเต็มเวลาใน 1 ภาคการศึกษา 5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย (ถ้ามี) ข้อกาหนดในการทาโครงงาน ต้องเป็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ด้านวิศวกรรมโยธาหรือเพื่อการเรียนการสอน หรือเพื่อทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม โดยต้องมีธุรกิจที่อ้างอิงและคาดว่าจะนาไปใช้งานหากโครงงานสาเร็จ โดยมีจานวนผู้ร่วมโครงงาน 2-3 คน และมีรายงานที่ต้อง นาส่งตามรูปแบบและระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนดอย่างเคร่งครัด หรือเป็นโครงงานที่มุ่งเน้นการสร้างผลงานวิจัยเพื่อพัฒนางานด้านวิศวกรรมโยธา 5.1 คาอธิบายโดยย่อ โครงงานวิศวกรรมโยธาที่นักศึกษาสนใจ สามารถอธิบายทฤษฎีที่นามาใช้ในการทาโครงงาน ประโยชน์ที่จะได้รับจากการทาโครงงาน มี ขอบเขตโครงงานที่สามารถทาเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถทางานเป็นทีม มีความเชี่ยวชาญในการใช้เครื่องมือ โปรแกรม ในการทาโครงงาน โครงงานสามารถเป็นต้นแบบในการ พัฒนาต่อได้ 5.3 ช่วงเวลา ภาคการศึกษาที่ 1-2 ของปีการศึกษาที่ 4 5.4 จานวนหน่วยกิต 4 หน่วยกิต 5.5 การเตรียมการ มีการกาหนดชั่วโมงการให้คาปรึกษา จัดทาบันทึกการให้คาปรึกษา ให้ข้อมูลข่า วสารเกี่ยวกับโครงงานทางเว็บไซต์ และปรับปรุงให้ ทันสมัยเสมอ อีกทั้งมีตัวอย่างโครงงานให้ศึกษา 5.6 กระบวนการประเมินผล ประเมินผลจากความก้าวหน้าในการทาโครงงาน ที่บันทึกในสมุดให้คาปรึกษาโดยอาจารย์ที่ปรึกษา และประเมินผลจากรายงานที่ได้ กาหนดรูปแบบการนาเสนอตามระยะเวลา นาเสนอโปรแกรมและการทางานของระบบ โดยโครงงานดังกล่าวต้องสามารถทางานได้ในขั้นต้น โดยเฉพาะการทางานหลักของโปรแกรม และการจัดสอบการนาเสนอที่มีคณะกรรมการสอบแต่ละสาขาวิชาไม่ต่ากว่า 3 สาขา
  • 19. 19 หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา ด้านบุคลิกภาพ มีการสอดแทรกเรื่อง การแต่งกาย การเข้าสังคม เทคนิคการเจรจา สื่อสาร การมี มนุษยสัมพันธ์ที่ดี และการวางตัวในการทางานในบางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง และใน กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ก่อนที่นักศึกษาจะสาเร็จการศึกษา ด้านภาวะผู้นา และความรับผิดชอบตลอดจนมี -กาหนดให้มีรายวิชาซึ่งนักศึกษาต้องทางานเป็นกลุ่ม และมีการกาหนดหัวหน้ากลุ่ม วินัยในตนเอง ในการทารายงานตลอดจน กาหนดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนาเสนอรายงาน เพื่อ เป็นการฝึกให้นักศึกษาได้สร้างภาวะผู้นาและการเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี -มีกิจกรรมนักศึกษาที่มอบหมายให้นกศึกษาหมุนเวียนกันเป็นหัวหน้าในการดาเนิน ั กิจกรรม เพื่อฝึกให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ -มีกติกาที่จะสร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าเรียนตรงเวลาเข้าเรียนอย่างสม่าเสมอ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เสริมความกล้าในการแสดงความคิดเห็น จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีการให้ความรู้ถึงผลกระทบต่อสังคม และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระทา ความผิดเกี่ยวกับวิชาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา 2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 2.1 คุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม นักศึ กษาต้ อ งมี คุ ณธรรม จริ ย ธรรมเพื่ อ ให้ สามารถด าเนิ น ชี วิต ร่วมกับ ผู้ อื่ น ในสั ง คมอย่ างราบรื่ น และเป็ น ประโยชน์ ต่ อ ส่ วนรวม นอกจากนั้นงานด้านวิศวกรรมโยธาในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้าง ธรณีวิทยา ทรัพยากรน้า ขนส่ง บริหารงานก่อสร้างและสารวจล้วนเป็นงานที่ เกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ ความปลอดภัยในชีวิต การทาให้เกิดความสาเร็จได้จะต้องมีวิศวกรโยธาเป็นผู้พัฒนาร่วมกับวิศวกร สาขาอื่นๆในการสร้างความเจริญให้ประเทศ ดังนั้นวิศวกรโยธาเหล่านี้ต้องมีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขา อื่น ๆ ซึ่งอาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ทั้ง 5 ข้อ เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม กับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อย 5 ข้อตามที่ระบุไว้ (1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ (3) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมูคณะและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟัง ่ ความคิดเห็นของผู้อน รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิศรีของความเป็นมนุษย์ ื่ ์ (4) สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม (5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพ วิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบน ั นอกจากนั้น หลักสูตรวิศวกรรมโยธายังมีวิชาเกี่ยวกับ สังคมและจริยธรรม การคานวณด้านวิศวกรรรมโยธาสาขาต่างๆ เป็นวิชาบังคับ อาจารย์ที่สอนต้องจัดให้มีการวัดมาตรฐานในด้านความรู้ คุณธรรม จริยธรรมทุกภาคการศึกษา ซึ่งไม่จาเป็นต้องเป็นข้อสอบ โดยใช้การสังเกต พฤติกรรมระหว่างทากิจกรรมที่กาหนด มีการกาหนดคะแนนในเรื่องคุณธรรม จริยธรรมให้เป็นส่วนหนึ่งของคะแนนความประพฤติของนักศึกษา นักศึกษาที่คะแนนความประพฤติไม่ผ่านเกณฑ์ ซึ่งต้องทากิจกรรมเพื่อสังคมเพิ่มก่อนสาเร็จการศึกษา 2.1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม กาหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่ เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทางานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นากลุ่มและการเป็น สมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทาการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้อง
  • 20. 20 สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทาดี ทา ประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ 2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม (1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกาหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม (2) ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร (3) ปริมาณการกระทาทุจริตในการสอบ (4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 2.2 ความรู้ 2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับด้านวิศวกรรมโยธาในสาขาต่างๆ มีคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกียวกับสาขาวิชาที่ศึกษานั้นต้องเป็นสิ่งที่ ่ นักศึกษาต้องรูเ้ พื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคม ดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้ (1) มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมศาสตร์พื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับ งานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกียวข้องและการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ่ (2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สาคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนือหาของสาขาวิชาเฉพาะทางด้านวิศวกรรม ้ (3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (4) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น (5) สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหางานจริงได้ การทดสอบมาตรฐานนี้สามารถทาได้โดยการทดสอบจากข้อสอบของแต่ละวิชาในชั้นเรียน ตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาอยู่ในหลักสูตร 2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จาก สถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถาน ประกอบการ 2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ (1) การทดสอบย่อย (2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (3) ประเมินจากรายงานทีนักศึกษาจัดทา ่ (4) ประเมินจากโครงการที่นาเสนอ (5) ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรียน (6) ประเมินจากรายวิชาสหกิจศึกษา 2.3 ทักษะทางปัญญา 2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้โดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษาแล้ว ดังนั้นนักศึกษาจาเป็นต้อง ได้รับการ พัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาในขณะที่สอนนักศึกษา อาจารย์ต้องเน้นให้ นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจา นักศึกษาต้องมี คุณสมบัติต่าง ๆจากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้ (1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี (2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ